หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ภาคพิเศษ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง --------------------------------1. ชื่อหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน Bachelor of Arts Program in Mass Communication 2. ชื่อปริญญา สาขาวิชาสื่อสารมวลชน ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ชื่อย่อ ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ
: : : :
ศิลปศาสตรบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) Bachelor of Arts (Mass Communication) B.A. (Mass Communication)
3. กาหนดการเปิดสอนและระยะเวลาการศึกษา หลักสูตรนี้ใช้บังคับตั้งแต่ภาค 1 ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป ระยะเวลาตลอดหลักสูตร 8 ภาคการศึกษา 4. ระบบการเรียนการสอนและระยะเวลา 4.1 บรรยายในชั้นเรียนนอกเวลาราชการ 4.2 ใช้สื่อการสอน หนังสือ เอกสารสรุปการสอน 4.3 บรรยายสรุปในแต่ละกระบวนวิชา โดยนักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 80% จึงจะมีสิทธิ เข้าสอบในกระบวนวิชานั้น ๆ 4.4 ระยะเวลาการเรียนภาคการศึกษาละ 19 สัปดาห์ โดยแบ่งเป็น 4.4.1 บรรยายในชั้นเรียน 16 สัปดาห์ 4.4.2 ประเมินผล 2 สัปดาห์ 4.4.3 ปิดภาคและลงทะเบียน 1 สัปดาห์ 4.5 ระยะเวลาตลอดหลักสูตร 8 ภาคการศึกษา 5. การบริหารโครงการ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ภาคพิเศษ คณะสื่อสารมวลชน บริหารโครงการโดยคณะกรรมการ บริหารโครงการศึกษาภาคพิเศษ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง 6. จานวนนักศึกษา รับนักศึกษาในโครงการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน รุ่น 1 จานวน 100 คน
2 7. การจัดการการศึกษา เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยรามคาแหง ว่าด้วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2551 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยรามคาแหง ว่าด้วยคุณวุฒิของผู้สมัครเข้าเป็นนักศึกษาชั้นปริญญาตรี (ภาคพิเศษ) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 การเทียบโอนรายวิชาและการโอนหน่วยกิต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิตภาคพิเศษกาหนด แต่นักศึกษายังคงต้องลงทะเบียนในรายวิชาที่เทียบโอนในลักษณะ Audit Student (Non-Credit) เพื่อเป็นการเสริมความรู้ให้แก่นักศึกษาในอัตราหน่วยกิตละ 800 บาท 8. สถานที่ศึกษาและอุปกรณ์การสอน ใช้สถานที่อุปกรณ์การสอนของคณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง 9. การจาหน่ายใบสมัครและการรับสมัคร จาหน่ายใบสมัครและสมัครด้วยตนเองที่ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง 10. คุณสมบัติของผู้สมัคร คุณวุฒิของผู้สมัครเป็นนักศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยรามคาแหง ว่าด้วยคุณวุฒิของผู้สมัคร เข้าเป็นนักศึกษาชั้นปริญญาตรี (ภาคพิเศษ) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ข้อ 4 ดังนี้ 10.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนปลาย) หรือเทียบเท่า หรือ 10.2 เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งและเงินเดือน ตั้งแต่ระดับ 2 หรือเทียบเท่าขึ้นไป และจบหลักสูตร การศึกษาภาคบังคับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) หรือเทียบเท่า หรือ 10.3 เป็นหรือเคยเป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจหรือลูกจ้างของรัฐซึ่งได้ปฏิบัติงานมาแล้ว รวมกันไม่น้อยกว่า 5 ปี และเป็นผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภาคบังคับการศึกษาขั้น พื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) หรือเทียบเท่า หรือ 10.4 เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภาเมืองพัทยา สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาตาบล สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล กรรมการสุขาภิบาล หรือกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และเป็นผู้สาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรภาคบังคับการศึกษาขั้น พื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) หรือเทียบเท่า หรือ 10.5 ผู้เป็นเจ้าของกิจการที่ประสบความสาเร็จในการประกอบธุรกิจส่วนตัวเป็นประธานกรรมการ ผู้อานวยการ ผู้จัดการ หรือเป็นกรรมการบริหารในหน่วยงานธุรกิจเอกชน หรือตาแหน่ง บริหารที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นที่เทียบเท่า และเป็นผู้เสียภาษีเงินได้ประจาปีของหน่วยงาน หรือบุคคลมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี และเป็นผู้สาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษาตอนต้น) หรือเทียบเท่า และมีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปี บริบูรณ์ นับตามปีปฏิทิน หรือ 10.6 เป็นผู้ซึ่งสภามหาวิทยาลัยได้พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษาได้ หมายเหตุ
สาหรับผู้ที่ใช้คุณวุฒิจากต่างประเทศ จะต้องนาหนังสือรับรองการเทียบความรู้ จากกระทรวงศึกษาธิการ มาแสดงในวันสมัครด้วย
3 11. การสมัครเรียนระบบรายกระบวนวิชาโดยไม่รับปริญญา (Pre – Degree) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สานักงานโครงการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ภาคพิเศษ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง 12. การเทียบโอนหน่วยกิต ผู้สมัครที่มีคุณวุฒิอนุปริญญาหรือเทียบเท่าขึ้นไป มีสิทธิขอเทียบรายวิชาและโอนหน่วยกิตได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยรามคาแหง 13. หลักฐานการสมัคร 13.1 สาเนาหนังสือสาคัญแสดงคุณวุฒิ จานวน 4 ฉบับ 13.2 สาเนาทะเบียนบ้าน จานวน 3 ฉบับ (ถ่ายสาเนาเฉพาะหน้าที่มีชื่อผู้สมัครเท่านั้น กรณีที่เป็นแบบสมุดให้ถ่ายสาเนาหน้าแรกที่ปรากฏเลขที่บ้านด้วย) 13.3 สาเนาบัตรประชาชนหรือบัตรประจาตัวข้าราชการ จานวน 3 ฉบับ 13.4 ใบรับรองแพทย์ จานวน 1 ฉบับ 13.5 รูปถ่ายสีหรือขาวดา ขนาด 2 นิ้ว จานวน 2 รูป 13.6 สาเนาหลักฐานต่าง ๆ เพิ่มเติม (ตามแต่กรณี) โดยถ่ายสาเนา จานวน 3 ฉบับ คือ 13.6.1 กรณีมีการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด 13.6.2 กรณีผู้สมัครมีคุณสมบัติตามข้อ 10.2-10.4 จะต้องมีหนังสือรับรองจาก ผู้บังคับบัญชาระดับหัวหน้ากอง หรือเทียบเท่าขึ้นไป 13.6.3 กรณีผู้สมัครมีคุณสมบัติตามข้อ 10.5 จะต้องนาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาแสดงด้วยพร้อมถ่ายสาเนา 13.7 ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 800 บาท และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ชาระในวันสมัคร ทั้งหมด 14. หลักเกณฑ์การรับเข้าศึกษา 14.1 รับเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีทั้งไม่ใช้สิทธิเทียบโอนและกรณีใช้สิทธิเทียบโอน 14.2 รับเข้าศึกษาเป็นรายกระบวนวิชาโดยไม่รับปริญญา 15. การลงทะเบียนเรียน 15.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี 15.1.1 ลงทะเบียนเรียนกระบวนวิชาที่มหาวิทยาลัยกาหนดให้ 15.1.2 ต้องลงทะเบียนเรียนตามแผนกาหนดการศึกษา 15.1.3 ลงทะเบียนเรียนตามลาดับภาคและปีการศึกษา 15.2 นักศึกษาเรียนรายกระบวนวิชา (Pre Degree) 15.2.1 ลงทะเบียนเรียนตามรายชื่อกระบวนวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา เช่นเดียวกันกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 15.2.2 นักศึกษาที่คาดว่าจะศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยรามคาแหง ควรลงทะเบียนเรียน กระบวนวิชาของคณะที่คาดว่าจะศึกษาต่อ ทั้งนี้ เพื่อจะได้นาหน่วยกิตสะสม ไปเทียบโอนได้
