จดหมายข่าว
www.thaiyogainstitute.com
คุยกันก่อน ปฏิทนิ กิจกรรม กิจกรรมของเครือข่าย คุณถาม เราตอบ เก็บมาเล่า (1) สะกิดสะเกา ตําราดัง้ เดิม แนะนําหนังสือ เก็บมาเล่า (2) เกร็ดความรูโ้ ยคะ เล้งเล่าเรือ่ ง
วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ
ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2554
2 โยคะพืน้ ฐาน, โยคะในสวนธรรม, ... 2 ถุงผ้าชายผ้าเหลืองข้างเตียง 2 อุชชายี 3 วินยาสะ 4 คําถามทีไ่ ม่มคําตอบถูกผิด 5 ลําดับการเดินทางของจิตเข้าสู่สภาวะไกวัลย์ 5 ศาสตร์และศิลป์แห่งโยคะ 8 3 X 8 = 23 8 การหายใจ 10 อหิงสาและความกลัว 13
จดหมายข่าว โยคะสารัตถะ วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ ที่ปรึกษา แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กองบรรณาธิ การ กวี คงภักดีพงษ์, จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี, จีระพร ประโยชน์วบิ ลู ย์, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปิยมหันต์, ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี, ธนวัชร์ เกตน์วมิ ตุ , ธัญยธรณ์ อรัณย์ชลาลัย, ธีรนิ ทร์ อุชชิน, พรจันทร์ จันทนไพรวัน, รัฐธนันท์ พิรยิ ะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผ่งาม, วีระพงษ์ ไกรวิทย์, ศันสนีย์ นิรามิษ, สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ, สุจติ ฏา วิเชียร
สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะปิ กทม.10240 โทรศัพท์ 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล์ yogasaratta@yahoo.co.th เว็บไซท์ www.thaiyogainstitute.com
สิ่ งตีพิมพ์ โยคะสารัตถะ กุมภา 54 1
การได้มโี อกาสทําจดหมายข่าวสือ่ สารกับ เพื่อนครู ช่วงปีใหม่ ได้รบั ข่าวคราวจากเครือข่ายครู ทัง้ ทาง ทุกปลายเดือนจึงได้นงนิ ั ่ ง่ เขียนคําทักทาย ซึง่ ทําให้เห็นเลย เวบไซท์ เฟซบุค สคส. ฯลฯ หลายรายไม่ได้ตดิ ต่อกันนานเลย ว่า วันคืนช่างผ่านไปอย่างรวดเร็วเหลิอเกิน และทําให้คดิ รูส้ กึ ดีใจ โดยเฉพาะเมื่อรูว้ ่าส่วนใหญ่กย็ งั มีโยคะเป็ นวิถี และ ต่อไปว่า จะมัวโอ้เอ้ไม่ได้ ต้องรีบดําเนินชีวติ ให้บรรลุ อยากบอกมายังทุกๆ คนว่า คอยสือ่ สารกันนะ แค่กริง๊ แค่เมล์ เป้าหมายสูงสุดโดยไม่ประมาท สัน้ ๆ กันนี่แหละ และไม่ตอ้ งรอไปถึงต้นปี 2555 หรอกนะ ____________________________________________________________ จิ ตสิ กขา วันเสาร์ท่ี 19 กุมภาพันธ์ 9.00 – 12.00 น. คุยกัน การพัฒนาจิตของแต่ละคนในช่วง 1 เดือนทีผ่ ่านมา” ที่ เรื่องของ “อริยสัจ 4” พร้อมกับ “แลกเปลีย่ นประสบการณ์ สํานักงาน สถาบันฯ ซอยรามคําแหง 36/1 --------------------------------------------------------โยคะอาสนะขัน้ พืน้ ฐานเพือ่ ความสุข จัดขึน้ ในวันอาทิตย์ 6 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขมุ วิท ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 9.00-15.00 น. ทีห่ อ้ ง 262 ชัน้ 23 (ซอยประสานมิตร) ---------------------------------------------------------เชิญอัพเดทข่าวสถาบันฯ เป็ น fan ในเฟสบุ๊คที่ http://www. และทาง Twitter ที่ http://twitter.com/yogathai facebook.com/pages/thaiyogainstitute/208189084154 --------------------------------------------------------โยคะในสวนธรรม เชิญเข้าร่วมกิจกรรม “โยคะในสวน 16 ก.พ. โยคะในสวนสวนธรรม รัฐธนันท์ – กฤษณ์ ธรรม” ปี 2554 นี้ ทุกวันเสาร์ทส่ี ข่ี องเดือน เวลา 10.00 – 26 ก.พ. โยคะสลายเครียด กฤษณ์ ฟกั น้อย - เพื่อนครูรุ่น 10 ไม่เสียค่าใช้จา่ ย มีการตัง้ กล่องรับบริจาค เพื่อช่วย 12.00 น. และ ทุกเย็นวันพุธทีส่ าม ของเดือน เวลา 17.00 – และค่าเดินทาง 18.30 น. ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส สวนวชิรเบญทิศ ถ. สมทบค่าสาธารณูปโภคให้กบั ฝา่ ยอาคาร วิทยากร วิภาวดีรงั สิต (หลังตึก ปตท. ห้าแยกลาดพร้าว) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------ร่วมกันบําเพ็ญประโยชน์ เพื่อผูป้ ว่ ยทีร่ อรับกําลังใจ โครงการ “อาสาเติ มใจผูป้ ่ วย: ศิ ลปะภาวนาบนถุงผ้าชาย จากทุกท่าน ผ้าเหลืองข้างเตียง” ครังที ้ ่6 ชีวติ สิกขา เครือข่ายเพื่อการเรียนรูแ้ ละเข้าใจชีวติ วันอาทิ ตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.00-15.00 น. ณ เชิญชวนทุกท่านร่วมฝึกสมาธิกบั การปกั ผ้าด้วยลวดลายต่างๆ ลานอเนกประสงค์ ชัน้ 1 หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส (ในสวน โดยมีชายผ้าเหลืองพระ เป็ นส่วนประกอบบนถุงผ้าทีจ่ ะนําไป รถไฟ) สอบถามรายละเอียดเพื่อเติม และ/หรือ แจ้งความ ใส่หนังสือธรรมะ / หนังสือสวดมนต์เพื่อส่งมอบให้ผปู้ ว่ ยในกิจ ประสงค์บริจาคหนังสือธรรมะ/บทสวดมนต์ได้ท่ี เครือข่าย ชีวติ สิกขา: ครูดล 087-678-1669 ครูแดง 089-983-4064 กรรมคลินิกธรรมะตามโรงพยาบาลต่าง ๆ .......................................................................................... เดือน มกราคม 2553 มีผบู้ ริจาคสนับสนุนการทางานของสถาบันฯ ดังนี้ เพื่อนครู ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมจิตสิกขาประจําเดือนมกราคม ครูเอกชัย สถาพรธรพัฒน์ (ครูเล็ก) สรุปยอดบริจาคประจําเดือนมกราคม 2554 ทัง้ สิน้
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 2
470.- บาท 900.- บาท 1,370,.- บาท
อุ ช ช า ยี วันนี้มเี รื่องเรียนถามครับ อุชชายี ผมอ่านพบใน หนังสือสารคดีว่า การทําอุชชายีใช้การหายใจด้วยทรวงอก เลยสงสัยว่า มันต้องทรวงอกเท่านัน้ หรือหายใจด้วยท้องก็ได้ สิง่ สําคัญของอุชชายีคอื อะไร ตอนเรียนคิดว่าสิง่ สําคัญคือ เสียงเพื่อใช้กาํ หนดจิต และการหายใจด้วยท้องน่าจะสงบ กว่า การหายใจด้วยอก ผมเข้าใจผิดหรือปล่าวครับ และการทําอุช ชายีควรใช้อะไรหายใจ ท้อง-อก หรืออะไรก็ได้ครับ ตอบ การหายใจตามปกติ กับการควบคุมลมหายใจที่ เรียกว่าปราณายามะ มองในแง่หนึ่งก็มาจากพืน้ ฐานการ หายใจเดียวกัน ส่วนในอีกแง่หนึ่งนัน้ มันมีเป้าหมายที่ แตกต่างกัน เรียกว่า ทัง้ 2 อย่างนี้ มีบางอันทีเ่ หมือนกัน ร่วมกัน มีบางอันทีต่ ่างกัน ทีน้กี ข็ น้ึ อยู่กบั ว่า หนังสือเล่มหนึ่ง หรือ ครูคนหนึ่งทีก่ าํ ลังอธิบายนัน้ ท่านอธิบายไปในแง่มมุ ไหน ขณะทีเ่ ราคนอ่าน คนฟงั กําลังรับรูใ้ นแง่มมุ ไหน จึงมีบา้ งทีเ่ กิด คําถาม อย่างทีก่ าํ ลังถามนี่เอง ขอท้าวความเล็กน้อย พืน้ ฐานของการหายใจนัน้ เกีย่ วข้องทัง้ กับท้องและอก เมื่อหายใจด้วยกล้ามเนื้อซีโ่ ครง เป็ นหลัก ความรูส้ กึ กระเพื่อมของอกก็จะรับรูไ้ ด้อย่างชัดเจน เมื่อหายใจด้วยกระบังลมเป็ นหลัก ก็รบั รู้ทท่ี อ้ งได้มาก ยิง่ ถ้ามี การใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วย ความรูส้ กึ เคลื่อนไหวทีห่ น้า ท้องก็ยงิ่ ชัด ธรรมชาติมอบหมายให้กล้ามเนื้อ 2 ส่วนนี้ช่วยกัน ทํางาน ซึง่ แม้จะช่วยกันรับผิดชอบในการหายใจเหมือนกัน ก็ มีลกั ษณะต่างกันอยูบ่ า้ ง กล้ามเนื้อซีโ่ ครงอยู่ใกล้ปอด เวลา ขยับแต่ละที ก็มผี ลต่อการขยาย-หดตัวของปอดมาก เมื่อ หายใจด้วยกล้ามเนื้อชุดนี้ ปริมาตรอากาศจึงเข้า-ออกรอบละ มากๆ ส่วนกล้ามเนื้อกระบังลมอยู่ใต้ปอด เวลาขยับตัว ไม่ได้ ไปเพิม่ -ลดปริมาตรในปอดมากนัก ลมหายใจจึงน้อย เบา โดยร่างกายก็จะเลือกใช้งานตามแต่สถานการณ์ เช่น ขณะ กําลังพักสบายๆ ไม่ตอ้ งการอากาศมาก ก็หายใจทีท่ อ้ งไป เบาๆ ผ่อนคลายๆ แต่ถา้ กําลังเล่นกีฬา ตื่นเต้น ใช้พลังมาก ก็มาหายใจทีอ่ กเป็ นหลัก เอาอากาศเข้าไปให้พอกับการใช้ งาน ทรวงอกกระเพื่อมแรง ใช้แรง ตื่นตัว มี 3 ประเด็นในคําถามนี้ ผมลองแยกอธิบายนะครับ การควบคุมลมหายใจแบบปราณายามะ ทําให้เรา หายใจช้าลง ซึง่ ตามหลักแห่งความสมดุล การหายใจทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละครัง้ จึงต้องเอาอากาศเข้าไปเยอะๆ (และเรารูว้ ่า หายใจด้วยกล้ามเนื้อซีโ่ ครงจะได้ปริมาตรอากาศมาก) นี่เป็ น
โดย กอง บ.ก. เหตุผลว่า ตําราโยคะโบราณระบุว่า การฝึกปราณ ให้หายใจ ด้วยทรวงอกเป็ นหลัก อุชชายี คือปราณชนิดหนึ่ง ตําราจึง ระบุว่า ฝึกอุชชายี ให้ใช้การหายใจด้วยทรวงอก ประเด็นถัดมา ลักษณะเด่นของอุชชายีคอื การ หายใจพร้อมกับเปล่งเสียงเบาๆ ในลําคอตลอดเวลา โดยให้ จิตไปกําหนดทีเ่ สียง ความฟุ้งกระจายของจิตลดลง จิตจดจ่อ ผลก็คอื จิตสงบลง เข้าสูส่ มาธิ ซึง่ เมื่อเป็ นดังนี้ คําถามจึงถาม ว่า ถ้างัน้ เรายังต้องไปใส่ใจเรื่อง หายใจด้วยอกอีกหรือ คําตอบก็คอื ในเมื่อการเปล่งเสียงเบาๆ ในลําคอตลอดเวลา ของการหายใจเป็ นลักษณะสําคัญ ทีต่ อ้ งคํานึงก็คอื เราจะ ประคองให้เสียงนี้ดาํ เนินไปอย่างต่อเนื่องได้นานแค่ไหน ถ้า การหายใจของเราสัน้ เสียงในลําคอก็มแี นวโน้มจะเกิดและ ขาดหายไปในช่วงเวลาสัน้ ๆ แต่ถา้ เราหายใจได้ยาว ทําให้ เกิดเสียงเบาๆ อย่างต่อเนื่องได้ยาว จิตทีม่ าจดจ่ออยู่กบั เสียง ก็รวมลงเป็ นสมาธิได้ดี หมายความว่า เราไม่ได้ตงั ้ ใจหายใจ ด้วยทรวงอกหรอก แต่คงเป็ นการยากทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการ หายใจด้วยทรวงอกน่ะ เพราะมันเป็ นฐานให้เกิดการหายใจที่ ใช้เวลานานกว่าปกติ ประเด็นสุดท้ายเป็ นเรื่องทีห่ ลายคนสงสัย คือ พบว่า การหายใจด้วยท้องนัน้ ผ่อนคลาย และรูส้ กึ สงบ ซึง่ ความสงบ ก็เป็ นสภาวะทีเ่ ราอยากให้เกิดในขณะฝึกปราณ ส่วนการ หายใจด้วยทรวงอกนัน้ ออกไปในทางตื่นตัว และพบว่าสงบ น้อยกว่าหายใจด้วยท้อง คําตอบก็คอื ในเบือ้ งต้นของการฝึก หลายคนรูส้ กึ เช่นนัน้ จึงอยากแนะนําว่า ลองฝึกต่อเนื่องไปสัก ช่วงหนึ่ง จนเราสามารถหายใจด้วยทรวงอกได้โดยไม่รสู้ กึ ว่า ต้องออกแรง ไม่รสู้ กึ เหนื่อยเกินกว่าปกติ เมื่อเราฝึกได้ดงั นัน้ การหายใจด้วยทรวงอกจึงไม่เป็นการรบกวน ในขณะเดียวกัน เรายังคงหายใจเป็ นจังหวะทีส่ มํ่าเสมอ เราหายใจช้าลงๆ ความสงบก็เกิดขึน้ ได้ ไม่ต่างจากความรูส้ กึ สงบจากการ หายใจด้วยหน้าท้อง และเป็ นความสงบทีก่ นิ เวลานานขึน้ น่ะ ฝากพิ จารณานะ บางทีคาํ ถามอาจเกิดจากความ ขัดแย้งระหว่างเป้าหมาย กับ วิถกี ารปฏิบตั ิ เกิดจากความไม่ เสมอกันระหว่างเป้าหมายกับการปฏิบตั ิ เช่น เราเข้าใจแล้ว ว่า เป้าหมายของอุชชายีคอื ความสงบ เป็ นสมาธิ ซึง่ ในการ ปฏิบตั ิ ณ ขณะนี้ เราทําตามตําราแล้วไม่ได้ผล แต่ทาํ ตาม ศักยภาพของเราเองได้ผลกว่า ก็ฝึกไปเท่าทีเ่ ราทําได้ โดยให้ ตระหนักข้อเท็จจริงนัน้ และยังคงฝึกต่อไป เมื่อศักยภาพเรา เพิม่ ขึน้ เป้าหมายมันก็จะขยับขึน้ ไปเอง เรียกว่า มันจะผลัด กันนํา เพื่อค่อยๆ พาเราไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุดครับ
..............................................................................................................
