ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ 009 GreenSummit2
Thursday, May 9, 13
คําอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างของเล่นอย่างง่ายตามแบบที่กําหนดให้ ดัดแปลง หรือประดิษฐ์ของเล่นที่ใช้กลไกอย่างง่ายหรือหลักการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย และอธิบายการ ทํ า งานของของเล่ น ด้ ว ยหลั ก การทางวิ ท ยาศาสตร์ สามารถใช้ ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ ท าง วิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหา สามารถสื่อสารสิื่งที่เรียนรู้ สามารถตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มี จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
Thursday, May 9, 13
เนื้อหาในหนังสือ วิทยาศาสตร์กับของเล่น
์ ิกส ทร อน
ย งง่า ย่า
Thursday, May 9, 13
ิเล็ก
ไกอ 3
สิ่งประดิษฐ์ของเล่น อย่างง่าย
้ าอ
Energy Circle
ไฟ ฟ
=
กล
เข้าใจวิทยาศาสตร์ มากขึ้น
บทที่ 1
หลักการทางวิทยาศาสตร์กับของเล่น
รรม ยก กา
Thursday, May 9, 13
ัก ยน
(c)StartYourDoc.com
4
ขอ
เขียนสรุปและนําเสนอเกี่ยวกับหลักการทาง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับของเล่น
เข้าใจหลัก วิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง
เคร ื่อง ร่อ น
•
ตั้งคําถามเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์จาก การเล่นของเล่น
้อ วน
สังเกตและจดผลที่สังเกตได้จากการเล่นของเล่น
สา
• •
งเล ่น
จักจั่นของเล่น
นักเรียนคิดว่าของเล่นที่นักเรียนเล่น เราสามารถนําหลักการ ทางวิทยาศาสตร์มาอธิบายหลักการทํางานได้หรือไม่ อย่างไร
ของเล่นชิ้นนี้ เคลื่อนไหวอย่างไร ทํางานอย่างไร
Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 1.1 จักจั่นของเล่น
นักเรียนทราบหรือไม่ว่า จักจั่นส่งเสียงได้อย่างไร
6 Thursday, May 9, 13
วัสดุอุปกรณ์
วิธีทํา
รายการ
จํานวนต่อกลุ่ม
1. ท่อพีวีซีหรือวัสดุอื่น ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 หรือ 5 ซม
2 ชิ้น
2. กระดาษจากซองใส่เอกสารสีน้ําตาล
1 แผ่น
3. เส้นเอ็นเบอร์ 30 ความยาว 15 เซนติเมตร
2 เส้น
4. ไม้ชุบยางสน
2 อัน
5. กระดาษสี
1 แผ่น
6. กาวสําหรับติดท่อพีวีซี 7. กรรไกร
Thursday, May 9, 13
1 หลอด 1 อัน
คําถามท้ายกิจกรรม
•
นักเรียนคิดว่าเสียงที่เกิดจากการเล่นจักจั่นของเล่นเกิดขึ้นได้อย่างไร
•
ตัวแปรใดบ้างที่ทําให้เสียงจากการเหวี่ยงจักจั่นของเล่นเปลี่ยนไป และเปลี่ยนไปอย่างไร
•
ถ้านัักเรียนต้องการดัดแปลงของเล่นนี้ให้แปลกใหม่กว่าเดิม นักเรียนจะทําอย่างไรได้้บ้าง
Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 1.2 สาวน้อยนักกายกรรม
นักยิมนาสติกและนัก กายกรรม ต้องใช้ หลักการใดจึงจะ ทรงตัวอยู่ได้ 9 Thursday, May 9, 13
วัสดุอุปกรณ์ รายการ
จํานวนต่อกลุ่ม
1. แบบสาวน้อยนักกายกรรม
1 ชุด
2. กระดาษเทาขาว
1 แผ่น
3. เหรียญ 1 บาท
4 เหรียญ
4. ลวด ความยาว 30 เซนติเมตร
1 เส้น
5. กรรไกร
1 อัน
6. เทปใส
1 ม้วน
7. สีไม้
1 กล่อง
Thursday, May 9, 13
คําถามท้ายกิจกรรม
•
ตําแหน่งศูนย์ถ่วงของสาวน้อยนักกายกรรมในวิธีเล่นข้อ 1 และ 2 เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
•
นักเรียนคิดว่าตําแหน่งศูนย์ถ่วงตําแหน่งใด ที่ทําให้สาวน้อยนักกายกรรมทรงตัวได้ดีกว่า สังเกตได้ อย่างไร
•
ตําแหน่งศูนย์ถ่วงมีผลต่อการทรงตัวอย่างไร
•
นักเรียนคิดว่าเหตุใดนักยิมนาสติกที่เดินบนเส้น ลวดจึงต้องถือไม้ท่อนยาว ๆ
Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 1.3 เครื่องร่อนของเล่น
ทําอย่างไร เครื่องร่อนจึงจะ ร่อนได้นาน และสามารถ กําหนดทิศทางได้ด้วย
12 Thursday, May 9, 13
วัสดุอุปกรณ์ รายการ
จํานวนต่อกลุ่ม
1. กระดาษ ความหนา 200 แกรม
1 แผ่น
2. หลอดพลาสติก เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 cm ยาว 24 cm
1 หลอด
3. คลิปเสียบกระดาษ
1 อัน
4. กรรไกร
1 อัน
5. เทปใส
1ม้วน
6. ดินน้ํามัน
1 ก้อน
7. ใบมีด
Thursday, May 9, 13
1 ใบ
ส่วนประกอบของเครื่องร่อนอย่างง่าย
แพนหางดิ่ง (Vertical stabilizer)
รัดเดอร์ (Rudder)
ลําตัว
แพนหางระดับ (Horizontal stabilizer) แอเลอรอน (Aileron)
ปีก ถ่วงสมดุล
Thursday, May 9, 13
คําถามท้ายกิจกรรม
•
ส่วนของเครื่องร่อนที่ทําให้เครื่องร่อน ร่อนอยู่ได้คือส่วนใด
•
เครื่องร่อนที่มีส่วนต่าง ๆ ครบ แต่ไม่ได้รับการออกแรงให้พุ่งไปข้างหน้า จะร่อนในอากาศได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
•
เครื่องร่อนที่มีส่วนต่าง ๆ ครบ แต่ไม่มีการปรับให้สมดุล จะร่อนได้ดีหรือไม่ อย่างไร
Thursday, May 9, 13
บทที่ 2
กลไกอย่างง่ายและการประยุกต์ใช้งานในของเล่น จุดประสงค์การเรียนรู้
•
ระบุกลไก และบรรยายการทํางานของกลไกดัง กล่าว ในของเล่นที่กําหนดให้
•
เขียนสรุปการทํางานของรอก คาน เฟือง ล้อและ เพลา สายพานและโซ่ ลูกเบี้่ยว และข้อเหวี่ยง ใน ของเล่น
•
ระบุกลไกและบรรยายการทํางานของกลไก ที่ ประกอบอยู่ในเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจําวัน อย่างง่าย
Thursday, May 9, 13
เนื้อหา 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5
Thursday, May 9, 13
แรงกับเครื่องกล ล้อและเพลา รอก คาน เฟือง สายพาน และโซ่ ลูกเบี้ยวและข้อเหวี่ยง
