Toy_Sci_ppt

Page 1

ของเล่น เชิง วิท ยาศาสตร์ GreenSummit2 009


คำา อธิบ ายรายวิช า ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างของเล่นอย่างง่ายตามแบบทีก ่ ำาหนดให้ ดัดแปลง หรือประดิษฐ์ของเล่นทีใ ่ ช้กลไกอย่างง่ายหรือหลักการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย และอธิบายการ ทำางานของของเล่นด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ สามารถใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหา สามารถสื่อสารสิื​ื​ื่งทีเ่ รียนรู้ สามารถตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจต ิ วิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม


เนื้อ หาในหนัง สือ

อย

รอ น

ไก า่ งง

า่ ย

3

็กท

Energy Energy Circle Circle

ไฟ ฟ้า อิเล

=

สิสิง่ ่งประดิ ประดิษ ษฐ์ฐ์ข ของเล่ องเล่น นอย่ อย่าางง ง่ง่าายย

กล

เข้าใจวิทยาศาสตร์ มากขึ้น

ิกส ์

วิทยาศาสตร์กับของเล่น


บทที ่ 1 หลัก การทางวิท ยาศาสตร์ก ับ ของ เล่น

นั ก ้อย กา

ยก รรม

(c)StartYourDoc.com

4

งเล ่น

เขียนสรุปและนำาเสนอเกี่ยวกับหลักการทาง วิทยาศาสตร์ทเี่ กี่ยวข้องกับของเล่น

เข้ เข้าาใจหลั ใจหลักกวิวิท ทยาศาสตร์ ยาศาสตร์ ที ่ย ทีเ่ ่เกีกีย ่ วข้ วข้อองง

ขอ

ตัง้ คำาถามเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์จาก การเล่นของเล่น

เค ร ื่อง ร่อ น

สังเกตและจดผลทีส ่ ังเกตได้จากการเล่นของเล่น

น สาว

• •

จักจั่นของเล่น


นัก เรีย นคิด ว่า ของเล่น ที่น ก ั เรีย นเล่น เราสามารถนำา หลัก การทางวิท ยาศาสตร์ม าอธิบ ายหลัก การทำา งานได้ หรือ ไม่ อย่า งไร

ของเล่น ชิ้น นี้ เคลื่อ นไหวอย่า งไร ทำา งานอย่า งไร


กิจ กรรมที่ 1.1 จัก จัน ่ ของเล่น นัก เรีย นทราบหรือ ไม่ ว่า จัก จั่น ส่ง เสีย งได้ อย่า งไร

6


วัส ดุอ ป ุ กรณ์

วิธ ท ี ำา

รายการ

จำานวนต่อกลุ่ม

1. ท่อพีวีซห ี รือวัสดุอื่น ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 หรือ 5 ซม

2 ชิ้น

2. กระดาษจากซองใส่เอกสารสีนำ้าตาล

1 แผ่น

3. เส้นเอ็นเบอร์ 30 ความยาว 15 เซนติเมตร

2 เส้น

4. ไม้ชุบยางสน

2 อัน

5. กระดาษสี

1 แผ่น

6. กาวสำาหรับติดท่อพีวีซี

1 หลอด

7. กรรไกร

1 อัน


คำา ถามท้า ย กิจ กรรม

• • •

นักเรียนคิดว่าเสียงทีเ่ กิดจากการเล่นจักจั่นของเล่นเกิดขึ้นได้อย่างไร ตัวแปรใดบ้างที่ทำาให้เสียงจากการเหวี่ยงจักจั่นของเล่นเปลี่ยนไป และเปลีย ่ นไปอย่างไร ถ้านัืักเรียนต้องการดัดแปลงของเล่นนี้ให้แปลกใหม่กว่าเดิม นักเรียนจะทำาอย่างไรได้ื้ บ้าง