4 15.2.3 นักศึกษาจะเลือกลงทะเบียนเรียนเป็นรายกระบวนวิชา หรือจะลงทุกกระบวนวิชาตาม แผนกาหนดการศึกษาของคณะที่คาดว่าจะศึกษาต่อก็ได้ 16. สถานภาพการเป็นนักศึกษาและการหมดสถานภาพการเป็นนักศึกษา 16.1 สถานภาพการเป็นนักศึกษา ผู้สมัครที่มีวุฒิถูกต้องเมื่อสมัครขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาและลงทะเบียนเรียนแล้วจะมี สถานภาพเป็นนักศึกษาได้ 8 ปี นับแต่ภาคแรกที่สมัครเข้าศึกษา 16.2 การหมดสถานภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาจะหมดสถานภาพการเป็นนักศึกษาเมื่อ 16.2.1 ศึกษาครบหลักสูตรและได้รับปริญญา 16.2.2 ศึกษาครบ 8 ปี 16.2.3 ไม่ลงทะเบียนเรียนเป็นเวลา 2 ภาคการศึกษาติดต่อกันโดยขาดการชาระค่า รักษาสถานภาพ 16.2.4 ลาออก 16.2.5 ตาย 17. อัตราค่าธรรมเนียม 17.1 ค่าลงทะเบียนเป็นรายหน่วยกิต ๆ ละ 17.2 ค่าบัตรประจาตัวนักศึกษา 17.3 ค่าสมัครเข้าเป็นนักศึกษา คนละ 17.4 ค่าธรรมเนียมการศึกษา ภาคละ 17.5 ค่าจัดการสอบไล่ ภาคละ 17.6 ค่าเทียบโอนหน่วยกิต ๆ ละ 17.7 ค่าขึ้นทะเบียนบัณฑิต 17.8 ค่ารักษาสถานภาพ ภาคละ 17.9 ค่าปรับลงทะเบียนล่าช้า วันละ 17.10 ค่าใบรับรองผลการศึกษาหรือหนังสือสาคัญ เกี่ยวกับการศึกษา ฉบับละ
800.- บาท 60.- บาท 500.- บาท 2,500.- บาท 1,250.- บาท 800.- บาท 2,000.- บาท 2,500.- บาท 200.- บาท 200.- บาท
นักศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาชาระเงินค่าลงทะเบียนและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ แล้ว ภายหลังไม่เข้า ศึกษาจะไม่คืนเงินให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ 18. โครงสร้างหลักสูตร (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (2) หมวดวิชาเฉพาะ 2.1) วิชาแกนบังคับ 2.2) วิชาเอก 2.3) หมวดวิชาโท (3) หมวดวิชาเลือกเสรี
42
หน่วยกิต
9
หน่วยกิต
144
หน่วยกิต
42 หน่วยกิต 30 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต รวม
5 19. รายละเอียดหลักสูตรฯ 19.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 42 หน่วยกิต เรียนร่วมกันทุกสาขาวิชา ประกอบด้วยวิชาต่อไปนี้ กระบวนวิชา 19.1.1 19.1.2
19.1.3 19.1.4
19.1.5
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3 หน่วยกิต SCI 1003 (SC 103) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เลือกเรียน INT 1005 (IT 105) ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 1 วิชา กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 15 หน่วยกิต ART 1003 (AR 103) ศิลปวิจักษณ์ HIS 1001 (HI 101) อารยธรรมตะวันตก เลือกเรียน HIS 1002 (HI 102) อารยธรรมตะวันออก 1 วิชา HIS 1201 (HI 121) พื้นฐานวัฒนธรรมไทย LIS 1001 (IS 101) สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า GAS 2802 (GS 231) เกมเบ็ดเตล็ด PHI 1003 (PY 103) ปรัชญาเบื้องต้น กลุ่มวิชาภาษาไทย 6 หน่วยกิต THA 1001 (TH 101) ลักษณะและการใช้ภาษาไทย THA 1002 (TH 102) ความรู้ทั่วไปทางวรรณคดีไทย กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต PSY 1001 (PC 103) จิตวิทยาทั่วไป เลือกเรียน POL 1100 (PS 103) รัฐศาสตร์ทั่วไป 1 วิชา SOC 1003 (SO 103) สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเบื้องต้น กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 12 หน่วยกิต ให้เลือกเรียน ภาษาอังกฤษ 12 หน่วยกิต ENG 1001 (EN 101) ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐานและศัพท์ จาเป็นในชีวิตประจาวัน ENG 1002 (EN 102) ประโยคภาษาอังกฤษและศัพท์ทั่วไป ENG 2001 (EN 201) การอ่านเอาความภาษาอังกฤษ ENG 2002 (EN 202) การอ่านตีความภาษาอังกฤษ
RAM 1000 (RU 100) ความรู้คู่คุณธรรม (บังคับเรียนไม่นับหน่วยกิต)
หน่วยกิต
3 2 3 3 2 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3
