Thailand Bioenergy Technology Status 2013

Page 1

รายงานสถานภาพ เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล ของประเทศไทย 2556

ต องการข อมูลเพ��มเติม: คณะทำงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายว�ทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม พลังงานชีวมวลเพ�่อเตร�ยมความพร อมต อการเป ดประชาคมอาเซียน ●

ยภ

พ ภา

ชีว

ลิง

วล ีวม ิตช

ื้อเพ

ผล

ผล

ิตเช

ผล

พ�ม

มว

ารเ

ชีว

ยีก

าพ

ล โนโ

ีเพ�่อ ลย โนโ

เทค

ศัก

เทค

าพ ีวภ าซช ลิต พก มี รผ ภา นเค ีกา ุณ ร อ ลย ุงค โนโ ับปร วาม เทค ปร างค และ ารท นก

มว

ชีว งาน

ลัง

ว ระบ

าพ

ยีก

ัฒน

ล โนโ

นพ

เทค

แผ

The Joint Graduate School of Energy and Environment King Mongkut's University of Technology Thonburi, 126 Prachauthit Rd, Bangmod, Tungkru, Bangkok, Thailand 10140 Tel : 66-2-4708309 to 10 #4147 Fax : 66-2-8726978, Email : aseanbiomass@gmail.com

National Science Technology and Innovation Policy Office 319 Chamchuri Square BD., 14, Phayathai Rd., Patumwan, Bangkok, 10330 Telephone: 02-160-5432 #308 Fax: 02-160-5438


คำ�นำ� เป็นที่ทราบกันดีว่า พลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ สำ�คัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำ�ลังพัฒนา ที่กำ�ลังเติบโต จึงทำ�ให้ภูมิภาคอาเซียนนี้มีความ ต้ อ งการใช้ พ ลั ง งานเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ย ข้ อ ได้ เ ปรี ย บทางภู มิ อ ากาศที่ เ หมาะสมต่ อ การ ทำ�การเกษตร ทำ�ให้หลายประเทศมีศักยภาพใน พลังงานชีวมวล และต่างกำ�หนดเป้าหมายในการ พั ฒนาเทคโนโลยี แ ละการใช้ ป ระโยชน์ จ ากของ เหลือใช้จากการเกษตร สำ�หรับในประเทศไทย เองก็มีเป้าหมายการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงาน ชี ว มวลในภาคการผลิ ต ไฟฟ้ า ผลิ ต ความร้ อ น และเชื้ อ เพลิ ง ทดแทนในภาคขนส่ ง ตามแผน พั ฒนาพลั ง งานทดแทนและพลั ง งานทางเลื อ ก ของประเทศ เพื่อรองรับต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี พ.ศ. 2558 สำ�นักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) ร่วมกับบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้าน พลังงานและสิง่ แวดล้อม (JGSEE) ได้จดั ตัง้ ‘คณะ ทำ�งานขับเคลื่อนนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมพลังงานชีวมวลเพื่อเตรียมความ พร้ อ มต่ อ การเปิ ด ประชาคมอาเซี ย น’ โดยหนึ่ ง ในภารกิจที่จัดทำ� ได้แก่ การสำ�รวจสถานภาพ เทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย และ ได้จัดตีพิมพ์เป็นครั้งแรกใน Thailand Bioenergy Technology Status Report 2013 ในรูปแบบ ภาษาอั ง กฤษ โดยรายงานฉบั บ นี้ ไ ด้ เ รี ย บเรี ย ง เป็นภาษาไทยเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจใน เทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทยต่อไป เรียบเรียงเป็นภาษาไทยโดย สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE)


1

สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

บัณฑิตวิทยาลัยร่วม ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม The Joint Graduate School of Energy and Environment (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

สารบัญ แผนพัฒนาพลังงานชีวมวล ศักยภาพชีวมวลของประเทศไทย เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตชีวมวล เทคโนโลยีกระบวนการทางความร้อนเคมี เทคโนโลยีเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เทคโนโลยีการผลิตและปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ

2 4 6 8 12 16


2

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

แผนพัฒนาพลังงานชีวมวล ปริมาณการใช้พลังงานชีวมวลในปี 2555 ชีวมวล

73%

เชื้อเพลิงชีวภาพ

18% ขยะ ก๊าซชีวภาพ

8%

1%

Source: Energy in Thailand: Facts & Figures 2012 (DEDE)

ไฟฟ้า ก๊าซชีวภาพ ขยะ ความร้อน ก๊าซชีวภาพ ขยะ

42.7 4,882.0 4,346.0 458.0 78.0 4.1

เอธานอล

1.4

ไบโอดีเซล

2.7

ล้านลิตร/วัน

เชื้อเพลิงชีวภาพ

193.4

ktoe

ชีวมวล

1,960.0

เมกะวัตต์

ชีวมวล

2,196.1


3

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ปี (2555-2564)

ไฟฟ้า

ความร้อน

ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ 4,800 3,600 400 เมกะวัตต์ เมกะวัตต์ เมกะวัตต์

ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ 8,500 1,000 200 ktoe ktoe ktoe

8,800 เมกะวัตต์

9,700 ktoe

เชื้อเพลิงชีวภาพ

เอธานอล 9 ล้านลิตร/วัน

ไบโอดีเซล 7.2 ล้านลิตร/วัน

เชื้อเพลิงใหม่ทดแทน 3 ล้านลิตร/วัน

ก๊าซชีวภาพอัด 1,200 ตัน/วัน Source: www.dede.go.th (rev. June 2013)

ห่วงโซ่อุปทานของชีวมวลสู่พลังงาน

Feedstock Supply

Biomass Conversion

Bioenergy Distribution

Bioenergy End Use


รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

4

ศักยภาพชีวมวล ของประเทศไทย ในปี 2555 ศั ก ยภาพพลั ง งานชี ว มวลของประเทศไทยมี ม ากถึ ง 16,812.88 ktoe โดยที่มีสัดส่วนจากเศษวัสดุชีวมวลทางการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรเพือ่ ผลิตไฟฟ้าและความร้อนที่ 9,231.82 ktoe ชีวมวลเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพที่ 6,560.82 ktoe และชีวมวลเพื่อ ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพที่ 1,020.24 ktoe

ศักยภาพชีวมวลของประเทศไทยปี 2555 ชนิด

เศษวัสดุชีวมวลทางการเกษตรและอุตสาหกรรม การเกษตรเพื่อผลิตไฟฟ้าและความร้อน ชีวมวลที่เหลือทิ้งในไร่นา เศษชีวมวลที่ได้จากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เศษชีวมวลที่ได้จากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ชีวมวลเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ มูลสัตว์ ขยะมูลฝอย น้ำ�เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ชีวมวลเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เอธานอล ไบโอดีเซล รวม

หน่วย

ปริมาณชีวมวล

ศักยภาพในการผลิตผลังงาน (ktoe)

ล้านตัน/ปี

24.15

9,231.82

17.23 5.77 1.15 11,749.02 733.68 582.25 10,433.09 1,525.70 642.40 883.30

6,570.54 2,196.70 464.57 6,560.82 364.72 268.77 5,927.33 1,020.24 323.52 696.72 16,812.88

ล้าน ลบ.ม./ปี

ล้านลิตร/ปี


5

เศษวัสดุชีวมวลทางการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อผลิตไฟฟ้าและความร้อน 9,231.82 ktoe

ทะลายปาล์มเปล่า : 639 ktoe เส้นใยปาล์ม : 86 ktoe กะลาปาล์ม : 190 ktoe ทางปาล์ม : 841 ktoe

ชีวมวลเพื่อผลิต ก๊าซชีวภาพ

6,560.82 ktoe

1,020.24 ktoe

มูลสุกร : 109 ktoe

เอธานอล : 642.40 ล้านลิตร (324 ktoe)

มูลโคนม : 51 ktoe มูลโคเนื้อ : 100 ktoe

ไบโอดีเซล : 883.30 ล้านลิตร (697 ktoe)