นักเรียนคิดว่าจะทําให้ของเล่นเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนที่ได้อย่างไร นักเรียนคิดว่าการทําให้ของเล่นเคลื่อนไหว จะใช้พลังงานประเภทใดได้บ้าง และจะนําพลังงานนั้นมาใช้ได้อย่างไร
Thursday, May 9, 13
2.1 แรงกับเครื่องกล เมื่อมีแรงปริมาณหนึ่งมากระทําต่อวัตถุแล้ว วัตถุจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่จากสภาพเดิม ถ้าหากออกแรงกระทํากับวัตถุลักษณะต่าง ๆ นักเรียนคิดว่าวัตถุจะเคลื่อนไหวอย่างไร
19 Thursday, May 9, 13
จุดศูนย์กลางมวลคืออะไร จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass) เป็นตําแหน่งที่ แทนมวลของวัตถุทั้งก้อน หรือเสมือนว่าเป็นจุดที่มวลทั้ง ระบบรวมกันอยู่ แรงลัพธ์ที่กระทํากับจุดศูนย์กลางมวล จีง เหมือนกับกระทํากับมวลทั้งระบบ
20 Thursday, May 9, 13
นักเรียนคิดว่าของเล่นชิ้นนี้ทําอะไรได้บ้าง นักเรียนคิดว่าอุปกรณ์ประกอบแต่ละประเภทเรียกว่าอะไร ใช้ทําอะไร
(c)StartYourDoc.com Thursday, May 9, 13
21
กลไก
ในชีวิตประจําวันของเราได้นํากลไกมาใช้มากมาย ตัวอย่างเช่นเครื่องมือเครื่องใช้่ต่าง ๆ กลไกสามารถช่วยผ่อนแรง ช่วยให้เราทํางานไ้ด้สะดวกมากมาย
การตักน้ําขึ้นจากบ่อ หากไม่มีกลไกจะทําได้ยากและลําบากมาก
Thursday, May 9, 13
2.2 ล้อและเพลา ล้อและเพลามักเป็นอุปกรณ์ที่ทํางานร่วมกันเสมอ วัตถุทรงกระบอก ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่ เรียกว่า ล้อ ส่วนเส้นผ่าน ศูนย์กลางขนาดเล็กเรียกว่า เพลา
(c)StartYourDoc.com Thursday, May 9, 13
23
นักเรียนคิดว่าล้อและเพลานํามาใช้ในเครื่องมือใดบ้าง
(c)StartYourDoc.com Thursday, May 9, 13
24
2.3 รอก คาน เฟือง รอก
=
คา น 25
Thursday, May 9, 13
ง
นํามาสร้างเป็น เครื่องกล
สร้างเป็นชิ้นงาน
เฟ ือ
เครื่องกลที่ได้ สามารถช่วยผ่อนแรงได้
รอก รอกเป็นอุปกรณ์ที่หมุนได้รอบตัว สามารถนํามาใช้เปลี่ยนทิศทางของแรงได้ ใช้สร้างเครื่องมืออํานวยความสะดวกหรือผ่อนแรงได้มากมาย
• รอกเดี่ยวตายตัว
ไม่ผ่อนแรง
• รอกเดี่ยวเคลื่อนที่
ใช้ผ่อนแรงได้
• ระบบรอก
ใช้งานสะดวก ผ่อนแรงได้มากขึ้น
รอกตัวใดผ่อนแรง และผ่อนเท่าใด
Thursday, May 9, 13
คาน คานเป็นอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้รอบจุดหมุน มีลักษณะเป็นแท่งยาว การทํางาน ของคานมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ
• จุดหมุน
หากเปลี่ยนตําแหน่งไปจะทําให้การผ่อนแรงเปลี่ยนไป
• แรงต้าน
แต่ที่ต้องการจากระบบคาน
• แรงพยายาม
แรงที่ป้อนให้คาน
คานถูกนํามาใช้ในการผ่อนแรง และอํานวยความสะดวกในการทํางานต่าง ๆ การใช้งานแต่ละรูปแบบจะมีตําแหน่งของจุดหมุน แรงต้าน และแรงพยายามต่างกันไป
