โยคะเบิกบาน จากงานวิจัยคอร์ สอบรมครู ยาวรุ่ น 10/2553 สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้ าน
1
คํานํา สวัสดีครับ พี่ ๆ เพื่อน ๆ และ ทุกท่านที่เข้ ามาอ่าน จะเรี ยกว่า Book Online ก็แล้ วกัน ในการจัดทําครัง้ นี ้ ก็ เ พื่ อ ที่ จ ะเป็ นที่ รวบรวมงานวิจัยของครู ทุกท่านที่ เข้ า ร่ วมอบรม คอร์ สครู ยาวรุ่ น
10
ปี 2553
ของ
สถาบันโยคะวิชาการ ไว้ ในที่เดียวกัน เพื่องานต่อการอ่านและค้ นหา เพราะที่ผ่านมาได้ จดั ทําไว้ ใน Note ของ Facebook ซึง่ ก็จะต้ องไปเลือกขึ ้นมาอ่านหรื อแยกอ่านเป็ นหัวข้ อไป แต่เนื่องจากว่าได้ ค้นพบการจัดทํา Book Online ใน Web ทําให้ ร้ ูสึกว่า ถ้ านําเรื่ องทังหมดมารวบ ้ ร่วมกันไว้ ในรูปแบบ Book Online แล้ วจะทําให้ อ่านง่านขึ ้น สะดวกขึ ้น อีกทังยั ้ งสามารถเลือกอ่านในหัวข้ อที่ ตัวเองสนใจได้ อีกด้ วย จากงานวิจยั ของเพื่อน ๆ เป็ นงานวิจยั ที่มีความหลากหลาย จนเห็นได้ ว่าโยคะนันคลอบคลุ ้ มไปในทุกทิศทาง ของการดําเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องจิตใจหรื อร่ างกาย ซึ่งปรากฏอยู่ในแต่ล่ะงานวิจยั ที่อยู่ในเอกสารฉบับนี ้ ยังมี งานวิจยั บ้ างส่วนที่ยงั ไม่ได้ รับจากเพื่อน ๆ บางท่าน ก็ขอท้ วงมา ณ ที่นี ้เลยแล้ วกัน เพื่อที่เอกสารฉบับนี ้จะได้ สมบูรณ์ หากท่านอ่านแล้ วมีความคิดเห็นอย่างไร สามารถเข้ าไปพูดคุยกับพวกเราได้ ที่
http://www.facebook.com/pages/Thai-Yoga-Institutes-Yoga-Teacher-Alumni-Page/153222961391840
ขอบคุณครับ
2
สารบัญ
40 Up ยังแจ๋วด้ วยโยคะ โดยครูสวย
4
โยคะกับการพัฒนาตนเอง โดยครู นุ
22
โยคะกับชีวิตประจําวัน โดยครูเปิ ล้
30
โยคะกับการสังเกตุตวั เอง โดย ครูนก
33
โยคะกับศิล 5 โดยครูจิ ้ง
45
โยคะกับสมาธิ โดย ครูเอ๋
57
การบําบัดด้ วยโยคะ โดย ครูนมุ่
60
โยคะ ฐานแห่งการต่อยอดสู่ประตูปัญญา โดย ครูเจี๊ยบ
64
โยคะ VS วัยทอง โดย ครูอ้อม
70
บนเส้ นทางแห่งการฝึ กฝนจิตวิญญาณ โดย ครูจอย
73
โยคะแก้ ปวดท้ อง โดย ครูเอ็กซ์
93
โยคะบําบัดโรค โดย ครูปดู ํา
99
ธรรมะกับคนโยคะ โดย ครูก้ งุ
107
เปิ ดประตูสโู่ ยคะ โดย ครูเมย์ (กรุณากดลิงค์)
118
ชีวิตกับโยคะ โดย ครูเหมียว (กรุณากดลิงค์)
118
โยคะและการเรี ยนรู้ด้านใน โดย ครูเจ
119
Corporate Yoga โดย ครูหนึ่ง
125 3
ยังแจ๋ ว ด้ วยโยคะ สุ ข สดชื่น และแข็งแรง
โดย โยคินี สรรสวย แช่ มช้ อย ผู้เพียรเพ่งเผ่ากิเลส ครูโยคะรุ่น 10 – TYI10/T53 ตุลาคม 53 4
เกีย่ วกับผู้เขียนเมื่อเริ่มงานวิจัย เริ่ มสังเกตุและบันทึก
:
กรกฏาคม 2553
อายุ
:
42 ย่าง (เกือบไหม้) 43
นํ้าหนัก
:
ระหว่าง 78-80 กก
สภาพ
:
สนใจ
:
อ้วน เหนื่ อยง่าย ร้อนวูบวาม เกือบทุกวัน ปวดคอบ่าไหล่เอวหลัง ท้องอืดมีลมมีแก็ส ปวดหัว เวียนหัวบ่อย ตาแห้ง เป็ นทุกเช้า ข้อเข่าซ้ายดัง แพ้อากาศเป็ นหวัดบ่อยๆ อารมณ์ข้ ึนเร็ วมากทุกครั้งที่ความเห็นไม่ค่อยตรงกัน ธรรมะ โยคะแบบการออกกําลังกาย ท่องเที่ยวแนวธรรมชาติ ดนตรี ร้องเพลง ศิลปะ
5
เกริ่นนา Namaste ค่ะ เมื่อครู กวีให้โจทย์มาว่าเมื่อมาฝึ กโยคะและอบรมการเป็ นครู โยคะแล้วต้องทํางานวิจยั หนํ่าซํ้ายังใช้ตวั เอง เป็ นหนู (หมู) ทดลองอีกด้วย คิดว่าก็คงเหมือนกับการบันทึกความเปลี่ยนแปลงของตัวเอง แล้วอยากจะบันทึกอะไรล่ะ ยังงั้นก็ บันทึกทุกอย่างไปแบบเป็ นองค์รวมก็แล้วกัน ทั้งการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายและจิ ตใจ ความรู ้สึก นึ กคิ ด ที่ตอ้ งการจะพัฒนา ให้มนั ดีข้ ึนกว่าเดิม แจ๋ วกว่าเดิม นี้แหละ แล้วมาดูกนั ซิ ว่ามันจะเป็ นอย่างไร “40 ยังแจ๋ วด้วยโยคะ สุ ข สดชื่ นและแข็งแรง” อัน นี้แหละใช่เลย มานัง่ นึกๆ ดูโยคะได้เข้ามาในชีวิตของสวยตั้งแต่จาํ ความได้จนกระทั้งปัจจุบนั เพียงแต่รู้สึกว่าเพราะความเพียรของเรา ไม่พอจึงทําให้ไม่เกิดความต่อเนื่องและเสี ยดายเวลาที่ผ่านมาแต่ไม่สายที่จะเริ่ มต้นใหม่ แต่ตอนนั้นสนใจเรื่ องโยคะเพื่อการลด นํ้าหนักเท่านั้น ในปี 40 เริ่ มรู ้จกั โยคะใน fitness ที่ SCB Park Plaza และได้ลงเรี ยนเป็ นเรื่ องเป็ นราวด้วยแต่จาํ ชื่ อครู ที่สอน ไม่ได้ตอ้ งขออภัยมา ณ ที่น้ ี ดว้ ยค่ะ ยังจําความรู ้สึกตอนนั้นได้อย่างแม่นยําว่า ”ชอบ” ในทันทีและยังได้ไปฝึ กต่ออีกระยะหนึ่ ง แต่ดว้ ยความเกียจคร้านจึงหยุดไป ต่อมาในปี 43 ได้ซ้ื อ VCD โยคะเพื่อแผนการลดนํ้าหนักของนางพยาบาลอเมริ กนั ชื่ อ บาราร่ า เคอร์รี่ซ่ ึ งดังมากในขณะนั้นมาฝึ ก ฝึ กไปได้ระยะหนึ่งความขี้เกียจก็มาเยือนอีก ต่อมาในปี 47 โยคะร้อน ได้เข้ามามีบทบาทและ อยูใ่ นกระแสสังคมรวมถึงการพูดคุยในหมู่ผหู ้ ญิงอย่างมากทําให้ไปลงเรี ยนถึง 1 ปี ณ ตอนนั้นเองที่ได้ไปฝึ กอย่างต่อเนื่ องถึง 3 เดือนด้วยกัน ไปอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน เป็ นเพื่อนรวมคลาสกับมาช่า และเป็ นลูกศิษย์ครู ป้าจิ๊อีกด้วย ตอนนั้นกระแสเขาแรง ค่ะ ผลที่ได้ สดชื่น คล่องแคล่ว นํ้าหนักลด ตัวเบา สบาย สุ ขภาพดีข้ ึน และในระหว่างนั้นยังได้เคยไปฝึ กกับสถาบันโยคะฯ ถึง 10 วัน ที่ อาคารพยาบาล แถวอนุ สาวรี ย ์ ในปี 50 เพื่ อนที่ ทาํ งานได้ให้ DVD ครู มดมา และได้มีโอกาสฝึ กแต่ ไม่ประจํา จนกระทัง่ เดื อนมีนาคม ปี 53 ได้ไปซื้ อ DVD ของครู วรรณ ตั้งใจฝึ กสลับกับของครู มด และมีโอกาสไปอบรมโยคะธรรมะ หรรษากับครู กิ๊ม ในเดือนมิถุนายน ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมาจึงตัดสิ นใจว่าจะนําโยคะมาฝึ กฝนให้ชาํ นาญจนสามารถช่วยเหลือผูอ้ ื่น ได้ จนกระทัง่ เกิดความคิดที่จะไปเรี ยนโยคะอย่างจริ งจังจึงทําให้ตดั สิ นใจลงเรี ยนคอร์ สครู โยคะของสถาบัน จําคําสอน ของครู ฮิโรชิได้แม่น “คุณควรมีโยคะเป็ นเพือ่ น” และทําให้คิดได้ว่าโยคะควรเป็ นเพื่อนรั ก เพื่อนสนิทของเรา โยคะไม่โกหก ซื่ อสัตย์ เป็ นมิ ตรมีความอบอุ่น ทําให้มีความสุ ข และมีปิติ เสมอ เพี ยงแต่คุณต้องระลึ กถึงอยู่เนื่ องๆ และมี ความเพียรเป็ นผู ้ สนับสุ นนประกอบกันไป และในที่สุดโยคะจะเป็ นพื้นฐานที่ดีที่สุดของร่ างกายและจิตใจในสภาวะที่เราต้องการทําความเพียร เพื่อให้ถึงนิพพาน หรื อความหลุดพ้น ซึ่ งเป็ นเป้ าหมายสูงสุ ดของการได้เกิดเป็ นมนุษย์ ขอระลึกถึงพระคุณของมหาคุรุท่านปัตญชลี สวามีกุลยนันท์ ดร.โกราเต้ ครู กวี ครู ฮิโรชิ ครู ฮิเดโกะ ครู ออ็ ด ครู รัฐ ครู เล้ง ครู หมู ครู ดล ครู นนั คณะครู สถาบันโยคะวิชาการ กัลยณมิตรเพื่อนๆ ในคอร์ สครู TYI รุ่ น 10/T53 และครู โยคะทุกคนใน โลกใบนี้ ที่ประสิ ทธิ ประสาทพร ถ่ายทอดความรู ้ และพลังมหาศาลในศาสตร์โยคะให้ศิษย์ดว้ ยความรักและเมตตาค่ะ
ธรรมะสวัสดี Hari Om ค่ะ สรรสวย แช่มช้อย 6
ความเข้าใจในของโยคะ โยคะไม่ใช่การออกกําลังกาย ประโยคนี้เป็ นประโยคแรกๆ เลยที่ตอ้ งจํา เข้าคลาสในวันปฐมนิ เทศก็ประดับใจแล้ว เพราะเมื่อแรกรู ้จกั โยคะนั้นยังมองโยคะว่าเป็ นการบริ หารร่ างกายของ โยคี ฤาษี อยูเ่ ลย พอได้เข้ามาศึกษาอย่างละเอียดลึกซึ้ งแล้ว จึงทําให้ทราบว่าโยคะไม่ใช่เรื่ องของการออกกําลังกายอย่าง แน่นอน โยคะเป็ นมากกว่าการออกกําลังกาย เป็ นการเรี ยนรู ้ และรู ้จกั กับตัวของเราเองอย่างเป็ นองค์รวมทั้งกายและใจ อย่างลึกซึ้ ง เรี ยนรู ้ศกั ยภาพของร่ างกาย และจิตใจทั้งระบบ เพื่อให้เป็ นพื้นฐานที่สําคัญในการทําสมาธิ วิปัสสนาในขั้น สู งอีกด้วย Yoga Citta Vritte Nirogha โยคะเป็ นไปเพื่อการดับความปรุ งแต่ งของจิต แค่คาํ นี้ ก็โดนใจไปเต็มๆ นึกถึงเมื่อตอนไป ปฏิบตั ธรรมที่วนั ผาณิ ตารามของคุณแม่สิริ กริ นชัย ท่านเรี ยกพวกเราว่า “ลูกโยคี” โยคะโยคีน้ ี ก็น่าจะมีอะไรทีเกี่ยวข้อง กันอย่างแน่นอน “โยคี ผูเ้ พียรเพ่งเผากิเลส” ข้อความเตือนใจนี้ก็คล้ายกันมากๆ แหม่โดนจริ งๆ Sthira Sukham Asanam การทําท่าทางของร่ ายกายหรื อว่าอาสนะนั้นเทคนิคที่ถูกต้องคือต้อง นิ่ง รู้ สึก สบาย ใช้ แรง น้ อย สุ ดท้ ายคือมีสติ และก็มีปิติด้วย ชอบอีกแล้วได้เหยียดยืด บริ หารร่ างกาย แถมได้สมาธิ จิตใจ แบบไม่ตอ้ งเหนื่อย Knowledge base Yoga ทัศนะแบบโลก กับทัศนคติแบบโยคะ ครู กวีบอกว่าโลกของผูเ้ ชี่ ยวชาญกับของโยคะนั้น ต่างกัน อันนี้ก็โดนค่ะและอยากปรับทัศนะคติให้เป็ นแบบโยคะในทันที ทัศนคติในโลกของผู้เชี ยวชาญ ทัศนะคติแบบโยคะ สังคมอุตสาหรรม บริ โภคนิยม - ธรรมชาติ สมดุล องค์ รวม อุตสาหกรรม ความรู้ - ทุกคนเกิดมาเพื่อเป้ าหมายเฉพาะตน มีผเู้ ชี่ยวชาญกําหนด คอยป้ อน - ทุกคนมีศักยภาพ รอรับ - ต้องสร้างขึ้นเอง ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ ชีวติ ง่าย - ชีวติ ไม่ ง่าย แต่ ท้าทาย ไปตามกระแส - ทวนกระแส แสวงหา เวียนว่าย ไม่สิ้นสุ ด ล่องลอย - บรรลุเป้ าหมายสุ งสุ ดของความเป็ นมนุษย์ อัษฏางค์ โยคะ หรือ มรรค 8 ของโยคะ 1 ยมะ คือหลักการอยู่ร่วมกับผู้อนื่ (หมายรวมถึงสิ่ งมีชีวติ ทั้งหลาย) ได้ อย่างสั นติ มีอยู่ 5 ประการ อหิงสา การไม่ทาํ ร้ายชีวติ การไม่เบียดเบียน การแก้ปัญหาโดยไม่ใช้ความรุ นแรง สัตยะ การรักษาคําสัตย์ ไม่โกหก อัสเตยะ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่ละโมบ ไม่ตกเป็ นเหยือ่ ของความโลภ พรหมจรรยะ การประพฤติตนไปบนหนทางแห่งพรหม (พรหม จรรยา) หรื อถ้าแต่งงานแล้วก็ไม่มกั มากในกาม อปริ คระหะ คือการไม่ถือครองวัตถุเกินความจําเป็ น