ชานอ้อย : 0 ktoe ยอดและใบอ้อย : 3,672 ktoe

มูลกระบือ : 44 ktoe

แกลบ : 800 ktoe ฟางข้าว : 1,610 ktoe

มูลไก่ : 58 ktoe

ซังข้าวโพด : 186 ktoe

มูลเป็ด : 2 ktoe

ลำ�ต้นมันสำ�ปะหลัง : 447 ktoe เหง้ามันสำ�ปะหลัง : 295 ktoe

มูลช้าง : 0.5 ktoe

ขี้เลื่อย : 149 ktoe ฟืน : 54 ktoe

ขยะมูลฝอย : 269 ktoe

เปลือกไม้ : 262 ktoe

ชีวมวลเพื่อผลิต เชื้อเพลิงชีวภาพ

น้ำ�เสีย : 5,927 ktoe


รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

6

เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตชีวมวล ประเทศไทยปลูกอ้อย มันสำ�ปะหลัง และปาล์มน้ำ�มัน เป็นพืชเศรษฐกิจหลัก อีกทั้งมีความต้องการที่จะผลิต พลังงานจากพืชเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ประเทศไทย จึ ง มุ่ ง เน้ น ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารเพิ่ ม ผลผลิ ต และคุ ณ ภาพเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ของพื ช ทั้งสามชนิดให้มากที่สุด โดยหากพิจารณาห่วงโซ่การ ผลิตตั้งแต่ขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ การเพาะปลูกและ การเก็บเกีย่ ว เทคโนโลยีดา้ นการเพิม่ ผลผลิตการเกษตร และการทำ�การเกษตรอย่างยั่งยืนที่จำ�เป็นสำ�หรับการ เพิ่มผลผลิตพืชพลังงานของไทย ประกอบด้วย

1

เทคโนโลยีการ ปรับปรุงพันธุ์

(Plant Breeding)

2

เทคโนโลยีการทำ� เกษตรแม่นยำ�

(Precision Farming)

3

และ

เทคโนโลยี เครื่องจักรกล

(Mechanization)


7

เทคโนโลยีเพิ่มผลผลิต

พันธุ์

เพาะปลูก

เก็บเกี่ยว

เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์ (Plant Breeding) • การปรับปรุงพันธุ์ด้วยวิธี มาตรฐาน (Conventional Breeding) • การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ร่วมกับวิธีปรับปรุงพันธุ์ มาตรฐาน (เช่น MAS, Genomics) • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

เทคโนโลยีเกษตรแม่นยำ� (Precision Farming) • การเลือกใช้พนั ธุท์ เ่ี หมาะสมกับ พื้นที่ • ระบบจัดการน้ำ�และปุ๋ย

เทคโนโลยีเครื่องจักรกล (Mechanization)

สถานภาพเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตชีวมวลของประเทศไทย เทค

โนโ

การปรับปรุงพันธุ์พืช

ลย

ปรับปรุงพันธ์ วิธีมาตรฐาน

เทคโนโลยี ชีวภาพ (MAS, Genomics)

พันธุวิศวกรรม (GM)

เกษตรแม่นยำ�

เครื่องจักรกล

มีการใช้จริงและ วิจัยต่อเนื่อง

อยู่ระหว่างการ ศึกษาวิจัย

อยู่ระหว่างการ ศึกษาวิจัย

มีการใช้จริงและ วิจัยต่อเนื่อง

มีการใช้จริงและ วิจัยต่อเนื่อง

มันสำ�ปะหลัง

มีการใช้จริงและ อยู่ระหว่างการ อยู่ระหว่างการ วิจัยต่อเนื่อง ทดสอบภาคสนาม ศึกษาวิจัย

มีการใช้จริงและ วิจัยต่อเนื่อง

อยู่ระหว่างการ ทดสอบภาคสนาม

ปาล์มน้ำ�มัน

มีการใช้จริงและ อยู่ระหว่างการ อยู่ระหว่างการ วิจัยต่อเนื่อง ทดสอบภาคสนาม ศึกษาวิจัย

