Thailand5SAward

Page 1


พัฒนากิจกรรม 5ส ขององคการ/บริษัทใหเกิดการบริหารแบบมีสวนรวม (Participation) กอใหเกิดประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) ในการทํางานมากที่สดุ

ปรับปรุงระบบการบริหารงานตั้งแตระดับสูงสุดขององคการ/บริษัทไปจนถึงระดับ ผูปฏิบัติงาน ใหเปนรูปธรรมไดอยางตรงจุด โดยมีดัชนีชี้วัด(Indicator) ที่เหมาะสม

ยกระดับความสามารถแขงขันใหกับองคการ/บริษัทในทุกอุตสาหกรรมของประเทศไทย

ไดรับทราบการทํากิจกรรม 5ส ซึ่งกันและกัน (ระหวางองคการ/บริษัท/องคกร/ หนวยงาน)

รณรงคการปฏิบัติกิจกรรม 5ส ใหคงไว ซึ่งมาตรฐานในการปรับปรุงอยางตอเนื่อง


วัตถุประสงค กิจกรรม 5ส

สงเสริมกิจกรรม 5ส

จุดมุงหมายสูงสุด

เพิ่มการทํากิจกรรมดวยตนเอง

วัตถุประสงคโดยตรง เพิ่มแนวคิดการปรับปรุงของธุรกิจ

จุดมุงหมายขั้นสุดทาย

เพิ่มระดับของการควบคุมดูแล

เพิ่มประสิทธิภาพ สราง teamwork ที่ดี ลด lead time และรักษาการสงมอบ สรางภาวะผูนําของหัวหนา

ลดวัสดุคงคลัง เพิ่มคุณภาพ

กําจัดการชํารุดเสียหาย รักษาความปลอดภัย ลดตนทุน ทําใหโครงสรางการบริหารมีความ กระตือรือรน และเพิ่มขวัญกําลังใจ

สรางแกนแทของโครงสราง ที่สามารถสงเสริมกิจกรรมการ ปรับปรุงครอบคลุมดูแลอยางอยู รอด ยอดเยี่ยมและยั่งยืน


ระดับของ 5S TPM TPMPrize Prize

Visual Factory

TQA,TQM TQA,TQM 5S5SAWARD AWARD เนเนนนเกิเกิดดนวันวัตตกรรม กรรมเทคนิ เทคนิคคใหม ใหมแแนวทางใหม นวทางใหม

ผูป  ฏิบัติการ ผูบริหารระดับตน

และผูบริหาร ทํางานเปนทีม อยางอัตโนมัติ

Visual Management Visual Control ผูปฏิบัติการ ผูบริหารระดับตน เขาถึงสิ่งผิดปกติไดรวดเร็ว

ผูบริหาร รูสถานะของโรงงานไดทันที


คําที่มีความหมายเหมือนกัน

ความหมาย 5S (5ส)

4-5 ก

5-S

APO

5-ส

กําจัด

SEIRI

ORGANIZATION

สะสาง

กําหนด

SEITON

NEATNESS

สะดวก

SEISO

CLEANING

สะอาด

SEIKETSU SEIKETSU

STANDARDIZATION STANDARDIZATION

สุขลักษณะ/สราง มาตรฐาน)

SHITSUKE SHITSUKE

DISCIPLINE

สรางนิสัย

เก็บกวาด

กฎเกณฑ กฎเกณฑ//กิกิจจวัวัตตรร

APO = Asian Productivity Organization


วัตถุประสงค

ตัวชี้วัด

Organization /SEIRI (เซริ) สะสาง การจัดระบบ

ลดความสูญเปลา สรางจิตสํานึก การเปนนักพัฒนาหรือดูแลดวยตนเอง สิ่งของ หรือ กระบวนการ ที่ไมมีความจําเปนและ ถูกกําจัดออกไปหรือปรับปรุงใหม

Neatness/SEITON วัตถุประสงค ตัวชี้วัด

(เซตง) สะดวก ความเปนระเบียบ เพิ่มประสิทธิภาพ สรางความเปนวิศวกร หรือ นักวางระบบงาน เวลา (30 วินาที)

