QMM-06-Integrated _Syst-QMR

Page 1

Integrated Food Safety and Quality System for Food Industry By : Pornpen Amornwuttitorn

Food Industry’s Standards Farming

Primary Processing

Manufacturing

Wholesale

Retail Food service

Organic

Field

None specific

BRC-IoP BRC-IoP

Organic GMP

GMP

Product Certificate

Service certificate

(see transversal below)

Product Certificate

IFS

Supply

Table

BRC-Food

Eurep GAP

Chain Inspections

HACCP / ISO 9001 / ISO 14001 / SA 8000

ISO 22000 : 2005

1


Process A series of activities that when operating produce the desired uniform product or service on a continuing basis. •Safety

•Quality Supplier

Input

Process

•Cost Output

Customer

Corrective & Preventive Action

Documentation QM Policy & Objective Management (R&A, Mgt. Review) Communication Emergency

GMP Control of Product & Process HACCP

Customer related process Purchasing D&D Control of monitoring and measuring Withdrawal, Recall & Traceability Control of NC FSMS Verification

2


8.5.1 การพัฒนาและปรับปรุง ระบบบริหารงานคุณภาพอยางตอเนื่อง

สั่งซื้อ

7. กระบวนการ ผลิตสินคา

8. การวัด, การวิเคราะห, การปรับปรุง

ลูกคา

6. การจัดการ ทรัพยากร

ความพึงพอใจ

ขอกําหนด

ลูกคา

5. ความรับผิดชอบ ดานการบริหาร

สินคา

รูปแบบกระบวนการบริหารงานคุณภาพ

Analysis of ISO 22000: 2005

3


Documentation Requirement

การควบคุมเอกสาร ( Control of Documents ) ตองมีการควบคุมเอกสารในระบบบริหารคุณภาพ ทั้งนี้รวมถึงบันทึกคุณภาพ ตามขอกําหนด ตองจัดทําขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ( Documented procedure ) สําหรับการควบคุม

เอกสารในระบบบริหารคุณภาพที่ครอบคลุมถึง ☺ ☺ ☺ ☺ ☺ ☺ ☺

การอนุมัติเอกสารกอนนําไปใชงาน การทบทวน ปรับปรุงเอกสารใหทนั สมัย การแสดงสถานะปจจุบันของการปรับปรุงเอกสาร การแจกจายเอกสารฉบับที่เกี่ยวของไป ณ จุดปฏิบัติงาน เอกสารตองอานไดงาย และสามารถนํามาใชไดโดยสะดวก การชี้บงและควบคุมการแจกจายเอกสารที่ไดรับมาจากภายนอก การปองกันการใชเอกสารที่ลาสมัย

4


การควบคุมบันทึก ( Control of Records ) ตองระบุบันทึกตางๆ ที่ตองจัดเก็บ และเก็บรักษาบันทึกนั้นไวเพื่อเปน หลักฐานการปฏิบัติงานตามระบบบริหารคุณภาพอยางมีประสิทธิผล และสอดคลองกับขอกําหนดตางๆ บันทึกตองอานไดงาย มีการชี้บง และนํามาใชไดโดยสะดวก ตอง จัดทําขั้นตอนการปฏิบัติงาน ( Documented สําหรับการควบคุมบันทึก โดยระบุถึงการชี้บง Procedure ) บันทึกคุณภาพ การจัดเก็บ การนํามาใช การปองกันการเสียหาย การกําหนด อายุการจัดเก็บ (สอดคลองกับอายุของผลิตภัณฑ หรือ อาจตองยืดอายุของ บันทึกตามอายุผลิตภัณฑของลูกคา) และการทําลาย

Quality Manual

5


Quality Manual ตอง จัดทําและรักษาคูมือคุณภาพ โดยมีรายละเอียดที่แสดงถึง ขอบขายของระบบฯ (รวมถึงการระบุชื่อผลิตภัณฑ, กลุมของผลิตภัณฑ, กระบวนการผลิต และ สถานที่ตั้งของโรงงาน) และการละเวนขอกําหนด พรอมเหตุผล ขั้นตอนการปฏิบัติงานตางๆ หรือการอางอิงถึง ลําดับกอนหลังของกระบวนการตางๆ และผลที่เกิดขึ้นตอกันและกัน (ใน กรณีที่องคกร มี outsourced process ตองมีการชี้บง, จัดทําเอกสาร และ ควบคุม outsourced process

AAA Food CO.,LTD.

MANUAL ขอบขQUALITY ายการขอการรั บรอง : การผลิ ตน้ํา่ ดื: ่มบรรจุ เอกสารเลขที QM - 01 ขวด ชื่อเอกสาร

สถานที่ตั้ง 12 ถ.รางน้ํา พญาไท กรุงเทพฯ

คูมือคุณภาพ

การขอละเวนขอกําหนด : ทางบริษัทขอละเวนขอกําหนด 7.3 การออกแบบและการพัฒนา ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทไมมีการออกแบบ และพัฒนา จัดทําโดย

อนุมัติโดย

……………………………………………

……………………………………………

( นายเค็ม ใจแคบ )

( นายยักษ ใจมาร )

QMR

กรรมการผูจัดการ

วันที่ ….. / ….. / …..

วันที่ ….. / ….. / …..

ข อ บ ข า ย ข อ ง ร ะ บ บ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ แ ล ะ เหตุ ผ ลการข อ ละเว น ขอกําหนด เอกสารขั้ น ตอนการ ปฏิ บั ติ ง าน หรื อ การ อางอิงไปถึง ค ว า ม สั ม พั น ธ แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ร ะ ห ว า ง กระบวนการ

แกไขครั้งที่ 3

สําเนาฉบับที่ ……………………

6


ลูกคา

ฝายการตลาด ฝายบุคคลและธุรการ ฝายวัตถุดิบ ฝายคอมพิวเตอร ฝายวางแผน

ฝายผลิต 1

ฝายจัดซื้อ

ฝายผลิต 2

ฝายซอมบํารุง

ฝายตรวจสอบ ฝายบัญชีและการเงิน ฝายคลังสินคา

ฝายจัดสง

ลูกคา

7


Sequence & Interaction of Processes A Process Map Example Realization Processes Marketing

Design

Stamping

Cleaning

Finishing

Packaging

Shipping

Support Processes Purchasing Maintenance Compliance

Training

QMS Processes Corrective/Preventive Action

Internal Auditing Management Review

Customer Satisfaction

Document Control

Quality Objectives

Data Control Quality Planning

Policy & Objective

8


Policy & Objective นโยบายของบริษัทตองถูกเขียนเปนเอกสาร และ ครอบคลุมถึง ประเภทธุรกิจของบริษัท เนนสินคาสอดคลองกับความปลอดภัย, กฎหมาย, ความตองการของลูกคา มุงมั่นในการประยุกตใชระบบฯ และ พัฒนาอยางตอเนื่อง

สื่อสาร

นําไปใช

เขาใจ

ถูกสนับสนุนดวยวัตถุประสงค

9


Management Responsibility

Management Responsibility ผูบริหารระดับสูงแสดงความมุงมั่นในประเด็น ความปลอดภัย, คุณภาพ, กฎหมาย สื่อสารขอมูลที่เกี่ยวของกับขอกําหนด, กฎหมาย, ความตองการของลูกคาไป ตลอดทั่วทั้งองคกร กําหนดนโยบาย ประชุมทบทวนโดยฝายบริหาร จัดสรรทรัพยากรใหเพียงพอ

10


Management Responsibility แตงตั้ง QMR และ FSTL QMR และ FSTL มีหนาที่ดังตอไปนี้ ความรับผิดชอบ มั่นใจวาระบบฯ ถูกนําไปปฎิบัติและรักษาไว รายงานตอผูบริหารระดับสูง

สงเสริมใหเกิดความตระหนักตอความตองการของลูกคาทั่ว ทั้งองคกร

QMR

FSTL

• (Improvement)

• (effectiveness , suitability)

บริหารคณะทํางานความปลอดภัยของอาหาร

จัดใหมีการฝกอบรม, ใหความรูแก FST

Management Review

การประชุมทบทวนโดยฝาย บริหาร

11


Management Review กําหนดความถี่ (ที่เหมาะสม) ผลของการประชุม

Mgt. Review

(บันทึกคุณภาพ)

วาระการประชุม

วาระการประชุม (Review Input) วาระการประชุม ผลของการตรวจประเมินตาง ๆ Internal Audit Second Party Audit External Audit ขอมูลสะทอนกลับจากลูกคา KPI, NCR สถานการณแกไขและปองกัน การติดตามผลจากการประชุมครั้งกอน

ISO 9001 ISO 22000 ♣ ♣ ♣ ♣ ♣ ♣ ♣

♣ ♣

BRC ♣ ♣ ♣ ♣ ♣ ♣ ♣

12


วาระการประชุม (Review Input) วาระการประชุม ISO 9001 ISO 22000 การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่อาจมีผลกระทบตอระบบ ♣ ♣ การวิเคราะหผลของกิจกรรมการทวนสอบ ♣ สถานการณฉุกเฉิน, อุบัติการณ, การเพิกถอน ♣ การทบทวนผลของกิจกรรมการปรับปรุงระบบ ♣ การทบทวนกิจกรรมการสื่อสาร ♣ ขอแนะนําอื่น ๆ ♣

BRC ♣

ผลของการประชุม (Review Output) • ปรับปรุงประสิทธิภาพของการจัดทําระบบฯ • ความตองการทรัพยากร

ผลของการประชุม

• การปรับปรุงผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการ ของลูกคา (Q) • ประกันความปลอดภัยดานอาหาร (F) • ทบทวนนโยบาย และ วัตถุประสงค ดานความ ปลอดภัยฯ (F)

สื่อสารใหคนที่เกี่ยวของรับทราบ (B)

13


Responsibility & Authority

Responsibility & Authority โครงสรางองคกร ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของฝายบริหาร องคกร ตอง มีโครงสรางขององคกร ซึ่งกําหนดถึงหนาทีก่ าร ทํางาน ความรับผิดชอบและสายการบังคับบัญชา ซึ่งปฎิบัติงานที่ เกี่ยวของกับความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมายและคุณภาพของ ผลิตภัณฑอยางชัดเจน และ จัดทําเปนเอกสาร คณะกรรมการขององคกร ตอง มั่นใจวาพนักงานทั้งหมดตระหนัก ถึงความรับผิดชอบและ ตอง มีกลไกในการเฝาระวังประสิทธิภาพของ การทํางาน

14


Responsibility & Authority โครงสรางองคกร ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของฝายบริหาร องคกร ตอง มั่นวาระดับของภาระความรับผิดชอบไดถกู ระบุอยาง ชัดเจนสําหรับพนักงานที่สําคัญที่เกี่ยวของกับระบบความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมายและคุณภาพของผลิตภัณฑ โดย ตอง มีการ กําหนดรายละเอียดของงาน ตอง มีการกําหนดอยางเหมาะสมครอบคลุม กรณีที่พนักงานที่สําคัญไมสามารถปฎิบัติงานได องคกร ตอง มั่นใจวามีขอมูลที่เกีย่ วของกับการสนับสนุนและเฝา ระวังระบบบริหารคุณภาพใหกับพนักงานที่เกีย่ วของตลอดเวลา

Responsibility & Authority โครงสรางองคกร ความรับผิดชอบและอํานาจหนาที่ของฝายบริหาร องคกร ตอง มีระบบเพื่อใหมั่นใจวาไดรับการแจงขาวสารทางดาน ขอกําหนด กฎหมาย ความปลอดภัยของอาหาร การพัฒนาทางดาน เทคนิคและวิทยาการ และหลักปฎิบัติของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ องคกร ตอง มั่นใจวามีการอธิบายหนาที่โดยทัว่ ไปหรือคําแนะนํา หรือขอปฎิบัติสําหรับการปฎิบัติงาน และ ไดสื่อสารใหพนักงานที่ เกี่ยวของกับความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมายของอาหาร ทั้งหมดไดรับทราบ