กิจ กรรมที่ 1.2 สาวน้อ ยนัก กายกรรม

นัก ยิม นาสติก และ นัก กายกรรม ต้อ ง ใช้ห ลัก การใดจึง จะทรงตัว อยู่ไ ด้ 9


วัส ดุอ ป ุ กรณ์ รายการ

จำานวนต่อกลุม ่

1. แบบสาวน้อยนักกายกรรม

1 ชุด

2. กระดาษเทาขาว

1 แผ่น

3. เหรียญ 1 บาท

4 เหรียญ

4. ลวด ความยาว 30 เซนติเมตร

1 เส้น

5. กรรไกร

1 อัน

6. เทปใส

1 ม้วน

7. สีไม้

1 กล่อง


คำา ถามท้า ย กิจ กรรม

• • • •

ตำาแหน่งศูนย์ถ่วงของสาวน้อยนักกายกรรมในวิธีเล่นข้อ 1 และ 2 เหมือนหรือต่างกันอย่างไร นักเรียนคิดว่าตำาแหน่งศูนย์ถ่วงตำาแหน่งใด ทีท ่ ำาให้สาวน้อยนักกายกรรมทรงตัวได้ดีกว่า สังเกต ได้อย่างไร ตำาแหน่งศูนย์ถ่วงมีผลต่อการทรงตัวอย่างไร นักเรียนคิดว่าเหตุใดนักยิมนาสติกทีเ่ ดินบนเส้น ลวดจึงต้องถือไม้ท่อนยาว ๆ


กิจ กรรมที่ 1.3 เครือ ่ งร่อ นของ เล่น ทำา อย่า งไร เครือ ่ งร่อ นจึง จะร่อ นได้น าน และ สามารถกำา หนดทิศ ทางได้ ด้ว ย 12


วัส ดุอ ป ุ กรณ์ รายการ

จำานวนต่อกลุ่ม

1. กระดาษ ความหนา 200 แกรม

1 แผ่น

2. หลอดพลาสติก เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 cm ยาว 24 cm

1 หลอด

3. คลิปเสียบกระดาษ

1 อัน

4. กรรไกร

1 อัน

5. เทปใส

1ม้วน

6. ดินนำ้ามัน

1 ก้อน

7. ใบมีด

1 ใบ


ส่ว นประกอบของเครือ ่ งร่อ นอย่า ง ง่า ย

แพนหางดิ่ง (Vertical stabilizer)

รัดเดอร์ (Rudder)

ลำาตัว

แพนหางระดับ (Horizontal stabilizer) แอเลอรอน (Aileron)

ปีก ถ่วงสมดุล


คำา ถามท้า ย กิจ กรรม

• • •

ส่วนของเครื่องร่อนทีท ่ ำาให้เครื่องร่อน ร่อนอยู่ได้คือส่วนใด เครื่องร่อนทีม ่ ีส่วนต่าง ๆ ครบ แต่ไม่ได้รับการออกแรงให้พุ่งไปข้างหน้า จะร่อนในอากาศได้หรือ ไม่ เพราะเหตุใด เครื่องร่อนทีม ่ ีส่วนต่าง ๆ ครบ แต่ไม่มีการปรับให้สมดุล จะร่อนได้ดีหรือไม่ อย่างไร


บทที ่ 2 กลไกอย่า งง่า ยและการประยุก ต์ใ ช้ง านใน ของเล่น

จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้

ระบุกลไก และบรรยายการทำางานของกลไกดัง กล่าว ในของเล่นที่กำาหนดให้

เขียนสรุปการทำางานของรอก คาน เฟือง ล้อและ เพลา สายพานและโซ่ ลูกเบี้ื่ยว และข้อเหวี่ยง ใน ของเล่น

ระบุกลไกและบรรยายการทำางานของกลไก ที่ ประกอบอยู่ในเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำาวัน อย่างง่าย


เนื้อ ห า 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5

แรงกับ เครื่อ งกล ล้อ และเพลา รอก คาน เฟือ ง สายพาน และโซ่ ลูก เบี้ย วและข้อ เหวี่ย ง


นัก เรีย นคิด ว่า จะทำา ให้ข องเล่น เคลื่อ นไหว หรือ เคลือ ่ นที่ ได้อ ย่า งไร

กเรีย นคิด ว่า การทำา ให้ข องเล่น เคลือ ่ นไหว ใช้พ ลัง งานประเภทใดได้บ ้า ง และจะนำา พลัง งานนั้น มาใช้ไ ด้อ ย่า งไร


2.1 แรงกับ เครือ ่ งกล เมือ ่ มีแ รงปริม าณหนึ่ง มากระทำา ต่อ วัต ถุ แล้ว วัต ถุจ ะเปลี่ย นสภาพการเคลื่อ นทีจ ่ าก สภาพเดิม ถ้า หากออกแรงกระทำา กับ วัต ถุล ัก ษณะ ต่า ง ๆ นัก เรีย นคิด ว่า วัต ถุจ ะเคลื่อ นไหว อย่า งไร

