QMM-07-Calibration System

Page 1

Calibration system (ระบบการสอบเทียบ) นําเสนอโดย ทวี ขุนสมุทร QMS Approach Co.,Ltd. 8/1 Lamsalee 2, Humark, Bangkapi, Bangkok, Thailand 10240

081-6978244, E-mail : tkunsamut@hotmail.com QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 02

1

Calibration system (ระบบการสอบเทียบ)

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 02

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

2

1


Agenda ระบบคุณภาพ มาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการสอบเทียบ การประยุกตใช “ระบบการควบคุมการสอบเทียบ” วิธีการสอบเทียบ ใบรับรองผลการสอบเทียบ ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัด ความไมแนนอนในการวัด กฎสําหรับการปดเลขคา ฯ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

3

คุณภาพในนิยามของ ISO 9000 : 2000 Quality is ability of a set of inherent characteristics of product system or process to fulfill requirement of customers and other interested parties. “ความสามารถตาง ๆ ของคุณลักษณะที่มีอยูใ นผลิตภัณฑ ระบบ หรือ กระบวนการ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา หรือผูอื่น ที่เกี่ยวของ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

4

2


วิวัฒนาการดานการจัดการคุณภาพ

Inspection

การตรวจสอบคุณภาพ

¾ ตรวจหาของเสียเพื่อคัดทิ้ง

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

5

วิวัฒนาการดานการจัดการคุณภาพ

QC Quality Control

การควบคุมคุณภาพ

¾กําหนดเทคนิค ในกระบวนการเพื่อใหผลิตภัณฑเปนไปตามขอกําหนด ¾ตรวจหา และแยกของเสีย ¾ตรวจดูผลงานผูอื่น QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

6

3


วิวัฒนาการดานการจัดการคุณภาพ

QA Quality Assurance

การประกันคุณภาพ

¾ วางแผนลวงหนาในการประกันคุณภาพ ¾ ประกันคุณภาพทัง้ ระบบ ¾ สามารถตอบสนองความตองการดานคุณภาพไดตามเปาหมาย QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

7

เปนผูนํา

กระบวน การ

ขายได

ไมรอด

ความมีสวนรวมของพนักงาน

ความพึง พอใจของ ผูมีสวนรวม

เหนือ คูแขง

ผลิตภัณฑ

NO

QC

QA

Continual Improvement

(ไมมีการควบคุม)

(การควบคุมคุณภาพ)

(การประกันคุณภาพ)

(การปรับปรุงอยางตอเนื่อง)

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

8

4


Quality management system ; QMS

ISO 9001 : 2000 ISO/TS 16949 : 2002

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

9

วิวัฒนาการของระบบบริหารการจัดการดานคุณภาพ ISO 9000 : 1987 IS0 9000 : 1994 ISO 9000 : 2000 ISO 9000 : 200X QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

10

5


วิวัฒนาการของระบบคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนต

Big Three (Ford, Crysler, GM) QS 9000 : 1998 ISO/TS 16949 : 1999

IATF + JAMA + ISO/TC 176

ISO/TS 16949 : 2002 QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

11

ขอกําหนดระบบคุณภาพ ISO/TS 16949 : 2002 ขอกําหนดเฉพาะของลูกคา (Big Three)

(คายรถญี่ปุน)

ISO 9001 : 2000 + ขอกําหนด เพิ่มเติม

ขอกําหนดเฉพาะของ อุตสาหกรรมยานยนต (กลุมรถบรรทุก)

(คายรถยุโรป) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

12

6


1. ขอบเขต Scope 2. มาตรฐานอางอิง Normative Reference 3. คําศัพท และนิยาม Terms and Definitions 4. ระบบบริหารคุณภาพ Quality Management System 5. ความรับผิดชอบของฝายบริหาร Management Responsibility 6. การบริหารทรัพยากร Resource Management 7. การไดมาซึ่งผลิตภัณฑ Product Realization 8. การวัด วิเคราะห และปรับปรุง Measurement Analysis and Improvement QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

13

7. การไดมาซึ่งผลิตภัณฑ (Product Realization)

7.1 การวางแผนการจัดทําผลิตภัณฑ (Planning of Product Realization) 7.2 กระบวนการที่เกี่ยวของกับลูกคา (Customer – Related Processes) 7.3 การออกแบบและพัฒนา (Design and development) 7.4 การจัดซื้อ (Purchasing) 7.5 การไดมาซึง่ ผลิตภัณฑและบริการ (Production and Service Provision) 7.6 การควบคุมอุปกรณตรวจวัด และเฝาติดตาม (Control of Monitoring and Measuring Devices) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

14

7


ISO/TS 16949 : 2002 Requirement 7.6 การควบคุมอุปกรณตรวจวัด และเฝาติดตาม (Control of Monitoring and measuring device) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

15

สารบัญ ขอกําหนด 7.6 : การควบคุมอุปกรณตรวจวัดและเฝาติดตาม (Control of Monitoring and measuring device) ขอกําหนด 7.6.1 : การวิเคราะหระบบการวัด (Measurement System Analysis) ขอกําหนด 7.6.2 : บันทึกการสอบเทียบ (Calibration / verification records) ขอกําหนด 7.6.3 : ขอกําหนดของหองปฏิบัติการ (Laboratory requirement) z

ขอกําหนด 7.6.3.1 : หองปฏิบัติการภายใน (Internal Laboratory)

z

ขอกําหนด 7.6.3.2 : หองปฏิบัติการภายนอก (External Laboratory)

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

16

8


ISO/TS 16949 : 2002 7.6 การควบคุมอุปกรณตรวจวัดและเฝาติดตาม (Control of Monitoring and measuring device) องคกรตองระบุการวัดผลที่ตองดําเนินการ และเครื่องมือวัดและตรวจสอบที่ ตองการ เพื่อประกันความสอดคลองของผลิตภัณฑตอขอกําหนดที่ระบุ (ดู 7.2.1) เครื่องมือวัดและตรวจสอบตองถูกใชและควบคุมเพื่อใหมั่นใจถึงความสามารถ ในการวัดวามีความสม่ําเสมอตามขอกําหนดของการวัดเมื่อสามารถทําได เครื่องมือ วัดและตรวจสอบตอง QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

17

ISO/TS 16949 : 2002 7.6 การควบคุมอุปกรณตรวจวัดและเฝาติดตาม (Control of Monitoring and measuring device) a)

b) c) d) e)