15


Communication

Communication Internal Communication กําหนดชองทางการสื่อสารเพื่อประสิทธิภาพของระบบฯ สิ่งที่ตองสื่อสาร(สําหรับความปลอดภัยของอาหาร) ผลิตภัณฑใหม วัตถุดิบ, สวนผสม, บริการ การผลิต เครื่องมืออุปกรณ สถานที่ผลิต, พื้นทีจ่ ัดวางเครื่องมือ, สภาวะแวดลอม โปรแกรมการทําความสะอาดและฆาเชื้อ บรรจุภัณฑ, การจัดเก็บ, ระบบการขนสง กฎหมาย, ความรูตาง ๆ ที่เกีย่ วของกับความปลอดภัยของอาหาร การจัดสรรอํานาจหนาที่ใหกับพนักงานในตําแหนงตาง ๆ

16


Communication External Communication กําหนดบุคคลที่รับผิดชอบในการสื่อสาร กําหนดชองทางการสื่อสารสําหรับ ผูขาย/ผูรับเหมา ลูกคา หนวยงานของรัฐ หนวยงานอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของ บันทึกการสื่อสารกับหนวยงานภายนอกตองเก็บไวเปนบันทึกคุณภาพ

Customer Related Process

17


Customer Related Process f

วัตถุประสงคดานคุณภาพของสินคา, Project

f ขั้นตอนขบวนการที่จําเปน, เอกสารที่ตองจัดทํา, ทรัพยากรและวัตถุดิบ

ที่ตองใช f

การตรวจสอบและควบคุมตามเงื่อนไขเพื่อใหไดสินคา / บริการตาม ที่ตองการ

f

บันทึกคุณภาพ

Customer Related Process กําหนดความตองการของลูกคา

กําหนด SPEC กับลูกคาใหชัดเจนรวมถึงความสามารถในการจัดสง และบริการ

ทั้งนี้ตองคํานึงถึงขอกําหนดทางดานกฎหมายที่เกี่ยวของกับสินคา และบริการนั้น

18


Customer Related Process กําหนดกระบวนการเพื่อสํารวจ ความจําเปนของลูกคา และ ความ คาดหวังของลูกคา ทรัพยสินของลูกคาตอง ชี้บง ทวนสอบ ปองกัน หากพบวาทรัพยสินของลูกคาเสียหาย, สูญหาย, มีสภาพที่ไมเหมาะสมตอการ ใชงาน ตองแจงใหลูกคารับทราบ (บันทึกคุณภาพ)

Customer Related Process การจัดการคํารองเรียนของลูกคา องคกร ตอง มีระบบในการบริหารจัดการคํารองเรียนของลูกคา กิจกรรมที่เกี่ยวกับความสําคัญและความถี่ของปญหาที่ระบุ ตอง ไดรับการจัดการอยางทันทีและมีประสิทธิภาพ ขอมูลคํารองเรียน ตอง ไดรับการนํามาปฎิบัติเพื่อปรับปรุงแกไข ความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมายและคุณภาพของผลิตภัณฑ อยางตอเนื่องและหลีกเลี่ยงการเกิดขึ้นซ้ํา

19


Purchasing

Purchasing การควบคุมการจัดซื้อ

ตองควบคุมกระบวนการจัดซื้อเพื่อใหมั่นใจวาจะไดวัตถุดิบ/ บริการ ตามความตองการ

กําหนดขอบเขตและวิธีการควบคุมผูขาย

คัดเลือกผูขายบนพื้นฐานของความสามารถในการสงวัตถุดิบที่มีคุณภาพ

กําหนดเงื่อนไขการเลือกและชวงเวลาในการประเมินผูขาย

ผลของการประเมินตองเก็บเปนบันทึกคุณภาพ

20


Purchasing ขอมูลการจัดซื้อ เอกสารการสั่งซื้อตองมีขอมูลชัดเจนในเรื่องของสินคา Certificate Spec ฯลฯ ตามความเหมาะสม ใบสั่งซื้อตองไดรับการอนุมัติกอนที่จะสงใหผูขาย

การทวนสอบผลิตภัณฑที่สั่งซื้อ

กําหนดความตองการในการที่จะทวนสอบที่ตองการลงในใบสั่งซื้อ ใหชัดเจน - ไมวาจะเปนการตรวจสอบสถานที่ของผูขาย - หรือลูกคาตองการไปตรวจสอบ ณ สถานที่ของผูขาย - วิธีการตรวจสอบ

Purchasing การจัดซื้อ องคกร ตอง ควบคุมกระบวนการในการจัดซื้อทั้งหมด ซึ่งมีผลตอ ความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ เพื่อใหมั่นใจวาผลิตภัณฑและบริการที่จัดซื้อหรือจัดหาสอดคลองตาม ความตองการที่กําหนดไว

21


Purchasing การรับรองและเฝาระวังการปฎิบัติงานของผูสงมอบ องคกร ตอง ดําเนินการตามระเบียบปฎิบัติในการรับรองและเฝาระวังผู สงมอบ องคกร ตอง มีระเบียบปฎิบัติที่เปนเอกสารสําหรับรับรองผูสงมอบ และ การประเมินซึ่งอยูบนพื้นฐานของความเสี่ยง ระเบียบปฎิบัติ ตอง กําหนดถึงเหตุผลในการยกเวน เชน การใช ผลิตภัณฑและบริการซึ่งไมไดดําเนินกิจกรรมการตรวจประเมิน

Purchasing การรับรองและเฝาระวังการปฎิบัติงานของผูสงมอบ ระเบียบปฎิบัติ ตอง รวมถึงเกณฑสําหรับการประเมินอยางตอเนื่อง เปนระยะ ๆ การประเมินอาจอยูในรูปของกิจกรรมการเฝาระวังผลการ ปฎิบัติงานโดยการตรวจสอบภายในองคกร ใบรับรองผลการวิเคราะห หรือการตรวจสอบผูสงมอบตามความเหมาะสม การประเมินผูสงมอบ อาจรวมถึงการประเมินระบบ HACCP ขอมูลความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ ระบบการสอบยอนกลับ ขอมูลทางกฎหมาย องคกร ตอง ทบทวนผลการดําเนินการของผูสงมอบ ภายใน ชวงเวลาทดลองที่ไดกาํ หนดไว

22


Design & Development

การออกแบบและพัฒนา การวางแผนการออกแบบและพัฒนา

การวางแผนตองครอบคลุม - สถานะการออกแบบ - กิจกรรมการทบทวน, ทวนสอบ และพิสูจนความถูกตอง - หนาที่ความรับผิดชอบในการออกแบบ

ความสัมพันธระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของตองกําหนด

แผนตองมีการ Update มีการออกแบบกาวหนาไป

23


ขอมูลในการออกแบบ

ขอมูลในการออกแบบ -

เชน Function, ขนาดที่ตองการ ขอกําหนดทางดานกฎหมายที่เกี่ยวของ, ความปลอดภัย ขอมูลเกาจากแบบเดิมที่อาจเคยออกแบบไว ขอมูลจําเปนอื่น ๆ

ทบทวนวาขอมูลเพียงพอตอการออกแบบ

ขอมูลใดไมชัดเจนตองทําใหถูกตอง

ผลของการออกแบบ เอกสารของการออกแบบตองมีเพื่อการทวนสอบ

ผลการออกแบบตอง -

เปนไปตามความตองการของขอมูลการออกแบบ มีขอมูลที่จะนําไปใชในการผลิต/บริการ มีกําหนดหรืออางอิง Acceptance Criteria กําหนดคุณสมบัติที่จะนําผลิตภัณฑไปไดอยางปลอดภัย และเหมาะสม

อนุมัติผลการออกแบบกอนนําสูขบวนการตอไป

24


การทบทวนการออกแบบ ประเมินความสามารถในการที่จะทําไดตามที่ตองการ ชี้บงปญหาและการเฝาติดตาม หนวยงานที่เกี่ยวของตองรวมทบทวน บันทึกผลการทบทวนและการ Follow-up

การทวนสอบการออกแบบ ตรวจทานใหมั่นใจวาผลการออกแบบเปนไปตามขอมูลการออกแบบ บันทึกผลการทวนสอบและการ Follow-up

การพิสูจนความถูกตอง ☺

พิสูจนจากตัวสินคาวาเปนไปตามความตองการ

ถาเปนไปไดควรทํากอนสงมอบ

ถาบางครั้งทําไมไดทั้งหมดก็ใหกําหนดขอบเขตการทําใหกวางที่สุด เทาที่ทําได

ผลการพิสูจนตองเก็บไวเปนหลักฐาน

25


การควบคุมการเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลงตองชี้บง, จัดทําเอกสารและควบคุม -

ประเมินระดับของผลการทบของการเปลี่ยนแปลง

-

ทวนสอบและพิสูจนความถูกตองของการเปลี่ยนแปลง ตามความเหมาะสม

-

อนุมัติกอนลงมือปฏิบัติ

-

บันทึกผลการเปลี่ยนแปลง

การออกแบบ และ พัฒนาผลิตภัณฑ อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ ตอง ไดรบั การกําหนดโดย พิจารณาและคํานึงถึงสูตรของผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ สภาพแวดลอมของ โรงงานและสภาพการจัดเก็บในภายหลัง การศึกษาอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ ตอง ไดดําเนินการโดย ใชระเบียบปฎิบัติที่จัดทําเปนเอกสารและผลการศึกษา ตอง จัดทําเปน เอกสารและเก็บไว

26


Control of Product & Process

Control of Product & Process ขอกําหนดในการจัดการสําหรับวัสดุควบคุมเฉพาะ ในกรณีที่วัตถุดิบและผลิตภัณฑสําเร็จรูป ตองการการควบคุม เฉพาะ เชน สารกอใหเกิดภูมแิ พ, สารอินทรีย เปนตน ตอง มีระเบียบ ปฎิบัติเพื่อใหมั่นใจวา มีการธํารงไวซึ่งความปลอดภัย ความถูกตองตาม กฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ บริษัท ตอง มีการประเมินความเสี่ยงของวัตถุดิบ เพื่อใชในการ ดําเนินเรื่องความรุนแรงของการปนเปอนของสารที่กอใหเกิดการแพ หรือ ความรุนแรงที่กอใหเกิดการสูญสภาพของการจัดเก็บเฉพาะ และ มาตรการในการควบคุม ตอง มีอยูเพื่อผลในดานความปลอดภัยและ กฎหมายของผลิตภัณฑ

27


Control of Product & Process ขอกําหนดในการจัดการสําหรับวัสดุควบคุมเฉพาะ ในระหวางการจัดเก็บและการผลิต ตอง มีการพิจารณาเปนกรณี เฉพาะ เพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอนขามของสวนผสมซึ่งอาจกอใหเกิด ปญหาทางดานความปลอดภัย หรือ ในกรณีที่เปนสาเหตุของความไมพึง พอใจของลูกคาอยางมีนัยสําคัญ ในกรณีที่มีการนําผลิตภัณฑกลับมาใชใหม หรือ นํามาผลิตใหม ตอง ปฎิบัติตามระเบียบปฎิบัติ เพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัย ความ ถูกตองตามกฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ

Ref : Directive 2003/89/EC

28


29


Control of Product & Process การตรวจจับโลหะ สิ่งแปลกปลอม องคกร ตอง มั่นใจวามีขั้นตอนที่จําเปนเพือ่ กําหนด หลีกเลี่ยง กําจัด หรือลดความเสี่ยงของการปนเปอนจากโลหะและสิ่งแปลกปลอม องคกร ตอง ใชการวิเคราะหอันตรายและกําหนดจุดควบคุมวิกฤต สําหรับสิ่งแปลกปลอมเพื่อประเมินความตองการในการใชอุปกรณ ตรวจจับโลหะและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ ในกรณีที่จําเปนตองใชอุปกรณ นี้ ตอง มีไวเพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปอ นของโลหะและสิ่ง แปลกปลอม ในกรณีที่ตองใชเครื่องตรวจจับโลหะ และ สิ่งแปลกปลอม ตอง กําหนดและประยุกตใชวิธกี ารที่ดีที่สุด คาวิกฤตของการตรวจจับตอง คํานึงถึงลักษณะของอาหาร ตําแหนงของเครื่องและปจจัยอื่น ๆ ที่มีผล ตอความไวของเครื่องตรวจจับโลหะ