Thursday, May 9, 13
เฟือง เฟืองเป็นอุปกรณ์ที่นํามาใช้ทดแรง เปลี่ยนความเร็ว และเปลี่ยนทิศทางการ หมุนได้ เราสามารถนําเฟืองมาสบกันให้เป็นทํางานเป็นระบบเฟืองได้ ถ้าหากเฟืองขับมีจํานวนฟันเฟืองน้อยกว่าเฟืองตาม จะทําให้เกิดการทดแรง แต่ความเร็วการหมุนจะต่ําลง ถ้าหากเฟืองขับมีจํานวนฟันเฟืองมากกว่าเฟืองตาม จะทําให้ได้แรงน้อยลง แต่ความเร็วการหมุนจะมากขึ้น
Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 2.1 รถของเล่นพลังงานไฟฟ้า
€ (c)StartYourDoc.com Thursday, May 9, 13
รถของเล่น วิ่งได้เอง สร้างได้ง่าย ๆ 29
วัสดุอุปกรณ์ รายการ 1. แผ่นฟิวเจอร์บอร์ด
จํานวนต่อกลุ่ม 1 แผ่น
2. ล้อ
4 ล้อ
3. ไม้ปลายแหลม
2 อัน
4. มอเตอร์
1 ตัว
5. กระบะถ่าน พร้อมแบตเตอรี่
1 ชุด
6. สวิตซ์
1 อัน
7. มีด คืม กาว
1 ชุด
Thursday, May 9, 13
Thursday, May 9, 13
จักรยานบางประเภททําไมจึงออกแบบให้ปรับขนาดของเฟืองได้
Thursday, May 9, 13
2.4 สายพานและโซ่ สายพานและโซ่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งผ่านแรง หรือกําลังจาก จุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
33 Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 2.2 ตุ๊กตาดุ๊กดิ๊ก ตุ๊กตาน่ารัก เคลื่อนไหว กลับไปกลับมา
34 Thursday, May 9, 13
วัสดุอุปกรณ์ รายการ
จํานวนต่อกลุ่ม
1. กระดาษแข็งสําหรับวาดตัวตุ๊กตา
1 แผ่น
2. ชุดรอก ขนาดเล็ก 1 ตัว ขนาดกลาง 1 ตัว และขนาดใหญ่ 1 ตัว
3 ชุด
3. มอเตอร์พร้อมรอก สําหรับต่อกับแกนมอเตอร์
1 ตัว
4. สายพาน
1 เส้น
5. กระบะถ่าน พร้อมแบตเตอรี่
1 ชุด
6. สวิตซ์
1 อัน
7. ลวดขนาดเล็ก
1 ขด
8. สายไฟ
1 ชุด
Thursday, May 9, 13
2.5 ลูกเบี้ยวและข้อเหวี่ยง ลูกเบี้ยวมีลักษณะไม่เป็นวงกลม ใช้เพลาหมุน สามารถใช้ควบคุมให้วัตถุเคลื่อนที่ไป ตามลักษณะของลูกเบี้ยวได้
36 Thursday, May 9, 13
ตัวอย่างรถของเล่น รถของเล่นที่ออกแบบมานี้ จะนํามอเตอร์เป็นต้นกําลัง แล้วส่งแรงไปให้ล้อ แต่จะใช้สายพานในการส่งแรง โดยมอเตอร์จะใช้แกนหมุนขนาดเล็ก แล้วส่งแรงไปยังพูลเลย์ ที่มีขนาดใหญ่ ทําให้ได้แรงมากขึ้นจนสามารถนําไปใช้ขับเครื่องล้อ ให้หมุน แล้วรถสามารถเคลื่อนที่ไปได้
Thursday, May 9, 13
คําถามท้ายกิจกรรม
•
ถ้าหากต้องการออกแบบรถ โดยให้คนขับสามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงได้ในขณะรถกําลังเคลื่อนที่ นักเรียนจะมีวิธีการออกแบบอย่างไร
•
ถ้าต้องการพัฒนาของเล่นที่เลือกไว้ในบทที่ 1 โดยใช้กลไกอย่างง่าย นักเรียนคิดว่าจะสามารถ ทําได้หรือไม่
Thursday, May 9, 13
บทที่ 3
ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย และการประยุกต์ใช้งาน จุดประสงค์การเรียนรู้
• •
บอกและวัดกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ที่ใช้ในของเล่น
• • • •
เขียนสรุปการทํางานและเลือกใช้งานตัว LED ในของเล่น
เลือกแบตเตอรี่ ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าสําหรับแต่ละวงจรได้อย่างเหมาะ สม
ต่อวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายด้วยตัวต้านทาน ไดโอดเปล่งแสง ตั้งคําถามเพื่อหาคําอธิบายการทํางานของของเล่นที่ใช้พลังงานไฟฟ้า วางแผน ออกแบบ และแก้ปัญหาการประดิษฐ์ของเล่นอย่างง่ายที่ใช้พลังงานไฟฟ้า
Thursday, May 9, 13
เนื้อหา 3.1 แหล่งกําเนิดไฟฟ้า 3.2 การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย กิจกรรมที่ 3.1 โปรโตบอร์ด 3.3 ตัวต้านทาน 3.4 หลอดไฟฟ้า หลอดแอลอีดี กิจกรรมที่ 3.2 การวัดกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ กิจกรรมที่ 3.3 โคมไฟขนาดเล็ก 3.5 วงจรสวิตซ์ควบคุมมอเตอร์
Thursday, May 9, 13
ความรู้พื้นฐาน • • •
Thursday, May 9, 13
ไฟฟ้าสถิตย์กับไฟฟ้ากระแสต่างกันอย่างไร ไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรงต่างกันอย่างไร กระแสไฟฟ้าเกิดจากอะไร วัดจากอะไร
3.1 แหล่งกําเนิดไฟฟ้า ไดนาโม
ฟ้า เคม ี
Thursday, May 9, 13
ย์ ทิต งอ า
์ไฟ 42
์แส
สร้างเป็นชิ้นงาน
เซล ล
=
ตัวอย่างแหล่งกําเนิด ไฟฟ้า
ล เซล
นําไปใช้งาน หรือเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่น
แหล่งกําเนิิดไฟฟ้าที่ใช้ในของเล่นส่วนใหญ่ใช้แบตเตอรี่ 1. แบบประจุไฟใหม่ไม่ได้ (Non-Rechargeable Battery) 2. แบบประจุไฟใหม่ได้ (Rechargeable Battery) ผู้ใช้งานควรทราบว่าหนึ่งเซล มีความต่างศักย์เท่าไร
Thursday, May 9, 13
การต่อแบตเตอรี่ 1. ต่อแบบอนุกรม นําขั้วบวกมาต่อกับขั้วลบ ต่อไปเรื่อย ๆ ได้แรงดันไฟฟ้าสูงขึ้น 2. ต่อแบบขนาน จ่ายกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น ใช้งานได้นานขึ้น
Thursday, May 9, 13
3.2 การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย หากสร้่างงานออกไปใช้งานจริงจะนําอุปกรณ์ต่าง ๆ บัดกรีบนแผ่น วงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board : PCB) แต่เราสามารถต่อ วงจรง่าย ๆ ได้โดยการนําแผ่นโปรโตบอร์ดมาใช้
ลองคิดดู การนําโปรโตบอร์ดมาใช้ มีข้อดีอย่างไร หากเราไม่ใช้เราจะทดลองอย่างไร
45 Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 3.1 โปรโตบอร์ด ตัวอย่างโปรโตบอร์ด ขนาดต่าง ๆ
โครงสร้างภายในโปรโตบอร์ด แถวเดียวกันต่อกัน ระหว่างแถวไม่ต่อกัน 46 Thursday, May 9, 13
วัสดุอุปกรณ์ รายการ
จํานวนต่อกลุ่ม