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 3
ก่อนอื่นผมขออนุญาตเล่าซํ้าเกีย่ วกับคําสันสกฤตทีว่ ่า "วิ นยา สะ" เผื่อว่าบางท่านทีไ่ ม่เคยผ่านตาหรือยังไม่คนุ้ ชินกับคํานี้ จะได้พอมีภาพ
โดย ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ ั บนั ซึง่ ในบริบทของการฝึกโยคะและการฝึก viniyoga ในปจจุ อาสนะจะหมายถึง การเรียงลําดับการฝึกโยคะ เช่น การ เรียงลําดับอาสนะทีเ่ ราจะฝึก (อย่างไรก็ตาม หลังจากเคีย่ ว กรําความคิดตัวเองในทุกๆ ก้าวทีย่ ่าํ ย่างบนเส้นทางการฝึก อาสนะ ผมตกผลึกทางความคิดว่า เราอาจแบ่งวินยาสะใน บริบทของการฝึกโยคะและอาสนะได้เป็ น ๔ หรือ ๕ ขอบเขต ซึง่ คง(ยัง)ไม่แลกในทีน่ ้คี รับ
จากความรูใ้ นคําสันสกฤตบางคําในบริบทของโยคะ และ อายุรเวททีผ่ มพอจะมีอยู่เล็กน้อย คําว่า "วิ นยาสะ" มาจาก การสนธิ(แปลว่า เชื่อมหรือรวม)ระหว่างคําว่า "วิ "และ "นยา สะ"
กว่ายีส่ บิ ปี ทีน่ บั ตัง้ แต่ไปรํ่าเรียนการฝึกอาสนะกับครูทอ่ี นิ เดีย ความคิดเรื่องวินยาสะของผมค่อนข้างจะจํากัด และเด่นชัด เฉพาะในบริบทของการฝึกอาสนะในความหมายอย่างทีเ่ ล่ามา ในย่อหน้าก่อน
ฉบับนี้ เก็บเมล์ทอ่ี าจารย์ธรี เดช อุทยั วิทยารัตน์ (พี่ เละ) ส่งถึงเพื่อนมาแบ่งปนั ให้พวกเราอ่าน วิ น ย า ส ะ
คําว่า "นยาสะ" (น่าจะ)มาจากรากศัพท์ "นยัส" ซึง่ มี กระทังเช้ ่ าวันหนึ่ง ความหมายว่า "วางลง" (put down, lay down) กิจวัตรประจําวันของผมยังคงเป็นเช่นวันอื่นๆ นยาสะ จึงมีความหมายว่า "การวางลง" หรืออาจหมายถึง ตื่น(ค่อนข้าง)เช้า นอนนิ่งๆ สักพักเพื่อสํารวจตรวจสภาพ การเรียงลําดับ โดยเฉพาะเมือ่ ใช้ในบริบทของการฝึกโยคะ ร่างกายและจิตใจ(สวาธยายะ) ลุกขึน้ ดื่มนํ้าอุ่น แปรงฟนั เข้า และอาสนะในสายหรือแนวทางของท่านกฤษณมาจารยา ซึง่ ส้วม กลับเข้าห้องสวดมนตร์ และฝึกอาสนะตามด้วยการฝึก เป็ นผูก้ ่อตัง้ สํานักโยคะทีม่ ชี ่อื ว่า Krishnamacarya Yoga หายใจ Mandiram ปจั จุบนั สํานักหรือสถานทีส่ อนโยคะตามแนวทางนี้ ออกมาในครัวเพื่อต้มนํ้าด้วยกระติกนํ้าร้อนไฟฟ้า มักใช้ช่อื ว่า Viniyoga ส่วนคําว่า "วิ " หมออายุรเวทซึง่ เป็ นทัง้ ครูและเพื่อนสนิทของ ทุกอย่างคล้ายจะดําเนินไปตามปกติเฉกเช่นวันก่อนๆ ผมเคยบอกว่ามาจาก "วิเศษะ" ซึง่ แปลว่า เฉพาะหรือ แตกต่าง Sanskrit-English dictionary ระบุว่า คําว่า vi อาจ มาจากรากศัพท์ dvi หรือ ทวิ ซึง่ มีความหมายว่า "เป็ นสอง ส่วน" (in two parts) ซึง่ ตรงข้ามกับ "รวมกัน" พจนานุกรมเล่มเดียวกัน ยังให้ความหมายของคําว่า vi ต่อไป อีกว่าหมายถึง แยก(apart), ในทิศทางทีแ่ ตกต่างกัน(in different directions), ไปและกลับ(to and fro), ห่างจากหรือ ห่างออกไป(away, away from) คําว่า vi เมื่อใช้เป็ นคํานําหน้ากริยาหรือนาม มักจะเน้นถึงนัย ยะของ "การแบ่งแยก"(division) หรือ "ความแตกต่าง" (distinction), การจัดการ(arrangement), ลําดับ(order) เพราะฉะนัน้ เมื่อเอาคําว่า "วิ " สนธิกบั คําว่า "นยาสะ" จึง กลายเป็ น "วินยาสะ" ซึง่ อาจให้ความหมายโดยรวมว่า การจัด วางหรือการเรียงลําดับ(ของสิง่ ใดหรือกิจกรรมและการกระทํา ใดก็แล้วแต่) อย่างทีก่ ล่าวในตอนต้นว่า คํานี้เป็ นคําทีใ่ ช้อย่างแพร่หลายใน แนวการฝึกโยคะและอาสนะ ของท่านกฤษณมาจารยาหรือ โยคะสารัตถะ กุมภา 54 4
ทว่าในจังหวะทีผ่ มเสียบปลักกระติ ๊ กนํ้าร้อน จู่ๆ ผมก็วาบ ขึน้ มาในใจว่า เช้าวันนี้มบี างอย่างผิดแผกไปจากวันอื่นๆ ครุ่นคิดอยู่ชวครู ั ่ ่ ผมจึงถึงบางอ้อว่า สิง่ ทีต่ วั เอง "เปี๊ยนไป๋" ใน วันนี้คอื วันนัน้ ผมเทนํ้าในกระติกนํ้าร้อนทีเ่ หลือในกระติกใส่ ในคูลเลอร์และปิ ดฝาคูลเลอร์เสร็จเรียบร้อยแล้วจึงมาเปิ ดก๊อก รองนํ้าใส่กระติกนํ้าร้อน ตามด้วยต่อสายไฟและเสียบปลักเข้ ๊ า กับเบ้าบนผนัง ในขณะทีท่ ุกๆ วันก่อนหน้านัน้ หลังจากเทนํ้าทีเ่ หลือใน กระติกนํ้าร้อนใส่ในคูลเลอร์แล้ว ผมจะเอากระติกมารองนํ้า จากก๊อกและเสียบปลัก๊ เสร็จแล้วจึงค่อยไปปิ ดฝาคูลเลอร์ ที่ เรียงลําดับการกระทําเช่นนี้ ด้วยความคิดว่านํ้าจะได้รอ้ นเร็ว ขึน้ (อีกนิด) เพราะผมเสียบปลักก่ ๊ อนแล้วค่อยไปปิ ดฝาคูลเลอร์ แต่สงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื บ่อยครัง้ ทีผ่ มมักลืมปิ ดฝาคูลเลอร์ หลังจากเสียบปลักกระติ ๊ กนํ้าร้อนแล้ว วันนัน้ ผมไม่ลมื ปิ ดฝาคูลเลอร์ครับ เพราะพอเทนํ้าจากระติก นํ้าร้อนใส่คลู เลอร์เสร็จผมก็ปิดฝาคูลเลอร์เลย แล้วจึงไปรอง นํ้าใส่กระติกก่อนเสียบปลัก๊
หลังจากเฉลียวใจว่าวันนัน้ ผมสลับสับเปลีย่ นวิธตี ม้ นํ้าร้อนของ ผม ซึง่ ทําให้ผมไม่ลมื ปิ ดฝาคูลเลอร์ ผมก็วาบขึน้ ในใจอีกครัง้ ว่า เฮ้ย! นี่มนั ก็คอื วินยาสะเหมือนกันนี่หว่า นับแต่วนั นัน้ เป็ นต้นมา ผมพบว่าคําว่า "วินยาสะ" ซึง่ หมายถึง การเรียงลําดับการกระทําหรือสิง่ ต่างๆ นัน้ หาใช่จาํ กัดเฉพาะ ในการฝึกอาสนะหรือโยคะเท่านัน้ ในชีวติ ประจําวันของเรา นับแต่ต่นื นอนจนกระทังเอนตั ่ วลง พักกายผ่อนใจในยามคํ่าคืน ล้วนแต่รอ้ ยเรียงไปด้วยกิจกรรม ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นทีบ่ า้ น ทีท่ าํ งาน หรือกระทังไปเที ่ ย่ ว ทัศนาจร ฯลฯ กิจกรรมเหล่านี้ต่างก็มลี าํ ดับของมัน บางอย่าง ก็เป็ นไปตามสัญชาตญาน ในขณะทีบ่ างการกระทําก็อาจต้อง วางแผนว่าควรทําอะไรก่อนหลัง
เช้าวันนัน้ ทุกอย่างคล้ายจะดําเนินไปตามปกติเฉกเช่นวันก่อนๆ ถึงกระนัน้ ก่อนๆ
ยังคงมีบางอย่างทีผ่ ดิ แผกแตกต่างไปจากวัน
นันคื ่ อ เช้าวันนัน้ ผมได้หลักคิดหรือหลักการบางอย่างใน(การ ฝึก)อาสนะและโยคะ หาได้จาํ กัดเฉพาะในบริบทของอาสนะ เท่านัน้ ไม่ พูดอีกแบบว่า เอาเข้าจริงแล้ว อาสนะและโยคะหาได้แยกขาด จากมิตอิ ่นื ๆ ของชีวติ เราไม่ ขอบคุณเมล์ของพีย่ ง ครัง้ ครับ
ทีท่ าํ ให้ผมนึกถึงเรื่องราวในวันนัน้ อีก
........................................................................................... โดย สดใส คาถามที่ไม่มีคาตอบถูกผิด (เพราะตัวคําถามก็เป็ นคําตอบไปในตัว) หากคุณมีโอกาสให้คาํ แนะนําเด็กแรกเกิดคนหนึ่งเพียง 1 เรื่อง คุณจะแนะนําเด็กคนนี้ว่าอะไร If you could offer a newborn child only one piece of advice, what would it be? คุณต้องตัดสินใจเดีย๋ วนี้ ประเด็นก็คอื ว่า คุณจะตัดสินใจเอง หรือ จะให้คนอื่นช่วยตัดสินใจแทนคุณ Decisions are being made right now. The question is: Are you making them for yourself, or are you letting others make them for you?