Control of Product & Process การตรวจจับโลหะ สิ่งแปลกปลอม เครื่องตรวจจับโลหะและสิ่งแปลกปลอม ตอง สัมพันธกับ - ระบบเตือน หยุดของสายพาน - เครื่องคัดแยกออกโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะแยกสินคาที่มีสิ่งแปลกปลอมไปสู บริเวณที่กักสินคา โดยสามารถเขาถึงไดเฉพาะผูที่ไดรับมอบหมาย - การตรวจจับในกระบวนการที่สามารถบงบอกถึงการปนเปอนของโลหะ หรือสิ่งแปลกปลอมและมีการแยกที่มีประสิทธิภาพ ตอง มีระเบียบปฎิบัติที่จัดทําเปนเอกสารสําหรับการกําหนดการปฎิบัติการ แกไข ในกรณีที่มีการตรวจพบโลหะ และ สิ่งแปลกปลอม องคกร ตอง กําหนดและดําเนินการตามระเบียบปฎิบัติสําหรับการปฎิบัติ การเฝาระวังอยางสม่ําเสมอและทดสอบ สอบเทียบเครื่องตรวจจับโลหะและสิ่ง แปลกปลอม

30


Control of Product & Process การตรวจจับโลหะ สิ่งแปลกปลอม องคกร ตอง กําหนดระเบียบในการรายงาน ดําเนินการปฎิบัติการ แกไข ในกรณีที่เครื่องตรวจจับโลหะและสิ่งแปลกปลอมไมเปนไปตาม ระเบียบปฎิบัติในการทดสอบ ระเบียบปฎิบัติจะรวมถึงการจัดแยก การ กัก และ การตรวจสอบซ้ําสําหรับอาหารทั้งหมดที่ผลิตนับตั้งแตการ ยอมรับครั้งสุดทายของการตรวจจับโลหะและสิ่งแปลกปลอม

Control of Product & Process มาตรฐาน ขอกําหนด (specification) ขอกําหนด ตอง เพียงพอ ถูกตอง และตองมั่นใจวา สอดคลองกับขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและขอกําหนด กฎหมาย ขอกําหนด ตอง ไดรับความเห็นชอบอยางเปนทางการ และ ไดรับการอนุมัติจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ในกรณีที่ไมมีหลักฐาน การตกลงกันอยางเปนทางการ องคกร ตอง สามารถแสดงใหเห็นไดวา ไดมีขั้นตอนที่จะทําใหมั่นใจวามีการตกลงอยางเปนทางการแลว ขอกําหนด ตอง ธํารงไวอยางตอเนื่องเพื่อใหมั่นใจถึง สถานะและความพอเพียง

31


Control of Product & Process บรรจุภัณฑ บรรจุภัณฑ ตอง เหมาะสมตามวัตถุประสงคการใช และ จัดเก็บ ภายใตสภาวะที่ลดความเสี่ยงของการปนเปอนและการเสื่อมสภาพ ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อยืนยันวาบรรจุภัณฑเปนไปตาม ขอกําหนด บรรจุภัณฑ ตอง เปนไปตามกฎหมายทางดานความปลอดภัยของ อาหาร และ ตองเหมาะสมกับสภาพการใชงาน บรรจุภัณฑ ตอง จัดเก็บแยกจากวัตถุดบิ และ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป

Control of Product & Process บรรจุภัณฑ ในกรณีที่บรรจุภัณฑมีความเสี่ยงตอความปลอดภัยของผลิตภัณฑ ตอง มี ระเบียบปฎิบัติเพื่อควบคุมเฉพาะ เพื่อปองกันการปนเปอน หรือ เสื่อมเสียของ ผลิตภัณฑ ตอง จัดเก็บบันทึกปญหาที่เกิดขึ้นและการปฎิบัติการแกไข วัสดุใด ๆ ก็ตามที่เปนสวนประกอบของบรรจุภัณฑ ตอง ไดรับการปองกัน อยางมีประสิทธิภาพ กอนที่จะนํากลับไปจัดเก็บ วัสดุรอง (สําหรับวัตถุดิบ ผลิตภัณฑระหวางการผลิต) ตอง มีสีที่แตกตางเพื่อ ปองกันการปนเปอนโดยไมไดเจตนา ในกรณีที่มีการใชลวดเย็บกระดาษและวัสดุอื่น ๆ ที่อาจเปนสาเหตุของการ ปนเปอนของบรรจุภัณฑ ตอง มีการปองกันที่เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงของการ ปนเปอนของผลิตภัณฑ

32


Control of Product & Process การตรวจสอบและวิเคราะหผลิตภัณฑ องคกร ตอง ดําเนินการหรือวาจางผูรับจางชวงเพื่อสําหรับการ ตรวจวิเคราะหสิ่งที่มีความสําคัญตอความปลอดภัย ความถูกตองตาม กฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ โดยใชระเบียบปฎิบัติ สิ่งอํานวย ความสะดวกและมาตรฐานที่เหมาะสม การเฝาระวังสินคาที่รับเขา ตอง ไดรับการกําหนดและอยูบน พื้นฐานของการประเมินความเสี่ยง วิธีการและความถี่ในการตรวจสอบ และระเบียบปฎิบัติตองไดรับการกําหนดและจัดทําเปนเอกสาร ผูสงมอบ ตองจัดใหมีหลักฐานการรับรอง การวิเคราะห เอกสารรับรอง ความ สอดคลองของสินคา

Control of Product & Process การตรวจสอบและวิเคราะหผลิตภัณฑ ในกรณีที่องคกรดําเนินการตรวจวิเคราะหที่สําคัญตอความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑหรือการทวนสอบคุณสมบัติตามกฎหมาย หองปฎิบัติการหรือจัดจางภายนอก ตอง ไดรับการรับรองหรือ ดําเนินการตามขอกําหนดและหลักการของ ISO 17025 ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อใหมั่นใจในความนาเชื่อถือของผลการ ทดสอบ บุคลากรที่ดําเนินการตรวจวิเคราะห ตอง มีคุณสมบัติและ หรือ ไดรับการฝกอบรมที่เหมาะสม และ ตอง สามารถดําเนินการตรวจ วิเคราะหในหัวขอที่กําหนดไดอยางมีประสิทธิภาพ

33


Control of Product & Process การหมุนเวียนสตอค ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อใหมั่นใจวาวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ ตามลําดับ ที่ถูกตองและภายในอายุการจัดเก็บ เอกสารการรับและหรือฉลากผลิตภัณฑ ตอง งายตอการ หมุนเวียนสตอกอยางถูกตอง

Control of Product & Process การควบคุมกระบวนการ องคกร ตอง สามารถแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการควบคุม กระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นทั้งหมด การควบคุมกระบวนการทํางาน องคกร ตอง ดําเนินการตามระเบียบปฎิบัติ เพื่อทวนสอบวา กระบวนการและเครื่องมือที่ใช สามารถใหการผลิตผลิตภัณฑ ที่ ปลอดภัย และ ถูกตองตามกฎหมายและเปนไปตามคุณลักษณะทาง คุณภาพ ที่ตองการอยางสม่ําเสมอ

34


Control of Product & Process การควบคุมกระบวนการทํางาน ในกระบวนการผลิตที่มีผลตอ ความปลอดภัย และ คุณลักษณะทางคุณภาพ ของผลิตภัณฑ หรือ ความถูกตองตามกฎหมาย ตอง มีการตรวจพิสูจนยืนยันโดย พิจารณาสภาวะการที่ไมเหมาะสมมากที่สุดกอนการเริ่มตนการผลิต ตอง มีการตรวจพิสูจนยืนยันอยางตอเนื่องเปนประจําสม่ําเสมอ โดย ดําเนินการบนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยง และ ขอมูลที่แสดงความไม สม่ําเสมอหรือความไมสอดคลองของกระบวนการผลิต ในกรณีที่มีการควบคุมทางกายภาพ ทางเคมี ของวัตถุดิบ ผลิตภัณฑระหวาง การผลิต หรือ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป กระบวนการผลิตและหรือ สภาวะแวดลอมซึ่ง สําคัญตอ ความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ ตอง ไดรับการควบคุมเฝาระวัง และ บันทึกอยางสม่ําเสมอ

Control of Product & Process การควบคุมกระบวนการทํางาน การตรวจสอบในกระบวนการผลิต ตอง ไดรับการดําเนินการตาม ขอกําหนดและระเบียบปฎิบตั ิที่ไดกําหนดไว ในสถานการณที่การควบคุมอุณหภูมิ และหรือ เวลามีความสําคัญ ตอความปลอดภัย และ คุณลักษณะทางคุณภาพของผลิตภัณฑ หรือ ความถูกตองตามกฎหมาย ตอง มีการใชอุปกรณในการบันทึกอุณหภูมิ และหรือ เวลาซึ่งเชื่อมโยงกับระบบเตือนอยางเหมาะสม เพื่อเฝาระวัง ตามความถี่และสถานะของกระบวนการที่เหมาะสม

35


Control of Product & Process การควบคุมกระบวนการทํางาน ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง สูตรผลิตภัณฑ วิธกี ารผลิต เครื่องมือ หรือ บรรจุภัณฑ องคกร ตอง ดําเนินการกําหนดปจจัยในการผลิต และ ตรวจพิสูจนยืนยันขอมูลผลิตภัณฑใหม เพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมาย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ ในกรณีที่เครื่องมือเกิดปญหาหรือกระบวนการผลิตมีการเบี่ยงเบน ไปจากปกติ ตอง มีระเบียบปฎิบตั ิในการกําหนดสถานะทางดานความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑกอนการตรวจปลอย

Control of Product & Process การควบคุมปริมาณ องคกร ตอง ดําเนินการตามระบบการควบคุมปริมาณที่เปนไปตาม ขอกําหนดกฎหมายของผลิตภัณฑที่มีอยูและระเบียบปฎิบัติเพิ่มเติมใด ๆ ที่เปนที่ เขาใจโดยทั่วไปในแตละอุตสาหกรรม หรือ ขอกําหนดของลูกคา ความถี่และวิธีการตรวจสอบปริมาณ ตอง เปนไปตามขอกําหนดกฎหมาย ที่วาดวยเรื่องการทวนสอบปริมาณโดยเฉพาะ สําหรับผลิตภัณฑที่มีการบรรจุ ลวงหนา องคกรที่นําเขาสินคาที่ผานการบรรจุแลวมาขาย ตอง สามารถแสดงใหเห็น ถึงความสอดคลองตามขอกําหนดกฎหมายของผลิตภัณฑที่มีอยูสําหรับผูบริโภค สุดทาย ในกรณีที่ปริมาณสินคาไมไดถูกกําหนดโดยขอกําหนดกฎหมาย เชน การ บรรจุขนาดใหญ ผลิตภัณฑ ตอง เปนไปตามขอกําหนดความตองการของลูกคา

36


Control of monitoring and measuring

Control of monitoring and measuring ตองระบุวิธีการและเครื่องมือสําหรับการเฝาติดตาม และ การวัดตางๆ (ควบคุมจุด CCP, ความปลอดภัย, กฎหมาย, คุณภาพ) เครื่องมือ และ วิธีการวัด ตอง ไดรับการสอบเทียบ หรือ ทวนสอบ ตามชวงเวลาที่กําหนด หรือกอน การใชงาน (ที่สามารถสอบยอนกลับไปยังมาตรฐานนานาชาติ) ไดรับการปรับตั้งซ้ําตามความจําเปน ไดรับการชี้บงสถานการณสอบเทียบ ไดรับการปองกันการปรับแตง มีการปองกันความเสียหาย, เสื่อมสภาพ ระหวางการเคลื่อนยาย, บํารุงรักษา, จัดเก็บ

37


Control of monitoring and measuring ตองจัดเก็บบันทึกประวัติผลการสอบเทียบและการทวน สอบ (หากพบวาเครื่องมือไมเหมาะสมกับการใชงาน ตอง มีแนวทางการแกไขกับเครื่องมือ และ ผลิตภัณฑทอี่ าจมี ผลกระทบ) กรณีมีการใช Software ในการเฝาติดตามและวัด ผลิตภัณฑ ตอง มีระบบการยืนยันความถูกตองของ โปรแกรม กอนใชงานในครั้งแรก

Emergency

38


Emergency จัดทํา, ประยุกตใช, รักษาไวซึ่งระเบียบปฎิบัติซึ่งใช จัดการกับสถานการณฉุกเฉิน (ที่มีผลกระทบตอความ ปลอดภัยของอาหาร) ไฟไหม การกอการราย น้ําทวม ฯลฯ