19


จุด ศูน ย์ก ลางมวลคือ อะไร จุด ศูน ย์ก ลางมวล (Center of Mass) เป็น ตำา แหน่ง ที่แ ทนมวลของวัต ถุท ั้ง ก้อ น หรือ เสมือ นว่า เป็น จุด ที่ม วลทั้ง ระบบรวมกัน อยู่ แรงลัพ ธ์ท ี่ก ระทำา กับ จุด ศูน ย์ก ลางมวล จีง เหมือ นกับ กระทำา กับ มวลทั้ง ระบบ

20


นัก เรีย นคิด ว่า ของเล่น ชิ้น นีท ้ ำา อะไรได้บ ้า ง นักเรียนคิดว่าอุปกรณ์ประกอบแต่ละประเภทเรียกว่าอะไร ใช้ทำาอะไร

(c)StartYourDoc.com

21


กลไ ก

ในชีว ิต ประจำา วัน ของเราได้น ำา กลไกมาใช้ม ากมาย ตัว อย่า งเช่น เครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ื ่ต ่า ง ๆ กลไกสามารถช่ว ยผ่อ นแรง ช่ว ยให้เ ราทำา งานไื้ด ้ส ะดวกมากมา

การตัก นำ้า ขึ้น จากบ่อ หากไม่ม ีก ลไกจะทำา ได้ย ากและลำา บากมาก


2.2 ล้อ และเพลา ล้อ และเพลามัก เป็น อุป กรณ์ท ี่ท ำา งานร่ว มกัน เสมอ วัต ถุท รง กระบอกที่ม ีเ ส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางขนาดใหญ่ เรีย กว่า ล้อ ส่ว น เส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางขนาดเล็ก เรีย กว่า เพลา

(c)StartYourDoc.com

23


นัก เรีย นคิด ว่า ล้อ และเพลานำา มาใช้ใ นเครือ ่ งมือ ใดบ้า ง

(c)StartYourDoc.com

24


2.3 รอก คาน เฟือ ง รอก

=

สร้ ้ ้นงาน สร้าางเป็ งเป็น นชิ ชิน งาน

นำ นำาามาสร้ มาสร้าางเป็ งเป็น นเครื เครื่อ่องกล งกล

น คา 25

เฟ อื ง

เครื่องกลที่ได้ สามารถช่วยผ่อนแรงได้


รอก รอกเป็น อุป กรณ์ท ห ี่ มุน ได้ร อบตัว สามารถนำา มาใช้เ ปลี่ย นทิศ ทาง ของแรงได้ ใช้ส ร้า งเครื่อ งมือ อำา นวยความสะดวกหรือ ผ่อ นแรงได้ม ากมาย

• • •

รอกเดี่ย วตายตัว

ไม่ผ ่อ นแรง

รอกเดี่ย วเคลือ ่ นที่

ใช้ผ อ ่ นแรงได้

ระบบรอก ขึ้น

ใช้ง านสะดวก ผ่อ นแรงได้ม าก

รอกตัวใดผ่อนแรง และผ่อนเท่าใด


คาน คานเป็น อุป กรณ์ท ี่เ คลื่อ นทีไ ่ ด้ร อบจุด หมุน มีล ัก ษณะเป็น แท่ง ยาว การทำา งานของคานมีส ว ่ นประกอบ 3 ส่ว น คือ

จุด หมุน หากเปลี่ย นตำา แหน่ง ไปจะทำา ให้ก ารผ่อ นแรง เปลี่ย นไป

• •

แรงต้า น

แต่ท ี่ต อ ้ งการจากระบบคาน

แรงพยายาม

แรงทีป ่ ้อ นให้ค าน

คานถูกนำามาใช้ในการผ่อนแรง และอำานวยความสะดวกในการทำางานต่าง ๆ การใช้งานแต่ละรูปแบบจะมีตำาแหน่งของจุดหมุน แรงต้าน และแรงพยายามต่างกันไป