7
2 นิยมะ คือวินัยต่ อตนเอง มีอยู่ 5 ประการ เช่นกัน เศาจะ หมัน่ รักษาความสะอาดบริ สุทธิ์ ทั้งกาย – ใจ สันโตษะ ฝึ กพอใจในสิ่ งที่ตนเองมีอยู่ ตบะ มีความอดทน อดกลั้น สวาธยายะ หมัน่ ศึกษา เรี ยนรู ้ ทั้งเรี ยนรู ้เกี่ยวกับโยคะ และเรี ยนรู ้เกี่ยวกับตนเอง อิศวรประณิ ธานะ ฝึ กเป็ นผูอ้ ่อนน้อมถ่อมตน มีความศรัทธาในโยคะที่เรากําลังฝึ กปฏิบตั ิ 3 อาสนะ คือการฝึ กฝนร่ างกายให้มีความสมดุล 4 ปราณายามะ คือการฝึ กกําหนด ควบคุม กลั้น ลมหายใจ เพื่อการควบคุมอารมณ์ของตนให้สงบ 5 ปรัตยาหาระ คือการฝึ กสํารวมอินทรี ย ์ ฝึ กควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง 5 รู ป รส กลิ่น เสี ยง สัมผัส และจิต 6 ธารณา คือการฝึ กสติให้กาํ หนดรู ้อยูก่ บั สิ่ งใดสิ่ งเดียว อยูก่ บั เรื่ องใดเรื่ องเดียว Concentration 7 ธยานะ คือการเพ่งจ้องอยูก่ บั สิ่ งที่กาํ หนด จนดื่มดํ่า หลอมรวมเข้าเป็ นหนึ่งเดียวกับสิ่ งนั้น Meditation 8 สมาธิ คือการฝึ กจิต การยกระดับจิตให้สูงขึ้น เป็ นสภาวะที่พน้ ไปจากระดับจิตทัว่ ไป Trans Consciousness เปรี ยบเทียบโยคะกับศาสนาพุทธ สมาธิ ภาวนา สติและปัญญา ก่อนหน้านี้ ได้ไปปฏิบตั ิธรรม ศึกษาพุทธศาสนาจากหนังสื อ ของพระอาจาย์หลายต่อหลายท่าน แต่ในที่สุดสนใจ ศึกษาแต่คาํ สอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นจึงเหลือพุทธวัจนะ 5 เล่มจากพระโอษฐ์ และฟัง CD ของพระอาจารย์คึกฤทธิ์ ที่ ถ่ายทอดแต่คาํ สอนของพระองค์ ต่อมาเมื่อได้ศึกษาวิชาโยคะจากสถาบันฯ แล้วทําให้ถึงบางอ้อว่าวิถีโยคะนี้ แหละเป็ น พื้นฐานที่สาํ คัญของการทําความเพียรในระดับสมาธิ เพื่อการวิปัสสนา คือการเตรี ยมร่ ายกายและจิตใจให้ถึงความพร้อม เพื่อการบรรลุธรรมขั้นสู งสุ ดคือสภาวะนิพพานนั้นเอง นึกถึงไปถึงเรื่ องที่เมื่อตอนที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ ไปเล่าเรี ยนวิชา “โยคะ” นี้ มาก่อนที่ท่านจะออกบวช และเมื่อตอนที่ท่านตรัสรู ้แล้ว บุคคล 2 คนแรกที่ท่านนึ กถึงที่จะ ทําให้แจ้งในการตรัสรู ้ดว้ ยนั้นคือพระอาจารย์ของท่านเองเพราะพระอาจารย์ของท่านมี “ความพร้ อม” แล้วที่จะเข้าสู่ สภาวะนิพพาน เพียงแต่ท่านยังไม่รู้แง่มุมของจิตในระดับวิปัสสนาที่เห็นการเกิดดับและปล่อยวาง วิถีโยคะและวิถีพุทธ เหมือนและเกื้อกูลกันในหลายอย่าง เช่น ยามะหรื อศีล 5 นิยามะหรื อจริ ยธรรม สมาธิ และการภาวนา สันโดษหรื อการ มักน้อย การรู ้ลมหายใจ แตกต่างกันอยูท่ ี่การฝึ กฝนร่ างกายหรื ออาสนะ หรื อการฝึ กฝนปราณยามะ ที่ทางโยคะจะเน้น การเตรี ยมความพร้ อมของร่ างกายและให้ตวั เราเรี ยนรู ้ ระบบต่างๆ ของร่ างกายให้กระจ่างแจ้งก่อนที่จะใช้มนั ไปทํา สมาธิ เพื่อความหลุดพ้น ทางพุทธศาสนานั้นยังถื อว่าการมุ่งทําแต่สมาธิ ก็ยงั มี ตวั เราของเรายังยึดถื อ ยังยึดติ ดอยู่กบั สภาวะ นิ่ ง ว่าง และเมื่อสมาธิ มีเกิ ดสมาธิ ก็มีดบั เมื่อความว่างเกิ ดความว่างก็มีดบั เมื่อมีสภาวะเกิดดับที่จิตรับรู ้แต่ไม่ ปล่อยวาง ความแน่นอนตามธรรมก็คือจิตไปเกาะกับอารมณ์เกิดๆ ดับๆ นั้นต่อๆ ไปไม่หยุด พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสรู ้ แล้วในเรื่ องนี้ ท่านจึงพาพวกเราก้าวข้ามความสนใจนี้ ไปสู่ การทําความเพียรทางจิต ที่ให้จิตละทิ้งสิ่ งต่างๆ ให้หมด ไม่ ยึดถือ ไม่ยดึ ครอง ไม่ตอ้ งการสิ่ งใดๆ ทั้งสิ้ น ให้ทิ้งทุกสิ่ งทุกอย่างให้มนั ดับไปไม่เหลือ ไม่ตอ้ งกลับมาเวียนวายตายเกิด เกิดๆ ดับๆ กันอีกซํ้าแล้วซํ้าเล่า เหมือนไฟที่มนั หมดเชื้อไปอย่างนั้น 8
ส่ วนตัวแล้วเห็ นด้วยอย่างยิ่งที่จะนําวิถีโยคะในหลายๆ เทคนิ คที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกายและจิตใจอาทิ อาสนะ ปราณยามะ พันธะ มุทรา หรื อกิ ริยา และสมาธิ มาช่ วยเสริ มกับวิถีพุทธในการทําสมาธิ วิปัสสนาจนเกิ ดปั ญญาทําให้ ตนเอง “หลุดพ้น” …แจ๋ วแจ่มแจ้ง จะเป็ นนักเรี ยนที่ดี และจะเป็ นครู ผใู้ ห้ที่ดีดว้ ย วันปฐมนิ เทศได้เจอกับคณะครู ของสถาบัน และครู ผสู ้ อน เมื่อได้ทาํ ความรู ้ จกั กับครู แล้วเกิดความประทับใจจาก คําพูดแรกที่อาจารย์กวีฝากไว้ให้วา่ “ครู เป็ นผู้ให้ ” เมื่อครู เป็ นผูใ้ ห้ที่ดี ให้ความรัก ความเมตตาแก่เราได้อย่างไม่มีขอ้ แม้ จึงตั้งใจไว้วา่ ตัวเราเองก็จะต้องเป็ นนักเรี ยนที่ดีดว้ ย ต้องทําตัวเป็ นผูฝ้ ึ กโยคะที่ดีให้ได้ดว้ ย และในที่สุดเมื่อถึงเวลาที่ตอ้ ง ทําหน้าที่ครู หรื อผูถ้ ่ายทอดบอกสอน แบ่งปั นในสิ่ งดีๆ ที่ได้รับมาให้กบั นักเรี ยน หรื อผูท้ ี่ตอ้ งการฝึ กเรี ยนโยคะจากเรา เราต้องให้สิ่งที่ดีที่สุดแก่พวกเขา ไม่วา่ เขาเหล่านั้นจะเป็ นใครก็ตาม….