Withdrawal & Recall & Traceability

39


Withdrawal & Recall Requirement

Withdrawal

GMP ISO 22000 BRC

Recall

♠ (Documented) ♠

(Written guidance) (Written guidance)

40


Control of Nonconforming Product

Control of Nonconforming Product องคกรตองจัดการกับผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามขอกําหนดโดยวิธีตางๆเพื่อ ปองกันไมใหกลับเขาสูหวงโซอาหาร ถาไมมั่นใจวา a) ความเสี่ยงดานความปลอดภัยทางอาหาร ตองถูกทําใหลดลงถึงระดับที่ สามารถยอมรับไดกอนที่จะเขาสูหวงโซอาหารหรือ b) ผลิตภัณฑยังคงเปนไปตามระดับที่สามารถยอมรับได รุนตางๆของผลิตภัณฑซึ่งอาจไดรับผลกระทบจากเหตุการณที่ทําใหเกิดสิ่ง ที่ไมเปนไปตามขอกําหนดตองถูกจัดการใหอยูภายใตความควบคุมจนกระทั่งถูก ประเมิน

41


Control of Nonconforming Product ถาผลิตภัณฑออกจากความควบคุมขององคกร และ ภายหลังไดถูก กําหนดใหเปนผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย องคกรตองชี้แจงและจะตองทําการ ถอนผลิตภัณฑนั้น มีการแกไขเพื่อมิใหเกิดปญหาซ้ําขึ้นอีก

Control of Nonconforming Product การตรวจปลอยผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑที่ไดรับผลกระทบจากสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดจะถูกปลอย ออกเมื่อเปนผลิตภัณฑที่ปลอดภัย ภายใตการพิจารณาของบุคคลที่มีอํานาจหนาที่ รับผิดชอบ ตามเงื่อนไขดังนี้ a) หลักฐานที่แสดงวาระเบียบวิธีการควบคุมไดถูกทําใหมีประสิทธิภาพ b) หลักฐานที่แสดงวาผลกระทบโดยรวมของระเบียบวิธีการควบคุมสําหรับ ผลิตภัณฑเฉพาะอยางสอดคลองกับการกระทําที่เจตนา (การระบุระดับของการ ยอมรับใหสอดคลอง) c) ผลของการสุมตัวอยาง, การวิเคราะหและกิจกรรม

42


Control of Nonconforming Product การจัดการกับผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามขอกําหนด การประเมินที่จะตามมา ถาผลิตภัณฑนั้นไมสามารถยอมรับใหปลอยออก ได ตองถูกจัดการโดยหนึ่งในกิจกรรมดังนี้ a) การนํามาทําใหม หรือทํากระบวนการเพิ่มเติมภายใน หรือภายนอก องคกรตอง มั่นใจวาความเสี่ยงดานความปลอดภัยทางอาหารไดถูกกําจัด หรือถูกลดลงจนถึง ระดับตางๆที่ยอมรับได (ตรวจสอบซ้ํา) b) การทําลาย และทิ้ง ของเสีย c) การยอมรับตามสภาพ

Corrective & Preventive Action

43


Corrective & Preventive Action Correction Prevent recurrence

Corrective Action Preventive Action Prevent occurrence

CAPA Procedures Seven Steps 1. 2. 3.

Identification – clearly define the problem Evaluation – appraise the magnitude and impact Investigation – make a plan to research the problem

4. 5. 6. 7.

Analysis – perform a thorough assessment Action Plan – create a list of required tasks Implementation – execute the action plan Follow Up – verify and assess the effectiveness

44


xx-xx-xx : Non-conformities and

ใบขอใหมีการปฏิบัติการแกไขและปองกัน ( CAR / PAR )

Corrective Action and Preventive Action

เลขที่ …….. / ……. (เดิม) ……. / ……..

สวนที่ 1 รายละเอียดของปญหา / ข อบกพรอง

ตัวอยางแบบฟอรม CAR

รายละเอียด : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจพบเมื่อ : ….. / ….. / …..

โดย ………………………………………. สถานที่ ………..………..…………………………………………………………. ลงชื่อ …………………………………………

วันที่ ….. / ….. / …..

สวนที่ 2 การวิเคราะหคนหาสาเหตุ และกําหนดผูรับผิดชอบ แกไขปญหาเฉพาะหนา …………...……………………...…………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิเคราะหสาเหตุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การปฏิบัติการแกไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ความเขาใจผิดเกี่ยวกับ ใบ CAR • เรื่องรายแรงที่สุด เกิดขึ้นไมได • หนวยงานใดเกิดแสดงวาทํางานแย • มักวิเคราะหวาเกิดจาก Human Error

….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การปฏิบัติการปองกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วันที่คาดวาจะแลวเสร็จ ...... / ...... / ...... สวนที่ 3 การติดตามการแกไขและปองกัน และอนุมัติการปด CAR / PAR วันที่ ….. / ….. / ….. บันทึกการติดตามผลการแกไขและปองกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุป

การแกไข

พอใจ

ตองแกไขเพิ่ม

การปองกัน

พอใจ

แนวคิดใหม • โอกาสในการปรับปรุงมาแลว • ใหวิเคราะหปญหาจากระบบ (System)

ตองแกไขเพิ่ม

ลงชื่อ ………………………………………. ผูตรวจติดตาม REV.0 ( 16-7-44 )

xx-xx-xx : Non-conformities and

ใบขอใหมีการปฏิบัติการแกไขและปองกัน ( CAR / PAR )

Corrective Action and Preventive Action

เลขที่ …….. / ……. (เดิม) ……. / ……..

สวนที่ 1 รายละเอียดของปญหา / ข อบกพรอง รายละเอียด : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตรวจพบเมื่อ : ….. / ….. / …..

โดย ………………………………………. สถานที่ ………..………..…………………………………………………………. ลงชื่อ …………………………………………

วันที่ ….. / ….. / …..

สวนที่ 1 : ระบุปญหาที่เกิดขึ้น ปญหาที่มักพบ • เขียนแลวไมรูวาปญหาคืออะไร • รายละเอียดไมครบถวน • เขียนในเชิงลบ

45


สวนที่ 2 การวิเคราะหคนหาสาเหตุ และกําหนดผูรับผิดชอบ แกไขปญหาเฉพาะหนา …………...……………………...…………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วิเคราะหสาเหตุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การปฏิบัติการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การปฏิบัติการปองกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วันที่คาดวาจะแลวเสร็จ ...... / ...... / ......

สวนที่ 2 : วิเคราะหสาเหตุ และดําเนินการ ปญหาที่มักพบ • การวิเคราะหหาสาเหตุ ( Root Cause ) • ไมแสดงการปฏิบัติการปองกัน

Factory Environment Standard มาตรฐานสภาพแวดลอมของโรงงาน

46


Factory Environment Standard External Environment Standards ที่ตั้ง สถานที่ตั้ง ตอง อยูและรักษาไวซึ่งการปองกันการปนเปอนและ สามารถผลิตผลิตภัณฑที่ปลอดภัยและถูกตองตามกฎหมาย ตอง มีการพิจารณาถึงกิจกรรมในพื้นที่และสิ่งแวดลอมซึ่งอาจ กอใหเกิดโอกาสที่จะสงผลกระทบที่ไมดี และ ตอง มาตรการในการ ปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑ ในกรณีที่มีมาตรการเพื่อปองกัน สถานที่จากการปนเปอน มาตรการเหลานี้ ตอง ไดรับการทบทวน ขอบเขตของสถานที่ตั้ง ตอง มีการกําหนดอยางชัดเจน

Factory Environment Standard External Environment Standards อาณาเขตและพื้นที่โดยรอบ อาณาเขตในสถานที่ตั้ง ตอง อยูในสภาพเรียบรอยและรักษาไวตามมาตรฐาน ที่เหมาะสม พื้นที่ภายนอก ตอง จัดใหมีการดูแลในสภาพที่ดี อาคารที่ลอมรอบดวย ตนไมและหญา ตอง ไดรับการดูแลรักษาเปนอยางดี ผนังภายนอกอาคาร ตอง ไดรับการดูแลใหอยูในสภาพที่สะอาด ไมมีพื้นที่ รก ในกรณีที่ผนังอยูชิดกับภายนอก ตอง มีการปองกันและการทําความสะอาดที่ เหมาะสม ในกรณีที่มีการจัดเก็บภายนอก ตอง ไดรับการปองกันการปนเปอนและ เสื่อมสภาพ หากทางระบายน้ําตามธรรมชาติไมเพียงพอ ตอง ติดตั้งการระบายน้ํา

47


Factory Environment Standard Internal Environment Standards Layout, Product Flow and Segregation อาคารสถานที่และโรงงาน ตอง ไดรับการออกแบบ กอสรางและ รักษาไวเพื่อควบคุมความเสี่ยงของการปนเปอนของผลิตภัณฑ และ ตอง เปนไปตามขอกําหนดกฎหมายที่เกี่ยวของ ตอง มีมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของสถานที่ตั้ง และมั่นใจวาเฉพาะผูที่ไดรับอนุญาตเทานั้นที่สามารถผานเขาไปใน บริเวณผลิตและบริเวณจัดเก็บได เสนทางการผลิตจากวัตถุดิบถึงการจัดสง ตอง ไดรับการจัดการ เพื่อปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑ

Factory Environment Standard Internal Environment Standards Layout, Product Flow and Segregation ตอง มีการแยกพื้นที่หรือมีระเบียบปฎิบัตทิ ี่มีประสิทธิภาพ เพื่อลด ความเสี่ยงของการปนเปอน ระบบการทํางาน ตอง ลดโอกาสเสี่ยงของการปนเปอนทางดาน กายภาพ เคมี หรือ ชีวภาพ การจัดแยก ตอง พิจารณาเสนทางของผลิตภัณฑ (วัตถุดบิ อุปกรณ บุคลากร การไหลของอากาศ คุณภาพอากาศ และ การบริการตาง ๆ ) ตอง มีการจัดแยกที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความเสี่ยงของการปนเปอน ลงสูผลิตภัณฑ เมื่อมีขอกําหนดการจัดการพิเศษ (สารกอภูมิแพ)

48


Factory Environment Standard Internal Environment Standards Layout, Product Flow and Segregation สําหรับการผลิตสินคาแชเย็นพรอมบริโภค สินคาปรุงสําเร็จ หรือ สินคาที่มีความเสี่ยง ตอง มีการจัดแยกพื้นที่ระหวางสินคาสําเร็จรูปและ วัตถุดิบ พื้นทีส่ วนที่มีความเสี่ยงสูง ตอง ไดรับการออกแบบใหอยูภ ายใต มาตรฐานระดับสูงดานสุขลักษณะที่เกี่ยวของกับบุคลากร สวนผสม อุปกรณ บรรจุภัณฑ และ สภาพแวดลอม เพื่อปองกันการปนเปอน

Factory Environment Standard Internal Environment Standards Layout, Product Flow and Segregation บริเวณพื้นที่ความเสี่ยงสูงตอการปนเปอนของสินคาแชเย็นพรอม บริโภค และสินคาปรุงสําเร็จ กระบวนการผลิต ตอง ลดความเสี่ยงจาก การปนเปอนจากเชื้อจุลินทรีย สถานที่ จุดตอเชื่อมทั้งหมด ตอง ไมกอใหเกิดความเสี่ยงของการ จัดแยกระหวางพื้นที่เสี่ยงต่ําและเสี่ยงสูงและ ตอง มีการปฎิบัติ เพื่อลด ความเสี่ยงของการปนเปอนไปสูผลิตภัณฑ

49


Factory Environment Standard Internal Environment Standards Layout, Product Flow and Segregation อุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกในการวิเคราะหในบริเวณผลิต ตอง ไมเปนอันตรายตอความปลอดภัยของอาหาร อุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการลางภาชนะ และ อุปกรณและการซักลางทั่วไป ตอง ถูกจัดแยกอยางเพียงพอและ เหมาะสมจากกิจกรรมการผลิต สถานที่ ตอง อํานวยใหมีพนื้ ที่ทํางานและจัดเก็บที่พอเพียง เพื่อให สามารถปฎิบัติงานภายใตสภาพสุขลักษณะ

Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร (จัดเก็บวัตถุดิบ เตรียมการผลิต บริเวณผลิต บริเวณบรรจุ บริเวณจัดเก็บ) ตัวอาคารของโรงงานและอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวก ตอง เหมาะสมตามวัตถุประสงคที่ใชงาน ผนัง ผนัง ตอง ไดรับการออกแบบ กอสราง อยูในสภาพที่เรียบรอยและ คงไวเพื่อปองกันการสะสมของฝุน เพื่อลดการกลั่นเปนหยดน้ําและการ เจริญของเชื้อรา และ งายตอการทําความสะอาด

50


Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร พื้น พื้น ตอง ไดรับการออกแบบใหเปนไปตามความตองการของการผลิตและ ทนตอวิธีการและสารทําความสะอาด พื้น ตอง ไมดูดซับและอยูในสภาพที่ดี การระบายน้ํา ตอง ไดรับการออกแบบและคงไวเพื่อลดความเสี่ยงในการ ปนเปอนของผลิตภัณฑใหนอยที่สุดและไมกอใหเกิดปญหาความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ การระบายน้ําจากหองปฎิบัติการ ตอง ไมกอใหเกิดความเสี่ยงตอผลิตภัณฑ พื้น ตอง มีลาดเอียงเพื่อสามารถระบายน้ําหรือของเสียลงสูทางระบายที่ เหมาะสม

Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร เพดานและบริเวณเหนือการผลิต เพดานและบริเวณเหนือการผลิต ตอง ไดรับออกแบบ กอสราง อยู ในสภาพเรียบรอยและคงไวเพื่อปองกันการสะสมของฝุน เพื่อลดการ กลั่นตัวของหยดน้ํา และการเจริญของเชื้อรา และ งายตอการทําความ สะอาด ในกรณีที่มีการใชเพดานเทียม ตอง มีชองทางเขาเพื่อใหงายตอการ ทําความสะอาด ซอมบํารุงและการตรวจสอบกิจกรรมของแมลงและ สัตวพาหะนําโรค

51


Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร หนาตาง ในกรณีที่หนาตางไดรับการออกแบบเพื่อเปดสําหรับวัตถุประสงค ในการระบายอากาศ หนาตาง ตอง ไดรับการติดตั้งมุงลวดอยางเพียงพอ เพื่อปองกันการเขามาของแมลงและสัตวพาหะนําโรค หนาตางที่ทําดวยกระจก ตอง ไดรับการปองกันการแตก

Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร ประตู ในกรณีที่ประตูเปดสูภายนอกอยูใ นบริเวณการจัดการกับวัตถุดิบ บริเวณผลิต บรรจุและจัดเก็บ ตอง จัดใหมีการปองกันที่เหมาะสม เพื่อ ปองกันการเขามาของแมลงและสัตวพาหะนําโรค ประตูเหลานี้ ตอง ปด สนิทหรือมีการปองกันอยางเพียงพอ

52


Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร แสงสวาง ตอง จัดใหมีแสงสวางอยางเพียงพอในทุกบริเวณปฎิบัติงาน ในกรณีที่หลอดไฟรวมทั้งหลอดไฟของเครื่องดักแมลงมีความเสี่ยงตอการ ปนเปอนตอผลิตภัณฑ หลอดไฟเหลานี้ ตอง ไดรับการปองกันดวยฝาครอบ พลาสติกที่ปองกันการแตก สําหรับหลอดไฟที่มีอุณหภูมิสูงซึ่งไมสามารถใชฝา ครอบได ตอง มีการติดตั้งตะแกรงที่ทําดวยโลหะ ในกรณีที่การปองกันดังกลาวไม สามารถดําเนินการได ระบบการจัดการแกวและกระจก ตอง นํามาประยุกตใช

Factory Environment Standard Internal Environment Standards ตัวอาคาร ระบบปรับอากาศ/ระบายอากาศ ตอง จัดใหมกี ารระบายอากาศอยางเพียงพอในบริเวณการจัดเก็บ ผลิตภัณฑและบริเวณการผลิต ในกรณีทกี่ ารผลิตตองการใหมีการกรองอากาศ อุปกรณ ที่ใช ตอง ไดรับการบํารุงรักษา อยางเพียงพอ ตอง จัดใหมีระบบปรับความดันอากาศ

53


Factory Environment Standard บริการ บริการตาง ๆ สําหรับบริเวณผลิต บริเวณจัดเก็บ ตอง ไดรับการ ออกแบบ กอสราง ดูแล และ รักษาเพื่อควบคุมความเสี่ยงในการ ปนเปอนสูผลิตภัณฑ น้ําที่ใชสําหรับการทําความสะอาด หรือ เกี่ยวของกับกระบวนการ ผลิต หรือ เตรียมอาหาร ตอง เปนน้ําที่มีคุณภาพระดับน้ําบริโภคหรือไม มีความเสี่ยงตอการปนเปอน ไมวาจะเปนน้าํ ที่มาจากแหลงน้ําหลัก หรือ น้ําที่มาจากการบําบัดที่เหมาะสมตามสภาพแหลงน้ํา ในกรณีน้ําใชใน การลางวัตถุดิบเบื้องตนกอนการผลิตไมไดคุณภาพในระดับน้ําบริโภค ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปอนสูผลิตภัณฑ ระหวางผลิต

Factory Environment Standard บริการ ตอง มีการเฝาระวังคุณภาพของน้ํา ไอน้ํา น้ําแข็ง อากาศ หรือ กาซ ที่สัมผัสกับอาหาร และ ตองไมเสี่ยงตอความปลอดภัยและคุณภาพของ ผลิตภัณฑ

54


Factory Environment Standard เครื่องมือ เครื่องมือ ตอง ไดรับการออกแบบ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคการ ใชงานที่เหมาะสม และ ตอง นําไปใชในลักษณะที่ลดความเสี่ยงของการ ปนเปอนของผลิตภัณฑ เครื่องมือทั้งหมด ตอง ไดรับการกําหนดอยางเหมาะสม กอนการ จัดซื้อ ทดสอบ และ ทดลองกอนใชงาน เครื่องมือ ตอง ติดตั้งใหมีชองดานลาง ดานใน และ รอบ ๆ เพื่อให งายตอความสะอาดและการทําการจัดการ หรือ ถาเปนการติดตั้งถาวร ตอง ยึดติดกับพื้นอยางเหมาะสม

Factory Environment Standard การบํารุงรักษา ตอง มีระบบการจัดทําแผนการบํารุงรักษา ครอบคลุมเครื่องมือ ทั้งหมด ซึ่งสําคัญตอความปลอดภัย ความถูกตองตามกฎหมายและ คุณภาพของผลิตภัณฑ เมื่อทําการติดตั้งอุปกรณตัวใหมและโรงงานใหม โปรแกรมการ ซอมบํารุงรักษา ตอง ไดรับการจัดทําโดยอยูบนพื้นฐานของการประเมิน ความเสี่ยง องคกร ตอง มั่นใจวา กิจกรรมการซอมบํารุง ตอง ไมกอใหเกิด ปญหาตอความปลอดภัย และ ความถูกตองตามกฎหมายตอผลิตภัณฑ

55


Factory Environment Standard การบํารุงรักษา ในกรณีที่ทําการซอมแซมชั่วคราว ตอง ไดรับการควบคุมเพื่อให มั่นใจวาจะไมสงผลตอความปลอดภัยและความถูกตองตามกฎหมายของ อาหาร มาตรการชั่วคราวนี้ ตอง ไดรับการแกไขใหเปนการถาวรโดย ทันทีที่เปนไปได การทําความสะอาดและการเปลี่ยนหลอดไฟและแกว พลาสติกที่ แตกงาย ตองกระทําในวิสัยทีจ่ ะลดโอกาสการปนเปอนของผลิตภัณฑ

Factory Environment Standard สิ่งอํานวยความสะดวกของพนักงาน สิ่งอํานวยความสะดวกของพนักงาน ตอง ไดรับการออกแบบและ ดําเนินการในลักษณะที่ลดความเสี่ยงของการปนเปอนของผลิตภัณฑ ในกรณีที่ตองมีการใชชุดทํางานเฉพาะ ตอง จัดใหมีสิ่งอํานวย ความสะดวกในการเปลี่ยนชุดสําหรับบุคลากร พนักงานทั้งหมด รวมทั้ง พนักงาน ผูเขาเยี่ยมชม หรือ ผูรับจาง กอนเขาในพื้นทีก่ ารผลิต การบรรจุ หรือ พื้นที่จัดเก็บ ตอง จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกในการทําความสะอาดมือกอน เขาสูพื้นที่การผลิต และ ภายในพื้นที่อื่น ๆ อยางเหมาะสมและเพียงพอ

56


Factory Environment Standard สิ่งอํานวยความสะดวกของพนักงาน หองน้ํา ตอง ไดรับการจัดแยกและไมเปดโดยตรงสูพื้นที่ผลิต บรรจุ หรือ จัดเก็บ ตอง อนุญาตใหสูบบุหรี่ในบริเวณที่กําหนดไวอยางเหมาะสมเทานั้น และ แยกจากบริเวณผลิต บรรจุ และ จัดเก็บ ในกรณีที่มีการจัดใหมีพื้นที่รับประทานอาหาร ตอง ไดรับการควบคุมอยาง เหมาะสมเพื่อปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑ ตอง จัดใหมีบริเวณจัดเก็บอาหารที่นํามาของพนักงานที่เหมาะสม สิ่งอํานวยความสะดวกในการเปลี่ยนเครื่องแตงกาย ตอง อยูในจุดที่อนุญาต ใหพนักงานที่เขาสูการผลิต บรรจุและจัดเก็บไดโดยตรง โดย ตอง ไมผานออกสู บริเวณภายนอกหลังการเปลี่ยนเครื่องแตงกายอยางเหมาะสม

Factory Environment Standard สิ่งอํานวยความสะดวกของพนักงาน ถามีบริเวณที่ตองดูแลในระดับความเสี่ยงสูง พนักงาน ตอง เขาสู บริเวณดังกลาวผานทางบริเวณเปลี่ยนเครื่องแตงกายที่กาํ หนด และ ตอง ปฎิบัติตามระเบียบปฎิบัติที่กาํ หนดไวสําหรับการแตงกายดวยเสื้อผา หมวก และ รองเทาที่สะอาด เครื่องแตงกายในบริเวณนี้ ตอง ถูกถอด ออกในบริเวณเปลี่ยนเครื่องแตงกายที่กําหนดไวเทานั้น เครื่องแตงกายที่สวมใสมาจากภายนอกและสิ่งของเครื่องใช สวนตัวอื่น ๆ ตอง ไดรับการจัดเก็บแยกจากชุดทํางานในบริเวณเปลี่ยน เครื่องแตงกาย

57


Factory Environment Standard ความเสี่ยงของการปนเปอนทางกายภาพ เคมี ของผลิตภัณฑ มีสิ่งอํานวยความสะดวกและระเบียบปฎิบัติที่เหมาะสม เพื่อควบคุมความ เสี่ยงของการปนเปอนทางกายภาพหรือเคมีของผลิตภัณฑ ตอง มีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการจัดเก็บที่เหมาะสมสําหรับควบคุม และจัดเก็บสารเคมี ความเสี่ยงจากการปนเปอนจากอาคาร สถานที่ และ โครงสรางอาคาร ตอง ไดรับการควบคุมผานทางการบันทึกตรวจติดตามเปนประจําสม่ําเสมอ และ การ ปฎิบัติการแกไขตองดําเนินการเพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปอนสูผลิตภัณฑ ตอง มีการจัดทําทะเบียนของแกว วัสดุที่เปราะทั้งหมดในบริเวณการจัดการ วัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ การผลิต การบรรจุและการจัดเก็บ การตรวจเช็คการ แตกหักในความถี่ที่เหมาะสมกําหนดโดยการวิเคราะหความเสี่ยง