เฟือ งเฟือ งเป็น อุป กรณ์ท นี่ ำา มาใช้ท ดแรง เปลี่ย นความเร็ว และเปลี่ย น

ทิศ ทางการหมุน ได้ เราสามารถนำา เฟือ งมาสบกัน ให้เ ป็น ทำา งานเป็น ระบบเฟือ งได้

ถ้า หากเฟือ งขับ มีจ ำา นวนฟัน เฟือ งน้อ ยกว่า เฟือ งตาม จะทำา ให้เ กิด การทดแรง แต่ค วามเร็ว การหมุน จะตำ่า ลง ถ้า หากเฟือ งขับ มีจ ำา นวนฟัน เฟือ งมากกว่า เฟือ งตาม จะทำา ให้ไ ด้แ รง น้อ ยลง แต่ค วามเร็ว การหมุน จะมากขึ้น


กิจ กรรมที่ 2.1 รถของเล่น พลัง งาน ไฟฟ้า

€ (c)StartYourDoc.com

รถของเล่น วิ่ง ได้เ อง สร้า งได้ง ่า ย ๆ 29


วัส ดุอ ป ุ กรณ์ รายการ 1. แผ่นฟิวเจอร์บอร์ด

จำานวนต่อกลุ่ม 1 แผ่น

2. ล้อ

4 ล้อ

3. ไม้ปลายแหลม

2 อัน

4. มอเตอร์

1 ตัว

5. กระบะถ่าน พร้อมแบตเตอรี่

1 ชุด

6. สวิตซ์

1 อัน

7. มีด คืม กาว

1 ชุด



จัก รยานบางประเภททำา ไมจึง ออกแบบให้ป รับ ขนาดของ เฟือ งได้


2.4 สายพานและโซ่ สายพานและโซ่เ ป็น อุป กรณ์ท ี่ใ ช้ส ง่ ผ่า นแรง หรือ กำา ลัง จากจุด หนึ่ง ไปยัง อีก จุด หนึ่ง

33


กิจ กรรมที่ 2.2 ตุก ๊ ตาดุ๊ก ดิก ๊ ตุก ๊ ตาน่า รัก เคลือ ่ นไหว กลับ ไปกลับ มา

34


วัส ดุอ ป ุ กรณ์ รายการ

จำานวนต่อกลุ่ม

1. กระดาษแข็งสำาหรับวาดตัวตุ๊กตา

1 แผ่น

2. ชุดรอก ขนาดเล็ก 1 ตัว ขนาดกลาง 1 ตัว และขนาดใหญ่ 1 ตัว

3 ชุด

3. มอเตอร์พร้อมรอก สำาหรับต่อกับแกนมอเตอร์

1 ตัว

4. สายพาน

1 เส้น

5. กระบะถ่าน พร้อมแบตเตอรี่

1 ชุด

6. สวิตซ์

1 อัน

7. ลวดขนาดเล็ก

1 ขด

8. สายไฟ

1 ชุด


2.5 ลูก เบีย ้ วและข้อ เหวี่ย ง ลูก เบี้ย วมีล ัก ษณะไม่เ ป็น วงกลม ใช้เ พลาหมุน สามารถใช้ค วบคุม ให้ว ัต ถุ เคลื่อ นที่ไ ปตามลัก ษณะของลูก เบีย ้ วได้

36


ตัวอย่างรถของเล่น

รถของเล่นที่ออกแบบมานี้ จะนำามอเตอร์เป็นต้นกำาลัง แล้วส่งแรงไปให้ล้อ แต่จะใช้สายพานในการส่งแรง โดยมอเตอร์จะใช้แกนหมุนขนาดเล็ก แล้วส่งแรงไปยังพูลเลย์ ทีม ่ ีขนาดใหญ่ ทำาให้ได้แรงมากขึ้นจนสามารถนำาไปใช้ขับเครื่อง ล้อ ให้หมุน แล้วรถสามารถเคลื่อนที่ไปได้


คำา ถามท้า ย กิจ กรรม

ถ้าหากต้องการออกแบบรถ โดยให้คนขับสามารถเคลือ ่ นที่ขึ้นลงได้ในขณะรถกำาลังเคลือ ่ นที่ นักเรียนจะมีวิธีการออกแบบอย่างไร

ถ้าต้องการพัฒนาของเล่นที่เลือกไว้ในบทที่ 1 โดยใช้กลไกอย่างง่าย นักเรียนคิดว่าจะสามารถ ทำาได้หรือไม่