Cleaning/SEISO (เซโซ) สะอาด ทําความสะอาด วัตถุประสงค ตรวจสอบ นายชางหรือวิศวกรบํารุงรักษา ตัวชี้วัด จํานวนสิ่งผิดปกติที่คนพบและทําการแกไข


Standardization/SEIKETSU (เซเก็ทซึ) สรางมาตรฐาน วัตถุประสงค ตัวชี้วัด

ลดความผันแปร เพิม่ ความปลอดภัย ประสิทธิภาพ กระบวนการทํางานที่ มีการปรับปรุงใหดีขึ้น

Training / Discipline/SHITSUKE (ซิซึเกะ) วัตถุประสงค ตัวชี้วัด

ฝกอบรม / วินัย/ ภาวะผูนํา รักษาระบบ 5ส นายทหารผูมวี ินัย ระบบการฝกอบรม วิทยากรภายใน วัฒนธรรม ประเพณี คานิยม องคการที่บงชี้ ระบบสามารถดํารงอยูไดดวยเงื่อนไข ทุกคน ทุกสถานที่ ทุกเวลา


ประกอบดวย Golden Silver Popular Vote

1 รางวัล 4 รางวัล และ 1 รางวัล


ขั้นตอนคัดเลือกรับรางวัล ขั้นที่ 1 ตรวจเอกสาร ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5

นําเสนอผลงาน ตรวจติดตาม ผูเชี่ยวชาญไทย ณ สถานปฏิบตั ิงาน ตรวจติดตาม ผูเชี่ยวชาญญี่ปุน ณ สถานปฏิบตั ิงาน ชิงชนะเลิศวันงานประกวด


Flow การคัดเลือก 5S AWARD

เริ่มสงเอกสาร

A

1.ตรวจสอบเอกสาร ผาน >=70%<30%>

N

B

Y

2.นําเสนอ (ส.ส.ท.) Y

ผาน >=70%<70%>

ผาน >=70%(5หนวยงาน) <20%>

4.ตรวจพื้นที(่ ผูเชี่ยวชาญญี่ปุน) <80%>

N

B

3+ 4 (20%+80%)

5.นําเสนอ : ชิงชนะเลิศ (วันงาน)

1 + 2 <30%+70%> ผาน >=70%(10-15หนวยงาน)

4+5 (80%+20%)

3.ตรวจพื้นที่ (ผูเ ชี่ยวชาญไทย)

หมายเหตุ : B

A

N B

5S AWARD B

มีสรุปรายงานขัน้ 1,2,3 จาก ส.ส.ท.

END


เอกสารสรุปการดําเนินกิจกรรม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

ประวัติความเปนมาของบริษัท สถานทีต่ ั้ง ธุรกิจ ผังการบริหารงาน ประวัติโดยยอของกิจกรรม 5ส วิสัยทัศน วัตถุประสงค นโยบาย เปาหมาย 5ส เอกสารหลักฐานการดําเนินกิจกรรม เชน ประกาศนโยบาย แตงตั้ง การแตงตั้งผูประสานงานพื้นทีก่ ิจกรรม 5ส แผนการดําเนินกิจกรรม (รวมแผนการประชุมคณะกรรมการ) การแบงพื้นที่ (ระบุเปน ตารางเมตร) รูปภาพการประชาสัมพันธ เชน บอรด แผนพับ โครงการ แผนการฝกอบรมพนักงานและพนักงานรับจางชวง กิจกรรม Big Cleaning Day รูปภาพกอนและหลังการปรับปรุง (ภาพไมควรเกิน 1 ป) แผนการตรวจประเมิน แบบฟอรมการตรวจประเมิน

จํานวน 15 ชุด พรอมตนฉบับ ไมเกิน 40 หนากระดาษ A4


แนวทางการตรวจเอกสาร 1. ประวัติความเปนมาของบริษัท สถานที่ตั้ง ธุรกิจ ผังการบริหารงาน วัตถุประสงค ทราบถึงมุมมองกิจกรรม 5ส ชวยในการบริหารงานอยางไร แนวทางการใหคะแนน “ทุกหัวขอ” “มีวสิ ัยทัศน แตไมลงมือทํา เทากับฝนไป ขยันทํา แตไมมวี ิสัยทัศน เทากับ เสียเวลาเปลา มีวสิ ัยทัศน และขยันทําดวย ก็จะสรางความเปลี่ยนแปลงอยาง ตอเนื่อง”