เหตุการณ์ใด ทีค่ ุณมีความสุขทีส่ ดุ ในวัยเด็ก และอะไรทําให้เหตุการณ์นนั ้ พิเศษกว่าเรื่องอื่นๆ What is your happiest childhood memory? What makes it so special? ทําไมคุณเป็ นคุณแบบนี้ Why are you, you? อะไรทีค่ ุณอยากจะทําแต่ไม่ได้ทาํ และอะไรขวางคุณเอาไว้ What one thing have you not done that you really want to do? What’s holding you back? .............................................................................................. โดย วีระพงษ์ ไกรวิทย์ และจิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี แปลและเรียบเรียง จารย์รุ่นก่อนถึงคิดว่าสมาปตั ติทงั ้ สีน่ นั ้ คือสมาธิ พวกท่านก็ได้ ลาดับการเดิ นทางของจิ ตเข้าสู่สภาวะไกวัลย์ ั เหล่านี้ ว่าเป็ นสมาธิโดยการใช้คาํ เพศชาย ประโยคที่ ๑:๔๖ ในโยคสูตรกล่าวว่า “ตา เอวะ สพี อ้างชื่อสมาปตติ ชะห์ สมาธิ ห”์ หมายความว่า สิง่ เหล่านัน้ เป็ นสพีชะสมาธิ คํา (ตามไวยากรณ์สนั สกฤต) เรียกชื่อของสมาปตั ติ เช่น ใช้คาํ 1 ว่า “ตา” (สิง่ เหล่านี้) ในทีน่ ้ใี ช้แทนคําว่า สมาปตั ติ ทัง้ สีท่ เ่ี พิง่ ว่าสวิตรรกะ สวิจาระ ฯลฯ แต่เราก็ได้เคยอธิบายเน้นยํา้ อย่าง ั ไม่ใช่สมาธิ2 ในประโยคนี้โดยตัวมัน ได้อธิบายไปในประโยค ๑:๔๒-๔๔ สมาปตั ติเหล่านี้ถูก ชัดแจ้งแล้วว่าสมาปตติ ั เองแล้วสามารถเห็นได้ชดั ว่า ทัง้ คําว่าสพีชะและสมาธิต่างก็ เรียกว่าสพีชะสมาธิ หมายความว่า แต่ละอย่างของสมาปตติ ทัง้ สีค่ อื สพีชะสมาธิ นี่อาจเป็ นเหตุผลทีว่ ่าทําไมอรรถกถา อยู่ในรูปเอกพจน์ (ดูตามไวยากรณ์สนั สกฤต) ด้วยสิง่ นี้ทาํ ให้ เราเห็นชัดว่า แต่ละสมาปตั ติของทัง้ สี่ ไม่ใช่สมาธิแต่ละอย่าง 1
สมาปั ตติเป็ นคาในภาษาสันสกฤต ในทางพุทธ(ภาษาบาลี) ใช้คาว่า สมาบัติ แปลว่า ถึงพร้อม หมายถึงการเข้าถึงอารมณ์ของสมาธิในระดับฌาน (ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/grammathan/meditation.html)
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 5
2
โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากบทความเรื่ อง กระบวนการชาระจิตให้ บริสุทธิ์ ตอนที่ ๒ (ประโยคที่ ๑:๔๓) ในจดหมายข่าวโยคะสารั ตถะฉบับ เดือนตุลาคม ๒๕๕๓
ั ทงั ้ สีน่ นั ้ แต่สมาปตติ ทําให้เกิดสมาธิหนึ่งเดียวคือสพีชะ (เพราะอยู่ในรูปเอกพจน์) ดังนัน้ ตามทีไ่ ด้อธิบายไปก่อนหน้านี้ แล้ว สพีชะสมาธิเป็ นสภาวะซึง่ จิตตะ (จิต) สามารถรักษา สภาพเช่นนี้ได้เป็ นเวลานานช่วงหนึ่งอาจเป็ นเดือนหรือเป็ นปี และเป็ นจุดสูงสุดของขัน้ ตอนทัง้ สีข่ องสมาปตั ติ คําว่า “สพีชะ” หมายถึง “ด้วยเมล็ด” ชีใ้ ห้เห็น อย่างชัดเจนว่าคือบางสิง่ ซึง่ เหมือนกับเมล็ด นันคื ่ อเป็ นสิง่ ทีม่ ี ขนาดเล็ก และมีศกั ยภาพทีจ่ ะเจริญงอกงามเติบโตเป็ นต้นไม้ เฉกเช่นเดียวกับสมาธิในขัน้ นี้ เมล็ดนี้อาจจะเป็ นวัตถุทเ่ี ลือกใช้ทาํ สมาธิ หรือเป็ น จิตตะ(จิต) หรือเป็ นจิตสํานึกรู้ เมื่อผูฝ้ ึกปฏิบตั เิ ลือกวัตถุทใ่ี ช้ ทําสมาธิ วัตถุนนั ้ อาจจะเป็ นสิง่ ทีห่ ยาบหรือสิง่ ทีจ่ บั ต้องได้ใน โลกภายนอก ความจริงแล้วไม่ได้มขี อ้ จํากัดว่าควรจะเลือกสิง่ ใดมาเป็ นวัตถุสาํ หรับทําสมาธิ ดังนัน้ ตามทฤษฎีแล้วสิง่ ทีใ่ ช้ ทําสมาธิจะเป็ นอะไรก็ได้ อย่างไรก็ตามทัศนะแห่งความ เคารพนับถือและความภักดีอย่างลึกซึง้ (ต่อวัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิ) จะเป็ นประโยชน์ และเป็ นทีต่ อ้ งการสําหรับกระบวนการของ สมาธิ เพราะว่าด้วยวัตถุเช่นนัน้ จิตจะมีความโน้มเอียงทีจ่ ะเฝ้า สังเกตวัตถุนนั ้ อย่างเป็ นธรรมชาติ ด้วยเหตุผลเช่นนี้โดยทัวไป ่ แล้วผูป้ ฏิบตั จิ งึ คาดหวังทีจ่ ะเลือกวัตถุอย่างหนึ่งเช่น เทพเจ้า หรือครูอาจารย์ทต่ี นเคารพนับถืออย่างสูงสุด เพื่อใช้ทาํ สมาธิ ในกรณีน้ผี ปู้ ฏิบตั ยิ ่อมสร้างภาพเทพเจ้าหรือครูอาจารย์นนั ้ ขึน้ ในใจของตน ในอีกแง่หนึ่งหากวัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ น นามธรรม เช่น ความกรุณา ฯลฯ เริม่ ต้นผูป้ ฏิบตั จิ ะต้อง กําหนดรูปแบบทีจ่ บั ต้องได้ ต่อวัตถุทเ่ี ป็ นนามธรรมนัน้ และ สร้างภาพนัน้ ขึน้ ในใจ หากดูจากตัวอย่างข้างต้นคือ ความ กรุณา เขาอาจกําหนดรูป(ทีจ่ บั ต้องได้)ของเทพเจ้าสตรีให้กบั ความกรุณาซึง่ เป็ นวัตถุนามธรรมทีจ่ ะใช้ทาํ สมาธิ จากนัน้ ก็ “คิด” หรือสร้างภาพเกีย่ วกับสตรีเทพนัน้ ตามแนวคิดทีไ่ ด้ กําหนดไว้ซง่ึ เขาอาจจะมีอยู่แล้วในใจ (คือรายละเอียดของ ภาพสตรีเทพนัน้ ) ด้วยวิธกี ารนี้ ภาพทีเ่ กิดขึน้ ในใจโดยตัวมันเองแล้ว เป็ นสิง่ ทีล่ ะเอียดเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุทจ่ี บั ต้องได้ภายนอก ทีจ่ ุดสิน้ สุดของสมาปตั ติ เมื่อจิตตะ (จิต) ก้าวเข้าสูข่ นั ้ สพีชะ สมาธิ ภาพในใจอันละเอียดอ่อนนี้จะสลายตัวไปเนื่องจากใน ขัน้ นี้กระบวนการคิดจะสิน้ สุดลง ตามทีไ่ ด้อธิบายไว้แล้วว่า หลังจากขัน้ นิรวิจาระสมา ปตั ติ จิตตะ(จิต) จะเข้าสูพ่ น้ื ทีข่ องอานันทะซึง่ จิตได้เปิ ดเผย ธรรมชาติอนั แท้จริงของตัวมันเองออกมา แต่ในตอนแรกจิตจะ รูส้ กึ ว่าสภาวะทีเ่ กิดขึน้ นี้ เป็ นผลมาจากวัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิ ดังนัน้ ในสพีชะสมาธิ จิตจะรับรูถ้ งึ สภาวะอานันทะหรือปี ตริ าว
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 6
กับว่ามันเกิดขึน้ จากวัตถุนนั ้ เราอาจกล่าวได้ว่าขณะนี้จติ ได้มี ประสบการณ์ต่อวัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิว่า วัตถุนนั ้ ก่อให้เกิดสภาวะ อานันทะหรือวัตถุนนั ้ เป็ นตัวอานันทะเอง ประสบการณ์อนั ละเอียดอ่อนต่อวัตถุในรูปของอานันทะจะเปลีย่ นแปลงไปสูข่ นั ้ ถัดไปนันคื ่ อ “เป็ นเพียงสานึ กรูว้ ่ามีตวั ฉัน” หรือ “อัสมิตา มาตระ” ซึง่ ก็เป็ นความรูส้ กึ ทีส่ าํ นึกรูแ้ ห่งตัวฉันของผูป้ ฏิบตั ิ เป็ นสิง่ เดียวกันกับสํานึกรูแ้ ห่งวัตถุ(เช่นเดียวกันกับเมื่อจิตเข้า สูส่ ภาวะอานันทะ) และดังนัน้ ความรูส้ กึ ทีว่ ่าสํานึกรูแ้ ห่งตัวฉัน นี้กเ็ ป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการเฝ้าสังเกตวัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิ ดังนัน้ ทัง้ ประสบการณ์ หรือความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ จากสภาวะอานันทะ และอัสมิตามาตระ จะถูกรับรูร้ าวกับว่ามันเป็ นผลมาจากตัว วัตถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธิทงั ้ สิน้ ประสบการณ์อนั แท้จริงของตัวจิตที่ รับรูว้ ตั ถุทใ่ี ช้ทาํ สมาธินนั ้ เป็ นประสบการณ์ทล่ี ะเอียดอ่อนทีส่ ดุ และไม่สาํ คัญว่าเราจะใช้วตั ถุทห่ี ยาบ(จับต้องได้) หรือละเอียด (นามธรรม-จับต้องไม่ได้) ในการทําสมาธิ ประสบการณ์อนั ละเอียดที่สุดของวัตถุในการทาสมาธิ นี้กค็ อื “เมล็ด” ของสพีชะสมาธิ เมล็ดนี้ จะค่อยๆ สลายตัวและหายไป เองในกระบวนการทาสมาธิ จากนัน้ จิ ตก็จะเข้าสู่สภาวะ “ไร้เมล็ด” หรือ นิ รพีชะสมาธิ เพราะว่าอัสมิตามาตระ กล่าวคือสํานึกรูแ้ ห่งการมี ตัวฉันในรูปแบบทีล่ ะเอียดทีส่ ดุ ได้ถูกทําให้สลายตัวไป ก็จะไม่ มีตวั ฉันซึง่ เป็ นผูร้ บั รูป้ ระสบการณ์หลงเหลืออยู่ นัน่ หมายความว่า “ฉัน” ซึง่ เป็ นผูร้ บั รูป้ ระสบการณ์ได้หายไป อย่างสิน้ เชิง ดังนัน้ แหล่งทีม่ าของประสบการณ์น้กี จ็ ะไม่ ปรากฏขึน้ อีกต่อไป และการเกีย่ วพันอยูใ่ นโลกแห่ง ประสบการณ์กไ็ ม่อาจมีได้อกี ต่อไป และเมล็ดพันธุท์ จ่ี ะเติบโต เป็ นต้นไม้ซง่ึ เกาะเกีย่ วกับโลกแห่งประสบการณ์ ก็ไม่อาจ เจริญงอกงามต่อไปได้เช่นกัน ดังนัน้ นิรพีชะสมาธิทส่ี มบูรณ์ จะนําไปสูก่ ารหลุดพ้น 3 เป็ นอิสระจากสังสารวัฏ หรือพ้นจากโลกียะ(การเกาะเกีย่ ว ผูกพันทางโลก) (โปรดดูบทความ “Meditational Processes in Patanjala Yoga Sutra”, Yoga Mimamsa, Vol. XIX, Nos. 1 and 2, pp. 81-99, 1981).