บทที ่ 3 ไฟฟ้า อิเ ล็ก ทรอนิก ส์อ ย่า งง่า ย และการประยุก ต์ ใช้ง าน

จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้

• •

บอกและวัดกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ทใ ี่ ช้ในของเล่น

• • • •

เขียนสรุปการทำางานและเลือกใช้งานตัว LED ในของเล่น

เลือกแบตเตอรี่ ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าสำาหรับแต่ละวงจรได้อย่างเหมาะ สม

ต่อวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายด้วยตัวต้านทาน ไดโอดเปล่งแสง ตั้งคำาถามเพื่อหาคำาอธิบายการทำางานของของเล่นทีใ ่ ช้พลังงานไฟฟ้า วางแผน ออกแบบ และแก้ปัญหาการประดิษฐ์ของเล่นอย่างง่ายที่ใช้พลังงานไฟฟ้า


เนื้อ ห า 3.1 แหล่ง กำา เนิด ไฟฟ้า 3.2 การต่อ วงจรอิเ ล็ก ทรอนิก ส์อ ย่า งง่า ย กิจ กรรมที่ 3.1 โปรโตบอร์ด 3.3 ตัว ต้า นทาน 3.4 หลอดไฟฟ้า หลอดแอลอีด ี กิจ กรรมที่ 3.2 การวัด กระแสไฟฟ้า และความต่า ง ศัก ย์ กิจ กรรมที่ 3.3 โคมไฟขนาดเล็ก 3.5 วงจรสวิต ซ์ค วบคุม มอเตอร์


ความรู้พ น ื้ ฐาน • • •

ไฟฟ้าสถิตย์กับไฟฟ้ากระแสต่างกันอย่างไร ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรงต่างกันอย่างไร กระแสไฟฟ้าเกิดจากอะไร วัดจากอะไร


3.1 แหล่ง กำา เนิด ไฟฟ้า

์ไฟ ี เคม ฟ้า 42

ทิต ย

ตั ตัววอย่ อย่าางแหล่ งแหล่งงกำกำาาเนิ เนิดดไฟฟ้ ไฟฟ้าา

งอ า

สร้ ้ ้นงาน สร้าางเป็ งเป็น นชิ ชิน งาน

เซ ลล ์แส

=

ล เซล

นำาไปใช้งาน หรือเปลีย ่ นเป็นพลังงานรูปอื่น

ไดนาโม


แหล่ง กำา เนิื ิด ไฟฟ้า ที่ใ ช้ใ นของเล่น ส่ว นใหญ่ใ ช้ แบตเตอรี่ 1. แบบประจุไ ฟใหม่ไ ม่ไ ด้ (Non-Rechargeable Battery) 2. แบบประจุไ ฟใหม่ไ ด้ (Rechargeable Battery) ผู้ใช้งานควรทราบว่าหนึ่งเซล มีความต่างศักย์เท่าไร


การต่อ แบตเตอรี่ 1. ต่อ แบบอนุก รม นำา ขัว้ บวกมาต่อ กับ ขั้ว ลบ ต่อ ไปเรื่อ ย ๆ ได้แ รงดัน ไฟฟ้า สูง ขึ้น

2. ต่อ แบบขนาน จ่า ยกระแสไฟฟ้า ได้ม ากขึน ้ ใช้ง านได้น านขึ้น


3.2 การต่อ วงจรอิเ ล็ก ทรอนิก ส์อ ย่า ง ง่า ย หากสร้ื ่า งงานออกไปใช้ง านจริง จะนำา อุป กรณ์ต ่า ง ๆ บัด กรี บนแผ่น วงจรพิม พ์ (Printed Circuit Board : PCB) แต่ เราสามารถต่อ วงจรง่า ย ๆ ได้โ ดยการนำา แผ่น โปรโตบอร์ด มาใช้