ฮึดมาก แจ๋ วตั้งใจจริ ง ฝึ กอาสนะดัดตนบนเสื่ อและเริ่ มวิถีแห่งโยคะ การฝี กอาสนะในแนวโบราณแบบฉบับดัง่ เดิ มนี้ ถูกใจมาก โดยเฉพาะท่วงท่าการขยับร่ างกายที่ช้า นุ่ มนวล เบา สบาย ตามรู้ ตามดู กาย ใจ อย่างมี สติ ครู แนะนํา ว่าช่ วงเวลาที่ ฝึ กนั้นร่ า ยกายควรผ่อนคลาย ซึ่ งจะทําให้ไม่ เกิ ดการ บาดเจ็บ ผิดกับอาสนะในสตูดิโอที่ได้ฝึกมา ยังจําได้วา่ กล้ามเนื้ อเจ็บ ปวด เมื่อย ล้า และทรมานมาก ครู ยงั ได้แนะนํา เพิ่มเติ่มอีกด้วยว่าควรมีผา้ ปูทบั เสื่ อที่เป็ นยางอีกชั้นหนึ่ งเพราะผิวหนังของคนเรานั้นควรสัมผัสกับของที่เป็ นธรรมชาติ จึงได้ขอ้ คิดที่เผื่อไปถึงลูกศิษย์ในอนคตในทันทีวา่ การฝึ กอาสนะนั้นไม่จาํ เป็ นต้องไปซื้ อหาเสื่ อยอดฮิตยี่ห้อดังๆ ให้ เปลืองเงินเปลืองทอง เพียงแต่หาผ้าซักผืนที่เหมาะสมกับช่วงตัวก็ฝึกโยคะได้แล้ว ก่อนการฝึ กก็จะต้องนอนพักกล้ามเนื้ อและเริ่ มต้นการฝึ กด้วยกระตุน้ ร่ างกายด้วยการเกร็ งคลายแต่ละส่ วน เพื่อให้ เรารับรู้ความแตกต่างของความรู ้สึกระหว่างกล้ามเนื้ อที่เกร็ งและกล้ามเนื้ อที่คลายว่าต่างกันอย่างไร เมื่อเวลาฝึ กเราจะ ได้คลายในส่ วนที่เกร็ ง และเกร็ งให้ได้ในส่ วนที่ตอ้ งคงนิ่ง ค้าง ไว้ นอกจากอาสนะแล้วยังได้ฝึกปราณยามะการควบคุม ลมหรื อการหายใจ มุทรา พันธะ การล็อค 3 ส่ วนของร่ างกาย ล็อคทวารเพื่อยกอวัยวะส่ วนล่างของช่องท้อง ล็อคท้อง ยกกระบังลมและแขม่วท้องเพื่อยกอวัยวะภายในช่องท้องให้เข้าที่เข้าทาง และล็อคคอเพื่อบริ หารต่อมและช่องคอ อัน เป็ นประโยชน์มหาศาลของร่ างกายทั้งระบบ และเรี ยนรู้ เรื่ องกิริยาคือการชําระล้างจมูกด้วยกาเนติอีกต่างหาก เริ่ มต้นก็ ชอบแล้วคอร์สนี้คุม้ มากๆ ….แจ่มแจ๋ ว เริ่ มรู ้จกั ตัวเอง เวลาฝึ กอาสนะจะนึ กถึงพุทธศาสนาเรื่ องกายคตาสติ เพราะตลอดเวลาที่ฝึกครู จะพูดประโยคเด็ดนี้ เข้ามาในหัว เสมอ “ให้ เฝ้ าสั งเกตตัวเอง” สังเกตว่ามีอะไรเปลี่ยนแปลงทั้งกายและใจ เมื่อเฝ้ าดูเฝ้ าสังเกตตัวเองแล้ว ทําให้รู้จกั ตัวเอง มากขึ้น เมื่อเวลาที่ฝึกอาสนะจึงรับรู ้ ได้วา่ ตรงไหนตึง ตรงไหนหย่อน ตรงไหนกดทับ ชอบเวลาที่หน้าท้องได้ถูกนวด ตอนกดทับที่ พ้ืน หรื อเวลาที่ หลังได้เหยียดยืด และจะรู ้ สึกว่าอยากพยายามถ้าพบว่าซี กซ้ายกับขวายืดไม่เท่ากัน หัว ใจเต้นชัดช่ วงไหน รู ้ สึกร้ อนวูบวาบตอนไหน เวลาเปลี่ ยนท่านอนควํ่า มาเป็ นนอนหง่าย แล้วลุ กนัง่ จะมี อาการปวด บริ เวณหน้าผาก ก็จะเฝ้ าสังเกตุตวั เองว่ามันจะหายไปตอนไหน มันหายไปตอนท่านัง่ พัก เอียงคอก้มนิ ด ทําให้รู้ว่าเรา อาจมีปัญหาเรื่ องเลือดไหลเวียนไปที่ศรี ษะ แต่ละช่วงเวลาที่ฝึกเรารู ้สึกอย่างไร ชอบ สุ ข ง่วง ปวดท้อง แอบมองเพื่อน 9
คิดขําเพื่อนก็มีนะคะ แต่ละวันร่ างกายและความรู ้สึกไม่เหมือนกันเลย สิ่ งที่ได้คือรู ้ จกั ตัวเองมากขึ้นรู ้จกั คนอื่นน้อยลง ทั้งๆ ที่เมื่อก่อนรู ้ แต่เรื่ องคนอื่นค่ะ เรื่ องของตัวเองโดยเฉพาะกายใจไม่เคยรู ้ แล้วใครบอกว่าโยคะขยับช้าเนี้ ยเหงื่ อไม่ ออกอันนี้ขอเถียงค่ะ แค่ท่างูท่าแรกเหงื่อออกเต็มหน้าทุกครั้งเลยค่ะ …แจ๋ วเสี ยเหงื่อ ทานได้นอ้ ยลง หลังจากฝึ กไปได้ระยะหนึ่ งสิ่ งที่รับรู ้ เกี่ ยวกับเรื่ องทานอาหารเรื่ องแรกเลยคือทานได้น้อยลง ซึ่ งปกติจะเป็ นคน ทานอาหารเก่งมาก ทานเยอะด้วย ระยะหลังพอทานไปได้ประมาณครึ่ งเดี ยวก็รู้สึกอิ่มและไม่ยากทานอีกแล้ว พอไป อ่าน sheet ในตําราบอกเอาไว้วา่ โยคีทานอาหารของแข็ง 2 ใน 4 ของกระเพาะ หากกําหนดเองประมาณ 16 ช้อนโต๊ะ นํ้าหรื อนํ้าซุ ป 1 ใน 4 กระเพาะ กําหนดเองก็ประมาณ 8 ช้อนโต๊ะ ที่สําคัญควรทานแต่อาหารที่ปรุ งสุ กใหม่ อุ่น ไม่ควร ทานของเย็นเนื่องจากในกระเพาะถือเป็ นพระอาทิตย์หรื อไฟ หากทานของเย็นจะไปดับไฟย่อยในกระเพาะทําให้น้ าํ ย่อย ทํางานเสี ยสมดุลไป เมื่อสังเกตดูตวั เองก็เป็ นอย่างนั้นจริ งๆ เนื่ องจากชอบดื่มกาแฟเย็นหรื อนํ้าเย็นหลังอาหาร เมื่อก่อน ไม่รู้สึกแต่พอฝึ กโยคะ รู ้ได้ทนั ที่วา่ ท้องอืดหลังดื่มนํ้าเย็น ตั้งแต่น้ นั ก็ดื่มแต่น้ าํ ปกติ แม้แต่น้ าํ เต้าหู ้หรื อนํ้าผลไม้ที่แช่เย็น ก็จะทิ้งไว้ให้หายเย็นแล้วค่อยดื่ ม เทคนิ คการรับประทานอาหารอีกอย่างที่ได้จากครู กวีก็คือ ทานผลไม้ หรื อผักก่อน เพราะร่ างกายจะได้ดูดซึ ม เกลื อแร่ และวิตามินได้ดี… อันนี้ ดีมากๆ เพราะนอกจากจะดูดซึ มก่อนยังทําให้อิ่มเร็ วและ ทานอย่างอื่นได้นอ้ ยตามด้วยคะ แต่กย็ งั ต้องพยายามปรับการทานอยูอ่ ีกมาก …..