ไดรับการสอบเที ยบและปรับแตงเปนระยะ ๆ หรือ กอ นการใชงานโดยสามารถ อางอิงไปยังมาตรฐานระดับชาติหรือนานาชาติได เมื่อไมสามารถหามาตรฐานการ สอบเทียบใด ๆ ได หลักการซึ่งใชในการสอบเทียบตองไดรับการบันทึก ไดรับการปรับแตงตามความจําเปน ไดรับการแสดงสถานะ การสอบเทียบ ไดรับการปองกันจากการปรับแตงซึ่งอาจทําใหการสอบเทียบใชไมได ไดรับการปองกันจากความเสียหาย และเสื่อมสภาพในขณะทําการเคลื่อนยายรักษา และจัดเก็บ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

18

9


ISO/TS 16949 : 2002 7.6 การควบคุมอุปกรณตรวจวัดและเฝาติดตาม (Control of Monitoring and measuring device) องคกรตองประเมินผลที่ผานมาอีกครั้งวาสามารถใชไดและการดําเนินการแกไขภาย หลังจากการพบวาเครื่องมือไมผานการสอบเทียบ องคกรตองดําเนินการที่เหมาะสมตอ เครื่องมือและผลิตภัณฑที่ไดรับผลกระทบ บันทึกการสอบเทียบ และการทวนสอบตอง ไดรับการเก็บรักษาไว(ดู 4.2.4) เมื่อมีการใชโปรแกรมสําหรับการวัดและตรวจสอบตามขอกําหนดโปรแกรมนั้น ตองไดรับการรับรองกอนการใชงาน และรับรองซ้ําตามความจําเปน หมายเหตุ : ดู ISO10012-1 และ ISO10012-2 สําหรับคําแนะนํา QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

19

ISO/TS 16949 : 2002 7.6.1 การวิเคราะหระบบการวัด (Measurement System Analysis) การศึกษาทางสถิติตองถูกจัดทําขึ้นเพื่อวิเคราะหความผันแปรที่เกิดขึ้นในผล การวัดของระบบการตรวจสอบและทดสอบแตละชนิด ขอกําหนดนี้ประยุกตใชกับ ระบบการวัดที่อางถึงในแผนควบคุม ระบบการวิเคราะห และเกณฑการยอมรับที่ใช ต อ งสอดคล อ งกั บ คู มื อ ของระบบวิ เ คราะห ก ารวั ด วิ ธี วิ เ คราะห และเกณฑ ก าร วิเคราะหอื่นอาจนํามาใชได เมื่อไดรับการยอมรับจากลูกคาระบบการวัดของลูกคา

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

20

10


ISO/TS 16949 : 2002 7.6.2 บันทึกการสอบเทียบ (Calibration / verification records) บันทึกการสอบเทียบสําหรับเกจ, อุปกรณตรวจวัดและทดสอบตองมีหลักฐานของ ความสอดคลองตามที่ระบุในขอกําหนดผลิตภัณฑ รวมถึงอุปกรณของพนักงานและลูกคา ตองรวมถึง z การชี้บงเครื่องมือ รวมถึงมาตรฐานที่ใชในการสอบเทียบ z การแกไขอางอิงตามการเปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรม z คาที่ไมผานเกณฑที่อานได สําหรับการสอบเทียบ / ทวนสอบ z การประเมินผลกระทบของคาที่ไมผานเกณฑ z การยืนยันความสอดคลองกับขอกําหนดหลังสอบเทียบ / ทวนสอบ และ z การแจงลูกคากรณีมีผลิตภัณฑหรือวัสดุตองสงสัยไดจัดสงไปให QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

21

ISO/TS 16949 : 2002 7.6.3 ขอกําหนดของหองปฏิบัติการ (Laboratory Requirements) z

7.6.3.1 หองปฏิบัติการภายใน (Internal Laboratory) ห อ งปฏิ บั ติ ก ารภายในขององค ก รต อ งมี ก ารกํ า หนดขอบเขตซึ่ ง รวมถึ ง ขี ด

ความสามารถในการปฏิ บั ติ ก ารตรวจสอบ, ทดสอบหรื อ สอบเที ย บ ขอบเขตของ หองปฏิบัติการตองถูกระบุอยูในเอกสารระบบบริหารคุณภาพ หองปฏิบัติการตองมีความ เฉพาะเจาะจง และอยางนอยตองสามารถตอบสนองขอกําหนดทางดานเทคนิค เพื่อ

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

22

11


ISO/TS 16949 : 2002 7.6.3 ขอกําหนดของหองปฏิบัติการ (Laboratory Requirements) z 7.6.3.1 หองปฏิบัติการภายใน (Internal Laboratory) z ความถูกตองของระเบียบปฏิบัติของหองปฏิบัติการ z คุณสมบัติของบุคลากรที่เหมาะสมของหองปฏิบัติการที่ทําการทดสอบ z การทดสอบผลิตภัณฑ z มีความสามารถในการทําการทดสอบอยางถูกตองซึ่งสอบกลับไปยังมาตรฐานตางๆ (เชน ASTM) และ z มีการทบทวนบันทึกคุณภาพที่เกี่ยวของ หมายเหตุ: การไดรับการรับรอง ISO/IEC 17025 อาจแสดงถึงความ สอดคลองของปฏิบัติการภายในตามขอกําหนดนี้ แตไมไดบังคับ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

23

ISO/TS 16949 : 2002 7.6.3 ขอกําหนดของหองปฏิบัติการ (Laboratory Requirements) z

7.6.3.2 หองปฏิบัติการภายนอก (External Laboratory) หองปฏิบัติการภายนอก/ อิสระ/ เอกชน ที่ใชในการตรวจสอบ, ทดสอบหรือสอบ เทียบโดยองคกร ตองมีขอบเขตของหองปฏิบัติการที่ระบุไวถึงความสามารถในการ ทําการตรวจสอบ, ทดสอบ, สอบเทียบ และอยางใดอยางหนึ่งตามนี้ z

z

หองปฏิบัติการตองไดรับการรับรอง ISO/IEC 17025 หรือ มาตรฐานระดับชาติที่เทียบเทา หรือ มีหลักฐานวาหองปฏิบัติการภายนอกไดรับการยอมรับจากลูกคา QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

24

12


ISO/TS 16949 : 2002 7.6.3 ขอกําหนดของหองปฏิบัติการ (Laboratory Requirements) z

7.6.3.2 หองปฏิบัติการภายนอก (External Laboratory)

z

หมายเหตุ 1: หลักฐานการยอมรับ อาจแสดงไดโดยการประเมินโดยลูกคา (เปน ตัวอยาง) หรือลูกคาอนุมัติบุคคลที่ 2 ไปทําการประเมินวาหองปฏิบัติการสอดคลอง กับ ISO/IEC 17025 หรือมาตรฐานระดับชาติที่เทียบเทา

z

หมายเหตุ 2: เมื่อไมมีหองปฏิบัติการที่มีคุณสมบัติ การสอบเทียบอาจจัดทําโดยผูผลิต เครื่ อ งมื อ ในกรณี นี้ อ งค ก รต อ งทํ า ให มั่ น ใจว า เกิ ด ความสอดคล อ งกั บ ข อ กํ า หนด 7.6.3.1 นี้ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