ลองคิด ดู การนำาโปรโตบอร์ดมาใช้ มีข้อดีอย่างไร หากเราไม่ใช้เราจะทดลองอย่างไร

45


กิจ กรรมที่ 3.1 โปรโตบอร์ด ตัว อย่า งโปรโตบอร์ด ขนาดต่า ง ๆ

โครงสร้า งภายในโปรโตบอร์ด แถวเดีย วกัน ต่อ กัน ระหว่า งแถวไม่ต ่อ กัน 46


วัส ดุ อุป กรณ์ รายการ

จำานวนต่อกลุ่ม

1. โปรโตบอร์ด

1 แผ่น

2. กระบะถ่าน 2 ก้อน พร้อมแบตเตอรี่

1 ชุด

3. หลอดแอลอีดี

1 หลอด

4. สายไฟปากหนีบ

3 เส้น


3.3 ตัว ต้า นทาน - เป็น อุป กรณ์ท ี่จ ำา กัด ปริม าณกระแสไฟฟ้า ทีื ีื ่ใ หลในวงจร - ค่า ความต้า นทานไฟฟ้า มีห น่ว ยเป็น โอห์ม (ohm) - ตัว ต้า นทานมีห ลายขนาด อัต ราการทนกำา ลัง ไฟฟ้า มีห น่ว ยเป็น วัต ต์(Watt)

48


แอลดีอ าร์ (Light Dependent Resistor) ค่า ความต้า นทานเปลี่ย นตามความเข้ม แสงทีต ่ กกระทบ - แสงตกกระทบมาก ความต้า นทานน้อ ย - แสงตกกระทบน้อ ย ความต้า นทานมาก

หากนำาวงจรแบ่งแรงดันมาใช้จะประยุกต์ใช้งานได้มากมาย


การทดลองกับ แอลดีอ าร์ ทดลองง่า ย ๆ โดยใช้ม เิ ตอร์ว ัด ค่า ความต้า นทาน แล้ว ทดลองนำา ไปวัด แสง


3.4 หลอดไฟฟ้า หลอดแอลอีด ี - หลอดไฟฟ้า เมื่อ มีแ รงดัน ตกคล่อ มตามที่ก ำา หนดหลอดไฟจะสว่า ง - การใช้ง านหลอดไฟฟ้า ไม่จ ำา เป็น ต้อ งคำา นึง ถึง ขั้ว ไฟฟ้า

51


กิจ กรรมที่ 3.2 การวัด กระแสและความต่า งศัก ย์ใ นวงจร ไฟฟ้า

วัด กระแส ให้ต ัด วงจรในจุด ที่ต ้อ งการวัด แล้ว นำา แอมป์ม ิเ ตอร์ไ ปต่อ อนุก รมกับ วงจร วัด ความต่า งศัก ย์ไ ฟฟ้า ให้น ำา โวลต์ม ิเ ตอร ไปต่อ ขนานกับ จุด ที่ต ้อ งการวัด

52


หลอดแอลอีด ี - ไดโอดแปล่ง แสงหรือ แอลอีด ี ต้อ งให้ก ระแสไฟฟ้า ไหลจากแอโนด ไปแคโทด

53


ขัน ้ ตอนการต่อ วงจรหลอด LED อย่า งง่า ย

ถ้าหากเปลีย ่ นค่าความต้านทานคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น



ปรับ กระแสทีผ ่ ่า นแอลอีด ี การปรับ กระแสที่ไ หลผ่า นหลอดแอลอี ดี ทดลองง่า ย ๆ โดยนำา ตัว ต้า นทานชนิด ปรับ ค่า ได้ม าใช้ โดยเลือ กขาที่ 1 และ ขา ที่ 2 ของตัว ต้า นทาน เมื่อ ความ ต้า นทาน เปลี่ย นไปจะทำา กระแสที่ไ หลผ่า นแอล อีด ี เปลี่ย นไปด้ว ย ให้ส ัง เกตว่า กระแส ไฟฟ้า มีผ ลต่อ การสว่า งของหลอดแอลอีด ี อย่า งไร


การต่อ หลอดแอลอีด ีแ บบอนุก รมและขนาน


หลอดแอลอีด ี 2 สี

ถ้า หากมองโครงสร้า งด้า นในจะคล้า ยกับ การนำา หลอดแอลอีด ีส อง หลอดมาต่อ ขนานกัน การให้แ สดงสีต ่า ง ๆ ทำา โดยควบคุม ให้ห ลอด ใดหลอดหนึ่ง สว่า ง


กิจ กรรมที่ 3.3 โคมไฟขนาดเล็ก

59


3.5 วงจรสวิต ซ์ค วบคุม มอเตอร์ - หลอดไฟฟ้า เมื่อ มีแ รงดัน ตกคล่อ มตามที่ก ำา หนดหลอดไฟจะสว่า ง - การใช้ง านหลอดไฟฟ้า ไม่จ ำา เป็น ต้อ งคำา นึง ถึง ขั้ว ไฟฟ้า

60


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.