6 19.2 หมวดวิชาเฉพาะ 19.2.1 วิชาแกนบังคับ 42 หน่วยกิต ประกอบด้วยกระบวนวิชาต่อไปนี้ กระบวนวิชา MCS 1150 (MCS 1100,MC 110) การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น MCS 1151 (MCS 1101,MC 111) ทฤษฎีการสื่อสาร MCS 1250 (MCS 2200,MC 220) การหนังสือพิมพ์เบื้องต้น MCS 1350 (MCS 1300,MC 130) วาทวิทยา MCS 1450 (MCS 1400,MC 140) การกระจายเสียงและการแพร่ภาพ MCS 3151 (MCS 3100,MC 310) การสื่อสารเพื่อมนุษยสัมพันธ์ MCS 2150 (MCS 2100,MC 210) การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น MCS 2160 (MCS 2106,MC 216) ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน MCS 2170 การรู้เท่าทันสื่อ MCS 2260 (MCS 2201,MC 221) การรายงานข่าว MCS 2390 (MCS 2108,MC 218) เทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน MCS 3190 (MCS 4603,MC 463) จริยธรรมสื่อสารมวลชน MCS 4170 (MCS 4106,MC 416) การวิจัยสื่อสารมวลชนเบื้องต้น MCS 4190 สื่อมวลชนอาเซียนและสื่อมวลชนโลก
หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
19.2.2 วิชาเอก 30 หน่วยกิต เลือกเรียนจากกระบวนวิชาต่อไปนี้หรือวิชาที่คณะฯ ประกาศเพิ่มเติมในภายหลัง กระบวนวิชา MCS 2151 (MCS 2109,MC 219) สื่อมวลชนสัมพันธ์ MCS 2161 (MCS 2602,MC 262) การสื่อสารในองค์การ MCS 2162 (MCS 2603,MC 263) สื่อมวลชนเพื่อการโฆษณา MCS 2180 (MCS 2301,MC 231) การพูดในชีวิตประจาวัน MCS 2181 (MCS 2304,MC 234) การพูดเพื่อการสมาคม MCS 2182 (MCS 4305) การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ MCS 3150 (MCS 3105,MC 315) หลักการสื่อสารที่มีประสิทธิผล MCS 3152 (MCS 3104,MC 314) การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ MCS 3160 (MCS 3102,MC 312) สื่อมวลชนกับสังคม MCS 3170 (MCS3209,MC 329) การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน MCS 3180 (MCS 3304,MC 334) การพูดตามนัยเนื้อหา MCS 3181 (MCS 3300,MC 330) การพูดสาหรับการเป็นผู้นา MCS 3182 (MCS 3305,MC 335) การพูดในงานสื่อมวลชน MCS 3183 (MCS 3301,MC 331) วาทศาสตร์เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ MCS 3184 (MCS 3306,MC 336) วาทนิเทศเพื่อการขาย MCS 3185 (MCS 3605,MC 365) การสื่อสารทางอินเตอร์เน็ต
หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
7 กระบวนวิชา MCS 3452 (MCS 4400,MC 440) เทคนิคการผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ MCS 4251 (MCS 4204,MC424) สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ MCS 3250 (MCS 2203,MC 223) ภาพถ่ายวารสารศาสตร์สื่อประสม MCS 2450 (MCS 2401,MC 241) ข่าววิทยุกระจายเสียง MCS 3280 (MCS 3203,MC 323) การเขียนบทความ MCS 3282 (MCS 3204,MC 324) การบรรณาธิกรณ์สื่อสิ่งพิมพ์ MCS 3282 (MCS 3208,MC 328) การเรียบเรียงข้อมูลเพื่อสื่อมวลชน MCS 2460 (MCS 3400,MC 340) การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง MCS 3460 (MCS 3403,MC 343) การจัดรายการวิทยุกระจายเสียง MCS 4481 (MCS 4403,MC 443) วิทยุชุมชน MCS 4150 (MCS 4103,MC 413) การสื่อสารเพื่อการพัฒนา MCS 4151 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม MCS 4160 (MCS 4601,MC 461)) การสื่อสารและประชามติ MCS 4490 การเขียนข่าวภาษาอังกฤษทางสื่อมวลชน MCS 4491 การแปลข่าวภาอังกฤษทางสื่อมวลชน
หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