เรื่ องนี้ตอ้ งแจ๋ วให้ได้ เดินขึ้นบันไดได้ไงเนี้ย 3 ชั้นที่ office และ 6 ชั้นไม่เหนื่อยเลย พูดโทรศัพท์ไปด้วย เรื่ องนี้ เกิ ดจากการสังเกตตัวเองในช่ วงเย็นของวันหนึ่ งมีน้องจากที่ ทาํ งานเก่ าโทรศัพท์มาคุ ยด้วย ปรึ กษาเรื่ อง ปั ญหาหัวใจ คุยไปได้ระยะหนึ่ งต้องเข้าลิฟท์ข้ ึนไปที่พกั ที่อยูช่ ้ นั 6 แต่ไม่ได้มีโอกาสบอกปั ดน้องให้หยุดพูด อีกอย่าง เห็นใจเขาที่อยากจะระบาย เลยเดินเลยลิฟท์ไปขึ้นบันไดแทน พร้อมคุยไปเรื่ อยๆ จนขึ้นมาถึงที่ห้องพักวางกระเป๋ าแล้ว นัง่ คุยต่อซักพัก น้องปลายสายถามขึ้นมาเองว่า พี่ถึงคอนโดยังพอบอกว่าถึ งห้องแล้วเดินขึ้นมา กลัวสายหลุดตอนเข้า ลิฟท์ น้องพูดกลับมาเสี ยงตกใจว่า ฟังเสี ยงไม่รู้เลยนะว่าเดินขึ้นบันใดมา เสี ยงไม่เห็นเหนื่อยเลย…ได้สติกลับมาดูตวั เอง ก็พบว่าไม่ได้รู้สึกเหนื่ อยเลยจริ งๆ หลังจากนั้นจึงไปสังเกตตัวเองตอนเดินขึ้น office ก็พบว่าจากที่เคยเดินขึ้นบันไดที่ office แค่ 3 ชั้นยังเหนื่อยตอนนี้ ก็ไม่เหนื่อยแล้ว…มาคิดว่าการฝึ กอาสนะและปราณายามะน่าจะทําให้ปอดและร่ างกาย แข็งแรงขึ้น เลยได้ใจคิดว่าเห็นทีจะต้องเดินพิชิตทุกตึกที่จะต้องไปซะแล้ว ถ้างั้น 6 ชั้น ที่คณะมนุ ษย์ศาสตร์ มศว ตอน ไปเรี ยนวันเสาร์ จะทําได้ม้ ยั เนี้ย…แจ๋ วไม่แคร์ ลิฟท์ ปรับบุคลิก นํ้าหนักลด สัดส่ วนมาแล้ว ถึงแม้วา่ โยคะจะไม่ใช่การออกกําลังกายแต่ผลที่ได้อย่างสังเกตเห็นได้เมื่อฝึ กไปได้ระยะหนึ่งคือนํ้าหนักลดลง เริ่ ม มีส่วนเว้าของเอว เรื่ องคาด (เข็มขัด) ไม่ถึง ค่อยน้อยลงหน่อย นอกจากเอวจะมีมาแล้ว อีกอย่างที่ดีมากๆ คือจะรู ้สึกตัว บ่อยๆ แขม่วท้อง และปรับหลังให้ต้ งั ตรง อยูเ่ ป็ นประจํา เสื้ อผ้าที่เคยคับติ้ว จนอึดอัด ก็หลวมสบายขึ้น ส่ วนที่หลวมก็ 10
ต้องใช้เข็ดขัด มี คนมาชมว่าผอมลงนะคะ ใส่ ชุดนี้ ดูดีดูผอม เวลาที่คนมาชมก็รู้สึกดี นะคะ รั บรู ้ ได้ว่าดี ใจ แต่ยงั บอก ตัวเองว่าเป้ าหมายคือความแข็งแรงของร่ างกายและจิตใจมากกว่าการลดนํ้าหนัก…แจ๋ วจะสู ้ต่อไป ลูกน้องที่ office ป่ วยเป็ นไข้หวัด 5คน แต่ไม่ติดแค่มีอาการร้อนๆ หนาวๆ ครึ่ งวัน ในช่ ว งระหว่ า งเดื อ นสิ ง หาคมและกัน ยายน เป็ นช่ ว งยอดฮิ ต ของการเป็ นหวัด ทุ ก ชนิ ด หวัด เล็ ก หวัด ใหญ่ หวัด 2009 ที่ office ก็ไม่รอดเป็ นกันมากถึง 5 คน (office เล็กๆ คะมีกนั แค่ 20 คน) มีคนหนึ่ งเป็ นไข้หวัดใหญ่ หมอให้ หยุดดูอาการ 7 วัน หากเป็ นก่อนหน้านี้บอกได้เลยว่าคนที่ 6 ต้องเป็ นตัวเองแน่ๆ แต่คราวนี้ มีอาการแค่ตวั รุ มๆ คิดไปเอง ว่าร่ างกายคงได้รับเชื้ อและกําลังต่อสู ้กนั อยู่ เลยกลับบ้านพักผ่อน นอนพัก ดื่มนํ้าอุ่น คายเสมะออกมาเยอะเท่านั้น พอ ตอนเช้าหายสนิท ไม่มีแม้แต่ไข้ จาม หรื อไอเลยด้วยซํ้าไป อาจเป็ นเพราะได้ฝึกอาสนะ ปราณยามะ ชาลันธรพันธะและ ชิวหาพันธะ และการล้างจมูกตอนเช้าหรื อเปล่านะ……แจ๋ วมาก
กาเนติ
เข้าคิวที่ Bank มีสติอยูก่ บั กาย ปกติเวลาไปธนาคารชอบแอบดูพนักงานที่กาํ ลังทํางาน พูดคุยกับลูกค้า เพราะคิดว่ามันตลกดี ในใจจะนึ กวิพากย์ วิจารณ์ พวกเขาตลอด อุย้ คนนี้เป็ นสาว คนนั้นหน้าขาวมาก คนโน้นใส่ ขนตาปลอม ถ้าเวลายืน่ รอคิวนานหน่อยก็จะบ่น ในใจว่า จะฝากจะถอนต้องเอาหมอนมาด้วยหรื อเปล่า (ว่ะ) แต่วนั นี้ พอเข้าคิวรอเท่านั้นความรู ้สึกก็มาอยูก่ บั ตัวเองเฉยๆ ไม่คิดไม่รู้สึกอะไร รับรู้เหมือนตัวเองกําลังยืนในท่า ภูเขา ตัวตรงๆ กลางกระหม่อมเหมือนมีอะไรมาดึงไว้ เข้าคิวรับบริ การจนกระทัง่ จบกระบวนการของพนักงานโดยไม่ คิดอะไรกับใครๆ เลย ยังจําความรู ้ สึกนั้นได้อย่างดีว่า ไม่คิด ไม่ตดั สิ น ไม่รู้สึกว่าต้องรอ ไม่บ่น รับรู ้ทุกอย่างอยูเ่ ฉยๆ ด้วยความเงียบ สงบ….แจ๋ วโยคะภาวนา เด๋ งดึ๋ง เต๋ งตึง ที่เกร็ งก็ควรเกร็ ง ที่คลายก็ควรคลาย เกร็ งแล้วคลาย เหตุเกิดจากการวันเกิด “อยากจะกิน” และรวมตัวนัดพบของสาวๆ ก๋ วนฝ่ ายประชาสัมพันธ์ไอทีวีเดิม นัดรวมตัวกัน ได้ 1 หนุ่ม 6 สาว พอเริ่ มอิ่มปากหยุดกินก็มีเสี ยงเริ่ มเมท์ของคนที่อยากรู้ถามถึงเรื่ อง “โยคะ” ที่ไปเรี ยนมาว่าเป็ นไงบ้าง เห็น “พี่แก่อินเหลือเกิน” สิ่ งแรกที่แวบเข้ามาในหัวก็คือถ้าพูดเรื่ อง โยคะแนวสมาธิ หรื อธรรมะสงสัยจะไม่เข้าหัวหนุ่ม สาวใจเสาะพวกนี้แน่ เอาเรื่ องแบบที่วยั รุ่ นเค้าสนใจดีกว่าเรื่ องแนวแบบหน้าเด็ก ออก x x หน่อยก็แล้วกัน ว่าแล้วก็พูด ถึงเรื่ องพันธะ มุทรา การฝึ กสิ มหะมุทรา และชิ วหาพันธะ จะทําให้หน้าเด็ก และสุ ขภาพแข็งแรง ทําหน้าท่าทางให้ดู ก็ 11