3
สังสารวัฏ หรื อ วัฏสงสาร หรื อ สงสารวัฏ คือภพภูมิที่มนุษย์ทุกคนต้อง เวียนว่ายตายเกิดขึ้นมาตามหลักของปรัชญาอินเดีย ในทางพุทธศาสนาก็มีการ กล่าวถึงสังสารวัฏว่าเป็ นการเวียนว่ายตายเกิดในภพภูมิต่างๆซึ่ งมีท้ งั สิ้ น 31 ภูมิ ได้แก่ อรู ปพรหม ๔ + รู ปพรหม ๑๖ + เทวภูมิ ๖ + มนุษยโลก ๑ + อบายภูมิ ๔(เดรัจฉาน อสุรกาย เปรต และนรก) (ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรม เสรี และhttp://www.lp-uthaiphuwua.com/pdf/pop.pdf)
ต่อมาในประโยคที่ ๑:๔๗ ของโยคสูตรกล่าวว่า “นิ ร วิ จารไวศารทเย ธยาตมประสาทะห์” แปลว่า สภาวะของนิ รวิจาระทีส่ มบูรณ์แล้ว (สภาวะทีไ่ ม่มคี วามคิดเกิดขึน้ ) ย่อม เกิดความสงบระงับแห่งจิตวิญญาณ ประโยคนี้กล่าวว่า จิตของผูป้ ฏิบตั จิ ะก้าวเข้าสูพ่ น้ื ที่ ทางจิตวิญญาณอย่างแท้จริง เมื่อเขามีความเชีย่ วชาญอย่าง สมบูรณ์ ผ่านขัน้ นิรวิจาราสมาปตั ติและจิตได้ตงั ้ มันอยู ่ ่ใน สภาวะทีป่ ราศจากความคิด ในขัน้ นี้ผปู้ ฏิบตั จิ ะสัมผัสกับแว้บ แรกของกฎความจริงทีอ่ ยู่เบือ้ งหลังอัตตาตัวตน (Self) เมื่อจิต เข้าสูส่ ภาวะสพีชะสมาธิ ซึง่ เป็นสภาวะอันสมบูรณ์ของนิรวิจา ราสมาปตั ติ ประสบการณ์รบั รูค้ วามจริงของอัตตาตัวตนนี้จะ ให้ความสงบระงับและความพึงพอใจเป็ นอย่างยิง่ ความรูส้ กึ ปี ตนิ ้มี คี วามหมายคล้ายคลึงกับคําว่า “อานันทะ” และสิง่ นี้อาจ เรียกว่า “สานันทะ” ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของสพีชะสมาธิ ดังนัน้ นี่ (สภาวะสพีชะสมาธิ) จึงเป็ นจุดเริม่ ต้นของประสบการณ์ทาง จิตวิญญาณอันแท้จริงของผูฝ้ ึกโยคะ ส่วนในประโยคที่ ๑:๔๘ ของโยคสูตรคือ “ฤตัมภรา ตตระ ปรัชญา” แปลว่า เมื่อเข้าสูน่ ิรวิจาราไวศารทยะหรือส 4 พีชะสมาธิแล้ว ย่อมเกิดปรัชญา (ปญั ญาญาณ) ซึง่ เป็ น สภาวะทีเ่ ต็มไปด้วยความจริงอันสมบูรณ์(ความจริงสูงสุดหรือ ความจริงแท้) ภายหลังจากทีก่ า้ วพ้นจากวิจาระ หรือขัน้ ทีย่ งั มี ความคิดอยูแ่ ล้วเข้าสูข่ นั ้ ของสพีชะสมาธิ ส่งผลให้โยคีเกิด ญาณพิเศษในการเข้าถึงความรูไ้ ด้โดยตรง ตามปกติแล้ว มนุษย์เราได้รบั ความรูผ้ ่านทางประสาทสัมผัสทัง้ ๕ ซึง่ เปรียบ เหมือนประตูหรือหน้าต่างของจิต จะมีบา้ งบางคนทีพ่ ฒ ั นามา ดีแล้ว อาจได้รบั ความรูผ้ ่านจิตโดยไม่ได้อาศัยประสาทสัมผัส ทัง้ ๕ มากนัก แม้กระนัน้ ในกลุม่ คนทีพ่ ฒ ั นามาดีแล้วดังกล่าว ก็มบี า้ งทีก่ ่อนหน้านี้ยงั ต้องใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ๕ ในการ ได้รบั ความรู้ แต่ฤตัมภราปรัชญาทีป่ รากฏในสพีชะสมาธิน้ี เป็ นความสามารถพิเศษของจิต ของโยคีทไ่ี ด้รบั ความรู้ เกีย่ วกับวัตถุต่างๆ โดยปราศจากการใช้งานของอินทรีย์ ประสาท(indriyas) ใดๆ และแม้แต่การใช้งานของใจ(มนัส)ที่ ทําหน้าทีน่ ึกคิดก็ไม่มี นี้คอื สิง่ ทีเ่ รียกว่า โยคะปรัตยกษะ เนื่องจากไม่มกี ารรับรูผ้ ่านทางประสาทสัมผัสทัง้ ๕ และใจ ความรูท้ ไ่ี ด้จงึ ไม่ถูกบิดเบือน หรือปรุงแต่งและดังนัน้ ความรูน้ ้ี จึงสอดคล้องหรือตรงตามความจริงแท้ของวัตถุ เราจึงเรียก 4
ปรัชญาในที่น้ ีหมายถึง ญาณหยัง่ รู ้พิเศษโดยไม่อาศัยประสาทสัมผัสทั้ง ๕ และใจ ปรัชญาเป็ นคาในภาษาสันสกฤต แต่ในภาษาบาลีใช้คาว่า ปั ญญา (ผู้ แปล)
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 7
ความรูท้ ไ่ี ด้รบั นี้ว่า ฤตัม-ภรา หรือสภาวะทีเ่ ปี่ ยมด้วยความ จริงสูงสุด ปญั ญาในขัน้ ของฤตัมภรานี้ไม่ได้ให้ความรูเ้ กีย่ วกับ ความจริงสูงสุดในทันทีทนั ใด ทีผ่ ฝู้ ึกเริม่ มีประสบการณ์ครัง้ ั แรกในสพีชะสมาธิช่วงต้น แต่ปญญานี ้จะค่อยๆ พัฒนาขึน้ มา เป็ นขัน้ ๆ ระหว่างทีส่ พีชะสมาธิดาํ เนินก้าวหน้าไป และอาจ รวมถึงในขัน้ ของนิรพีชะสมาธิดว้ ย ปตัญชลีได้กล่าวไว้อย่าง ชัดเจนในโยคสูตร ๒:๒๗ ว่าปญั ญานี้จะพัฒนาผ่านขัน้ ตอน ต่างๆ ๗ ขัน้ ด้วยกัน และผูฝ้ ึกปฏิบตั จิ ะมีความรูส้ กึ ว่าเขาได้ สัมผัสกับความจริงแท้ในทุกๆ ขัน้ ของลําดับขัน้ ทัง้ ๗ แต่ ขณะทีเ่ ขากําลังก้าวหน้าในการทําสมาธิขนั ้ สูงนี้ เขาจะพบว่า ความจริงแท้นนั ้ ก็ยงั คงอยูห่ ่างออกไป ผูป้ ฏิบตั จิ ะได้รบั ประสบการณ์ขนั ้ สุดท้ายของความจริงแท้เมื่อเขาบรรลุถงึ ขัน้ ที่ ๗ แล้วเท่านัน้ ซึง่ เป็ นขัน้ ทีเ่ ข้าถึงระดับ ธรรมะเมฆะ ในนิรพี ชะสมาธิอย่างสมบูรณ์ ประสบการณ์ทจ่ี ติ หลอมรวมเข้าสู่ 5 ความจริงแท้ซง่ึ คือการตระหนักรูใ้ นตัวปุรษุ ะ นันก็ ่ คอื สภาวะ ไกวัลย์ซง่ึ เป็ นเป้าหมายของโยคะตามแนวทางของปตัญชลี ……………………………………………… เอกสารอ้างอิ ง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p.152-156. ๒) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1% E0%B8%8F%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA% E0%B8%B2%E0%B8%A3 (January 29, 2011). ๓) http://www.lp-uthaiphuwua.com/pdf/pop.pdf (January 29, 2011).