25

ISO 14001 : 2004 Requirement 4.5.1 การติดตามและการตรวจวัด (Monitoring and Measurement) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

26

13


ISO 14001 : 2004 4.5.1 การติดตามและการตรวจวัด (Monitoring and Measurement) องคกร ตอง จัดตั้ง นําไปปฏิบัติ และคงรักษาไวซึ่งระเบียบปฏิบัติ เพื่อเฝาติดตามและ ตรวจวั ด , ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปก็ คื อ คุ ณ ลั ก ษณะหลั ก ของการปฏิ บั ติ ข ององค ก รที่ ส ามารถมี ผลกระทบที่มีนัยสําคัญตอสิ่งแวดลอม ระเบียบปฏิบัตินี้ตองรวมถึงการจัดทําขอมูลที่เปน เอกสารในการติดตามสมรรถนะ, การควบคุมการปฏิบัติที่เกี่ยวของและความสอดคลองกับ วัตถุประสงคและเปาหมายดานสิ่งแวดลอมขององคกร องคกร ตอง ทําใหมั่นใจวาอุปกรณที่ใชเฝาติดตามและตรวจวัดไดรับการสอบเทียบหรือ ทวนสอบ และคงรักษาไว และ ตอง เก็บรักษาบันทึกที่เกี่ยวของไว QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

27

Definition นิยามศัพทดานมาตรวิทยา

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

28

14


การสอบเทียบ (Calibration) หมายถึง ชุดของการดําเนินการทางมาตรวิทยาเพื่อหาความสัมพันธระหวาง คาชี้บอกโดยเครื่องวัด (Measuring Equipment) หรือระบบการวัด (Measuring System) หรือคาที่แสดงโดยเครื่องวัดที่เปนวัสดุ (Reference Material) กับคาสมนัยมาตรฐานที่รูปริมาณวัด (Measuring Standard) ภายใต เงื่อนไขที่กําหนดไว

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

29

การสอบเทียบ (Calibration) z

เงื่อนไขที่กําหนด z

เครื่องมือวัดที่ตองการรูคา (Equipment)

z

เครื่องมือวัดมาตรฐานที่รูคาความถูกตองแลว (Master)

z

วิธีการสอบเทียบที่ทวนสอบไปยังมาตรฐานระดับชาติ หรือ นานาชาติได

z

ผูทําการสอบเทียบที่มีความรูความสามารถ

z

สภาวะแวดลอมที่จําเปนตองควบคุม QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

30

15


• หองปฏิบัติ (Laboratory) หมายถึง หนวยงานที่ทําการสอบเทียบ (Calibration) และ/หรือทดสอบ (Testing) หมายเหตุ 1. ในกรณี ที่ ห อ งปฏิ บั ติ ก ารเป น เพี ย งส ว นหนึ่ ง ขององค ก รที่ มี กิ จ กรรมอี่ น นอกเหนือจากกการสอบเทียบและทดสอบ คําวาหองปฏิบัติการ จะหมายถึงสวนขององคกรที่ เกี่ยวกับกระบวนการสอบเทียบและทดสอบเทานั้น 2. ในที่นี้คําวาหองปฏิบัติการหมายถึง หนวยงานที่ทําการสอบเทียบหรือทดสอบ ไมวา จะเปนหองปฏิบตั ิการชนิดใดชนิดหนึ่งดังตอไปนี้ หองปฏิบัติการถาวร หองปฏิบัติการชั่วคราว (Temporary Facility) หรือ หองปฏิบัติการเคลื่อนที่ (Mobile Facility) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

31

• ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ความคลาดเคลื่อน (Error) สูงสุดที่ยอมใหมีไดเมื่อใชงานภายใต เงื่อนไขและสภาวะตามขอกําหนด หรือกลาวอีกอยางหนึ่งไดวา คือตัวชี้วา เครื่องมือวัดนั้นสามารถแสดงคาวัดไดใกลเคียงกับคาจริงของสิ่งที่ทําการวัด เพียงใด

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

32

16


• ความเที่ยงตรง (Accuracy) • MIL-STD-45662A : กําหนดวาเครื่องมือมาตรฐานที่จะนํามาสอบเทียบ เครื่องมือวัด ตองมีความถูกตองสูงกวาเครื่องมือวัดที่จะถูกสอบเทียบอยางนอย 4~10 เทา

• ISO 10012-1 : กําหนดวาเครื่องมือมาตรฐานที่จะนํามาสอบเทียบเครื่องมือวัด ตองมีความถูกตองสูงกวาเครื่องมือวัดที่จะถูกสอบเทียบอยางนอย 3~10 เทา QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

33

ความคลาดเคลื่อนของการวัด (Error of measurement)

หมายถึง ผลของการวัด (คาที่อานได หรือคาที่ไดจากเครื่องมือวัด) ลบดวยคา จริง (คือคาที่ไดตกลงกันไว หรือคาจาก Master) ของสิ่งที่ตองการวัด หรือ ความคลาดเคลื่อน = คาที่อานได (Reading value) – คาจริง (True value) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

34

17


การแกไขใหถูกตอง (Correction)

หมายถึง เปนคาซึ่งเปนผลบวกทางพีชคณิตสําหรับชดเชยผลการวัดที่ไม ถูกตอง (Uncorrected result) ของระบบที่มีความผิลพลาด โดยคา Correction มี คาเทากับความผิดพลาดของระบบ (Error) แตเครื่องหมายตรงขามกัน นั่นคือ Correction = - (Error) = True value - Reading value

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

35

ความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty of measurement)

หมายถึง พารามิเตอรที่เกี่ยวของกับผลการวัดซึ่งบอกลักษณะการกระจาย ของคา ซึ่งสามารถบอกคาของสิ่งที่ถูกวัดอยางสมเหตุสมผล หรือคํานิยามในทาง ปฏิบัติคือ “ การประมาณการวาคาวัดของทานมีความใกลเคียงอยางไรกับคาที่ แทจริง ” QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

36

18


ความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty of measurement) • ความไมแนนอนนั้นจะรวมปริมาณทางมาตรวิทยาทั้งหมดที่ควบคุมไมได ระหวางทําการสอบเทียบ เชน • สภาวะแวดลอม • อุณหภูมิ • ความดันบรรยากาศ • ความชื้น • แรงโนมถวงของโลก ณ ที่นั้น QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