Factory Environment Standard ความเสี่ยงของการปนเปอนทางกายภาพ เคมี ของผลิตภัณฑ ตอง มีระเบียบปฎิบัติที่ละเอียดกําหนดเปนลายลักษณอักษรสําหรับการ จัดการแกว และ วัสดุที่เปราะในบริเวณการจัดการวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ การ ผลิต การบรรจุ และ การจัดเก็บ เพื่อใหมั่นใจวาไดมีมาตรการปองกันที่จําเปน ตอง มีการบันทึกการแตกที่มีความเสี่ยงตอการปนเปอนในรายงาน อุบัติการณ ตอง มีการจัดเก็บสิ่งที่ไมอยูในกลุมเดียวกันออกจากกัน เชน สารแตงกลิ่น กับ อาหารที่มีไขมันสูง เพื่อปองกันการปนเปอนขาม ตอง ไมมีการใชวัสดุที่ทําดวยไม ในบริเวณการจัดการ วัตถุดิบ การเตรียม วัตถุดิบ การผลิต การบรรจุ และ การจัดเก็บตามความเหมาะสม

58


Factory Environment Standard ระเบียบการจัดเก็บและสุขลักษณะ ตอง มีระบบการจัดเก็บและการทําความสะอาด ที่จะทําใหมั่นใจไดวา มาตรฐานสุขลักษณะที่เหมาะสมไดรับการรักษาไว ตลอดเวลาและลดความเสี่ยงใน การปนเปอน ตอง มีโปรแกรมการทําความสะอาดและธํารงไวซึ่งการปฎิบัตินั้น สําหรับ โรงงานและอุปกรณ การทําความสะอาด ตอง ไดรับการดําเนินการอยางสมบูรณเพื่อลดความ เสี่ยงของการปนเปอน การทําความสะอาดและระเบียบการจัดเก็บ ตอง จัดทําใหสอดคลองกับ ระเบียบปฎิบัติที่เปนเอกสารและเก็บบันทึกไว สารเคมีที่ใชในการทําความสะอาด ตอง เหมาะสมสําหรับวัตถุประสงคที่ กําหนดไว ไดรับการติดฉลากอยางเหมาะสม จัดเก็บในภาชนะที่ปดและปลอดภัย และใชตามคําแนะนํา

Factory Environment Standard ระเบียบการจัดเก็บและสุขลักษณะ ประสิทธิภาพของระเบียบปฎิบัติของการทําความสะอาดและการ ฆาเชื้อ ตอง ไดรับการทวนสอบและบันทึกผล ตอง มีกระบวนการฆาเชื้อที่จําเปนเพื่อการควบคุมความเสี่ยงของ เชื้อจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการนี้ ตอง จัดทําเปนเอกสาร และ มีการทวนสอบประสิทธิภาพเปนประจํา โดยอยูบนพื้นฐานของการ ประเมินความเสี่ยง

59


Factory Environment Standard การกําจัดขยะ ตอง มีระบบสําหรับการรวบรวมและการกําจัดขยะอยางเพียงพอ ตอง มีระบบเพื่อลดการสะสมของขยะในบริเวณผลิต และ ตอง ปองกันการ ใชวัสดุที่ไมเหมาะสม การกําจัดขยะ ตอง เปนไปตามขอกําหนด กฎหมาย ขยะ ตอง ถูกเคลื่อนยาย โดยผูรับจางที่ไดรับอนุญาตแลว ภาชนะที่ใชเก็บรวบรวมขยะภายนอก ตอง จัดการใหอยูในวิสัยในการลด ความเสี่ยง ถามีวัสดุที่มีเครื่องหมายการคาไดรับการขนยายไปใหกับหนวยงานภายนอก เพื่อทําลาย หรือ กําจัดหนวยงานภายนอกนั้น ตอง จัดการใหอยูในวิสัยที่ปลอดภัย ตอผลิตภัณฑ หรือ ทําการกําจัด และ ตอง จัดใหมีบันทึกการทําลายและกําจัดวัสดุ นั้น ๆ

Factory Environment Standard การควบคุมแมลงและสัตวพาหะนําเชื้อ องคกร ตอง รับผิดชอบในการลดความเสี่ยงของการแพรระบาดของแมลง และสัตวพาหะนําเชื้อในสถานที่ตั้ง องคกร ตอง จางหนวยงานที่มีประสิทธิภาพที่ใหบริการทางดานการควบคุม แมลงและสัตวพาหะนําเชื้อ หรือ จัดใหมีการฝกอบรมใหกับบุคลากรเพื่อ ดําเนินการตรวจสอบสถานที่เพื่อปองกันและกําจัดการระบาดของแมลงและสัตว พาหะนําเชื้อ ในกรณีที่ใชบริการจากหนวยงานภายนอก ตอง ระบุและกําหนด กิจกรรมในสถานที่ตั้งอยางชัดเจน ตอง กําหนดตําแหนงของมาตรการการควบคุมแมลงและสัตวพาหะนําเชื้อ และทําแผนผังในบริเวณสถานที่ตั้ง เครื่องมือ เครื่องจักรในการผลิตที่ใชสําหรับการจัดการวัตถุดิบที่งายตอการ ระบาดของสัตวพาหะ ตอง ไดรับการชี้บงและกําหนดเวลาสําหรับการตรวจสอบ

60


Factory Environment Standard การควบคุมแมลงและสัตวพาหะนําเชื้อ ผลของการตรวจสอบการควบคุมสัตวพาหะนําเชื้อ ตอง ทําเปน ประจําสม่ําเสมอ ประเมินและวิเคราะหแนวโนม บันทึกที่มีรายละเอียดของการตรวจสอบการควบคุมสัตวพาหะนํา เชื้อ คําแนะนํา และ การจัดการที่จําเปน ตอง ไดรับการจัดเก็บไว อุปกรณไฟดักแมลง และหรือ กับดักฟโรโมน สําหรับกําจัดสัตว พาหะนําเชื้อ ตอง ไดรับการติดตั้งอยางใหถูกตําแหนง ตอง ติดตั้งตะแกรงและกับดักที่ทางระบายน้ํา เพื่อปองกันการเขา มาของสัตวพาหะ

Factory Environment Standard การควบคุมแมลงและสัตวพาหะนําเชื้อ วัตถุดิบ ตอง ไดรับการตรวจสอบวาไมพบการระบาดของสัตว พาหะ วัตถุดิบ บรรจุภัณฑ และ ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ตอง ไดรับการ จัดเก็บโดยลดความเสี่ยง ของการระบาดของสัตวพาหะ ในกรณีที่การ จัดเก็บผลิตภัณฑที่มีความเสี่ยงตอการระบาดของสัตวพาหะ ตอง มี มาตรการที่เหมาะสมกําหนดไวในโปรแกรมควบคุม ตอง มีเอกสารรายละเอียดเกี่ยวกับการใชและวิธีการใชกับดักและ วัสดุอื่น ๆ อยางปลอดภัย

61


Factory Environment Standard การขนสง พาหนะทั้งหมดที่ใชในการขนสงวัตถุดิบ รวมทั้งบรรจุภัณฑ สูโรงงานและ จัดสงผลิตภัณฑระหวางกระบวนการและผลิตภัณฑสําเร็จรูปสูลูกคาหรือบริเวณ จัดเก็บ ตอง เหมาะสมตอวัตถุประสงคของการใชงานและคงไวในสภาพที่ดีและถูก สุขลักษณะ ในกรณีที่องคกรวาจางบริษัทภายนอก ขอกําหนดทั้งหมด ตอง ระบุไว ในสัญญาวาจางและไดรับการจัดการอยางมีประสิทธิภาพ ระเบียบปฎิบัติที่จัดทําเปนเอกสารสําหรับเรื่องการซอมบํารุงและสุขลักษณะ ตอง มีการเก็บรักษาไวสําหรับพาหนะทุกคัน ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อใหมั่นใจไดวาสินคาถูกจัดเก็บภายใตสภาวะที่ ปลอดภัยในระหวางขนสง ระเบียบปฎิบัติ ตอง มีเพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปอนในกรณีที่สินคา สามารถเสียหายจากการปนเปอนขามได

Factory Environment Standard การขนสง พาหนะขนสงที่ตองรักษาอุณหภูมิต่ํา ตอง สามารถรักษาอุณหภูมิ ของผลิตภัณฑใหเปนไปตามขอกําหนด ในระหวางการบรรทุกใน ปริมาณที่มากที่สุด ในระหวางที่ผลิตภัณฑจัดเก็บในพาหนะดังกลาว ในกรณีที่การขนสงตองควบคุมอุณหภูมิ ตอง มีระเบียบปฎิบัติที่ จัดทําเปนเอกสารเพื่อใหมั่นใจไดวาอุณหภูมิสินคาเปนไปตามขอกําหนด การขนสงที่ ตอง รักษาอุณหภูมิต่ําควรมีอุปกรณบันทึกขอมูล เกี่ยวกับอุณหภูมิซึ่งสามารถตรวจสอบเพื่อยืนยันสภาวะของอุณหภูมิ และเวลา หรือ ตอง มีระบบในการตรวจพิสูจนยืนยันความถูกตองของ การทํางานของอุปกรณทําความเย็นเปนประจํา

62


Factory Environment Standard การขนสง ในกรณีที่สินคาที่ขนสงงายตอการเสื่อมสภาพโดยอาหารประเภท อื่น หรือ การขนสงวัสดุอื่นกอนหนาการขนสงนี้ ตอง มีระเบียบปฎิบัติ เพื่อลดความเสี่ยงของการปนเปอน ในกรณีที่สิ่งของที่ตองขนสงไวตอการเสียหายจากสภาวะอากาศ การขนถายสินคา ตอง ดําเนินการในบริเวณที่ปกคลุมไดเพื่อปองกัน ตอง มีระเบียบปฎิบัติในกรณีที่พาหนะขนสงและอุปกรณทําความ เย็น ขัดของหรือเสีย เหตุการณนี้รวมทั้งการปฎิบัติการแกไข ตอง ไดรับ การบันทึก

Personnel

63


Personnel การฝกอบรม องคกร ตอง มั่นใจวาพนักงานทั้งหมดไดรับการฝกอบรม คําแนะนํา และ การควบคุมดูแลอยางเพียงพอ ตามกิจกรรมที่ปฎิบัติ บุคลากรทั้งหมดรวมทั้งบุคลากรชั่วคราวและผูรับจางชวง ตอง ไดรับการ ฝกอบรมอยางเหมาะสมกอนการเริ่มปฎิบัติงาน และ ตอง ไดรับการควบคุมดูแล อยางเพียงพอตลอดชวงระยะเวลาปฎิบัติงาน องคกร ตอง มีระเบียบปฎิบติที่จัดทําเปนเอกสาร และ บันทึกการฝกอบรม อยางสมบูรณ ในกรณีที่พนักงานทํางานเกี่ยวของกับการควบคุมจุดวิกฤต ตอง ไดรับการ ฝกอบรมที่เกี่ยวของและมีระเบียบปฎิบัติในการเฝาระวังผลงาน องคกร ตอง มีการทบทวนประสิทธิภาพระเบียบปฎิบัติในการฝกอบรมและ ดําเนินการปรับปรุงเนื้อหา วิธีการ ตอง มีโปรแกรมการฟนฟูความรู

Personnel สุขลักษณะสวนบุคคล มาตรฐานทางดานสุขลักษณะสวนบุคคลขององคกร ตอง จัดทําเปนเอกสาร และ มีการนําไปใชโดยบุคลากรทั้งหมดรวมถึงผูเขาเยี่ยมชม มาตรฐานนี้ ตอง ไดรับการจัดทําโดยพิจารณาความเสี่ยงของการปนเปอนของผลิตภัณฑ ตอง ลางมือดวยความถี่ที่เหมาะสม ตอง ตรวจสอบประสิทธิภาพของการลางมือตามระเบียบปฎิบัติวาดวย สุขลักษณะสวนบุคคลอยางสม่ําเสมอ ตอง อนุญาตใหมีการสูบบุหรี่ ดื่ม และ รับประทานอาหาร ในพื้นที่ที่กําหนด ไวแยกตางหากจากบริเวณผลิตและจัดเก็บอาหาร ตอง มีระเบียบปฎิบัติเพื่อควบคุมการใชยาสวนบุคคลเพื่อลดความเสี่ยงของ การปนเปอน

64


Personnel สุขลักษณะสวนบุคคล บาดแผล และสะเก็ดแผล บนผิวหนังที่เปด ตอง ปดดวย พลาสเตอร สีน้ําเงินประเภทที่สามารถตรวจจับไดดวยเครื่องตรวจจับโลหะ ซึ่งแจก และตรวจสอบ โดยองคกร ปลอกนิ้วสามารถใชแทนได เมื่อมีการพิจารณาวาจําเปนในการใชเครื่องตรวจจับโลหะใน ผลิตภัณฑสําเร็จ พลาสเตอรที่ใชในการปดแผล ตอง ไดรับการตรวจผาน เครื่องตรวจจับโลหะเปนประจํา เล็บมือ ตอง สั้น สะอาด และ ไมทาสีเล็บ ไมอนุญาตใหใสเล็บ ปลอม