* นักศึกษาที่จะลงทะเบียนกระบวนวิชา MCS 4490 และ MCS 4491 จะต้องสอบผ่านกระบวนวิชา ENG 1001, ENG 1002, ENG 2001 และ ENG 2002 มาแล้ว 19.2.3 หมวดวิชาโท 21 หน่วยกิต วิชาโทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 21 หน่วยกิต .ให้เลือกเรียนจากระบวนวิชาต่อไปนี้ หรือวิชาที่คณะฯประกาศเพิ่มเติมในภายหลัง กระบวนวิชา MCS 1451 การสื่อสารเพื่อการกระจายเสียง MCS 1460 ภาพยนตร์เบื้องต้น MCS 2451 (MCS 2402,MC 242) ข่าววิทยุโทรทัศน์ MCS 2461 (MCS 3401,MC 341) การเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ MCS 2462 การเขียนบทภาพยนตร์ MCS 2463 ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์ MCS 2470 (MCS 2403,MC 141,MC 243) ดนตรีและเสียงประกอบ MCS 2471 การบันทึกเสียงและการตัดต่อทางวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ MCS 2480 (MCS 4401) การแสดงทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ MCS 2490 การผลิตสารคดีสั้นทางวิทยุกระจายเสียง MCS 3450 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง MCS 3451 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ MCS 3453 เทคนิคภาพยนตร์และวีดีทัศน์
หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
8 กระบวนวิชา MCS 3461 (MCS 3404) การจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ MCS 3470 การผลิตภาพยนตร์สั้น MCS 3480 (MCS 4108) รายการวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์สาหรับ เด็กและเยาวชน MCS 3481 รายการวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์สาหรับผู้สูงอายุ MCS 3482 รายการกีฬาทางวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ MCS 4450 การวิจารณ์การกระจายเสียงและการแพร่ภาพ MCS 4460 (MCS 4402,MC 442) การบริหารสถานีวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ MCS 4461 ธุรกิจสื่อสารมวลชน MCS 4470 การวิจัยทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ MCS 4480 (MC 435) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เพื่อสังคม MCS 4490 การเขียนข่าวภาษาอังกฤษทางสื่อมวลชน MCS 4491 การแปลข่าวภาษาอังกฤษทางสื่อมวลชน MCS 4493 การอ่านข่าวภาษาอังกฤษทางวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
หน่วยกิต 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
* นักศึกษาที่จะลงทะเบียนกระบวนวิชา MCS 4490 และ MCS 4491 จะต้องสอบผ่านกระบวนวิชา ENG 1001, ENG 1002, ENG 2001 และ ENG 2002 มาแล้ว 19.4 หมวดวิชาเลือกเสรี 9 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากกระบวนวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอน โดยไม่ซ้ากับกระบวนวิชาที่เรียนเป็น วิชาศึกษาทั่วไป วิชาแกนบังคับ วิชาเอกและวิชาโท จานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต 20. แผนกาหนดการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 (ภาค 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (10 หน่วยกิต) ENG 1001 (EN 101) ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน และศัพท์จาเป็นในชีวิตประจาวัน SOC 1003 (SO 103) สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเบื้องต้น LIS 1001 (IS 101) สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า ART 1003 (AR 103) ศิลปวิจักษณ์
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต 2 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (6 หน่วยกิต) MCS 1150 (MCS 1100,MC 110) การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น MCS 1450 (MCS 1400,MC 140) การกระจายเสียงและการแพร่ภาพ
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (3 หน่วยกิต) MCS 2162 (MCS 2603,MC 263) สื่อมวลชนเพื่อการโฆษณา
3 หน่วยกิต
9 หมวดวิชาโท (3 หน่วยกิต) MCS 2461 (MCS 3401,MC 341) การเขียนบทวิทยุโทรทัศน์