37

ความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty of measurement) • ความไมแนนอนของมาตรฐานที่ใช • ความไมคุนเคยกับอุปกรณที่ใช • จํานวนการถายทอดมาตรฐาน (ความไมแนนอนจะเกิดขึ้นทุก ๆ การ ถาย ทอด) • วิธีการบันทึกขอมูล และวิธีการสงขอมูล • วิธีการสอบเทียบ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

38

19


ความสามารถสอบกลับได (Traceability)

หมายถึง คุณสมบัติของผลลัพธของการวัดที่สามารถหาความสัมพันธ กับมาตรฐานที่เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไปจะเปนมาตรฐานสากลหรือมาตรฐาน แหงชาติ และความสัมพันธนี้จะผานการเปรียบเทียบกันเปนลูกโซอยางไมขาด ตอน

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

39

ความละเอียด (Resolution)

หมายถึง คาเล็กหรือคาละเอียดที่เครื่องมือวัดสามารถบอกคาได เชนถารู Resolution ของเครื่องมือวัด ก็จะสามารถประเมินไดวาเครื่องมือวัดสามารถวัด คาละเอียดไดเพียงใด เชน 1 mm หรือวัดไดละเอียดถึง 1 μm (1 ใน 1,000 ของ mm)

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

40

20


การทวนสอบ (Verification)

หมายถึง การยืนยันโดยการตรวจสอบและมีหลักฐานแสดงวาเปนไปตาม ขอกําหนดที่ระบุไว หมายเหตุ การทวนสอบจะเปนเครื่องชวยตรวจความเบี่ยงเบนระหวาง ค า ที่ ชี้ บ อกโดยเครื่ อ งมื อ วั ด กั บ ค า สมนั ย ที่ รู ข องปริ ม าณที่ วั ด ว า น อ ยกว า ค า ผิดพลาดที่ยอมใหสูงสุด (Maximum Allowable Error) ตามที่ระบุในมาตรฐาน หรือกฎระเบียบหรือคุณลักษณะเฉพาะของการจัดการเครื่องวัด QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

41

การทวนสอบ (Verification)

ผลการทวนสอบสามารถทํ า ให ตั ด สิ น ใจได ว า จะยั ง คงนํ า มาใช ห รื อ จะตองทําการปรับแตง (Adjustment) หรือจะตองซอมแซม หรือลดเกรด หรือติด ปายหามใช หรือกําหนดชวงใชงาน ในทุกกรณีดังกลาวตองมีรายละเอียดประวัติ การทวนสอบที่เปนลายลักอักษรและเก็บรักษาไวในประวัติของเครื่องมือวัดแต ละเครื่อง QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

42

21


Implementation For Calibration System Control

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

43

Calibration System ระบบเอกสาร (Document System) z ขั้นตอนการปฏิบัติ (Procedure Manual) z คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) z บัญชีรายการเครื่องมือวัด (Measuring Equipment Lists) z เครื่องมือวัดมาตรฐาน (Working Standard) z เครื่องมือวัดที่ตองสอบเทียบ (Calibration) z เครื่องมือวัดที่ไมตองสอบเทียบ (Un calibration) z

Jig and Checking Fixture

z

หองปฏิบัติการภายนอก (Outside Laboratory) / Scope QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

44

22


Calibration System ระบบเอกสาร (Document System) (ตอ) z

z

แผนการสอบเทียบ (Calibration Schedule) z

สอบเทียบภายใน (Internal)

z

สอบเทียบภายนอก (External)

วิธีการปฏิบัติ (Work Instruction) z

วิธีการสอบเทียบ (Calibration Method)

z

การหาคาหาความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty)

z

การประเมินหองปฏิบัติการภายนอก (Outside Laboratory Evaluation) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

45

Calibration System ระบบเอกสาร (Document System) (ตอ) z มาตรฐานอางอิง (Standard) z Calibration and / or Testing Standard z JIS z ISO z BS z ASTM z อื่น ๆ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

46

23


Calibration System บันทึกคุณภาพ (Quality Record) z

ประวัติเครื่องมือวัด (Measuring Equipment Record)

z

ผลการสอบเทียบ (Calibration Result Record)

z

การทวนสอบผลิตภัณฑ (Production Verification Record)

z

การควบคุมสภาวะแวดลอม (Environmental Control Record)

z

z

ใบรับรองผลการสอบเทียบ และ/หรือทดสอบ (Certificate of Calibration and / or Testing) (สอบเทียบภายนอก) การฝกอบรม (Training) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

47

Calibration System ระบบการชี้บง (Identification System) z สติ๊กเกอรหรือปายสถานะ (Sticker or Labeling) z

ผานการสอบเทียบ (Calibrated Pass)

z

ไมผานการสอบเทียบ (Calibrated Fail)

z

ปองกันการปรับแตง (Adjustment Protect)

z

ซอมแซม / แกไข

z

อื่น ๆ ตามความเหมาะสม เชน กําหนดชวงการใชงาน QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

48

24


Calibration System ระบบการชี้บง (Identification System) z รหัสเครื่องมือวัด (Code) z ชนิด (Type) z ระดับของเครื่องมือวัด (Level) z Master (A) z เครื่องมือวัดที่ใชตัดสินคุณภาพของผลิตภัณฑ (B) z เครื่องมือวัดทั่วไป (C) z หนวยงานผูใช (Section of User) z ลําดับที่ (Number) z เชน VER-B-QC-001 QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

49

Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z

ระบบคุณภาพ (Quality System) z

ผังองคกร (Organization Chart)

z

ผังการทวนสอบกลับได (Traceability Chart)

z

นโยบายคุณภาพ (Quality Policy)

z

ขอบเขตการปฏิบัติการ (Scope)

z

เอกสารขั้นตอนปฏิบัติและวิธีการ (Procedure and Instruction) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

50

25


Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z คุณสมบัติของบุคลากร (Personal

Qualify) / หนาที่และความสามารถ

ในการสอบเทียบ / ทดสอบ z

หัวหนาหองปฏิบัติการทําหนาที่ในการตัดสินผลการดําเนินการ (Supervisor ; making professional Judgment)

z

เจาหนาที่ปฏิบัติการ (Appraiser) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

51

Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z

ขั้นตอนการทดสอบและชี้บงผลิตภัณฑ (Product Identification) z

การรับเขา (Receipt)

z

การชี้บง (Identification)

z

การเคลื่อนยาย (Handling)

z

การปองกัน (Protection)

z

การจัดเก็บ (Retention)

z

การกําจัด (Disposal)