ขอ 2,3,4 ประวัติกิจกรรม 5ส วิสัยทัศน วัตถุประสงค นโยบาย เปาหมาย

วัตถุประสงค ทราบถึงความตอเนื่องของกิจกรรม ปญหา อุปสรรค วิธีการ แกไขให บรรลุและการบูรณาการกิจกรรม 5ส กิจกรรมอืน่ ๆ รวมกับการบริหารการ ทํางาน แนวทางการใหคะแนน 1. การบริหารกิจกรรม นโยบายความรูปธรรม และความมุงมัน่ ของฝายบริหาร 2. Road Map ของการบริหารกิจกรรม 5ส และเสนทางมุงสูเครื่องมือสากล 3. การกระจายนโยบายของตัวเปาหมายและตัวชี้วัดพืน้ ที่ 4. การแสดงผลดานการบริหารงานในรูปแบบของการขยายผล 5. ผลตอการดําเนินธุรกิจ พนักงาน และสังคม 6. โครงการสงเสริมความตอเนื่องของพนักงานและการวัดศักยภาพ 7. การสนับสนุน ชวยเหลือ


ขอ 5,6 การควบคุมกระบวนการบริหาร วัตถุประสงค ทราบถึงบทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และการกระจายบทบาทหนาที่ของผูทําหนาที่ในการ สงเสริม แนวทางการใหคะแนน 1. การกําหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การใหการศึกษา 2. การประกาศแตงตั้ง 3. ความเปนปจจุบันของผูดํารงตําแหนงในงานและกิจกรรม 4. วาระการดํารงตําแหนง 5. การสงเสริมดานความรูและการพัฒนาศักยภาพ


7. แผนงานดําเนินกิจกรรม 5 ส วัตถุประสงค 1. เพื่อทราบถึงวางระบบบริหารกิจกรรม รวมกับการทํางาน 2. เพื่อทราบจุดควบคุม ระยะเวลา และเปาหมายของความสําเร็จ 3. เพื่อทราบถึงแนวทางการแกไขปญหาของการไมปฏิบัติตามแผน แนวทางการใหคะแนน 1. การกําหนดแผนงานแมบท แผนงานพื้นที่ แผนงานเฉพาะกิจ 2. เทคนิค 5W1H : What When Where Why Who How 3. การติดตาม ปรับปรุง พัฒนาแผนงาน 4. แผนงานที่ปฏิบัติไดจริง 5. การทบทวนแผนงาน


8 . การแบงพื้นที่ความรับผิดชอบ วัตถุประสงค ทราบถึงการจัดแบงพื้นที่ความรับผิดชอบ “ทุกคน ทุกพื้นที่” แนวทางการใหคะแนน 1. การจัดสรรพื้นที่ การดูแลอุปกรณที่เกี่ยวของกับการทํางาน 2. การจัดสรรพื้นที่ของสวนกลางแตละหนวยงาน 3. ตารางเมตรตอบุคคล


9. รูปแบบการประชาสัมพันธกิจกรรม 5 ส วัตถุประสงค 1. รับทราบถึงการสงเสริมในรูปแบบสื่อตางๆ 2. ความตอเนื่องของขอมูล ขาวสาร 3. สงเสริมใหเกิดการเรียนรู แนวทางการใหคะแนน 1. แสดงถึงการรับรูข องการจัดทําสื่อจากผูรับสื่อ ลักษณะตัวชี้วัดเปนรูปธรรม 2. แสดงถึงการมองเห็น ของ Visual Control หรือ Visual Management 3. แสดงถึงบอรดอัจฉริยะ ระบบการเรียนรูแบบบูรณาการ


10. แผนการฝกอบรมพนักงานและผูรับจางชวง วัตถุประสงค ทราบถึงการจัดองคความรูใหกับพนักงานและการสรางตัวชี้วดั ดานศักยภาพของพนักงานกลุมตางๆ แนวทางการใหคะแนน 1. 2. 3. 4. 5.