5
การตระหนักรู ้ในตัวปุรุษะ นัน่ คือผูป้ ฏิบตั ิกา้ วเข้าสู่ ภาวะที่ตระหนักรู ้ความ จริ งว่า ปุรุษะหรื อตัวรู ้อนั เป็ นวิญญาณบริ สุทธิ์ของเขานั้นไม่ได้เป็ นสิ่ งเดียวกัน กับประกฤติหรื อวัตถุ/สสาร/รู ป-นามหรื อกาย-จิต ซึ่ งเป็ นเพียงสิ่ งที่ถูกรับรู ้ เท่านั้น สิ่ งที่ถูกรับรู ้ต่างๆ เหล่านี้จึงไม่ใช่ “ตัวฉัน” อีกต่อไป และดังนั้นไม่วา่ สิ่ งที่ถูกรู ้เหล่านี้จะมีสภาพเป็ นเช่นไรหรื อแปรเปลี่ยนไปอย่างไรก็ไม่มีตวั ฉัน เป็ นผูเ้ สวยหรื อรับ “ทุกข์” อีกต่อไป หรื ออีกนัยหนึ่งปุรุษะมีปัญญาเห็นแจ้ง อย่างแท้จริ งแล้วว่าตัวประกฤติหรื อสิ่ งที่ถูกรับรู ้เหล่านี้ไม่ใช่ตวั (มัน)เอง เมื่อปุ รุ ษะไม่หลงผิดเห็นว่าสิ่ งที่ถูกรู ้น้ นั เป็ น “ตัวฉัน” อย่างสมบูรณ์ ปุรุษะย่อม แยกตัวออกจากประกฤติได้อย่างสิ้ นเชิงและดังนั้นจึงนาไปสู่ ภาวะของการ หลุดพ้นจากสังสารวัฏได้ในที่สุด (ผูแ้ ปล)
โดย กองบรรณาธิการ
ศาสตร์และศิ ลป์ แห่งโยคะ เขียนโดย ดร. เอ็ม แอล ฆาโรเต แปลโดย อ.วีระพงษ์ ไกรวิทย์, อ.จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี สังซื ่ อ้ ได้ทส่ี ถาบันโยคะฯ
ยังเป็ นปญั หาเพราะเราไม่อาจจัดแนวทางโยคะอันหลากหลาย ลงใน 4 หมวดนี้ได้อย่างลงตัว ในบทแรกนี้ การที่ ดร.ฆาโรเต จัดแบ่งโยคะเป็ น 2 หมวดใหญ่ ภาวนา และ ปราณสัมยมะ โยคะ ช่วยคลีค่ ลายปญั หาได้ และทําให้เราเข้าใจถึงโยคะที่ แตกย่อยออกมาจํานวนมากมาย ล้วนเชื่อมโยงไปยัง 2 หมวด นี้ ทางด้านปรัชญาแนวคิด ขณะทีต่ ําราปรัชญาอินเดีย ส่วนใหญ่ระบุว่า ปรัชญาโยคะต่อยอดมาจากปรัชญาสางขยะ ทีเ่ พิม่ เติมขึน้ มาก็คอื โยคะนับถือพระอิศวรขณะทีส่ างขยะไม่ ซึง่ ดร.ฆาโรเตมีมมุ มองทีต่ ่างไปกว่านัน้ ในบทที่ 2 นี้ ท่าน ระบุว่า ทัง้ 2 ปรัชญานี้ มีสงิ่ ทีร่ ว่ มกันคือ อภิปรัชญา ทีเ่ หลือ นัน้ โยคะต่างจากสางขยะมากมาย ทัง้ ด้าน การปฏิบตั ิ จริยธรรม และปรัชญา ซึง่ เราควรตระหนักถึงลักษณะสําคัญ เหล่านี้ดว้ ย หาไม่ เราจะเห็นแต่แง่มุมเชิงอภิปรัชญาของสาง ขยะในโยคะ ซึง่ ขาดสาระสําคัญอื่นๆ ไปเสีย บทที่ 3 ดร.ฆาโรเตฉายภาพรวมของอาสนะวิชาการ ซึง่ หาอ่านไม่ได้จากหนังสืออาสนะทัวไปในท้ ่ องตลาด ทีป่ ิ ด แคบอยูแ่ ค่ ท่าต่างๆ บทที่ 4 5 6 เป็ นบทสรุปของเทคนิคหฐโยคะทีเ่ ป็ น หัวใจของหฐโยคะคือ ปราณ (บทที่ 5) และองค์ประกอบเพื่อ การฝึกปราณ อันได้แก่ กริยา ในบทที่ 4 และ มุทราพันธะ ใน บทที่ 6 ปราณเป็ นกุญแจของสุขภาพในวัฒนธรรมตะวันออก โบราณ แต่ไม่ได้รบั ความสนใจจากนักคิดตะวันตก และทําให้ ั บนั ทีน่ ําโดยชาติตะวันตก โยคะทีฝ่ ึกอย่างแพร่หลายในปจจุ แทบจะไม่มเี รื่องของปราณอยู่เลย ทําให้โยคะจึงแคะแกรน เหลือแค่อาสนะเพื่อจัดการกล้ามเนื้อเท่านัน้ บทที่ 8 เป็ นการสรุปแนวทางการปฏิบตั เิ ทคนิค โยคะทัง้ หลาย ซึง่ เป็ นประเด็นคําถามซึง่ นักเรียนมักจะถาม บ่อย ทําให้ครูมหี ลักคิด ทีจ่ ะอธิบายให้นกั เรียนเข้าใจ หนังสือเล่มนี้ยงั มีภาคผนวก คําศัพท์ต่างๆ เกีย่ วกับ โยคะทีเ่ ราพบบ่อย รวมทัง้ การสะกดคําเป็ นภาษาไทยทีต่ รง กับหลักภาษา ช่วยให้ครูโยคะสะกดคําศัพท์เหล่านี้ได้ตรงตาม หลักวิชา
ดร.ฆาโรเตอุทศิ ชีวติ ของท่าน ทํางานโยคะวิชาการ ท่านทําให้เราเข้าใจถึง 2 วัฒนธรรม ทีม่ ารวมกันเป็ นศาสตร์ โยคะทีเ่ รากําลังศึกษาอยูใ่ นปจั จุบนั ทางด้านหลักการ นิยาม เป้าหมาย ซึง่ มาจากตําราโยคะสูตร ของฤาษีปตัญชลี เมื่อราว ปี พ.ศ. 200 และ ทางด้านเทคนิคการปฏิบตั ซิ ง่ึ มาจาก วัฒนธรรมหฐโยคะทีเ่ ฟื่องฟูในยุคกลาง พุทธศตวรรษที่ 1217 ท่านผลิตผลงานต่างๆ มากมาย หนังสือแต่ละเล่มที่ ท่านเขียน แน่นไปด้วยเนื้อหา เต็มไปด้วยสาระอันลึกซึง้ เช่น สารานุกรมอาสนะจากต้นฉบับโบราณ ฯลฯ ในเวลาเดียวกัน ท่านได้ย่อยสาระเทคนิคการปฏิบตั ขิ องหฐโยคะ เป็ นบทความ สัน้ ๆ ซึง่ รวบรวมเป็ นหนังสือเล่มนี้ หนังสือมี 8 บท 8 หัวข้อรากฐานทางด้านหฐโยคะ ที่ ครูจาํ เป็ นต้องรู้ 1) ประวัตศิ าสตร์โยคะ 2) ปรัชญาโยคะ 3) เทคนิคอาสนะทีโ่ ดดเด่นของโยคะ 4) กริยา การชําระร่างกาย ให้สะอาดพอทีอ่ งคาพยพทัง้ หลายภายใน จะเคลื่อนไหลเพื่อ สือ่ สารกันได้โดยสะดวก นํามาซึง่ ความปกติสมดุลของ ร่างกาย เพื่อเป็ นฐานในการฝึกเทคนิคอันเป็ นกุญแจสําคัญ ของโยคะก็คอื 5) ปราณายามะ 6) เทคนิคทีเ่ อือ้ ทีเ่ สริมต่อ การฝึกปราณ อันได้แก่ มุทราพันธะ เพื่อไปสูก่ ารฝึกขัน้ สุดท้าย อันเป็ นเป้าหมายสูงสุดของ หฐโยคะ ก็คอื 7) สมาธิ จากการฟงั เสียงภายในหรือ นาทานุสนั ธานะ และ บทสุดท้าย 8) ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ เพื่อทําให้เราได้รบั ประโยชน์ จากโยคะอย่างเต็มที่ ด้วยความปลอดภัย เดิมที ครูโยคะส่วนใหญ่แบ่งโยคะเป็ น 4 สายหลัก ชญาณ ภักติ กรรม และ ราชโยคะ ตามสวามีวเิ วกานันท์ ซึง่ ------------------------------------------------------------------------------------------3 x 8 = 23
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 8
โดย กองบรรณาธิการ เอีย๋ นหุยใฝศ่ กึ ษา มีคุณธรรมงดงาม เป็ นศิษย์รกั ของขงจือ้ อยู่มาวันหนึ่ง เอีย๋ นหุยออกไปทําธุระทีต่ ลาด เห็น
ผูค้ นจํานวนมากห้อมล้อมอยูท่ ห่ี น้าร้านขายผ้า เมื่อสอบถามดู จึงรูว้ ่าเกิดการพิพาทระหว่างคนขายผ้ากับลูกค้า ได้ยนิ ลูกค้าตะโกนเสียงดังโหวกเหวกว่า “3 x 8 ได้ 23 ทําไมท่านถึงให้ขา้ จ่าย 24 เหรียญล่ะ!” เอีย๋ นหุยจึงเดินเข้า ไปทีร่ า้ น หลังจากทําความเคารพแล้ว ก็กล่าวว่า “พีช่ าย 3 x 8 ได้ 24 จะเป็ น 23 ได้ยงั ไง? พีช่ ายคิดผิดแล้ว ไม่ตอ้ ง ทะเลาะกันหรอก” คนซือ้ ผ้าไม่พอใจเป็ นอย่างยิง่ ชีห้ น้าเอีย๋ นหุยและ กล่าวว่า “ใครให้เจ้าเข้ามายุง่ ! เจ้าอายุเท่าไหร่กนั ! คนจะ ตัดสินได้ ก็มเี พียงท่านขงจือ้ เท่านัน้ ผิดหรือถูกมีท่านนัน้ ผู้ เดียวทีข่ า้ จะยอมรับ ไป ไปหาท่านขงจือ้ กัน” เอีย่ นหุยกล่าวว่า “ก็ดี หากท่านขงจือ้ บอกว่าท่านผิด ท่านจะทําอย่างไร?” คนซือ้ ผ้ากล่าวว่า “หากท่านวินิจฉัยว่าข้าผิด ข้ายอม ให้หวั หลุดจากบ่า! แล้วหากเจ้าผิดล่ะ?” เอีย๋ นหุยกล่าวว่า “หากท่านวินจิ ฉัยว่าข้าผิด ข้ายอม ถูกปลดหมวก(ตําแหน่ง)” นันเป็ ่ นเดิมพัน เมื่อขงจือ้ สอบถามจนเกิดความกระจ่าง ก็ยม้ิ ให้กบั เอีย๋ นหุยและกล่าวว่า “3 x 8 ได้ 23 ถูกต้องแล้ว เอีย๋ นหุย เธอแพ้แล้ว ถอดหมวกของเธอให้พช่ี ายท่านนี้เสีย” เอีย๋ นหุย ไม่โต้แย้ง ยอมรับในการวินิจฉัยของท่าน อาจารย์ จึงถอดหมวกทีส่ วมให้แก่ชายคนนัน้ ชายผูน้ นั ้ เมื่อ ได้รบั หมวกก็ยม้ิ สมหวังกลับไป คําวินิจฉัยของขงจือ้ ต่อหน้าแม้เอีย๋ นหุยจะยอมรับ แต่ในใจกลับไม่ได้คดิ เช่นนัน้ เอีย๋ นหุยคิดว่าท่านอาจารย์ชรา มากแล้ว ความคิดคงเลอะเลือน จึงไม่อยากอยู่ศกึ ษากับขงจือ้ อีกต่อไป พอรุ่งขึน้ เอีย๋ นหุยจึงเข้าไปขอลาอาจารย์กลับบ้าน ด้วยเหตุผลว่าทีบ่ า้ นเกิดเรื่องราว ต้องรีบกลับไปจัดการ ขงจือ้ รูว้ ่าเอีย๋ นหุยคิดอะไรอยู่ ก็ไม่ได้สอบถามมาก ความ อนุญาตให้เอีย๋ นหุยกลับบ้านได้ ก่อนทีเ่ อีย๋ นหุยจะออก เดินทาง ได้เข้าไปกราบลาขงจือ้ ขงจือ้ กล่าวอวยพรและให้รบี กลับมาหากเสร็จกิจธุระแล้ว พร้อมกันนัน้ ก็ได้กาํ ชับว่า อย่า แฝงเร้นกายใต้ตน้ ไม้ใหญ่ อย่าฆ่าผูใ้ ดหากไม่ชดั แจ้ง เอีย๋ นหุยคํานับพร้อมกล่าวว่า ศิษย์จะจําใส่ใจ แล้ว ลาอาจารย์ออกเดินทาง เมื่อออกเดินทางไปได้ระยะหนึ่ง เกิด พายุลมแรงสายฟ้าแลบแปลบ เอีย๋ นหุยคิดว่าต้องเกิดพายุลม ฝนเป็ นแน่ จึงเร่งฝีเท้าเพื่อจะเข้าไปอาศัยอยู่ไต้ตน้ ไม้ใหญ่ แต่กฉ็ ุกคิดถึงคํากําชับของท่านอาจารย์ทว่ี ่า อย่าแฝงเร้นกาย ใต้ตน้ ไม้ใหญ่ อย่าฆ่าผูใ้ ดหากไม่ชดั แจ้ง เราเองก็ตดิ ตาม ท่านอาจารย์มาเป็ นเวลานาน ลองเชื่ออาจารย์ดอู กี สักครัง้ คิด ได้ดงั นัน้ จึงเดินออกจากต้นไม้ใหญ่ ในขณะทีเ่ อีย๋ นหุยเดิน
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 9