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

52

26


Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z

การควบคุมกระบวนการ (Process Control) z

การเฝาติดตาม (monitor)

z

การควบคุม (Control)

z

การบันทึก (Record)

z

สภาพแวดลอม (Environment) z

อุณหภูมิ (Temperature)

z

ความชื้น (Humidity)

z

อื่น ๆ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

53

Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z

วิธีการสอบเทียบ และ/หรือการทดสอบ (Test and/or Calibration Method)

z

การสุมตัวอยาง (Sampling) อางอิงตาม z

มาตรฐานระดับนานาชาติ (International Standard)

z

มาตรฐานระดับทองถิ่น (Regional Standard)

z

มาตรฐานระดับชาติ (National Standard)

z

มาตรฐานที่กําหนดขึ้นเองและยอมรับจากลูกคา (agreement with the customer) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

54

27


Calibration System คูมือคุณภาพของหองปฏิบัติการ (Laboratory Quality Manual) ประกอบดวย z วิธีการทางสถิติ (Statistical Method) z

Xbar-R chart

z

X-MR chart

z

Bias

z

Linearity

z

GR&R QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

55

Calibration Method วิธีการสอบเทียบ

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

56

28


ทางเลือกสําหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดขององคกร 1.

สอบเทียบโดยหนวยงานของตนเอง (มี Calibration Laboratory เอง)

2.

สงไปสอบเทียบยังหนวยงาน / สถาบันภายนอกเปนหนวยงาน / สถาบันที่มี หองสอบเทียบที่เชื่อถือได

3.

สอบเทียบโดยหนวยงาน / สถาบันภายนอก มาบริการสอบเทียบยังโรงงาน สําหรับเครื่องมือวัดที่สามารถดําเนินการสอบเทียบแบบ ON-SITE ได

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

57

•ทางเลือกสําหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดขององคกร •สงไปสอบเทียบ ยังหนวยงาน / สถาบันภายนอก หนวยงาน / สถาบันภายนอก มาบริการสอบเทียบยังโรงงานสําหรับเครื่องมือวัดที่ สามารถดําเนินการสอบเทียบแบบ ON-SITE ได ผานการรับรอง ISO/IEC 17025 เปนเจาของแบรน (OEM) ยอมรับโดยลูกคา อื่น ๆ ตาม Management system ที่ประยุกตใช QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

58

29


ชวงระยะเวลาการสอบเทียบ (Calibration Interval) เพื่อที่จะทําใหเหมาะสมเกี่ยวกับระยะเวลาสําหรับการสอบเทียบใหม ควรจะนําสิ่ง ตตอไปนี้มาประเมินดวย 1. ความเที่ยงตรงที่ตองการ 2. ผลการสอบเทียบครั้งที่แลว 3. คุณสมบัติจําเพาะของเครื่องมือวัด 4. ความบอยและวิธีใชงานเครื่องมือวัด 5. วิธีขนยายและวิธีการจัดเก็บเครื่องมือวัด 6. ความเปนไปไดที่จะตรวจสอบระหวางการสอบเทียบ 7. อิทธิพลหรือผลกระทบจากความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดที่มีตอผลิตภัณฑ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

59

z ลําดับขั้นตอนในการสอบเทียบเครื่องมือวัด

จัดเตรียมความพรอม ทําความสะอาด

ตรวจสอบสภาพทั่วไป

ทําการสอบเทียบ

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

60

30


z ลําดับขั้นตอนในการสอบเทียบเครื่องมือวัด

บันทึกผลการสอบเทียบ ประเมินผลการสอบเทียบ แสดงสถานะเครื่องมือวัด จัดทําประวัติเครื่องมือวัด QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

61

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด การเตรียมความพรอมในการสอบเทียบ z จัดเตรียม Master โดย z

Accuracy ของ Master = (Accuracy ของเครื่องมือวัด) / (3~10)

z ปรับตั้งอุณหภูมิของหองสอบเทียบใหไดตามมาตรฐาน

• ISO 544-1976 หรือ ชี้บง 3 สภาวะมาตรฐานสําหรับการทดสอบ โดย แนะนําไวที่ 23 องศาเซลเซียส, ความชื้น 50 % RH และคาความดัน บรรยากาศไมต่ํากวา 86 Kpa ไมเกิน 106 Kpa • JIS Z 8703 (1983) : Standard atmospheric conditions for testing QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

62

31


คา Tolerance ของสภาวะมาตรฐาน Tolerance ของอุณหภูมิระบุในตาราง โดยขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการทดสอบ

CLASS

TOLERANCES ( + 0C )

Class 0.5 Temperature

0.5

Class 1.0 Temperature

1

Class 2.0 Temperature

2

Class 5.0 Temperature

5

Class 15 Temperature

15

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

63

Tolerance ของความชื้น ระบุในตาราง โดยขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการทดสอบ CLASS

TOLERANCES ( + % RH )

Class 2 Humidity

2

Class 5 Humidity

5

Class 10 Humidity

10

Class 20 Humidity

20

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

64

32


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด การเตรียมความพรอมในการสอบเทียบ z นําเครื่องมือวัด และ Master มาปรับอุณหภูมิ (ไมนอยกวา 30 นาที) z จัดเตรียมอุปกรณ z

ชุดทําความสะอาด

z

Accessory

z

Jig / Fixture

z

อุปกรณปรับตั้งคา หรือ Set up QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

65

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทําความสะอาดเครื่องมือวัด z

เลือกใชอุปกรณที่เหมาะสม / z หลีกเลี่ยงการใชผา หรือวัสดุที่มีการเปอยยุย หรือเปนขุยไดงาย z การใชน้ํามัน หรือน้ํายาตาง ๆ ตองพิจารณาถึงผลกระทบตอเครื่องมือวัดและ

Master ที่ใช (การกัดกรอน หรือทําลายหนาสัมผัส) z

ทําความสะอาดจุดที่เกี่ยวของกับตําแหนงการวัด และการเคลื่อนที่ตาง ๆ

z

ตองทําความสะอาดทั้งตัว Master และเครื่องมือวัด

z

ตองใสถุงมือเพื่อปองกันเหงื่อสัมผัสกับ Master และเครื่องมือ (เกิดสนิม) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

66

33


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ตรวจสอบสภาพทั่วไป (Appearance Check ) z

คุณสมบัติดานกายภาพ (จุดจับชิ้นงาน)

z

ความชัดเจนของ Scale / การแสดงคา

z

การเคลื่อนที่ / การเลื่อนตําแหนงของจุดวัด

z

ความสามารถในการอานคา / การตอบสนองตอคาที่เปลี่ยนแปลง

ถาไมเหมาะสม ตองทําการปรับตั้ง หรือซอมแซมกอนการสอบเทียบตอไป QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

67

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด การสอบเทียบ (Calibration) z