แผนการฝกอบรมและการติดตามผลของผูจัดและหัวหนาผูเกี่ยวของ หลักสูตรการฝกอบรมดาน 5ส และหลักสูตรเกี่ยวของ ตัวอยางประวัติการฝกอบรมของพนักงานและทีมงาน ระบบการวัดทักษะและสงเสริมพนักงานรวมกับกิจกรรมอื่นๆ สิ่งที่แสดงถึงการพัฒนาความรูอ ยางตอเนื่องของผูบริหารตอพนักงาน


11. กิจกรรมวันทําความสะอาดครั้งใหญ (Big Cleaning Day)

วัตถุประสงค ทราบถึงแนวคิดการจัดวันทําความสะอาดครั้งใหญ วัตถุประสงค เปาหมาย ตัวชี้วดั และการสงเสริมไปสู cleaning day แนวทางการใหคะแนน 1. แผนงานการดําเนินการ วัตถุประสงค เปาหมายหรือสิ่งที่ควรไดรับ 2. ภาพหรือหลักฐานแสดงการปฏิบัติจริง 3. ตัววัดผลหรือผลที่ไดรับจากการดําเนินกิจกรรม 4. การสรางกิจกรรมตอเนื่องจากวันดังกลาว 5. การสงเสริมและประชาสัมพันธ


12. รูปภาพการปรับปรุงกอนและหลังการทํากิจกรรม

5ส

วัตถุประสงค เพื่อแสดงถึงศักยภาพของการดําเนินกิจกรรมดานการปรับปรุงกิจกรรม นําเครื่องมือ อื่นๆ เขารวมในการแกไขปญหา

แนวทางการใหคะแนน 1. 2. 3. 4. 5.

ภาพนั้นสามารถทําใหเกิดมูลคาเพิ่มตอการทํางาน ตอคุณภาพชีวิตของพนักงาน การคัดเลือกภาพ และแนวทางการปรับปรุงแกไข หลักการ 5W1H และ หลักการ Problem Free Engineering การขยายผลไปสูคูมือการเรียนรูภายในหนวยงาน การแสดงถึงมาตรฐานทีป่ รับเพิ่มสูง


13,14 ระบบการตรวจประเมินกิจกรรม 5 ส วัตถุประสงค เพื่อทราบถึงแผนงาน ระดับและคัดเลือกกลุมผูตรวจประเมิน การกําหนดคุณสมบัติของผูตรวจประเมินแตละระดับ วัตถุประสงค เปาหมายของระดับการตรวจ แนวทางการใหคะแนน 1. 2. 3. 4. 5.

การแบงระดับการตรวจประเมินของหนวยงานและวัตถุประสงค เปาหมาย มาตรฐานเพิ่มของพืน้ ที่ และแบบฟอรมการตรวจแตละระดับ การจัดการกับภาพกอนและหลัง และการคัดเลือกภาพเพื่อปรับปรุง การแกไขปญหาหรืออุปสรรค การกําหนดแผนงานการตรวจ


ขั้นที่ 2 การนําเสนอผลงาน วัตถุประสงค 1. ทราบการดําเนินกิจกรรมขององคการ/บริษัท 2. สอบถามปญหาและอุปสรรคการดําเนินกิจกรรมและ รายละเอียดของการจัดทํากิจกรรม 5ส 3. จัดอันดับสูขั้นตอนตรวจโดยผูเชี่ยวชาญไทย


แนวทางการนําเสนอผลงาน 5 ส ประกอบดวย 4 ขั้นตอน 1. เตรียมความพรอมของผูนําเสนอและผูเกี่ยวของ 1. ผูนําเสนอ

: ดานขอมูล เอกสารประกอบ การตอบคําถาม การแกไขปญหา 1. เอกสาร : ชัดเจน หากเปนภาพควรเปนภาพปจจุบนั 2. การยกตัวอยาง : ภาพของบริษัท หรือสถานที่บริษัท 3. การใชเวลา : ตามกําหนด