อยู่ระหว่างการ ทดสอบภาคสนาม

อยู่ระหว่างการ ศึกษาวิจัย

พืช

อ้อย

ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการขับเคลื่อนนโยบายและแผน วทน. พลังงานชีวมวล เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมอาเซียน, 2557 (สวทน. & JGSEE)


8

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

เทคโนโลยีกระบวนการ ทางความร้อนเคมี การผลิตพลังงานโดยกระบวนการทางความร้อนเคมีเป็นกระบวนการ เปลีย่ นองค์ประกอบทางเคมีของชีวมวล โดยใช้พลังงานความร้อน ในการเปลี่ยนเชื้อเพลิงชีวมวลให้อยู่ในรูปพลังงานต่างๆ เช่น ไฟฟ้า ความร้อน เชื้อเพลิงเหลว ก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล เป็นต้น โดยกระบวนการทางความร้อนเคมีประกอบด้วยเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • เทคโนโลยีการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิง (Pretreatment) • เทคโนโลยีการเผาไหม้ (Combustion) • เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass Gasification) เทคโนโลยีไพโรไลซิส (Pyrolysis) • เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะชุมชน (Heat and Electricity Generation from MSW)

สถานภาพเทคโนโลยีการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงของประเทศไทย


9

สถานภาพเทคโนโลยีการเผาไหม้ การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล และไพโรไลซิสของประเทศไทย


10

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

จำ�นวนของโรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล (Gasification) มีจำ�นวน เพิ่มขึ้นในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภท Fixed Bed Downdraft ขนาดเล็กที่มีขนาด ไม่กี่ร้อยเมกะวัตต์ถึง 1 เมกะวัตต์

ประเภท Fluidized Bed ที่ใช้อย่างแพร่หลายในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าและ ความร้อน

ในประเทศไทยเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนขนาดใหญ่มีอยู่ที่ จังหวัดภูเก็ต ด้วยกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าได้มากถึง 14 เมกะวัตต์ ใช้เทคโนโลยีเผาไหม้ (Incineration)


11

สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะชุมชนของประเทศไทย

เตาเผาขยะผลิตไฟฟ้าเทศบาลนครภูเก็ต เทคโนโลยี:

เตาเผาแบบตะกรับที่เคลื่อนที่ได้ (moving grate)

จำ�นวนขยะที่ต้องการใช้:

700 ตันต่อวัน

กำ�ลังการผลิตไฟฟ้า:

14 เมกะวัตต์


12

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

เทคโนโลยีเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เทคโนโลยีเพือ่ ผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพในปัจจุบนั ของประเทศไทย ได้แก่ เอธานอล และไบโอดีเซล การผลิตเอธานอลส่วนใหญ่มาจากการผลิตจากกาก น้ำ�ตาลในโรงงานน้ำ�ตาล ในขณะที่ไบโอดีเซลใช้ปาล์มน้ำ�มัน เป็นหลัก ปัจจุบนั รัฐบาลใช้นโยบายการผสมเอธานอลกับแก๊สโซลีน ในสั ด ส่ ว น 10% หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า E10 ในขณะเดี ยวกั น ก็ โปรโมทการใช้ E20 และ E85 ไปพร้อมกัน การใช้ไบโอดีเซล ยังประสบกับอุปสรรคที่ปาล์มน้ำ�มันไม่เพียงพอต่อการผลิต ดังนั้น ประเทศไทยจึงพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานใหม่ทดแทน ดีเซลเพื่อใช้แหล่งชีวมวลอื่นๆ เป็นทางเลือก เช่น palm fatty acid หรือสาหร่ายที่ยังอยู่ในขั้นวิจัยและการพัฒนา


13

สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตเอธานอลของประเทศไทย


14

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลของประเทศไทย


15

Pure Biodiesel Company Limited (PBC)

Biodiesel plant 300,000 litres/day Raw Material: Palm stearin, RBDPO and CPO Type:

Capacity:

PTT THINKALGAE Pilot Plant

• PTT: 100,000 litres working volume with CO2 directly from PTT Gas Separation Plant • Continuous Production • Cultivation closed + open ponds • Biodiesel Units (TISTR in-house) or PTT Research & Technology Institute Hydroprocessing Units • 3-6 tons/system/year algal biomass

Source: http://cecar.unu.edu/renewable-energy/microalgae-biofuel-researchkangvansaichool-ptt-research.pdf


16

รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย 2556

เทคโนโลยีการผลิตและปรับปรุง คุณภาพก๊าซชีวภาพ ประเทศไทยเริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิตและ ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพนับตัง้ แต่ชว่ งปี 2503 เป็นต้นมา นับจากนั้น ประเทศไทย ก็พฒ ั นาเทคโนโลยีพลังงานก๊าซชีวภาพจาก แหล่งชีวมวลอื่นๆ นอกเหนือจากมูลสัตว์ และน้ำ�เสีย โดยในปัจจุบัน ประเทศไทย สามารถผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มปศุสัตว์ ขนาดใหญ่ ใช้น้ำ�เสียจากโรงงานผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรและโรงงานแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีก๊าซชีวภาพสามารถพัฒนามา ได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากการสนับสนุนจาก รัฐบาลเพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต ทำ�ให้ในปัจจุบันประเทศไทยมีโรงผลิตก๊าซ ชีวภาพมากกว่า 1,000 แห่งทั่วประเทศ

แผนที่โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพในประเทศไทย 2556

การผลิตก๊าซชีวภาพ ณ ปัจจุบันแบ่ง ตามแหล่งวัตถุดิบเพื่อใช้ผลิตก๊าซชีวภาพ ออกเป็น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ วัตถุดิบจาก โรงงานอุตสาหกรรม วัตถุดบิ จากการเกษตร และปศุสัตว์ และของเสียจากชุมชน โดยมี การเลือกตามคุณสมบัตขิ องชีวมวลทีเ่ หมาะ สมในการผลิตก๊าซชีวภาพ เช่น ปริมาณ ความเข้ ม ข้ น ของสารอิ น ทรี ย์ ความชื้ น หรื อ ชี ว มวลที่ ป ระกอบด้ ว ยสารอิ น ทรี ย์ ที่ ย่อยสลายง่าย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต (แป้ง น้ำ�ตาล) โปรตีน ไขมัน เป็นต้น ซึ่งส่งผล ต่อความสามารถในการผลิตก๊าซชีวภาพ ความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์และใน การลงทุนทางเทคโนโลยี

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน


17

สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตและปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพของประเทศไทย


รายงานสถานภาพ เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล ของประเทศไทย 2556

ต องการข อมูลเพ��มเติม: คณะทำงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายว�ทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม พลังงานชีวมวลเพ�่อเตร�ยมความพร อมต อการเป ดประชาคมอาเซียน ●

ยภ

พ ภา

ชีว

ลิง

วล ีวม ิตช

ื้อเพ

ผล

ผล

ิตเช

ผล

พ�ม

มว

ารเ

ชีว

ยีก

าพ

ล โนโ

ีเพ�่อ ลย โนโ

เทค

ศัก

เทค

าพ ีวภ าซช ลิต พก มี รผ ภา นเค ีกา ุณ ร อ ลย ุงค โนโ ับปร วาม เทค ปร างค และ ารท นก

มว

ชีว งาน

ลัง

ว ระบ

าพ

ยีก

ัฒน

ล โนโ

นพ

เทค

แผ

The Joint Graduate School of Energy and Environment King Mongkut's University of Technology Thonburi, 126 Prachauthit Rd, Bangmod, Tungkru, Bangkok, Thailand 10140 Tel : 66-2-4708309 to 10 #4147 Fax : 66-2-8726978, Email : aseanbiomass@gmail.com

National Science Technology and Innovation Policy Office 319 Chamchuri Square BD., 14, Phayathai Rd., Patumwan, Bangkok, 10330 Telephone: 02-160-5432 #308 Fax: 02-160-5438


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.