กํ า หนดจุ ด วั ด หรื อ ค า การวั ด ที่ ชั ด เจน / คงที่ และครอบคลุ ม minimum, medium และ maximum ของจุดใชงาน

z

กําหนดจุดวัด 4~10 จุด / ชวงการใชงาน (10 % < ของ Range < 90%)

z

ทําการวัดคาเทียบกับ Master ที่กําหนดไว

z

ทําการวัดซ้ํา 3~5 คาตอจุดวัดที่ตําแหนงเดิม QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

68

34


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด การสอบเทียบ (Calibration) z

ต อ งอ า นค า อย า งระมั ด ระวั ง ด ว ยวิ ธี ก ารที่ ถู ก ต อ งตามค า ที่ แ สดงของ เครื่องมือวัดนั้น ๆ z อานตามความสามารถจริงของเครื่อง (ปดขึ้น / ลง ตามเงื่อนไข)

z

ลงขอมูลในบันทึกผลการฝกอบรมอยางระมัดระวัง z ลงจุดทศนิยมตามคา Resolution ของเครื่อง

z

สอบเทียบใหครอบคลุม Parameter การใชงานของเครื่อง QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

69

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด บันทึกผลการสอบเทียบ z

ใชแบบฟอรมการบันทึกที่เหมาะสม เฉพาะเจาะจงในแตละเครื่องมือวัด

z

ทําการบันทึกผล ฯ ทันที ที่สอบเทียบเสร็จ (บันทึกเปนคา ๆ / ครั้ง)

z

ลงขอมูลความผิดปกติของเครื่องมือวัดที่เกิดขึ้น ระหวางทําการสอบเทียบ เช น การกระพริ บ ของเครื่ อ ง, การแสดงสั ญ ลั ก ษณ ต า ง ๆ บนหน า จอ แสดงผล หรือคา Error ตาง ๆ

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

70

35


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ประเมินผลการสอบเทียบ z

คํานวณคาเฉลี่ย (Average)

z

คํานวณคาผิดพลาดของเครื่องมือวัด (Error) z Error = คาจากเครื่องมือวัด (Reading value) – คาจาก Master (True value)

z

คํานวณคา Uncertainty ของระบบการวัด z Uncertainty ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % (U report) z Uc

=

Ua2 + Us2 + Ur2

z U report

=

Uc x 2 QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

71

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ประเมินผลการสอบเทียบ z

ระบุเกณฑการยอมรับ / Accuracy ของเครื่องมือวัด z จากจุดใชงาน z จาก Spec ของเครื่องมือวัด (ตาม Catalog ตาง ๆ) z จาก International standard ตาง ๆ เชน JIS, ISO, ASTM เปนตน

z

คํานวณคาผิดพลาดรวม (Total Error) z Total Error

= (Error)2 + (Uncertainty)2 QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

72

36


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ประเมินผลการสอบเทียบ z

การระบุเกณฑการยอมรับ / Accuracy ของเครื่องมือวัด z จากจุดใชงาน z

เกณฑการยอมรับ = + (Tolerance ของผลิตภัณฑ) / (3~10)

z เชน เกณฑการยอมรับของ Vernier

caliper สําหรับวัดชิ้นงานที่มี Spec

= 20.00 + 0.03 mm คือ z

เกณฑการยอมรับ

= + (0.03) / (3) mm = + 0.01 mm

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

73

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ประเมินผลการสอบเทียบ z

เปรียบเทียบคา Total Error กับเกณฑการยอมรับของเครื่องมือวัดดังกลาว z ถาสอบเทียบแลวผาน ใหพิจารณาความจําเปนในการปรับตั้ง คาเครื่องมือวัด

ใหม (ตองสอบเทียบใหม) z

ถาสอบเทียบแลวไมผาน ตองดําเนินการ z

ทวนสอบผลิตภัณฑที่ถูกตัดสินคาโดยเครื่องมือวัดดังกลาว

z

พิจารณาความเปนไปไดในการปรับตั้ง / ซอม / แกไข

z

สอบเทียบซ้ํา QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

74

37


ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด ประเมินผลการสอบเทียบ z ถาสอบเทียบแลวไมผาน ตองดําเนินการ z

z

แจงใหลูกคาทราบ ถาไดมีการสงมอบผลิตภัณฑที่ผานการตัดสิน คาโดยเครื่องมือวัดดังกลาวใหลูกคาไปแลว (ผลิตภัณฑตองสงสัย) กําหนดจุดใชงานเฉพาะ / นําคาแกไปใชงาน (ถา Error คงที่) z

คาแก (Correction) = - คาผิดพลาด (Error)

z ทุกกิจกรรมตองจัดทําเปน “บันทึก” QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

75

ลําดับขั้นตอนของการสอบเทียบเครื่องมือวัด การแสดงสถานะเครื่องมือวัด z

ทําการชี้บงเครื่องมือวัดตามสถานะ และสัญลักษณที่กําหนด

จัดทําประวัติเครื่องมือวัด z

แสดงผลการสอบเทียบในชวงเวลาที่ผานมา

z

หนวยงานที่ไดสอบเทียบ (สอบเทียบภายนอก)

z

การซอม / แกไข / ปรับคา

z

การทวนสอบผลิตภัณฑ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

76

38


Calibration Certificate ใบรับรองผลการสอบเทียบ

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

77

Traceability Chart National Standard Reference Standard Working Standard Measuring and test equipment Products QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

78

39


ใบรับรองผลการสอบเทียบ (Calibration Certificate) EAL (European Accreditation Organization of Laboratory) ไดกําหนดแนวทางสําหรับ ใบรับรองการสอบเทียบขึ้น โดยระบุวาควรจะมีขอมูลเหลานี้ในใบรับรอง 1.

คําวา ใบรับรอง (Certification)

2.

ชื่อและที่อยูของหองปฏิบัติการที่ทําการสอบเทียบ (Address)

3.

ระบุชื่อลูกคาหรือการชี้บงของใบรายงานผล (เลขลําดับที่ หรือ Certificate No.)

4.

ระบุชื่อเครื่องมือวัดที่ทําการสอบเทียบ(Name of measuring equipment) รวมถึง Model และSerial No. QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

79

ใบรับรองผลการสอบเทียบ (Calibration Certificate) (ตอ) 5.

6. 7.

8. 9. 10. 11.