เริ่ มมีเสี ยงหัวเราะ และทําตาม แต่พอเข้าเรื่ อง x x นี่ ซิ พูดถึงการฝึ กมูลพันธะกับอัศวนิมุทรา หรื อว่าการขมิบก้นว่า นี่ ก็ เป็ นการฝึ กโยคะด้วยนะ การฝึ กแบบนี้จะทําให้สมรรถภาพทางเพศดีมาก คงความเป็ นหนุ่มสาวไว้ได้ แต่ตอ้ งทําอย่างมี สติ รับรู ้ ว่าตรงไหนเกร็ ง ค้าง และคลาย นับ 100 ครั้งก็ได้ วันละ 4 เวลาได้เลยนะ พอพูดจบไม่มีเสี ยงตอบรับใดๆ บรรยากาศเงี ย บเฉี ย บวัง เวงเหมื อนอยู่ค นเดี ย ว แล้ว พอทุ ก คนได้ส ติ ก็ ป ล่ อยเสี ย งหัวเราะดังๆ ออกมาพร้ อมๆ กัน แล้วพูดว่ากําลังตั้งใจ “ขมิบ” กันอยู่ แต่คาํ ว่า “ขมิบ” ในที่สาธารณะมันอาจดูไม่สุภาพพวกเราจึงตกลงแปลงคําว่า ขมิบ เป็ น ขุมิ ขุมิ ขิมุ ขิมุ ดูน่ารักเข้ากับ trend เด็กๆ พวก คิก คิก งุงิ หงุงงิง อะไรเทือกนั้น เรื่ องนี้ คุยกันเข้าถึงกึ๋นหัวเราะกัน ลัน่ จนพนักงานเสริ ฟ์ที่ได้ยนิ ต้องส่ งยิม้ ส่ งเสี ยงหัวเราะกับพวกเราด้วย รู ้สึกว่าดีมากๆ ที่ทาํ ให้นอ้ งๆ มีความสุ ข และรู้ใน เรื่ องโยคะถึงแม้วา่ เป็ นเพียงบางส่ วนเล็กๆ ก็ยงั ดี ตอนนี้ ไปโพสกันลงใน face book ว่า “วันนี้ คุณ ขุมิ ขุมิ ขิมุ ขิมุ แล้ว หรื อยัง” …..แจ๋ วอีกแล้ว เวลารถติดทําอะไร ประโยคคําถามนี้ตอ้ งขอขอบคุณครู เล้งที่ได้ถามขึ้นมาระหว่างไปส่ งเธอกลับบ้านหลังจากการฝึ กโยคะในวันเสาร์ หนึ่ ง ตอนแรกตอบไปว่า “แต่งหน้าค่ะ” ก็มนั จริ งนี่ น่า เพราะปกติ เวลารถติ ดชอบแต่งหน้า คื อเอาลิ ปมันมาทาปาก หรื อไม่ก็ดูกระจกเช็กความสวย (ที่ไม่เสร็ จซะที) ครู เล้งบอกว่าต้องทํา มูลพันธะ ขมิบก้นนะ….อ่ะ! ได้เลยครู ลูกศิษย์ กตัญํูอย่างเราเชื่อฟังและพร้อมปฏิบตั ิเสมอ ปั จจุบนั นี้ เวลารถติดในช่วงเช้าและเย็นระหว่างบ้านกับที่ทาํ งานหรื อไปที่ ไหนก็แล้วแต่ จะฝึ กชิ วหาพันธะ และมูลพันธะทุกครั้งนับไปด้วยกว่า 500 ครั้งต่อเที่ยวแล้วล่ะคงไม่ทาํ ไปมากกว่านี้ เดี๋ยวจะเกิดอาการท้องผูกหรื อว่าทําให้มดลูกช่องคลอดมีปัญหา.....แต่ถา้ เรื่ องความฟิ ตต้องรอถามแฟน อิอิ ขุมิ ขุมิ ขิมุ ขิมุ แจ๋ วมากๆ ละ ทิ้ง เมื่ออ่านมรรค 8 ของโยคะแล้วถึงกับยิม้ เพราะเป็ นข้อปฏิบตั ิที่ไม่ยากโดยเฉพาะข้อ อปริคระหะ การไม่ถือครอง วัตถุเกินความจําเป็ น 1 ใน 5 ของนิยมะ มรรคข้อ 1 เป็ นการฝึ กฝนตนเองคล้ายศีลธรรมและจริ ยธรรม เข้าทางมากๆ เพราะปกติก็เป็ นคนชอบบริ จาคสิ่ งของที่ไม่ได้ใช้ให้แก่คนรอบข้างและคนอื่นๆ อยูเ่ ป็ นประจําอยูแ่ ล้ว ข้อ สั นโตษะ การ พอใจในสิ่ งที่ตนเองมีอยู่ 1 ใน 5 ของนิยามะ มรรคข้อ 2 วินยั ของการฝึ กฝนตนเองนั้น ตั้งแต่จาํ ความได้จะมีความคิด ที่วา่ ไม่วา่ อะไรที่เป็ นสิ่ งที่เรามีหรื อสิ่ งที่เราได้รับ มันเป็ นสิ่ งที่ดี ที่น่าพอใจ มีหลายแง่หลายมุมให้มองให้ศึกษา ยิ่งพอ ได้เข้ามาฝึ กฝนตนเองในแนวโยคะอย่างจริ งจัง วัน Big Cleaning Day จึงเกิดขึ้น การจัดระเบียบ ข้าวของ ห้องหับ ที่ อยูอ่ าศัยให้สะอาด เอี่ยมอ่อง เรี ยบร้อย เสื้ อผ้า ข้าวของ แก้วกาแฟ (ที่มีประมาณเกือบ 20 แก้วใช้คนเดียวยังงงว่ามีทาํ ไม เยอะแยะ) เครื่ องสําอางค์เลือกเฉพาะที่ใช้ที่จาํ เป็ นและพอเพียง ถึ งแม้ว่าจะไม่ได้ทาํ ในวันเดี ยวให้จบ แต่ปัจจุบนั ได้ บริ จาค ละ ทิ้ง และตรวจสอบดู สิ่งของที่ ไม่จาํ เป็ นเป็ นประจําทุกวันอาทิตย์ สิ่ งที่ เกิ ดขึ้นทันทีก็คือห้องดู กว้างขึ้น ตู ้ เสื้ อผ้าใหญ่ข้ ึน ได้เห็นและได้ใช้ของทั้งหมดทุกชิ้นทุกอัน การทําความสะอาดก็ง่ายขึ้น ฝุ่ นที่บางครั้งทําให้เกิดไอ จามก็ ลดลง หายใจดีข้ ึน จิตใจก็โล่งโปร่ งสบายขึ้น เมื่อห้องพักที่อยูอ่ าศัย ของใช้ สะอาดเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย คิดว่าน่าจะได้ 12
เศาจะ การหมัน่ รักษาความสะอาดบริ สุทธิ์ ทั้งกาย – ใจ มาอีกข้อหนึ่งโดยอัตโนมัตินะ…คําว่าละทิ้งนี้ คงต้องนํามาใช้ กับกิเลสและตัณหาด้วยเช่นกัน ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ในทุกสิ่ งแม้กระทัง่ ตัวตนของเราต้องทิ้งให้เรี ยบ …..แจ๋ วอ่ะ คิดว่าเอาเวลาที่โกรธเกลียดใครไปสร้างบุญบารมีดีกว่า เมื่อก่อนจะมีอารณ์บ่อยๆ คือฉุ นง่าย โกรธง่าย จนกระทัง่ ไปเจอคํานี้ “ชี วิตคนเรามันสั้ นหนักเอาเวลาที่โกรธเกลียด ใครไปสร้ างบุญบารมีดีกว่ า” โอโห..มันโดนเต็มๆ นับแต่น้ นั มาพอมีอะไรมากระทบคํานี้ จะผุดขึ้นมาทันที…พักหลัง เวลามีอารมณ์โกรธใคร เอาเวลาไปฝึ กอาสนะดี กว่าสร้างบุญบารมีได้ได้อย่างไรนะเหรอจากประสบการณ์ ที่ได้ลว้ นๆ คิดว่า ช่วงเวลาที่เรามีสติรู้อยูก่ บั กายใจตลอดการฝึ กอาสนะนั้นทําให้อษั ฏางค์โยคะหรื อมรรค 8 ของโยคะของเราครบ บริ บรู ณ์ ในขณะที่เราฝึ กอาสนะ เรา ได้ ยามะหรือศีล 5 เพราะว่าเราไม่เบียดเบียน ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่พูดปด เรามีพรหมจรรย์ และไม่ได้ถือครองวัตถุเกิ ดความจําเป็ น เพราะตอนฝึ กเรามีแค่เสื่ ออาสนะผ้าปูและเสื้ อผ้าเท่านั้น ได้ นิยามะ เพราะมี ความอดทน มีความสันโดษ อยู่กบั สิ่ งที่เราทําได้ได้แค่ไหนพอใจแค่น้ นั เราได้ชาํ ระกายใจให้บริ สุทธิ์ ก่อนฝึ กเราจะ อาบนํ้า ล้างจมูกก่อน หลังฝึ กก็ชาํ ระล้างช่องนาดีดว้ ยกปาละภาติ ในขณะที่ฝึกเรามีสติอยูกบั ตัวไม่คิดอกุศลใดๆทั้งสิ้ น เราได้การหมัน่ ศึกษาตนเอง รับรู ้ความเปลี่ยนแปลงของตนเองอยูต่ ลอดเวลา เราได้มีศรัทธามีศรัทธาในการฝึ ก ถ้าเราไม่ มีศรัทธาเราคงไม่มาฝึ ก ศรัทธาอีกอย่างที่เรามีคือพระพุทธเจ้าและธรรมที่พระองค์ได้แสดงแล้ว สิ่ งสําคัญคือการมีที่พ่ ึง ที่ถูกต้อง คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และมีโยคะเป็ นเพื่อนรักเพื่อนสนิท ได้ ปราณยามะ การควบคุมการหายใจ ให้เป็ นปกติในขณะฝึ กอาสนะ เราจะรับรู้ทุกการหายใจเข้า ออก กลั้นหรื อหยุดในช่วงไหนแต่มนั เป็ นไปตามปกติของ ร่ างกายในขณะนั้น ได้ ปรัทยาหาระ เมื่อร่ างกายนิ่ ง ลมหายใจสงบ เราได้ควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จากสิ่ งเร้าภายนอก ได้ ธารณะ ใช้จิตเพ่งจ้อง จด จ่อ อยูก่ บั กายและความรู ้สึกนึ กคิด ที่เปลี่ยนแปลงอยูใ่ นภายใน ฌาน เกิดขึ้นเมื่อจิตได้เพ่งจ้อง จด จ่อ อยูก่ บั กายใจในอาสนะที่กาํ ลังทําอยูแ่ ต่เพียงอย่างเดียว และเมื่ออยูก่ บั ปั จจุบนั จิต ทั้งหมดจึงเกิด สมาธิ คือการรวมกายและใจเข้าไว้ดว้ ยกันเป็ นภาวะอิสระจากสิ่ งเร้าสิ่ งกระทบรบกวนจากภายนอก ทั้ง ปวง เมื่อจิตเป็ นสมาธิ แล้ว บุญ บารมี ที่เกิดจากสมาธิ ภายจิตนั้นมากมายมหาศาลและสะสมได้ขา้ มภพข้ามชาติ และใช้ เป็ นพื้นฐานในการพัฒนายกจิตขึ้นไปสู่ ข้ นั วิปัสสนา ที่ได้จากการฝึ กโยคะอาสนะนี้ แหละที่ตวั เองค้นพบ…...แจ๋ วนี้ เพื่อ ความหลุดพ้น หลับง่าย หลับสนิท ช่วงหลังๆ ที่อายุมากขึ้นจะมีอาการหลับยากอยู่เหมือนกัน แต่ถา้ ได้หลับก็จะหลับยาวตลอดคืน แต่บางครั้งก็เป็ น เพราะทานอาหารเย็น มีปาร์ ต้ ีกบั เพื่อน นัดเจอ นัดคุย สารพัด แต่พอได้ฝึกอาสนะ ทานน้อย สวดโอม พร้อมกับทํา Yoni Mudra และฝึ กปราณยามะ อยูเ่ ป็ นประจําสังเกตุตวั เองว่าหลับง่าย ลึกและหลับสนิ ทขึ้น และจะเพิ่มเทคนิ คที่ชอบ หลัง สวดมนต์ สมาทานศีล และอุทิศส่ วนกุศลแล้ว จะตามด้วยการเคาะและวน singing bowl อันน้อยๆ ที่ไปถอยมาเองจาก ร้านขายของฮินดูก่อนนอนอีกด้วย เพราะชอบในเสี ยงที่ดงั กังวาลใส คิดว่าคงจะช่วยให้หลับดีข้ ึนเพราะหลังจากฟังแล้ว จะรู ้สึกง่วงมาก ร่ างกายได้ผ่อนคลายเต็มที่….เวลาไปสอนเพื่อนที่นอนไม่ค่อยหลับ สาเหตุเครี ยดงาน ทะเลากับแฟน กับสามี ก็จะแนะนําวิธีน้ ีเน้นอาสนะท่าศพ สวดโอม และเทคนิคต่างๆ ที่จะทําให้หลับได้ดี คนเราพอหลับได้ดีข้ ึน หลับ 13
สนิ ท หลับลึ ก ร่ ายกายก็จะแข็งแรง มี ความสุ ข จิตใจก็จะแช่ มชื่ น สดใส ร่ าเริ ง มีพลังที่จะทําการงานทุกสิ่ งอย่างให้ สําเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี …..โยคะนี่เแจ๋ วสุ ดๆ
Singing Bowl ระฆังน้ อย รู้รักษาตัวเองจากการเจ็บป่ วยเบื้องต้นง่ายๆ ปวดคอ ไหล่ บ่า เอว หลัง ท้องอืด อาหารไม่ยอ่ ย อาหารเผ็ด ปวดหัว ปวดกระบอกตา ปวดหัวคิ้ว ข้อเข่าดัง เมื่อก่อนต้องเสี ยเงินไปกับค่านวดแผนโบราณทุกสัปดาห์บางสัปดาห์ก็ 2 ครั้งครั้งละ 700 บาท เพราะมีอาการปวด คอ บ่า ไหล่ เอว หลัง เนื่ องจากการทําคอมที่ทาํ งานทุกวัน เครี ยดจากการรับเรื่ องต่างๆ ทั้งวันทุกวัน ไหนยังจะ fb และ net ที่ตวั เราเองก็ชอบเข้าไปแวะดูแวะเล่นอยูเ่ ป็ นประจํา อีกทั้งอาการคล้ายวัยทอง (ขอยํ้าว่าคล้าย) มาเยือน เหนื่ อยง่าย ตาแห้ง ร้ อนๆ หนาวๆ บอกไม่ถูก เวลาใกล้จะมีประจําเดื อนก็จะมีอาการปวดหัวเวียนหัวเหมือนไมเกรน มีปวดตัว ปวดท้องบ้าง หาหมอเป็ นประจํากินยาตลอด วนๆ เวียนๆ อยูก่ บั ยาแก้ปวด ยาคลายกล้ามเนื้ อ ยาแก้แพ้ แก้หวัด สารพัน ยา ซื้ อเป็ นกระเป๋ าเป็ น package ติดบ้านไว้เลย แต่เมื่อฝึ กโยคะอย่างจริ งจังโดยที่ฝึกเองตั้งแต่ มีนาคม และเข้ามาเรี ยนรู้ การฝึ กที่ถูกต้องจากสถาบันในเดือน กรกฏาคม อาการดังกล่าวทุเลาลงไปอย่างมาก บางอย่างหายไปเลยเช่ นปวดไม เกรน ปวดท้องประจําเดื อน แพ้อากาศ หรื อหวัด รู ้ สึกว่าตัวเองแข็งแรงขึ้น หายใจได้ลึกขึ้ น และสามารถรั บรู ้ ความ เปลี่ ยนแปลงต่างๆ ในร่ างกายได้ดี เวลาอาหารไม่ย่อย หรื อทานเผ็ด ท้องจะเกิ ดอาการทันที เคยมี 2 กรณี ทีอาเจียน ออกมาเองคือครั้งแรกทานทูน่ากระป๋ องซึ่ งก่อนหน้านี้ ก็ทานได้เป็ นปกติ หลังจากได้อาเจียนออกมาจนกระทั้งทุกวันนี้ ไม่ทานอาหารกระป๋ อง หรื ออาหารสําเร็ จรู ป อีกเลย อีกครั้งเมื่อไปทานข้าวต้มร้านเหลาๆ ซื้ อจับฉ่ ายกลับมาทานเป็ นมื้อ เช้าที่บา้ น ทานเสร็ จ 10 โมง ประมาณ 11 โมงเกือบเที่ยงอาเจียนออกมาหมดเลย เข้าใจว่าอาจจะอุ่นไม่ดี