ไปได้ไม่ไกลนัก บัดดล สายฟ้าก็ผ่าต้นไม้ใหญ่นนั ้ ล้มลงมาให้ เห็นต่อหน้าต่อตา เอีย๋ นหุยตะลึงพรึงเพริด คํากล่าวของพระ อาจารย์ประโยคแรกเป็ นจริงแล้ว หรือตัวเราจะฆ่าใครโดยไม่รู้ สาเหตุ? เอีย๋ นหุยรีบเดินทางกลับ กว่าจะถึงบ้านก็ดกึ แล้ว จึง ไม่กล้าปลุกคนในบ้าน ใช้ดาบทีน่ ําติดตัวมาค่อยๆเดาะดาล ประตูหอ้ งของภรรยา เมื่อเอีย๋ นหุยคลําไปทีเ่ ตียงนอน ก็ตอ้ ง ตกใจ ทําไมมีคนนอนอยู่บนเตียงสองคน! เอีย๋ นหุยโมโหเป็ น อย่างยิง่ จึงหยิบดาบขึน้ มาหมายปลิดชีพผูท้ น่ี อนอยูบ่ นเตียง เสียงกําชับของอาจารย์กด็ งั ขึน้ มา อย่าฆ่าผูใ้ ดหากไม่ชดั แจ้ง เมื่อเขาจุดตะเกียง จึงได้เห็นว่า คนหนึ่งคือภรรยา อีกคนหนึ่งคือน้องสาวของเขาเอง พอฟ้าส่าง เอีย๋ นหุยก็รบี กลับสํานัก เมื่อพบหน้าขงจือ้ จึงรีบคุกเข่ากราบอาจารย์และ กล่าวว่า “ท่านอาจารย์ คํากําชับของท่านได้ช่วยชีวติ ของศิษย์ ภรรยาและน้องสาวไว้ ทําไมท่านจึงรูเ้ หมือนตาเห็นว่าจะเกิด อะไรขึน้ กับศิษย์บา้ ง?” ขงจือ้ พยุงเอีย๋ นหุยให้ลุกขึน้ และกล่าว ว่า “เมื่อวานอากาศไม่ค่อยสูด้ นี กั น่าจะมีฟ้าร้องฟ้าแลบเป็ น แน่ จึงเตือนเธอว่า อย่าแฝงเร้นกายใต้ตน้ ไม้ใหญ่ และเมื่อวาน เธอจากไปด้วยโทสะ แถมยังพกดาบติดตัวไปด้วย อาจารย์จงึ เตือนเธอว่า อย่าฆ่าผูใ้ ดหากไม่ชดั แจ้ง” เอีย๋ นหุยโค้งคํานับ ท่านอาจารย์คาดการดังเทวดา ศิษย์รสู้ กึ เคารพเลื่อมใสท่านเหลือเกิน ขงจือ้ จึงตักเดือน เอีย๋ นหุยว่า “อาจารย์ว่าทีเ่ ธอขอลากลับบ้านนัน้ เป็ นการโกหก ทีจ่ ริงแล้วเธอคิดว่าอาจารย์แก่แล้ว ความคิดเลอะเลือน ไม่ อยากศึกษากับอาจารย์อกี แล้ว เธอลองคิดดูสิ อาจารย์บอกว่า 3 x 8 ได้ 23 เธอแพ้ ก็เพียงแค่ถอดหมวก หากอาจารย์บอก ว่า 3 x 8 ได้ 24 เขาแพ้ นันหมายถึ ่ งชีวติ ของคนๆหนึ่ง เธอ คิดว่าหมวกหรือชีวติ สําคัญล่ะ?” เอีย๋ นหุยกระจ่างในฉับพลัน คุกเข่าต่อหน้าขงจือ้ แล้วกล่าวว่า “ท่านอาจารย์เห็นคุณธรรมเป็ นสําคัญ โดยไม่ เห็นแก่เรื่องถูกผิดเล็กๆน้อยๆ ศิษย์คดิ ว่าอาจารย์แก่ชราจึง เลอะเลือน ศิษย์เสียใจเป็ นทีส่ ดุ ” จากนัน้ เป็ นต้นไป ไม่ว่า ขงจือ้ จะเดินทางไปยังแห่งหนตําบลใด เอีย๋ นหุยติดตามไม่เคย ห่างกาย บางครังคุ ้ ณอาจเอาชนะคนอื่นด้วยเหตุผลของคุณ แต่อาจจะสูญเสียสิง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ไป เรื่องราวต่างๆ แบ่งเป็ นหนัก-เบา รีบ-ช้า อย่าเป็ นเพราะ ต้องการเอาชนะให้ได้ แล้วทําให้เสียใจไปตลอดชีวติ เรื่องราวมากมายทีไ่ ม่ควรทะเลาะกัน ถอยหนึ่งก้าว ทะเลกว้าง ฟ้างาม
ทะเลาะกับลูกค้า ต่อให้ชนะ ก็แพ้อยู่ดี (วันทีส่ ง่ ตัวอย่าง ทะเลาะกับภรรยา ต่อให้ชนะ ก็แพ้อยู่ดี (เธอไม่สนใจคุณ ผลิตภัณฑ์ใหม่ คุณก็จะรูส้ กึ ) คุณก็หากับข้าวกินเองละกัน) ทะเลาะกับเถ้าแก่ ต่อให้ชนะ ก็แพ้อยู่ดี (วันทีต่ รวจผลงาน ทะเลาะกับเพื่อน ต่อให้ชนะ ก็แพ้อยู่ดี (เคลียร์ไม่ได้ คุณ ปลายปี มาถึง คุณก็จะรูส้ กึ ) อาจจะเสียเพื่อนไปเลย) .................................................................................................... ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี, สันสนีย์ นิรามิษ แปลและเรียบเรียง การหายใจ ในสมัยก่อน นักโยคะไม่มคี วามรูเ้ กีย่ วกับด้าน สรีรวิทยาเลย แต่ยงั มีการกล่าวถึงคุณค่าของการศึกษา เกีย่ วกับการหายใจเป็ นเวลายาวนาน พวกเขากล่าวอย่าง เรียบง่าย เช่น การหายใจเป็ นการเชื่อมต่อกันระหว่าง ความคิดและร่างกาย ดังนัน้ ถ้าเราสามารถควบคุมการหายใจ ของเราได้ เราก็สามารถควบคุมทุกลักษณะท่วงท่าของเราได้ สิง่ นี้บอกเราว่าให้เริม่ ฝึกการหายใจง่ายๆ แบบหฐโยคะ อย่างไรก็ตาม จุดประสงค์ของบทความนี้คอื ศึกษาการหายใจ ในกรอบทีส่ ามารถทดสอบได้ สามารถเรียนรูไ้ ด้จาก ประสบการณ์ จากนัน้ จะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างโยคะ และระบบการหายใจ ทีส่ มั พันธ์กบั วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ว่า ลักษณะการหายใจแบบต่างๆมีผลกระทบอย่างไรบ้าง ทําไม ถึงเป็ นเช่นนัน้ และเราจะได้อะไรจากการฝึกและสังเกตุ โดยทัวไปแล้ ่ ว การหายใจจะกิดขึน้ โดยทีเ่ ราไม่รสู้ กึ ตัว ทัง้ มนุษย์เองก็ไม่มคี วามมุง่ มัน่ ไม่มคี วามประสงค์ทจ่ี ะ หายใจ ทํานองเดียวกับทีเ่ ราไม่คดิ จะกําหนดว่า เราจะเคีย้ ว อาหารกีค่ รัง้ หรือเราจะต้องก้าวถีห่ ่างแค่ไหน ในการเดินขึน้ เขา ตลอดจนว่า เราจะหายใจสันยาว ้ แค่ไหน แม้เราสามารถ กํากับกิจกรรมทีว่ ่ามาข้างต้นได้ อย่างไรก็ตาม โดยทัวไปแล้ ่ ว เราจะหายใจโดยอัตโนมัติ คือปล่อยให้อวัยวะภายในจัดการ กําหนดอัตราและระดับความลึกในการหายใจเอง นักโยคะใส่ ใจกับรูปแบบเฉพาะเจาะจงของการหายใจ พวกเขาค้นพบถึง คุณค่าของการควบคุมการหายใจอย่างรูส้ กึ ตัว การหายใจ อย่างเท่าๆกันแบบปกติ การหายใจถีเ่ ร็วเพื่อจุดประสงค์พเิ ศษ และการหยุดหายใจอย่างตัง้ ใจชัวขณะหนึ ่ ่ง อย่างไรก็ตาม ถึง วัตถุประสงค์ของการฝึกหายใจเป็ นสิง่ ทีด่ ี แต่ผอู้ ่านควรจะ ระวังการฝึกหายใจทีร่ ุนแรงมากจนเกินไป ดังใน หฐโยคะประ ทีปิกา กล่าวไว้ว่า “เปรียบเช่น สิงโต, ช้าง และเสือ ยังต้องฝึก ควบคุมทีละเล็กละน้อย ดังนัน้ การฝึกปราณายามะควรถูก ควบคุมอย่างระมัดระวังในขณะฝึกฝน ไม่เช่นนัน้ ผูฝ้ ึกอาจจะ เป็ นอันตรายได้” นี่คอื สิง่ บอกเล่าจากผูม้ ปี ระสบการณ์ และเรา ไม่ควรฝึกแบบไม่ใส่ใจ ซึง่ ในตอนท้ายบทความ หลังจากทีไ่ ด้
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 10
ศึกษาและเรียนรูร้ ะบบหายใจแล้ว จะกลับมากล่าวถึงประเด็น ต่างๆทีค่ วรระวังอีกครัง้ เพื่อให้เข้าใจถึงประโยชน์ของการควบคุมลมหายใจ เราต้องทําตามลําดับไป เริม่ ต้นด้วยการมองภาพรวมทัง้ หมด ของระบบ และเส้นทางทีก่ ล้ามเนื้อรับอากาศเข้าไปสูป่ อด จากนัน้ ศึกษาถึงความเกีย่ วพันว่า การหายใจมีผลต่อการฝึก ท่าอย่างไร และการฝึกท่ามีผลต่อการหายใจอย่างไร หลังจาก นัน้ เราจะศึกษาถึงสองส่วนใหญ่ของระบบประสาททีม่ อี ทิ ธิพล ต่อการหายใจ ได้แก่ somatic และ autonomic จากนัน้ เราจะ กลับมากล่าวถึงสรีรศาสตร์ของระบบการหายใจ ปริมาตรของ ปอด สภาพของเลือดและกาซทีถ่ ูกทําให้เปลีย่ นไปตามการ หายใจแบบต่างๆ อย่างไร ซึง่ จะต่อไปถึงกลไกการหายใจ แบบอัตโนมัติ สุดท้ายเราจะศึกษาถึงการหายใจแบบต่างๆ 4 แบบ ได้แก่ การหายใจบริเวณช่องอก (Thoracic), การหายใจ เข้าแบบท้องพองทรวงอกยุบ (Paradoxical), การหายใจด้วย ช่องท้อง (Abdominal) และการหายใจผ่านกะบังลม (Diaphragmatic) และความสัมพันธ์ของแต่ละท่าโยคะกับการ หายใจ ภาพของระบบการหายใจ ทุกๆเซลล์ในร่างกายต้องการหายใจ นันคื ่ อต้องการ ออกซิเจน, เผาผลาญเชือ้ เพลิง, สร้างพลังงาน และกําจัด คาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนนี้รจู้ กั กันทีเ่ รียกว่า การหายใจ ของเซลล์ (Cellular Respiration) ซึง่ ขึน้ กับการแลกเปลีย่ น เริม่ ด้วยการรับออกซิเจนเข้าไปจากอากาศสู่ปอด, สูเ่ ลือด และสูเ่ ซลล์ ในขณะเดียวกันก็เคลื่อนคาร์บอนไดออกไซด์จาก เซลล์ไปสูเ่ ลือด, สูป่ อด และออกสูอ่ ากาศ ร่างกายจะทําการ แลกเปลีย่ นนี้สาํ เร็จได้ใน 2 ขัน้ ตอน ขัน้ ตอนแรกคือการสูด อากาศเข้าไปยังปอด ซึง่ เป็ นพืน้ ผิวทีเ่ ปี ยกขนาดใหญ่และเป็ น ศูนย์รวมของถุงลมจํานวนนับร้อยล้าน ซึง่ ทีป่ อดนี้ ออกซิเจน จะถูกดูดซึมเข้าไปในเลือด และคาร์บอนไดออกไซด์ถูกขับ ออกมา ขัน้ ต่อไป ออกซิเจนจะเข้าสูก่ ารไหลเวียนผ่านปอด (Pulmonary circulation) จากปอดเข้าสูห่ วั ใจ และจะเดินทาง ต่อไปยังการไหลเวียนเลีย้ งร่างกาย (Systemic circulation)
นันคื ่ อจากหัวใจเข้าสูเ่ ซลล์ต่างๆของร่างกาย ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์จะเดินในทิศทางตรงข้ามกัน ในการ ไหลเวียนเลีย้ งร่างกาย จะเริม่ จากเซลล์ของร่างกายเข้าสูห่ วั ใจ และจะเดินทางจากหัวใจเข้าสูป่ อด (ตามรูป 2.1)