วันเดือนปที่สอบเทียบ (Calibration date) และวันที่ออกใบรับรอง (Issue date) รายละเอียดทางเทคนิค (Basis of test) การบงชี้เครื่องมือที่ใชพรอมความสามารถสอบกลับได (Standard & traceability to) เงื่อนไขสภาวะแวดลอม (Laboratory environment) ผลการวัดและคาผิดพลาด (Calibration data & error) ความไมแนนอนของการสอบเทียบ (Uncertainty of measurement) ลายมือชื่อและตําแหนงผูรับผิดชอบ (Calibrate & Approve by) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

80

40


Accuracy ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัด

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

81

ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ความคลาดเคลื่อน (Error) สูงสุดที่ยอมใหมีไดเมื่อใชงานภายใต เงื่อนไขและสภาวะตามขอกําหนด หรือกลาวอีกอยางหนึง่ ไดวา คือตัวชี้วา เครื่องมือวัดนั้นสามารถแสดงคาวัดไดใกลเคียงกับคาจริงของสิ่งที่ทําการวัด เพียงใด

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

82

41


System Accuracy ในการคํานวณหาคา Accuracy รวมของเครื่องมือวัดฯ ที่เปนชุดสามารถคํานวณ ไดจากสูตร Accuracy รวม = [Accuracy 1]2 + [Accuracy 2]2

หมายเหตุ กอนที่จะนํา Accuracy แตละตัวมาหา Accuracy รวมตองทําใหอยูใน แบบเดียวกันกอน

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

83

System Accuracy (ตอ) ตัวอยาง Thermometer ชนิด Portable ประกอบดวยตัวอาน (Indicator) ที่มี Accuracy + 1 % Rdg และหัววัด (Probe) ชนิด Thermocouple Type K ที่มี Accuracy + 2.2 0C ดังนัน้ ที่จุดใชงาน 150 0C Thermometer ดังกลาวจะมี Accuracy รวมที่จุดใช งาน 150 0C Indicator มี Accuracy = (+ 0.01)(150) = + 1.5 0C Probe มี Accuracy = + 2.2 0C ดังนั้น Accuracy รวม

= + (1.5)2 + (2.2)2 = + 2.66 0C QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

84

42


ความเที่ยงตรง (Accuracy) การอานคา Accuracy คํานี้ใชบอก Error สูงที่สุดที่เราจะไดจากการนําเครื่องมือวัดฯ ไปวัดคาตัวแปร โดย ปกติ Accuracy มักจะถูกบงบอกดวยความไม Accuracy ซึ่งอาจปรากฏไดหลายรูปแบบ คือ 1. ในรูปของตัวแปรที่เราวัด เชน บอกวา Vernier Caliper ขนาด 0 – 150 mm มี Accuracy + 0.02 mm หมายความ วา คาผิดพลาดสูงสุดของ Vernier Caliper ดังกลาวอยูที่ + 0.02 mm สําหรับคาที่อานได ทุก ๆ คา QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

85

ความเที่ยงตรง (Accuracy) (ตอ) 2. ในรูปของเปอรเซ็นตของ Full Scale (FS) ของเครื่องมือวัดฯ เชน Accuracy + 0.5 % FS ของมิเตอรที่วัดไดสูงสุด 5 โวลต หมายความวา คา ผิดพลาดสูงสุดที่ไดเปน (+ 0.005)(5) = + 0.025 โวลต สําหรับคาที่อานไดทุก ๆ คาของ มิเตอรดังกลาว

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

86

43


ความเที่ยงตรง (Accuracy) (ตอ)

3. ในรูปของเปอรเซ็นตของชวงกวาง (Span) ของเครื่องมือวัด เชน Accuracy + 0.3 % of Span ของ Pressure Gauge ขนาด 20 – 50 psi ดังนั้นความ ผิดพลาดสูงสุดของ Pressure gauge เปน (+ 0.003)(50-20) = + 0.09 psi สําหรับคาที่ อานไดทุก ๆ คาของในชวง 20 – 50 psi ของ Pressure Gauge ดังกลาว

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

87

ความเที่ยงตรง (Accuracy) (ตอ)

4. ในรูปของเปอรเซ็นตของคาจริงที่อานได (Reading = Rdg) เชน Thermometer มี Accuracy + 0.1 % Rdg ที่จุดใชงานอานคาได 80 0C ดังนั้นความ ผิดพลาดของ Thermometer ที่จุดใชงานดังกลาวคือ (+ 0.001)(80) = + 0.08 0C

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

88

44


ความเที่ยงตรง (Accuracy) (ตอ) 5.

ในรูปความละเอียด (Resolution หรือ Graduation) ของเครื่องมือวัดฯหรือ

ความสามารถในการอานไดละเอียดสุด (Readability) เชน เครื่องชั่งขนาด 1 kg / Resolution 0.01 g มี Accuracy + 2 Readability ดังนั้นเครื่อง ชั่งดังกลาวมีความผิดพลาดสูงสุดเปน (+ 2)(0.01) = + 0.02 g สําหรับคาที่อานไดทุก ๆ คาของเครื่องชั่งดังกลาว QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

89

ความเที่ยงตรง (Accuracy) (ตอ)

6. ในรูปผสม เชน DMM มี Accuracy + (1 % Rdg + 1 Digit) ที่จุดใชงานอานคาได 100.0 โวลต ดังนั้นความผิดพลาดของ DMM ที่จุดใชงานดังกลาวคือ + {(0.01)(100) + (1 Digit = 0.1)} = + 1.1 โวลต

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

90

45


Uncertainty of measurement ความไมแนนอนในการวัด

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

91

ความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty of measurement) หมายถึง พารามิเตอรที่เกี่ยวของกับผลการวัดซึ่งบอกลักษณะการกระจาย ของคา ซึ่งสามารถบอกคาของสิ่งที่ถูกวัดอยางสมเหตุสมผล หรือคํานิยามในทางปฏิบัติคือ “ การประมาณการวาคาวัดของทานมีความ ใกลเคียงอยางไรกับคาที่แทจริง ”

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

92

46


ผลกระทบจากคาความไมแนนอนในการวัด Upper Spec. Limit

.

.