Personnel สุขลักษณะสวนบุคคล ตอง จัดใหมีนโยบายที่ชัดเจนระบุชนิดของเครื่องประดับ ที่อนุญาตใหใสได เพื่อเหตุผลทางจริยธรรม การรักษาพยาบาล หรือ ทางศาสนา และการควบคุมเพื่อ ลดความเสี่ยงในการปนเปอน ตอง ไมมีการสวมใสนาฬิกาขอมือ ตอง ไมมีการสวมใสเครื่องประดับยกเวนแหวนแตงงานและดานผูกขอมือ ตอนแตงงาน เครื่องประดับอื่น ๆ สามารถสวมใสไดสําหรับเหตุผลทางจริยธรรม การ รักษาพยาบาล หรือ เหตุผลทางศาสนาอื่น ๆ และ ตอง เปนชิ้นเดียว และ ควบคุม อยางเหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปอน เครื่องประดับอื่น ๆ ที่เปดเผยอยู ภายนอกไมใหสวม ตอง ไมใชน้ําหอมหรือน้ําหอมหลังโกนหนวดมากเกินไป

65


Personnel การคัดกรองทางดานสุขภาพ องคกร ตอง มั่นใจวาตองมีระเบียบปฎิบัติในเรื่องการคัดกรองดานสุขภาพ สําหรับพนักงานทุกคน ซึ่งกําลังปฎิบัติงานในพื้นที่ที่สงผลตอความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑ องคกร ตอง มีระเบียบปฎิบัติสําหรับการแจงอาการเจ็บปวย หรือ โรคติดตอ หรืออาการปวยไขของพนักงานและพนักงานชั่วคราว ในกรณีที่องคกรทราบวาพนักงานไดเขามาในโรงงานมีอาคารเจ็บปวยจาก โรคติดเชื้อ ตอง มีขั้นตอนที่จะลดความเสี่ยงของสินคา ผูเยี่ยมชมและผูรับจาง ตอง ผานการตอบแบบสอบถามกอนที่จะเขาสูบริเวณ วัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ การผลิต การบรรจุและการจัดเก็บ บุคคลเหลานี้จะ ไดรับการคัดกรองกอนอนุญาตใหเขาสูพื้นที่ตาง ๆ

Personnel เครื่องแตงกาย เครื่องแตงกายที่เหมาะสม ตอง ถูกสวมใสโดยบุคลากรที่ผลิตอาหาร ผูเขา เยี่ยมชม ผูรับจางที่ปฎิบัติงานหรือเขาสูบริเวณผลิตอาหาร ตอง มีการออกแบบเครื่องแตงกายที่อยูเหนือเขา เพื่อมั่นใจในความปลอดภัย ของอาหาร ตอง มีการเปลี่ยนแปลงเครื่องแตงกายสําหรับบริเวณความเสี่ยงสูงกอนเขา หองน้ํา และ ตองมีการควบคุมเพื่อปองกันการปนเปอนกอนกลับเขาสูบริเวณผลิต เสื้อผาเครื่องแตงกาย ตอง ถอดในบริเวณที่กําหนด การซักลางเสื้อผา ตอง ทําใน บริเวณโรงงานหรือ โดยผูรับจางชวงที่ไดรับการอนุมัติแลว และ ตอง มีการตรวจ ประสิทธิภาพการทําความสะอาด ในกรณีที่มีความเสี่ยงตอการปนเปอน การสูบบุหรี่และรับประทานอาหาร ขณะสวมใสเสื้อผาที่ใชในกระบวนการผลิต ตอง ไมอนุญาต

66


Personnel เครื่องแตงกาย ตอง มีการจัดเก็บเสนผมเพื่อปองกันการปนเปอนของผลิตภัณฑ ตอง มีอุปกรณปองกันหนวด เครา ตอง มีการสวมใสรองเทาที่เหมาะสมในบริเวณโรงงาน ตอง มีการควบคุมการซักเสื้อผาสําหรับพื้นที่ความเสี่ยงต่ํา และ ตอง มี ระบบเพื่อใหมั่นใจในประสิทธิภาพของการซัก ในกรณีที่มีการสวมถุงมือ ถุงมือ ตอง มีการควบคุมเพื่อหลีกเลี่ยงการ ปนเปอนของผลิตภัณฑ

HACCP

67


7.3.2 Food Safety Team

1

7.3.3 Product Characteristics 2 7.3.4 Intended Use

7.2 PreRequisit e Programs (PRP)

3 Steps according to Codex Alimentarius Steps added to Codex Alimentarius

7.3.5.1 Flow Diagram 4 7.3.5.2 Description of process 5 steps and control measures

Food Safety Management System Improvement loop 6.a

7.4.2 Hazard identification and acceptable levels

6.b

7.4.3 Hazard assessment 7.4.4 Identification and assessment of control measures 7.5 Design and redesign of operational PRPs

6.c-7

7.6 Design and redesign of the HACCP plan

8-9-10

8.4 Validation of control measure combinations 7.8 Verification planning

1 1

Preliminary steps to enable hazard analysis Food safety team ทีมงานดานความปลอดภัยทางอาหารตองถูกกําหนด และตอง ประกอบไปดวยความรูในหลายสาขาและประสบการณในการพัฒนาและ ประยุกตใชระบบบริหารความปลอดภัยทางดานอาหาร บันทึกตองถูกเก็บรักษาเพื่อแสดงใหเห็นวาทีมงานดานความ ปลอดภัยทางอาหารมีความรูและประสบการณตามที่กําหนด

68


R/M, Ingredient, Packaging characteristics คุณลักษณะดานชีวภาพ, เคมี, กายภาพ องคประกอบของสูตรสวนผสม แหลงกําเนิด วิธีการผลิต วิธีการบรรจุและการขนสง สภาวะการจัดเก็บและอายุการเก็บรักษา การจัดเตรียม/การจัดเก็บกอนนํามาใช หรือ เขาสูกระบวนการผลิต เกณฑหรือมาตรฐานที่ยอมรับได (เกี่ยวของกับความปลอดภัย)

Characteristics of end product

ชื่อผลิตภัณฑ สวนประกอบ คุณลักษณะทางชีวภาพ, เคมี, กายภาพ อายุการจัดเก็บ, สภาวะการจัดเก็บ บรรจุภัณฑ ฉลาก วิธีการกระจายสินคา

69


7.3.5 Flow diagrams, process steps and control measures 7.3.5.1 Flow diagrams แผนผังของการผลิตตองถูกเตรียมไวสําหรับผลิตภัณฑและประเภทของกระบวนการที่ถูกครอบคลุมเอาไว ในระบบบริหารงานดานความปลอดภัยทางอาหาร แผนผังตองจัดเตรียมการประเมินเบื้องตนของเหตุการณ ที่อาจเปนไปได การเพิ่มขึ้น หรือ การแนะนําจุดเสี่ยงตางๆทางดานอาหาร แผนผังของการผลิตตองชัดเจน แมนยําและมีรายละเอียดที่พอเพียง แผนผังของการผลิตจะตองมีความเหมาะสมรวมถึง

a) ลําดับ

และปฏิกิริยาของทุกขั้นตอนในการปฏิบัติ b) กระบวนการที่ทาํ จากภายนอกและงานที่ใชผูรับเหมาชวง c) จุดรับวัตถุดิบ, สวนผสม และผลิตภัณฑระหวางกระบวนการเขาสูแผนผังการผลิต d) จุดที่มีการนํามาทําใหมและนํากลับมาใชใหม e) จุดผลิตภัณฑขั้นสุดทาย, ผลิตภัณฑระหวางกระบวนการ, ผลพลอยได และของเสียที่ถูกปลอย

ทีมทางดานความปลอดภัยทางอาหารตองตรวจสอบความแมนยําของแผนผังของการผลิตและตรวจดู วาไดมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูตลอดเวลาโดยวิธีตรวจสอบที่หนางานหรือไม การตรวจสอบ แผนผังตองถูกเก็บรักษาไวเสมือนกับบันทึกอื่นๆ 7.3.5.2 Description of process steps and control measures คาควบคุม, คาของกระบวนการและการประยุกตใชที่ตองกวดขัน หรือระเบียบวิธีปฏิบัติที่อาจมี อิทธิพลตอความปลอดภัยทางอาหารจะตองถูกบรรยายเฉพาะเอาไวในสวนที่ตองถูกนําไปใชในการ ชวยวิเคราะหความเสี่ยง ขอบังคับภายนอก (จากผูมีอํานาจทางกฎหมายหรือลูกคา) ซึ่งอาจมีผลกระทบตอตัวเลือกและคา ควบคุมตางๆที่ตองเขมงวดกวดขันตองถูกบรรยายไวเฉพาะ คําบรรยายที่เฉพาะตางๆจะตองถูกปรับปรุงใหทันสมัย

70


7.4.2 การระบุอนั ตรายและการสรุประดับการยอมรับ กําหนดขอบขายของอันตรายที่มีโอกาสเกิดขึ้น (Term of Reference) และ ระดับที่ ยอมรับได (Acceptable Level) อันตรายทางชีวภาพ อันตรายทางเคมี อันตรายทางกายภาพ Clostridium botulinum ไมพบ Histamine < 200 ppm.

เศษโลหะ < 2.0 mm.

7.4.3 Hazard Assessment เพื่อสรุปวาอันตรายแตละชนิดที่ระบุจําเปน ตอง ขจัด หรือ ลดลงสูที่ ระดับที่ยอมรับได เพื่อใหอาหารที่ผลิตมีความปลอดภัยและมาตรการที่ ใชสามารถควบคุมใหอันตรายสูเกณฑการยอมรับ อันตรายแตละชนิดตองประเมินโดยพิจารณา Severity และ Likelihood of Occurrence ตองบันทึกรายละเอียดและผลการประเมิน

71


ตัวอยางการจําแนกความรุนแรงจากเชื้อจุลินทรีย High (อันตรายสูงอาจถึงเสียชีวิต) Clostridium botulinum, Salmonella typhi, Listeria monocytogenes, E.coli 0157:H7, Vibrio vulnificus Moderate (อันตรายรุนแรง) Brucella spp., Campylobacter spp.,Salmonella spp., Shigella spp., Streptococcus Type A, Yersenia enterocolitica, hepatitis A, mycotoxin Low (อันตรายต่ํา) Bacillus spp., Clostridium perfringens, staphylococcus aureus, Norwalk virus, parasites, histamine

Risk Assessment Matrix

72


ตารางวิเคราะหโอกาสในการเกิดและความรุนแรงของ Food Hazards

7.4.4 Selection and assessment of control measures a) b) c) d) e) f) g)

หลักการพิจารณามาตรการควบคุม พิจารณา ผลที่มีตออันตรายกับความเครงครัดในการปฎิบัติตาม ความสะดวกในการเฝาระวังทันตอเวลา ตําแหนงที่อยูในระบบบริหารจัดการโดยพิจารณารวมกับมาตรการอื่น ๆ โอกาสความลมเหลงในการควบคุม ความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากความลมเหลวในการควบคุม มาตรการควบคุมถูกกําหนดขึ้นเฉพาะเพื่อกําจัดหรือลดอันตรายอยางมีนัยสําคัญ ผลที่เสริมกันของมาตรการควบคุมอื่น ๆ

73


PRPs and operational PRPs What are the main differences between PRPs and operational PRPs? Purpose of the control measure

PRP

OPRP

Maintenance the basic hygienic conditions and activities

Yes

No

Controlling hazards identified by hazard analysis and need to be controlled

No

Yes

Validation is required

No

Yes

Categorization of Control Measures Control measures

Prerequisite programmes Basic conditions and activities. PRPs do not need validation but their effectiveness shall be verified periodically.

Operational prerequisite programmes

HACCP plan and its critical control points

Control measures identified by the hazard analysis. Both shall be validated and verified.

74


Verification and validation Are we doing the right things?

Validation Literature

Our plans

Are we doing things right?