รูป 2.1 ระบบการหายใจ ดูตามลูกศรชี้ ออกซิเจนจะเดินทาง จากอากาศเข้าสูเ่ ซลล์ของร่างกาย เริม่ จากอากาศเข้าสูป่ อด, สูก่ ารไหลเวียนผ่านปอด, หัวใจ และสุดท้ายเข้าสูก่ าร ไหลเวียนผ่านร่างกาย คาร์บอนไดออกไซด์จะเดินทางในทิศ ตรงกันข้าม เริม่ จากเซลล์ร่างกายเข้าสูก่ ารไหลเวียนผ่าน ร่างกาย, ย้อนกลับเข้าสูห่ วั ใจ, การไหลเวียนผ่านปอด, เข้าสู่ ปอด, ผ่านทางเดินอากาศ และออกสูบ่ รรยากาศภายนอก ทุกๆสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการหายใจจําเป็ นจะต้อง มีการเคลื่อนไหวของก๊าซออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ทางเดินอากาศเริม่ จากจมูกและปากผ่านเข้าไปยังปอด (ตาม รูป 2.2) อากาศจะถูกดึงไปด้านหลังของจมูกผ่านเพดานปาก (เพดานแข็ง) และเพดานอ่อน ซึง่ ทํามุม 90 องศาหมุนเข้าสู่ พืน้ ทีร่ ปู กรวยหรือทีเ่ รียกว่าคอหอย (Pharynx) จากนัน้ จะลง ต่อเข้าสูก่ ล่องเสียง (Larynx) ซึง่ เป็ นอวัยวะสําหรับการเปล่ง เสียงพูดทีม่ เี ส้นเสียงสันเพื ่ ่อสร้างเสียง ต่อจากกล่องเสียง อากาศจะผ่านเข้าสูห่ ลอดลม (Trachea) ทัง้ ด้านขวาและซ้าย ของท่อหลอดลม (Primary bronchi) และเข้าสูป่ อดทัง้ สองข้าง ซึง่ แต่ละข้างประกอบไปด้วย Bronchopulmonary segments ซึง่ จะเชื่อมต่อกับแขนงหลอดลม (Secondary bronchi) แขนง หลอดลมจะถูกแบ่งย่อยเป็ น Tertiary bronchi และหน่วยที่ ย่อยลงไปอีก (Bronchioles) ทีร่ วมประกอบกันเป็ น Bronchial
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 11
Tree (ตามรูป 2.3) ส่วนปลายของ bronchioles จะเปิ ดทาง ไปสูถ่ ุงลม (Alveoli) ทีเ่ ล็กมากๆ ถ้าส่องด้วยกล้องจุลทรรศลง ไปทีป่ อด ถุงลมจะมีลกั ษณะคล้ายเครือข่ายของลูกไม้อนั ละเอียดอ่อน หลอดลมและท่อใหญ่อ่นื ๆทีเ่ ป็ นทางลําเลียง อากาศมีลกั ษณะเป็ นท่อ ซึง่ มีกระดูกอ่อนรูปตัว C คํ้าไว้ ให้ ท่อไม่ตบี แฟบลง ถุงลมนัน้ จะยังคงทรงตัวเป็ นถุงได้เพราะมี สารธรรรมชาติเคลือบอยู่ สารนี้มคี วามตึงผิว ทําหน้าทีป่ ้ องกัน การขยายตัวมากเกินไประหว่างทีห่ ายใจเข้า และป้องกันไม่ให้ ถุงลมนี้ยุบแฟบระหว่างทีห่ ายใจออก คอหอยเป็ นตําแหน่งทีต่ ดั กันระหว่างทางเดินอากาศ และอาหาร อากาศผ่านเข้ามาจากคอหอยหลังโพรงจมูก (Nasopharynx) ไหลเข้าสูค่ อหอยหลังกล่องเสียง (Laryngopharynx) ผ่านเข้าสูก่ ล่องเสียงและหลอดลมต่อไป อาหารถูกเคีย้ วเข้ามาในปาก จากนัน้ กลืนลงไปทางคอหอย ส่วนบน (Oropharynx) และข้ามทางเดินของอากาศไปยัง หลอดอาหาร (Esophagus) ซึง่ จะอยู่ดา้ นหลังของหลอดลม แต่อยู่ดา้ นหน้าของกระดูกสันหลัง (ตามรูป 2.2) ช่องสาย เสียง (Glottis) ซึง่ เป็ นรูแคบทีร่ ะดับเส้นเสียงในกล่องเสียง จะ ปิ ดลงเมื่อเรากลืนอาหาร คุณจะรูส้ กึ ได้ขณะทีค่ ุณเริม่ หายใจ เข้าหรือหายใจออกและกลืนนํ้าลายด้วย คุณจะพบว่าไม่ว่าคุณ จะอยู่ในช่วงใดของการหายใจเข้า การกลืนจะเป็ นการ ขัดขวางการหายใจ ถ้าไม่เป็ นเช่นนัน้ อาหารอาจจะลงไปผิด ช่องทาง ดังเช่นเด็กทีก่ ลืนอาหารแล้วเกิดอาการสําลัก
รูป 2.2 ภาพตัดแบ่งด้านซ้ายของผนังกลางจมูกแสดงให้เห็น ถึงครึง่ ซ้ายของศีรษะและลําคอ เผยให้เห็นทางเดินอาหาร (เส้นทึบจากช่องปากไปยังหลอดอาหาร) และทางเดินอากาศ (เส้นประจากจมูกถึงหลอดลม)
ปอดขยายออกและหดตัว ตามทรวงอกทีข่ ยายตัวหดตัว ตาม การยืดหดของกล้ามเนื้อทีท่ าํ การหายใจรอบๆ (ตามรูป 2.4)
รูป 2.3 ภาพด้านหลังของปอดและหัวใจ ไม่มเี ส้นเลือดแดง ใหญ่ (Aorta) และเส้นเลือดดําใหญ่ (Superior Vena Cava) ในภาพ Bronchial tree มีกงิ่ ก้านแตกแขนงออกไปที่ primary bronchi ทัง้ ด้านขวาและด้านซ้าย, secondary bronchi 5 เส้น (ปอดด้านขวา 3 เส้นและปอดด้านซ้าย 2 เส้น) และ tertiary bronchi 20 เส้นต่อไปยัง bronchopulmonary segments (ไป ยังปอดแต่ละด้าน 10 เส้น) ในทํานองเดียวกัน กิง่ ก้านของ เส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดําจะแตกแขนงออกไปยังแต่ละ bronchopulmonary segments ปอดเกือบทัง้ หมดประกอบไปด้วยอากาศ หลัง หายใจออกจนสุด จะมีอากาศคางอยู่ในปอดราว 50% และ หลังสูดหายใจเข้าเต็มที่ จะมีอากาศในปอดราว 80% ถ้าคุณ ลองตบซีโ่ ครงด้านข้างคุณจะได้ยนิ เสียงเป็ นโพรง ตรงกันข้าม กับเวลาคุณตบบริเวณหน้าท้อง ซึง่ เสียงจะคล้ายตบถุงใส่น้ํา ผิวปอดมีเยื่อบุเป็ นเมือกลื่นเคลือบ เพื่อไม่ให้อากาศ ผ่านออกได้ ปอดมีลกั ษณะคล้ายกับลูกโปง่ ทีล่ อยอยู่เต็มโครง กระดูก ต่างกันตรงทีว่ ่า เจ้าปอดลูกโปง่ นี้ มัดไม่ได้มดั ปาก ลูกโปง่ ไว้ แล้วทําไมปอดถึงไม่แฟบลงเช่นเดียวกับลูกโปง่ ที่ ไม่ได้มดั ปาก คําตอบอยู่ท่ี โครงสร้างอันมหัศจรรย์ของระบบ การหายใจและปอดทีธ่ รรมชาติออกแบบไว้ ผนังปอดมีความ ยืดหยุ่นตัวดี เนื้อปอดพองอยู่ดา้ นในโครงกระดูกซีโ่ ครง ตาม ปริมาตรทีเ่ ปลีย่ นไปของช่องทรวงอก ทีข่ ยายใหญ่ขน้ึ หรือหด เล็กลงขณะเราหายใจเข้า-ออก มันเป็ นเช่นนัน้ ได้ เพราะไม่มี อะไรกัน้ ระหว่างพืน้ ผิวด้านนอกของปอดกับผนังของทรวงอก ยกเว้นช่องว่างทีบ่ ุรอบปอด (Pleural Cavity) ช่องว่างนี้ไม่มี อากาศอยู่ จะเป็ นสูญญากาศทีค่ อยดึงปอดให้แน่นติดกับ พืน้ ผิวด้านในของทรวงอก และมีสารหล่อลื่นเล็กน้อยทีย่ อมให้
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 12
รูป 2.4 ภาพตัดแสดงให้เห็นถึงทรวงอกด้านบน มองจาก ด้านบน เราเห็นด้านบนของหัวใจทีป่ ระกอบไปด้วยหลอด เลือดใหญ่, มีช่องบุรอบหัวใจ และเยื่อหุม้ หัวใจชัน้ นอก เรา เห็นปอด ผนังปอด และช่องบุรอบปอด เป็ นทีว่ ่างแคบๆ เป็ น สูญญากาศทีค่ อยพยุงปอดไว้ไม่ให้แฟบตัว 2 สถานการณ์อนั ตรายฉุกเฉิ น มีตวั อย่างทีต่ อ้ งการแสดงให้เห็น 2 เหตุการณ์ กรณี แรก ถ้ากระดูกซีโ่ ครงหัก ทําให้เกิดบาดแผลทีผ่ นังปอด ถึงขัน้ ผนังปอดทะลุ อากาศจะไหลผ่านเข้าไปในช่องทีบ่ ุรอบปอด (ที่ เดิมเป็ นสูญญากาศ) และเป็ นสาเหตุให้ปอดได้นนั ้ ยุบลง เหตุการณ์น้เี รียกว่า ภาวะเกิดลมในช่องอก (Pneumothorax) จะเป็ นช้าหรือเร็วขึน้ อยู่กบั ขนาดของแผลทีเ่ กิด ถ้าแผลมี ขนาดใหญ่มาก ปอดจะยุบลงเหมือนกับทีอ่ ากาศถูกปล่อย ออกไปจากลูกโปง่ และหากการหักของกระดูกซีโ่ ครง ไปเจาะทะลุผนัง ปอดทัง้ 2 ข้าง จะยิง่ เป็ นอันตรายทีร่ า้ ยแรง ปอดทัง้ 2 ข้างจะ ยุบและหดเล็กลง ช่องทีบ่ รุ อบปอดจะเต็มไปด้วยอากาศ กล้ามเนื้อการหายใจไม่มแี รงพอ ไม่สามารถคงความตึงผิว ด้านนอกของปอด ไม่สามารถรักษารูปปอดไว้ได้ ทําให้หายใจ เข้าไม่ได้ และถ้าไม่มใี ครช่วยเปา่ อากาศเข้าปอดเพื่อช่วยให้ คุณหายใจได้โดยตรง คุณก็จะตายภายในไม่กน่ี าที การรักษาโรคภาวะเกิดลมในช่องอกนี้ โรงพยาบาล จะต้องทําให้ร่างกายกลับคืนสูโ่ ครงสร้างพืน้ ฐานเดิมของระบบ การหายใจ ท่อจะถูกผนึกเข้ากับผนังทรวงอกทีเ่ ปิ ดอยู่ อากาศ จะถูกดูดออกจากช่องบุรอบปอด ทําให้เกิดสูญญากาศดังเดิม นี่จะช่วยดึงผิวด้านนอกของปอดกลับเข้ามาติดกับผนังด้านใน ทรวงอกและด้านบนของกะบังลมอีกครัง้ จากนัน้ กล้ามเนื้อ ของการหายใจก็จะช่วยให้ปอดพองขึน้ ได้ตามปกติ