A

B Lower Spec. Limit

เครื่องมือวัด A มีคาความไมแนนอนมากกวาเครื่องมือวัด B ทําใหการแยกแยะ ผลิตภัณฑดี – เสีย ของเครื่องมือวัด A เลวกวาเครื่องมือวัด B

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

93

ความไมแนนอนในการวัด (Uncertainty of measurement) ความไมแนนอนนั้นจะรวมปริมาณทางมาตรวิทยาทั้งหมดที่ควบคุมไมได ระหวางทําการ สอบเทียบ เชน • สภาวะแวดลอม • อุณหภูมิ • ความดันบรรยากาศ • ความชื้น • แรงโนมถวงของโลก ณ ที่นั้น • ความไมแนนอนของมาตรฐานที่ใช • ความไมคุนเคยกับอุปกรณที่ใช • จํานวนการถายทอดมาตรฐาน (ความไมแนนอนจะเกิดขึ้นทุก ๆ การถาย ทอด) • วิธีการบันทึกขอมูล และวิธีการสงขอมูล • วิธีการสอบเทียบ QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

94

47


Uncertainty of measurement ความไมแนนอนในการวัด

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

95

ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน ในการเลือกใชเครื่องมือวัดเพื่องานหนึ่ง ๆ สิ่งสําคัญไมไดอยูที่การ เลือกใชเครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาดนอยที่สุดที่จะหาไดเทานั้น แตสิ่งที่ควรคํานึง คือความเหมาะสมในการใชงาน ทั้งนี้เพราะมีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของใน การกําหนดความเหมาะสม หรือความเปนไปไดในการจะนําเครื่องมือวัดมาใชงาน คือ 1. ราคาของเครื่องมือวัด (price) 2. วิธีการใชงาน (procedure) 3. การดูแลรักษา (maintenance) 4. ความผิดพลาดนอยสุดที่ตองการ (accuracy) 5. ความสามารถในการทําการสอบเทียบ (calibration) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

96

48


ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 1. ราคาของเครื่องมือวัด (price) เครื่องมือวัดที่มีความผิดพลาดนอยเทาใด จะมีราคาสูงขึ้นเทานั้น พอจะ ประมาณการไดวาเครื่องมือวัดรายการหนึ่งที่มีความผิดพลาดนอยกวาอีก รายการหนึ่ง 10 เทา ราคาจะแตกตางกันประมาณ 10 เทาดวยเชนกัน

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

97

ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 2. วิธีการใชงาน (procedure) ยิ่ ง เครื่ อ งมื อ วั ด ที่ มี ค วามผิ ด พลาดน อ ยเท า ใด วิ ธี ก ารใช เ ครื่ อ งมื อ วั ด ปริมาณที่จะวัด จะมีขั้นตอนที่ซับซอนมากขึ้นหรือปจจัยที่ตองควบคุมก็มี มากขึ้นเชน สภาวะแวดลอมตาง ๆ หากไมเชนนั้นนอกจากจะสงผลตอการ วัดแลว ยังจะสงผลตอความทนทานในการใชงาน (reliability) ดวย

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

98

49


ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 3. การดูแลรักษา (maintenance) และขอควรระวังในการใชงาน จะยุงยากมากขึ้นสําหรับเครื่องมือวัดที่มี ความผิดพลาดนอย

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

99

ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 4. ความผิดพลาดนอยสุดที่ตอ งการหรือความถูกตองของเครื่องมือวัด (accuracy) มีมาตรฐานกําหนดเปนแนวทางในการกําหนดวา เครื่องมือมาตรฐานที่จะนํามาสอบ เทียบเครื่องมือวัด ตองมีความถูกตองสูงกวาเครื่องมือวัดที่จะถูกสอบเทียบอยางนอย 4~10 เทา (MIL-STD-45662A), 3~10 เทา (ISO 10012-1) กฎเกณฑนี้สามารถนํามาใชกับการ เลือกเครื่องมือวัดที่จะนํามาใชในการตรวจสอบหรือควบคุมการผลิตโดยความถูกตอง ต่ําสุดหรืออยางนอยของเครื่องมือที่จําเปน เทียบกับคาทีย่ อมรับได (tolerance) หรือสเปค (specification) ของผลิตภัณฑได QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

100

50


ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 4. ความผิดพลาดนอยสุดทีต่ องการหรือความถูกตองของเครือ่ งมือวัด (accuracy) ตัวอยาง ในขัน้ ตอนการตัดขนาดของอะลูมิเนียม ความยาวของแทงอะลูมิเนียมที่ ตองควบคุม โดยกําหนดใหคาสเปคของงานอยูที่ 10 + 1 mm ดังนั้นความถูกตองอยาง นอยของเครื่องมือวัดที่จะนํามาใชเทากับ (+ 1 mm / 3 = + 0.33 mm) สําหรับการกําหนดความถูกตองของมาตรฐาน (Master) ที่ใช ใชหลักเกณฑ เดียวกัน นั้นคือหาความถูกตองอยางนอยของมาตรฐานเทียบกับความถูกตองของ เครื่องมือวัดที่จะสอบเทียบ ตัวอยาง จากผลในตัวอยางแรก หาความถูกตองอยางนอยของมาตรฐานที่นํามาใช สอบเทียบความถูกตองอยางนอยของมาตรฐานที่ใชเทากับ (+ 0.33 mm / 3 = + 0.11 mm) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

101

ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 4. ความผิดพลาดนอยสุดที่ตองการหรือความถูกตองของเครื่องมือวัด (Accuracy) หมายเหตุ ในทางปฏิบัติ หากไมสามารถเลือกเครื่องมือวัดที่มีความถูกตองต่ําสุด ตรงตามที่ ต อ งการ ก็ ใ ห เ ลื อ กที่ มี ค วามถู ก ต อ งไม เ กิ น ความถู ก ต อ งสู ง สุ ด ที่ จํ า เปนมาใช และในการสอบเทียบอาจกําหนดใหเครื่องมือวัดมีความถูกตองหลัง การสอบเทียบไมเกินสเปคที่ผูผลิตกําหนด ( เชน สเปค กําหนด + 0.01 mm เรา อาจกําหนดใหเปน +0.05 mmได ) แตไมสูงกวาสเปคที่ตองการ ( เชน สเปค ตองการ + 0.1 mm) QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

102

51


ขอควรใสใจสําหรับการจัดหาเครื่องมือวัดมาใชงาน (ตอ) 5. ความสามารถในการสอบเทียบ

เครื่องมือวัดชนิดเคียวกันแตมี range หรือ resolution ที่ตางกันอาจจะตองใช ตัวมาตรฐาน (master) สําหรับการสอบเทียบตางกัน เชนหากหนวยงานสอบเทียบมี gauge block สําหรับการสอบเทียบ vernier ที่ มี range ไมเกิน 150 mm ถาในกรณีที่มีการซื้อ vernier ที่มี range มากกวา 150 mm เขามาใชงาน สงผลใหหนวยงานสอบเทียบนั้นไมสามารถสอบเทียบ vernier ดังกลาว ได และค า resolution ก็ เ ช น กั น สํ า หรั บ ตั ว มาตรฐานที่ ส ามารถสอบเที ย บ เครื่องมือวัดที่มี resolution ไดสูงสุด 0.01 mm ก็ไมสามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดที่มี resolution 0.001 mm ไดเชนเดียวกัน ดังนั้นจึงตองพิจารณา range หรือ resolution ที่จําเปนตอการใชงานจริง QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

103

Thank you The End

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 03

QMS Approach Co.,Ltd. / Rev 01

104

52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.