2. การนําเสนอผลงาน วัตถุประสงค 1. เพือ่ ทราบผลการดําเนินกิจกรรม 5 ส อยางตอเนือ่ ง 2. เพือ่ ทราบถึงวิธีการเผยแพรและถายทอดกิจกรรม

แนวทางการใหคะแนน 1. ผูนําเสนอ ระดับใดขององคการ 2. อธิบาย กระชัด ชัดเจนในรายละเอียดของกิจกรรม ตั้งแตเริม่ ตนถึงปจจุบัน ตามหัวขอ 3. เอกสาร ขอมูล สื่อการใช


วัตถุประสงค

3. การรักษาเวลาการนําเสนอ

1. เพื่อการจัดแบงสัดสวนของเวลา 2. นําเสนอขอมูลอยางครบถวน ตรงประเด็น

แนวทางการใหคะแนน ตรงเวลากําหนด 30 นาที - การเตรียมอุปกรณ สื่อสารสนเทศ - ผูบริหารนําเสนอ ดานนโยบาย วิสัยทัศน การสงเสริม การพัฒนา ตัวชี้วัด เปนตน - นําเสนอภาพกิจกรรมตามรายละเอียด

5 นาที 10 นาที 15 นาที


วัตถุประสงค

4. การตอบคําถาม

1. เพือ่ ทบทวนรายละเอียด จากการนําเสนอและการฟงของคณะกรรมการ 2. เพือ่ แลกเปลี่ยนประสบการณกับผูอ ยูในการฟงรวมกัน 3. เพือ่ ทบทวนขอมูลในประเด็นที่ยังไมเขาใจ

แนวทางการใหคะแนน 1. 2. 3.

ตอบตรงประเด็น มีหลักฐานหรือขอมูลอางอิงในกรณีเปนตัวเลขหรือกราฟ สามารถยอนหารองรอยการดําเนินการไดจากขอมูลตางๆ และแหลงที่มาได สามารถกระจายคําตอบใหสมาชิกรวมได


ขั้นที่ 3 การตรวจพื้นที่ปฏิบัติจริง ผูเชี่ยวชาญไทย วัตถุประสงค 1. เพื่อตรวจสอบผลการปฏิบัติ 5 ส ดานทัศนคติ การวางแผนงาน การสรางมาตรฐาน การคิดคนวิธีแกไขปญหา รวมทั้งการนํา ขอเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจเขาสูระบบการปรับปรุงของ ผูบริหารและ ผูปฏิบัติการ 2. เพื่อตรวจสอบดานมาตรฐานเกี่ยวกับการดู พัฒนาอุปกรณ เครื่องจักรหรือเครื่องมือกับการปฏิบัติจริง 3. เพื่อการจัดอันดับของบริษัทที่จะผานเขารอบตอไป


แนวทางตรวจติดตาม ณ สถานที่ปฏิบัติงานจริง 1. การสัมภาษณผูบริหาร พนักงาน 2. พื้นที่ตรวจ 1.1 เขตเครือ่ งจักร 1.2 เขตสํานักงาน 1.3 เขตพืน้ ที่เก็บ 1.4 เขตพื้นที่ทั่วไป

แนวทางการใหคะแนน 1. 2. 3. 4.

การสัมภาษณผูบริหาร ผูเ กี่ยวของ ดานบริหาร ควบคุม ปฏิบัติกิจกรรม 5ส เอกสารอางอิงเกี่ยวของกับการทํากิจกรรม พื้นที่ปฏิบัติการตามกําหนด


ขั้นที่ 4 การตรวจพื้นที่ปฏิบัติ ผูเชี่ยวชาญญีป่ นุ วัตถุประสงค 1. เพือ่ การยืนยันระบบ 5ส ตามแนวของการพัฒนาสูส ากล 2. เพือ่ ตรวจสอบการการแกไขปญหา ตามขอแนะนําของผูเชี่ยวชาญไทย 3. เพือ่ ใหขอ เสนอแนะการปรับปรุง ในประเด็นการพัฒนาตอเนื่อง