Verification Our plans

Our activities

Establishing the operational prerequisite programmes (PRPs) ระบบปฏิบัตแิ ผนความตองการเบื้องตน (PRPs) ตองถูกทําเปนเอกสารและตองรวม ขอมูลของแตละแผนงานดังนี้ ความเสี่ยงดานความปลอดภัยทางอาหารจะตองถูกควบคุมโดยแผนงาน มาตรการการควบคุม ระเบียบวิธีการเฝาระวังซึ่งแสดงวาแผนปฏิบตั ิการ PRP(s) ไดถูกนําไปประยุกต การแกไขและวิธกี ารแกไขตางๆจะตองถูกจัดการถาบันทึกตางๆของการเฝาระวัง แสดงวาแผนปฏิบัติการ PRP(s) ไมไดถูกควบคุม หนาที่และความรับผิดชอบ บันทึกการเฝาระวัง

75


Establishing the HACCP plan HACCP plan แผนงาน HACCP ตองจัดทําเปนเอกสารและตองรวมขอมูลสําหรับจุดวิกฤตของคาควบคุม (CCP) แตละคา ดังนี้ a)

ความเสี่ยงดานความปลอดภัยทางอาหารที่จะตองถูกควบคุมที่จุดวิกฤตของคาควบคุม (CCP)

b) มาตรการควบคุม c) จุดจํากัดของคาวิกฤต d) ระเบียบวิธีการเฝาระวัง e) การแกไขและวิธีการแกไขตางๆจะตองถูกนํามาใชถาจุดจํากัดของคาวิกฤตเกินกําหนด f) ความรับผิดชอบและหนาที่ตางๆ g) บันทึกตางๆของการเฝาระวังติดตาม

Identification of critical control points (CCPs)

สําหรับแตละความเสี่ยงที่ตองทําการควบคุมโดยแผนงาน HACCP, CCP(s) ตองระบุ มาตรการควบคุมที่ถูกกําหนด Determination of critical limits for critical control points จุดจํากัดของคาวิกฤตตองถูกจัดทําเพื่อมั่นใจวาระดับของการยอมรับที่ถูกกําหนดของ ความเสี่ยงดานความปลอดภัยทางอาหารในผลิตภัณฑขั้นสุดทาย ถูกทําใหเปนผลสําเร็จและ ไมเกินจุดจํากัดของคาวิกฤตจะตองสามารถวัดได เหตุผลของการเลือกจุดจํากัดของคาวิกฤตตองถูกจัดทําเปนเอกสาร

76


System for the monitoring of critical control points ครอบคลุมถึงสิ่งนี้ a) การวัดหรือการสังเกตตางๆที่ใหผลตางๆภายในกรอบของระยะเวลาที่เหมาะสม b) เครื่องมือการเฝาระวังที่นํามาใช c) วิธกี ารสอบเทียบคาตางๆที่สามารถประยุกตใชได d) ความถี่ของการเฝาระวัง e) ความรับผิดชอบและหนาที่ที่สัมพันธกับการเฝาระวังและการประเมินผลของการเฝาระวัง f) ขอกําหนดและวิธีการตางๆในการบันทึก วิธีการของการเฝาระวังและความถี่ตอง ถูกกําหนด เมื่อจุดจํากัดของคาวิกฤตถูกทําใหเกินทันเวลาที่ ผลิตภัณฑจะตองถูกแยกออกกอนนําใชหรือบริโภค

Actions when monitoring results exceed critical limits การแกไขและวิธีการแกไขที่ถูกวางแผนจะตองถูกกระทําเมื่อจุดจํากัดของคาวิกฤตถูกทําใหเกิน และจะตองระบุไวเฉพาะในแผนงาน HACCP วิธีการปฏิบัติตางๆตองมั่นใจวาสาเหตุของการเกิดสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดไดถูกระบุไว และคาที่ถูกควบคุมที่ CCP ไดถูกทําใหกลับมาอยูภายใตการควบคุมและการเกิดซ้ําไดถูกปองกัน ระเบียบวิธีปฏิบัติที่ถูกจัดทําขึ้นเปนเอกสารตองถูกจัดทําขึ้นและรักษาไวเพื่อการถือครองที่ เหมาะสมของผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัยตางๆเพื่อมั่นใจวาระเบียบวิธีปฏิบัตินั้นจะไมไดถูกปลอยไปใช จนกวาจะไดรับการประเมิน

77


Updating of preliminary information and documents specifying the PRPs and the HACCP plan ปรับปรุงขอมูลดังนี้ ถาจําเปน a) คุณลักษณะตางๆของผลิตภัณฑ b) เจตนาของการนําไปใช c) แผนผังการทํางานตางๆ d) ขั้นตอนตางๆของกระบวนการ e) มาตรการควบคุม ถามีความจําเปน, แผนงาน HACCP ,ระเบียบวิธีปฏิบัติตางๆ และวิธีการเฉพาะที่ระบุไวใน PRP(s) จะตองถูกแกไข

Verification planning a) PRP(s) ถูกประยุกตใช b) สิ่งที่ใชในการวิเคราะหจุดเสี่ยงไดถูกปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ c) วิธีการปฏิบัติ PRP(s) และองคประกอบในแผนงาน HACCP ไดถูกประยุกตใชและเกิดประสิทธิผล d) ระดับความเสี่ยงจะตองถูกระบุไวในระดับที่ยอมรับได และ e) ระเบียบวิธีปฏิบัติอื่นๆที่ถูกรองขอโดยองคกรจะตองถูกนําไปประยุกตใชและมีประสิทธิผล ผลที่ไดออกมาของแผนนี้จะตองอยูในรูปแบบที่เหมาะสมสําหรับระเบียบวิธปี ฏิบัติงานขององคกร ผลของการตรวจสอบจะตองถูกบันทึกและตองถูกเก็บรักษา และตองสื่อสารใหกับทีมดานความปลอดภัย ทางดานอาหาร และตองสามารถทําความการวิเคราะหผลตางๆของการตรวจสอบได

78


Updating of control measure combinations Internal communication, e.g. Changed likelihood of hazard occurrences

Process changes

Product changes

Results of system verification and review New HACCP plan

Control measures currently managed by the HACCP Plan

Hazard analysis & control measures configuration

Control measures currently managed by Operational PRPs New requests for specific control measure (s) (authorities/ customers)

New knowledge

Modified PRPs Superfluous control measures

Changed acceptable hazard(s) level(s)

External communication

Changes in controls applied beyond the organization’s system

Verification and Validation of Food Safety Management System

79


Validation

8.2 Validation of control measure combination

ISO 22000:2005 Verification

7.8 Verification Planning

8.4 Food Safety Management System Verification

Verification and validation •Are

we doing the right things?

Validation Literature

•Are

Our plans

we doing things right?

Verification Our plans

Our activities

80


The 3 methods of control”

Control measures controlled by Prerequisite Programs (PRPs)

Control measures controlled by Operational PRPs (OPRPs)

Control measures controlled by the HACCP plan

Validation of Control Measure Combination มาตรการควบคุม (OPRPs, HACCP Plan) ตองไดรับการตรวจพิสูจนความถูกตอง ของระบบ กอนการนําไปใช เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง มาตรการควบคุมที่นํามาใชตอง มีประสิทธิภาพ, สามารถควบคุมอันตรายของ อาหารใหอยูในระดับที่ยอมรับได หากพบวาผลของการตรวจพิสูจนความถูกตองของระบบ ไมสามารถยืนยัน ความสามารถได ตองมีการเปลี่ยนแปลง หรือ ประเมินซ้ํามาตรการควบคุมนั้น

81


OPRPs, HACCP Plan

ความถี่

กําหนดขั้นตอนการ validation (WI)

• กอนการนําไปใช • มีการเปลีย่ นแปลง • ตามระยะเวลาที่กําหนด

ผลของการ validation

สามารถยอมรับได

ไมยอมรับ

สามารถนําไปใชได

ปรับเปลี่ยน, ประเมินซ้ํา

Verification

82


Verification Planning แผนการทวนสอบ ตองระบุ วัตถุประสงค วิธีการ ความถี่ ผูรับผิดชอบ

กิจกรรมการ ทวนสอบ

วัตถุประสงค

วิธีการ

ความถี่

ผูรับผิดชอบ

Verification Planning กิจกรรมของการทวนสอบตองยืนยันไดวา โปรแกรมพื้นฐาน (PRPs) ถูกนําไปใช (ดู 7.2) ขอมูลที่นําไปใชวิเคราะหอันตราย ถูกปรับปรุงใหทันสมัย (ดู 7.3) OPRPs (ดู 7.5), HACCP Plan (ดู 7.6.1) ถูกนําไปใชและมีประสิทธิผล ระดับอันตรายยังอยูในระดับที่ยอมรับได (ดู 7.4.2) ระเบียบปฎิบัติอื่น ๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นโดยองคกร ถูกนําไปใชและมี ประสิทธิผล

83


FSMS Verification Internal Audit (การตรวจติดตามภายใน) Evaluation of individual verification results (การประเมินผลการทวนสอบ) Analysis of results of verification activities (การวิเคราะหผลการทวนสอบ)

Internal Audit กําหนดผูรับผิดชอบในการวางแผนและดําเนินการตรวจติดตามภายใน กําหนดแผนการตรวจติดตามภายใน ความสําคัญของกระบวนการ หรือ พื้นที่, ความเสี่ยงในกิจกรรมนั้น ๆ, ทุก Pr ผลของการตรวจติดตามครั้งที่ผานมา

กําหนด audit criteria, ขอบขาย, ความถี่ เกณฑการคัดเลือก Internal Auditor (การฝกอบรม, เปนอิสระ)

84


Internal Audit ในกรณีพบขอบกพรอง แนวทางการแกไข การหาสาเหตุ การติดตามผล

“Turtle” Approach WITH WHAT ?

WITH WHO?

(Materials / Equipment)

(Competence / Skills / Training)

PROCESS

OUTPUTS

INPUTS

HOW? (Support Processes, Procedures & Methods)

WHAT RESULTS? (Performance Indicators)

85


Evaluation of individual verification results (การประเมินผลการทวนสอบ) FST ตองดําเนินการประเมินแผนการทวนสอบอยางเปนระบบ หากพบวาผลการทวนสอบแสดงความไมสอดคลอง ตองดําเนินการ จัดการ เชน ทบทวนขั้นตอนดําเนินงานทีม่ ีอยู, ชองทางการสื่อสาร ผลของการวิเคราะหอันตราย, การกําหนด OPRPs, HACCP Plan PRPs ประสิทธิผลของบุคลากร และ การฝกอบรม

Evaluation of individual verification results (การประเมินผลการทวนสอบ) ตัวอยางของกิจกรรมการทวนสอบ (ISO/TS 22004) ทบทวนบันทึกการตรวจติดตาม (monitoring records) ทบทวนความเบี่ยงเบนและการแกไขปญหา (CAR) รวมถึงการจัดการกับ ผลิตภัณฑที่ไดรับผลกระทบ ผลการสอบเทียบอุปกรณ สุมดูหนางานจริง ทบทวนรายงานผลการวิเคราะห เก็บตัวอยางสินคาระหวางการผลิต, สินคาสําเร็จรูป ทบทวนคํารองเรียนของลูกคา

86


Analysis of results of verification activities (การวิเคราะหผลการทวนสอบ) FST ตองวิเคราะห ผลของกิจกรรมการทวนสอบ ผลของการตรวจติดตามระบบภายใน ผลการตรวจติดตามจากองคกรภายนอก

Analysis of results of verification activities (การวิเคราะหผลการทวนสอบ) การวิเคราะหดําเนินการเพื่อ ยืนยันวาผลการปฎิบัติงานเปนไปตามแผนที่กําหนด จําเปนตองปรับปรุงระบบใหทันสมัยขึ้น ระบุแนวโนมที่อาจกอใหเกิดความไมปลอดภัย เปนขอมูลสําหรับการวางแผน IQA เปนหลักฐานวาการแกไข การปองกัน เปนไปอยางมีประสิทธิผล

87


Monitoring

-

Verification

-

Validation

•During operation

•After operation

•Prior to operation

•Documenting that the control measure functions as intended

•Documenting that

•Documenting that the control measure is capable of delivering the needed effects

•Monitoring works •Degree of intended control has been delivered

Tel. 0-2969-7720-5 Fax. 0-2969-7726-7, 0-29697729

88


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.