อันตรายฉุกเฉินกรณีทส่ี อง เกีย่ วข้องกับสิง่ กีด รวดเร็ว เป็ นการผ่าระหว่างกล่องเสียงและรอยบุ๋มของลําคอ ขวางทางเดินอากาศ บางทีอาจเป็ นเนื้อชิน้ หนาทีต่ กเข้าไปใน โดยกรีดกล้ามเนื้อคอระดับตืน้ ใต้ต่อมไธรอยด์ แล้วเจาะ กล่องเสียงแทนทีจ่ ะเป็ นหลอดอาหาร ถ้ามันมีขนาดใหญ่มาก หลอดลม ช่วยให้คนปว่ ยดําเนินการหายใจเข้าและออกได้ แม้ เกินกว่าจะผ่านเข้าไปในหลอดลม สิง่ กีดขวางนัน้ ก็จะค้างอยู่ท่ี สิง่ กีดขวางยังติดอยู่ กล่องเสียง ปิ ดกัน้ ทางเดินอากาศ และทําให้คุณไม่สามารถ ในกรณีของโรคภาวะเกิดลมในช่องอกนัน้ เมื่อผนัง หายใจได้ ในกรณีน้คี นส่วนใหญ่จะพยายามหายใจเข้าอย่าง ทรวงอกถูกเจาะและปอดยุบลงไป แม้กล้ามเนื้อของระบบ รุนแรง แต่จะยิง่ ทําให้อาหารเข้าไปติดหนักขึน้ ถ้าพยายาม หายใจยังคงทํางาน ช่องทรวงอกขยายตัว หดตัวได้ แต่ไม่มี หายใจออกจะสามารถช่วยได้มากกว่า หากคนใดทีร่ เู้ รื่องการ ลมหายใจ เนื่องจากสูญญากาศทีค่ อยพยุงปอดไว้กบั ผนังด้าน ปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นจะช่วยด้วยการ กอดรัดตัวผูเ้ จ็บจาก ในของทรวงอกและผิวด้านนอกของปอดได้หายไป ดังเช่นรถ ทางด้านหลังด้วยความเร็วและแรง พร้อมๆ กับดึงตัวผูเ้ จ็บขึน้ ทีต่ ดิ อยู่ในหิมะ ล้อรถยังหมุนอยู่แต่ไม่สามารถเคลื่อนไป ซึง่ จะช่วยให้เกิดแรงดันในช่องท้องและทรวงอกเพิม่ ก็จะดัน ด้านหน้าได้ สําหรับเหตุการณ์ทส่ี องเปรียบเหมือนกับรถทีล่ อ้ สิง่ กีดขวางจากคอหอยหลังกล่องเสียงไปยังคอหอยส่วนบนได้ ติดแน่นอยู่กบั พืน้ คอนกรีตไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ สิง่ ทีก่ ดี จากนัน้ คนไข้กส็ ามารถไอให้อาหารหลุดออกมา หรือกลืน ขวางทางเดินอากาศไปทําให้กล้ามเนื้อหายใจทํางานไม่ได้ ทัง้ อาหารเข้าไปทางหลอดอาหารได้ตามปกติ สองเหตุการณ์น้ี เราพยายามทีจ่ ะนําอากาศเข้าไปในปอด แต่ หากสิง่ กีดขวางติดแน่นอยู่ในกล่องเสียง ไม่สามารถ เราไม่สามารถช่วยให้กลไกทีท่ าํ งานอยู่ภายใน กลับไปทํางาน ใช้การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นได้ ก็ตอ้ งผ่าตัดหลอดลมอย่าง ตามปกติ ด้วยการใช้ความช่วยเหลือจากภายนอกได้ ...................................................................................................... อหิ งสา และ ความกลัว ในชีวติ เรา... มีคนมากมาย ทีเ่ รียงราย... รอบตัวเรา อยากจะอยู่ด.ี .. และก็มสี ขุ ต้องรูท้ ุกอย่าง... ดังนี้เอง เราต้องยืดหลัก... ไม่ทาํ ร้ายใคร และไม่คดิ ...จะเบียดเบียน อยากจะอยู่ด.ี .. และก็มสี ขุ ต้องรูท้ ุกอย่าง... ดังนี้เอง อหิงสา แต่งโดย วรรณวิภา มาลัยนวล ทํานองเพลง Oh my daring... Oh my daring… วันนี้ตอนตื่นเช้าขึน้ มา สวัสดีกบั พระอาทิตย์ พวก เรามีความสุขกันไหมคะ? บางคน ก็บอกว่ามี บางคนก็บอกว่า ไม่มี รูไ้ หมว่าทําไมมี ทําไมไม่มี บอกให้กไ็ ด้... คิดดี ก็มสี ขุ คิดไม่ดี ก็ไม่สขุ ถ้าหากว่ากําลังไม่มคี วามสุขอยู่ละก็... กําลัง คิดเรื่องอะไรน้า... กาโอะ กาโอะ บู๊... (ทําไม ... เพราะอะไร กันน้า.... ภาษาญีป่ นุ่ ได้ยนิ มาจากใน TV ) ก่อนจะเข้าเรื่องเข้าราวต่อไป ขอท้าวความไปถึง คําศัพท์ทต่ี อ้ งรู้ ก่อนนะ ยมะ ทัศนคติของเราต่อสิง่ แวดล้อม หิงสา ความอยุตธิ รรม ความโหดร้าย อหิงสา ปราศจาก ความรุนแรง ความกรุณา มิตรภาพ
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 13
โดย ล.เล้ง เสียงกระดิง่ หยก (ไม่ใช่มงั กรบิน) การคิ ดถึงคนอื่น และสิ่ งต่าง ๆ อย่างใคร่ครวญ ใส่ใจต่อคนอื่นเสมอ มีน้าใจช่วยเหลือเมือ่ ทุกข์รอ้ น ขอบใจ เมือ่ ได้รบั การช่วยเหลือ กระทาด้วยความ กรุณาต่อผูอ้ ื่น (P.204-206 ,339 หัวใจแห่งโยคะ,ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ เชื่อไหมว่า... ความทุกข์ของคนส่วนใหญ่เกิดจาก “ความคิด” พวกหน้ าไหม้ มักคิดว่าตัวเองไม่ดี ไม่เก่ง ไม่น่าสนใจ เวลาจะพูด จะทําอะไรถ้าไม่มากเกินไปก็น้อยเกินไป หาความพอดีไม่ได้ สักที แต่งตัวก็ไม่สวยเชยชะมัด เงินดี ๆ ก็เอาไปซือ้ อะไรมาใส่ ก็ไม่รู้ หน้าตาไม่สวยแล้วยังแต่งตัวไม่รจู้ กั กาลเทศะอีก อูย ! หยุดก่อนดีกว่า เขียนเยอะแล้วจิตตกไปอยูท่ ต่ี าตุ่ม บ่อยครัง้ ทีเ่ สียงพรํ่าบ่นแบบนี้และแบบอื่น ๆ มาจาก ในหัวเราเอง บางครัง้ เสียงพรํ่าบ่นก็มี คนอื่น เอามาใส่หวั เรา ทําให้เราเศร้าใจ, สันไหว ่ และก่อเกิดเป็ นแรงขับเคลื่อน ให้ แสดงออกมาเป็ นพฤติกรรมบุคลิกลักษณะของ คนหน้าไหม้ (ยืม คัดย่อ และใส่ใข่เข้าไปอีกเล็กน้อย จาก ”อาหารสมอง” ของ วีรกร ตรีเศศ มติชน สุดสัปดาห์) คนหน้าไหม้น้ี
ถ้าไม่พดู ออกมา ก็แสดงเป็ นหน้าตาทีป่ ราศจากรอยยิม้ ท่าที ขมขืน่ กับชีวติ ติดอยูใ่ นกับดักทีห่ าทางออกไม่เจอ คําว่า Exit ไม่เคยปรากฏในรอยหยักของสมอง นอกจากเคยเห็นแว๊บ ๆ ทีท่ างออกในโรงภาพยนต์ ถ้าพูดออกมา ก็ชอบทะเลาะ และขัดแย้งกับใคร ๆโดยไม่ จําเป็ น พูดจาจิกกัด ดูถูกคนอืน่ ไม่นึกถึงบุญคุณ ของคนทีเ่ คยอุม้ ชูมา ไปทีไ่ หนก็เอาแต่บ่นว่าอากาศ ร้อน แอร์ไม่เย็นเหม็นควันรถ ควันบุหรี่ อาหารไม่ อร่อย ไม่เคยขอบคุณ ไม่ช่นื ชมพ่อแม่พน่ี ้อง และ ญาติมติ ร ทีเ่ ค้าทําอะไรให้ ถ้าทําออกมา ก็เป็ นการกระทําแห้งๆ ไหม้ๆ ดําๆ แบบ คนหน้าไหม้ ตัดสินใจ “ไม่ผลิต” เพราะจมอยู่กบั ความคิดร้าย ว่าตัวเอง ไม่ดี ไม่เก่ง นังเฉย ่ ๆ ดีกว่า ทําไปก็ไม่มใี ครเห็นคุณค่า ทําไปไม่มใี ครว่าดี บางทีจะเป็ นการตัดสินใจ “ไม่ทาํ ออกมา” เพราะกลัว เลยตัดสินใจ ขอเป็ น “อัมพาต”
นํ้า ดีกว่าต้องผ่าตัด ฆ่าความกลัวออกไปจากใจ ความกลัว เหมือนเป็ นไส้ตงิ่ .... ติดตามเราไปทุกที่ มีใครเป็ นโรคนี้ไหมคะ... อยากสอนโยคะ แต่กลัว... กลัวจะสอนไม่ดี กลัวยืนหน้าห้อง กลัวพูด กับคนเยอะๆ เสียงสันหั ่ วใจเต้นตุบๆ เหมือนตีกลอง ทิมปานีในวงออเคสตร้า เวลาสอนก็เครียดเกร็ง ใช้ กําลังมากเกินไป บางทีเผลอตะโกนใส่ไมโครโฟน เพราะคิดว่าตัวเองเสียงเบา กลัวนักเรียนไม่ได้ยนิ สอนไปก็เกร็งไป.. กลัวไป ไม่รมู้ นั จะกลัวอะไร กันนักหนา สอนเสร็จสองชัวโมง ่ ก็นอนแผ่หมดแรง แต่กย็ งั ไม่เข็ดเนอะ ทํามา 10 กว่าปี แล้ว ถ้านับสอนภาษาอังกฤษด้วย... มันยังกลัวอยู่เลย... ครูแซวว่ามันคงกลัวมาตัง้ แต่ชาติปางก่อน... ก็คดิ ว่า ต้องเอาชนะความกลัวให้ได้ในชาติน้ี เพราะถ้าสอบ ไม่ผ่าน ชาติหน้า (ถ้ามีจริง) อาจต้องกลับมาสอบ ใหม่ บางคนงงๆ จากอหิงสามาเรื่องความกลัว “Fear grips a man and paralyse him” ได้ยงั ไง... ก็การทีเ่ ราเบียดเบียนคนอื่น เบียดเบียน p.33, Light on Yoga, B.K.S. Igengar ตนเองนัน้ มันมีรากเหง้ามาจาก ความกลัว เพราะ กลัวยุงกัด เราจึงตบยุง เพราะกลัวเค้ามาทําร้าย เรา เพราะความกลัวโน่น กลัวนี่ เลยชิงยิงเค้าก่อน เพราะกลัว เลยเผลอทําร้ายตัวเอง กลัวอนาคต กลัวเงินหมด ถ้าไปเรียนโยคะทีอ่ นิ เดีย ทําให้ตวั เองเล็กลง หวันไหวสั ่ นสะท้ ่ าน เสียพลังงาน กลัวสิง่ ทีไ่ ม่รจู้ กั การเรียนโยคะด้วยภาษาอังกฤษ ต่อสูก้ บั ความกลัวโดยไม่จาํ เป็ น แล้วเราจะยอม เสีย สําเนียงแขกมันคงจะงงเป็ นไก่ตาแตก โอกาสไปอีก 1 ชาติ หรือนี่.... กลัวสิง่ ทีไ่ ม่เคยเห็น อินเดียไม่น่าอยู่ แมลงวันเยอะ เขียนมา อ่านมาซะขนาดนี้ แล้ว ใคร ขโมยเยอะ ขึน้ รถไฟกระเป๋าล่ามโซ่ไว้ยงั หาย กินอาหารริม ซ่อนตัวอยู่ออกมาซะดีๆ เวทีสอนวันพุธที่สาม ทางท้องเสีย ของทุกเดือน 17.00 น. ที่หอจดหมายเหตุพทุ ธ และท้ายสุด กลัวตาย จะถูกฆ่าชิงทรัพย์ไหมเนี่ย ! กลัวมาก... จนในทีส่ ดุ ก็ขยับเขยือ้ นไปไหนนอก ทาส สวนรถไฟฯ ยังพอมีที่ให้แทรกตัวอยู่... กรุงเทพมหานครนครอันเคยคุน้ ไม่ได้ เบื่อเหลือเกินแต่ก็ ติ ดต่อสถาบันฯ ได้จา้ ออกไปไหนไม่ได้ ยอมเบื่อ ยอมเฉาตายช้าๆ แบบต้นไม้ไม่ได้ จบแล้ว ....................................................................................................................
สรุป การเงิ น สถาบันโยคะวิ ชาการ ปี 2553 1 รับจากการจัดคอร์สต่างๆ 1,515,177.34 2 รับจากเผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ 1,191,732.66 3 รับจากจุลสาร 52,582.48 4 รับจากเดลิเวอรี่ 93,988.05 5 รับบริจาค 104,528.00 6
โยคะสารัตถะ กุมภา 54 14
ยอดยกมาปี 2552 ค่าใช้จ่ายการจัดคอร์ส 1,071,994.00 ค่าใช้จ่ายเผยแพร่ ต้นทุน 951,560.50 ค่าใช้จ่ายจุลสาร 40,516.00 ค่าใช้จ่าย 6,200.00 ค่าใช้จ่าย 0.00 ค่าใช้จ่ายสํานักงาน ยอดยกไปปี 2554 กาไรจากการดาเนิ นงาน
1,673,154.17 443,183.34 240,172.16 12,066.48 87,788.05 104,528.00 - 641,999.14 1,918,893.06 245,738.89