กลยุทธในการเตรียมผลงาน ดานเอกสาร : 1. ขอมูลจริง เปนปจจุบัน หากนําเสนออดีตไมควรเกินป พ.ศ. 2549 และ ครบตามหัวขอที่สมาคมฯ กําหนด 2. ตัวหนังสือ ขอความ ภาพ เขาใจงาย ตัวหนังสือไมเล็กหรือใหญ 3. การใช PowerPoint เลือกใชสีที่อานงาย 4. จัดทําสารบัญ สิ่งที่อยูในเอกสารเรียงตามหัวขอที่กําหนด หากมี เอกสารแนบแยกเลมไว.. และหากเปนเอกสารลิขสิทธิ์ใหระบุไวดวย 5. ตรวจสอบเอกสารเชน ภาพ ตัวหนังสือ ตัวเลข กราฟ กอนและหลัง การสําเนากอนสง


1. เนื้อเรื่องทีจ่ ดั ทํา : ตามโครงสรางการบริหาร ควบคุม ปฏิบัติ พัฒนา 2. หากเปน PowerPoint ตองมีการอธิบาย หากเปนรูปแบบเอกสาร ควรมี

การกําหนดรายละเอียด สําหรับการนําไปจัดทํา PowerPoint 3. จํานวนตัวเลข แผนงานประเภทตางๆ จะเปลี่ยนเฉพาะ พ.ศ. ไมเปนรูปธรรม 4. ประเภทแบบฟอรมไมตรงกับการนําเสนอ 5. ความชัดเจนของเนื้อในเอกสารจากการสําเนามักมีขอผิดพลาด 6. จํานวนหนาเอกสารมากเกินความจําเปน และรายละเอียดหลักมักจะมีไมครบ 7. การใชชื่อในการสงเสริมและความเขาใจในการประกวด


ดานนําเสนอ ณ อาคารสถาบันฯ พัฒนาการ 18 1. ขอมูลนําเสนอ สอดคลองกับเอกสารรอบแรก มากที่สุด ยกเวน ตัวชี้วัด หรือผลประเมินที่ตองการเพิม่ เติมหรือเอกสารจากการ บรรยาย เปน เอกสาร PowerPoint และสงลวงหนากอนวันเสนอ 7 วัน 2. จัดแบงเนือ้ หา และควบคุมเวลาโดยเฉพาะกลุมบริหาร (มักเกินเวลา) 3. กิจกรรมที่เสริมระหวางการนําเสนอ เชน การแสดงทัง้ กอนหรือ หลัง ตองระวังเรือ่ งเวลาเพราะนับรวมกับเวลานําเสนอ  งรูเรือ่ ง ไมใชวิธีการ 4. แบงเนือ้ หา ควบคุมจังหวะหายใจ (ทันเวลา ผูฟ หายใจทางผิวหนัง) 5. ฝกถามตอบ กรณีเหตุฉุกเฉินแกไขเฉพาะหนาของเนือ้ หา


1. ไมแนะนําโครงสรางการบริหาร ควบคุม ปฏิบัติของ 5ส แนะนําเฉพาะโครงสรางหนวยงาน 2. PowerPoint ใชพื้นสีเขม/ออน ตัวหนังสือสีเขม/ออนมากเกินไป ยากแกการมอง 3. มักผิดพลาดตัวชี้วัดที่แสดงเปนกราฟ ขอมูล ตัวเลข และการหาแหลงที่มาของตัวตั้ง 4. ตอบคําถามแตละระดับไมชัดเจน ไมทราบรายละเอียด ไมตรงประเด็น 5. ไมมีการกลาวนํากิจกรรม และ Road Map การเจริญเติบโตที่ชัดเจน 6. นําเสนอซ้ําซอนระหวางบริหารและผูกิจกรรม ทําใหเสียเวลา 7. เนื้อหาไมตรงกับเอกสารของคณะกรรมการ ตอบคําถามไมตรง 8. นําเสนอถึงเสนทางการประยุกตกิจกรรมตางๆ รวมกับกิจกรรม 5ส 9. ตอบคําถามดวยความมั่นใจดวยขอมูล และหลักฐานอางอิง 10. นําเสนอคือ“ 5S AWARD” ไมใช “TPM AWARDหรือคุณภาพอื่นๆ” 11. ไมตรวจสอบอุปกรณการนําเสนอกอนนําเสนอ