1. โปรโตบอร์ด
1 แผ่น
2. กระบะถ่าน 2 ก้อน พร้อมแบตเตอรี่
1 ชุด
3. หลอดแอลอีดี 4. สายไฟปากหนีบ
Thursday, May 9, 13
1 หลอด 3 เส้น
3.3 ตัวต้านทาน - เป็นอุปกรณ์ที่จํากัดปริมาณกระแสไฟฟ้าทีี่ใหลในวงจร - ค่าความต้านทานไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโอห์ม (ohm) - ตัวต้านทานมีหลายขนาด อัตราการทนกําลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็น วัตต์(Watt)
48 Thursday, May 9, 13
แอลดีอาร์ (Light Dependent Resistor) ค่าความต้านทานเปลี่ยนตามความเข้มแสงที่ตกกระทบ - แสงตกกระทบมาก ความต้านทานน้อย - แสงตกกระทบน้อย ความต้านทานมาก
หากนําวงจรแบ่งแรงดันมาใช้จะประยุกต์ใช้งานได้มากมาย Thursday, May 9, 13
การทดลองกับแอลดีอาร์ ทดลองง่าย ๆ โดยใช้มิเตอร์วัดค่าความต้านทาน แล้วทดลองนําไปวัดแสง
Thursday, May 9, 13
3.4 หลอดไฟฟ้า หลอดแอลอีดี - หลอดไฟฟ้า เมื่อมีแรงดันตกคล่อมตามที่กําหนดหลอดไฟจะสว่าง - การใช้งานหลอดไฟฟ้าไม่จําเป็นต้องคํานึงถึงขั้วไฟฟ้า
51 Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 3.2 การวัดกระแสและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า
วัดกระแส ให้ตัดวงจรในจุดที่ต้องการวัด แล้วนําแอมป์มิเตอร์ไปต่ออนุกรมกับวงจร วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าให้นําโวลต์มิเตอร์ ไปต่อขนานกับจุดที่ต้องการวัด
52 Thursday, May 9, 13
หลอดแอลอีดี - ไดโอดแปล่งแสงหรือแอลอีดี ต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลจากแอโนดไปแคโทด
53 Thursday, May 9, 13
ขั้นตอนการต่อวงจรหลอด LED อย่างง่าย
ถ้าหากเปลี่ยนค่าความต้านทานคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น Thursday, May 9, 13
Thursday, May 9, 13
ปรับกระแสที่ผ่านแอลอีดี
การปรับกระแสที่ไหลผ่านหลอดแอลอีดี ทดลองง่าย ๆ โดยนําตัวต้านทานชนิด ปรับค่าได้มาใช้ โดยเลือกขาที่ 1 และขา ที่ 2 ของตัวต้านทาน เมื่อความต้านทาน เปลี่ยนไปจะทํากระแสที่ไหลผ่านแอลอีดี เปลี่ยนไปด้วย ให้สังเกตว่ากระแสไฟฟ้า มีผลต่อการสว่างของหลอดแอลอีดีอย่างไร
Thursday, May 9, 13
การต่อหลอดแอลอีดีแบบอนุกรมและขนาน
Thursday, May 9, 13
หลอดแอลอีดี 2 สี
ถ้าหากมองโครงสร้างด้านในจะคล้ายกับการนําหลอดแอลอีดีสองหลอดมา ต่อขนานกัน การให้แสดงสีต่าง ๆ ทําโดยควบคุมให้หลอดใดหลอดหนึ่งสว่าง Thursday, May 9, 13
กิจกรรมที่ 3.3 โคมไฟขนาดเล็ก
59 Thursday, May 9, 13
3.5 วงจรสวิตซ์ควบคุมมอเตอร์ - หลอดไฟฟ้า เมื่อมีแรงดันตกคล่อมตามที่กําหนดหลอดไฟจะสว่าง - การใช้งานหลอดไฟฟ้าไม่จําเป็นต้องคํานึงถึงขั้วไฟฟ้า
60 Thursday, May 9, 13