3 หน่วยกิต รวม 22 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2 (ภาค 2) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (9 หน่วยกิต) ENG 1002 (EN 102) ประโยคภาษาอังกฤษและศัพท์ทั่วไป 3 หน่วยกิต HIS 1001 (HI 101) อารยธรรมตะวันตก 3 หน่วยกิต THA 1001 (TH 101) ลักษณะและการใช้ภาษาไทย 3 หน่วยกิต RAM 1000 (RU 100) ความรู้คู่คุณธรรม (เป็นวิชาบังคับเรียนไม่นับหน่วยกิต) หมวดวิชาแกนบังคับ วิชาเอกสื่อสารมวลชน (6 หน่วยกิต) MCS 1151 (MCS 1101,MC 111) ทฤษฎีการสื่อสาร MCS 2160 (MCS 2106,MC 216) ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (3 หน่วยกิต) เลือกเรียน 1 กระบวนวิชา …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาโท (3 หน่วยกิต) เลือกเรียน 1 กระบวนวิชา …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต รวม
21 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 3 (ภาคฤดูร้อน) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (6 หน่วยกิต) ENG 2001 (EN 201) การอ่านเอาความภาษาอังกฤษ HIS 1201 (HI 121) พื้นฐานวัฒนธรรมไทย
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (3 หน่วยกิต) MCS 3151 (MCS 3100,MC 310) การสื่อสารเพื่อมนุษยสัมพันธ์
3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (3 หน่วยกิต) ……………………………………..
3 หน่วยกิต รวม
12 หน่วยกิต
10 ภาคการศึกษาที่ 4 (ภาค 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (6 หน่วยกิต) ENG 2002 (EN 202) การอ่านตีความภาษาอังกฤษ THA 1002 (TH 102) ความรู้ทั่วไปทางวรรณคดีไทย
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (6 หน่วยกิต) MCS 1250 (MCS 2200,MC 220) การหนังสือพิมพ์เบื้องต้น MCS 1350 (MCS 1300,MC 130) วาทวิทยา
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (6 หน่วยกิต) …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาโท (3 หน่วยกิต) ………………………………….
3 หน่วยกิต รวม
21 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 5 (ภาค 2) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (5 หน่วยกิต) GAS 2802 (GS 231) เกมเบ็ดเตล็ด PHI 1003 (PY 103) ปรัชญาเบื้องต้น
2 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (6 หน่วยกิต) MCS 2150 (MCS 2100,MC 210) การประชาสัมพันธ์เบื้องต้น MCS 2260 (MCS 2201,MC 221) การรายงานข่าว
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (6 หน่วยกิต) …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาโท (3 หน่วยกิต) ………………………………….
3 หน่วยกิต รวม
20 หน่วยกิต
11 ภาคการศึกษาที่ 6 (ภาคฤดูร้อน) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (3 หน่วยกิต) INT 1005 (IT 105) ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
3 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (3 หน่วยกิต) MCS 2390 (MCS 2108, MC 218) เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารมวลชน
3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (3 หน่วยกิต) ………………………………….
3 หน่วยกิต
หมวดวิชาโท (3 หน่วยกิต) ………………………………….
3 หน่วยกิต รวม
12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 7 (ภาค 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลือกเรียน 1 กระบวนวิชา 3 หน่วยกิต PSY 1001 (PC 103) จิตวิทยาทั่วไป POL 1100 (PS 103) รัฐศาสตร์ทั่วไป
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกนบังคับ (6 หน่วยกิต) MCS 3190 (MCS 4603,MC 463) จริยธรรมสื่อสารมวลชน MCS 4190 สื่อมวลชนอาเซียนและสื่อมวลชนโลก
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (6 หน่วยกิต) …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี (3 หน่วยกิต) ………………………………….
3 หน่วยกิต รวม
18 หน่วยกิต
12 ภาคการศึกษาที่ 8 (ภาค 2) หมวดวิชาแกนบังคับ (6 หน่วยกิต) MCS 2170 การรู้เท่าทันสื่อ MCS 4170 (MCS 4106,MC 416) การวิจัยสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเอก (6 หน่วยกิต) …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี (6 หน่วยกิต) …………………………………. ………………………………….
3 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต รวม
18 หน่วยกิต