ดานตรวจประเมิน 1. เตรียมเอกสารหรือหลักฐานดําเนินงานตามกติกาหรือเอกสารอื่นๆ เชน รายงาน การประชุม เอกสารสงเสริม เอกสารสัมมนา ขอมูลการดําเนินการอดีต ภาพถาย 2. ผูบริหารระดับสูง รวมพบกรรมการและเสนอวิสัยทัศน ตอบคําถาม กิจกรรม 5ส ไมควรปลอยใหเปนหนาที่ของกรรมการหรือผูแทน 3. จุดปรับปรุงภายหลังการนําเสนอที่ไดรับขอเสนอแนะ มีการเสริมและ แจงใหกรรมการ ตรวจทราบ เพื่อใชเปนคะแนนการปรับปรุงขอเสนอแนะ 4. แบงเวลา 1 ช.ม.ใหเหมาะสม เชน - แนะนําภาพรวมบริษัท ไมควรเกิน 5 นาที - Road Map ของ 5ส ไปสู World Class ความมุงมั่นของระดับบริหารจาก ภาพถายหรือสิ่งที่เปนรูปธรรม และบูรณาการเครื่องมือ องคการแหงการเรียนรู ประมาณ 15 นาที - การปรับปรุง ขอเสนอแนะจากการนําเสนอ (ถามี) ประมาณ 10 นาที - การสงเสริมดวยตัวชี้วัดตางๆ ของการทํางานรวมกับกิจกรรม ประมาณ 20 นาที หรือ การนําเสนอของผูสงเสริมกิจกรรม เชน ผูป ระสานงาน หัวหนาพื้นที่ - ถาม –ตอบ ประมาณ 10 นาที


5. เอกสารอางอิง เชน มาตรฐานกลาง พื้นทีห่ รือเฉพาะกิจตางๆ เกี่ยวของกับ 5ส ควรมี การนําเสนอ 6. ระหวางตรวจสอบพื้นที่ จะมีการสัมภาษณ การศึกษาพืน้ ที่ตัวอยาง ตองเตรียมเอกสาร ขอมูล กลุมพนักงานไวสําหรับตอบคําถาม 7. ตอบคําถามและแสดงหลักฐานอางอิงเบื้องตน เชน ตรวจสอบเครื่องจักร ควรจัดเตรียม Check Sheet หรือ ใบตรวจสอบการบํารุงรักษา เปนตน หมายเหตุ : กรรมการจะสรุปภาพในพื้นที่ ควรมีการจดบันทึก เ เพราะหากผานเกณฑจะตองนําเสนอขอปรับปรุง


1. มองใหทะลุถงึ ปญหาจากกระบวนการ Plan Do Check Act 2. วิธีการกําหนดมาตรฐาน และการสรางแบบฟอรมตรวจประเมิน 3. โครงการสรางวินยั และการสรางความตอเนื่องของทีมงานสงเสริม 4. การวางเปาหมายกลยุทธแตละปในการสรางกิจกรรมรวมกับเครื่องมืออื่นๆ 5. กลยุทธการปรับปรุงหรือรูปแบบการปฏิบัติที่ประสบความสําเร็จเปนรูปธรรม 6. แนวทางการเปดหาวิธีการหรือปรับปรุง หรือการแสดงถึงความรวมมือ 7. การปฏิบัติโดยสอดรับกับนโยบายบริหารดานการลดตนทุน และสรางสังคมรวม 8. ความคิดสรางสรรคจาก 5ส นําสูเครื่องมือสากล


9. การประยุกตระบบการมองเห็นประเภทตางๆ Visual Control /

Visual Management 10. ระบบเครื่องจักรและมาตรฐานปฏิบัตจิ ริงในระบบเครือ่ งจักร อุปกรณ “เครือ่ งจักรคือ หัวใจ” 11. การปรับปรุงแผนภาพ VFP (Visual Feedback Photography) หรือ Before – After แบบองคการเรียนรู 12. การสราง Model Learning Organization



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.