หรื อมีอะไรซัก อย่างที่ทาํ ให้กระเพาะไม่ยอ่ ยและคายสิ่ งที่เป็ นพิษออกมา พออาเจียนออกมากลับรู ้สึกไม่หิวและสบายท้อง สบายตัวขึ้น มากกว่าแทนที่จะรู ้ สึกว่าไม่สบายและป่ วย… อีกอาการคือปวดหัว ปวดบอกไม่ถูกและรู ้ สึกอึดอัดอยากถ่ายจึงกิ นนํ้า เยอะๆ เพื่อทําให้ถ่าย และทําอาสนะงู ตัก๊ แตน และธนู ตามไปสักพัก ก็ปวดถ่ ายพอถ่ายออกไปแล้วอาการปวดหัวก็ หายไป ฉันเป็ นหมอให้กบั ตัวเอง….. แจ๋ วนี้สุดยอด มีความสุ ขที่ได้ถ่ายทอดบอกสอนสิ่ งดีๆ เป็ นผูใ้ ห้เหมือนคุณครู อยากช่วยเหลือผูอ้ ื่น หลังจากที่เรี ยนมาได้สักพักก็ได้เวลาฝึ กสอนหรื อฝึ กวิชาที่เรี ยนรู ้กนั มา ลูกศิษย์ก็ไม่ใช่ใครที่ไหนหรอกค่ะคนใกล้ ตัว เพื่อนๆ ลูกเพื่อน ลูกน้อง เผื่อแผ่ไปถึงแม่ลูกน้องอีกด้วย เพื่อนๆ ที่สํานักงาน จะมีความสุ ขที่ได้ถ่ายทอดบอกสอน มากๆ บอกทุกคนว่าสอนให้ฟรี ค่ะ แต่ใครจะช่วยค่ารถค่านํ้ามันก็ไม่ปฏิเสธสาธุ ดว้ ย สอนครั้งแรกได้ค่านํ้ามันรถมาตั้ง 400 บาทแน่ะ มองดูใจตัวเองก็รู้วา่ ดีใจนะคะ มีความสุ ข แต่สุขจริ งๆ คือได้ไปสอนมากกว่า
14
หลังจากการสอนจะพูดคุยถึงสิ่ งที่เขาได้จากการเรี ยนเพื่อให้ตวั เราเองได้เรี ยนรู ้ และจัดปรับการสอน พัฒนาการ สอน บางคนบอกว่าสนุ กดีค่ะ บางคนก็บอกว่า ชอบ เพราะได้สมาธิ ดว้ ย แต่บางคนก็จะบอกว่า ช้าเกิน ใจร้อนอยากทํา เร็ วๆ บอกคนก็บอกว่ามีแค่ 14 ท่าเองเหรอค่ะ ในขณะที่บางคนบอกว่าโอโหตั้ง 14 ท่าเลยเหรอ ที่ได้เรี ยนรู ้จากนักเรี ยน เหมือนกันคือ ไม่อยากฟังคําอธิ บาย อยากฝึ กเลยแล้วค่อยมาบอกเล่ากันตอนจบหรื อตอนพัก ผ่อนคลายก็ไม่วา่ กัน แต่ถา้ จะมาเล่าเรื่ องโยคะให้ฟังก่อนไม่เอาอ่ะไว้ที่หลังอยากฝึ กเลย มีอยูร่ ายหนึ่ งแม่ของลูกน้อง ตาไม่ค่อยดี และปวดหลังก็ สอนเขาเพื่อให้เขาไปสอนแม่ของเขาเองอีกทอดหนึ่ ง แม่ก็ฝากมาบอกว่าตาดีข้ ึนหายปวดหลัง…เมื่อเร็ วๆ นี้ ได้ไปสอน ป้ าหลานคู่หนึ่ง ป้ าอายุ 50 ต้นๆ นํ้าหนัก 100 กว่าๆ หลานสาว 10 ขวบ สอนไปพร้อมๆ กัน โดยใช้เทคนิ คปรับท่าทางที่ ไม่เหมือนกัน เช่น ธนู ป้ าทําไม่ได้ หลานทําได้ ก็ให้ป้าทําท่าเหมือนเครื่ องบินแทน (เรื อประยุกต์) ต้นไม้หลานยืนนิ่ งขา วางถึงต้นขาในได้ ป้ าวางได้แค่น่อง ก็บอกว่าไม่เป็ นไร ได้แค่ไหนก็ทาํ ได้แค่น้ นั ทําไปก่อนฝึ กไปทุกวันเดียวพัฒนาขึ้น เอง พอช่วงผ่อนคลายลึกนั้นป้ าบอกว่าตอนแรกๆ รู ้สึกเหมือนหัวหนักๆ พอเสร็ จแล้วตัวเบาโล่ง ส่ วนหลานบอกว่าหนู จิตนาการว่านอนอยูบ่ นกระดาษขาวแล้วร่ างกายค่อยๆ กลืนหายไปกับกระดาษขาวที่ละส่ วนตัวเบาแต่ไม่ลอยคิดว่าใน ขณะที่ท้ งั คูอ่ ยูใ่ นช่วงผ่อนคลายทั้งสองน่าจะมีเคลิ้มหลับไปบ้างเนื่องจากได้ยนิ เสี ยงกร่ นเบาๆ จากทั้งคู่ดว้ ย เทคนิ ค การสอนที่ ใ ช้เ ริ่ ม จากให้นั่ง ท่ า วัช ระทํา สมาธิ อ ยู่ใ นความสงบซัก ประมาณ 3 นาที เพื่ อ ให้ผูฝ้ ึ กได้ เตรี ยมพร้อมกายใจ และกําหนดจิตให้ฝึกโยคะอาสนะด้วยความสุ ข สงบ นิ่ง สบายทั้งกายใจและมีปิติ บอกถึงหลักของ การทําอาสนะที่ถูกต้องคือ นิ่ ง สบาย ใช้แรงแต่นอ้ ย และมีสติรู้อยูก่ บั กายใจตลอดการฝึ กจนเกิดปิ ติ การฝึ กอาสนะต้อง เป็ นไปตามขั้นตอนการเข้าท่าและออกจากท่าอย่างถูกต้อง เคลื่ อนไหวช้า นุ่ มนวล นิ่ ง เบา สบาย ไม่เปรี ยบเทียบ ไม่ แข่งขัน ไม่ฝืน ไม่ทาํ เกิ นขีดกําจัดของตัวเอง ไม่ต่อต้าน ไม่ลงั เลสงสัยในการฝึ ก ในขณะที่ฝึกอาสนะขอให้ฝึกด้วย ความรู้สึกที่เป็ นสุ ข สงบ สบาย มีสมาธิ และปิ ติ แล้วจึงค่อยฝึ กอาสนะ ปราณายามะ พันธะหรื อมุทรา ช่วงที่นอนผ่อน คลายในท่าศพนั้นก็ให้จิตกําหนดความรู ้ สึกให้มีความเพียรและความสุ ขที่จะกลับมาฝึ กอาสนะเป็ นประจําสมํ่าเสมอ หรื ออาจให้นบั ลมหายใจเข้าออกนับเป็ น 1 นับจาก 1 ไปถึง 27 แล้วนับจาก 27 กลับมา 1 และเมื่อให้ลุกขึ้นนัง่ ในท่า วัชระเพื่อทําสมาธิ อีกครั้งในช่วงนี้ เองที่จิตบริ สุทธิ์ บริ บรู ณ์มีสมาธิ จดจ่ออยูน่ ้ นั จะให้กาํ หนดจิต อุทิศ บุญ บารมีที่ได้น้ ี ให้แก่ผทู ้ ี่มีบุพกรรมกับเราตลอดจนสรรพสัตว์ท้ งั หลายให้พวกเขาเหล่านั้นมีความสุ ข พร้อมกับทําความรู ้สึกว่าเราได้ แผ่รังสี หรื อรัศมีของความรักความเมตตาที่บริ สุทธิ์ บริ บรู ณ์น้ นั ออกจากตัวเราให้แก่พวกเขาอย่างไม่มีประมาณ ….แจ๋ ว สุ ขใจค่ะ ขอบคุณและขอพร จากบันทึกความดีที่ครู พี่ออ๊ ดให้เขียนทุกวันได้จุดประกายความรู้สึก ที่จะรู ้สึกดีๆ กับสิ่ งเร้าหรื อสิ่ งกระทบรอบ ข้าง ความรู้สึกที่อยากจะขอบคุณและการขอพรจึงเกิ ดขึ้นภายในใจ ทุกเช้าเมื่อตื่นนอนแล้วจะนัง่ หันหน้าออกไป นอกระเบียงรับอากาศสดชื่นในยามเช้า ฟังเสี ยงธรรมชาติ ลม ต้นไม้ นก เสี ยงสรรพสิ่ ง หลังจากนั้นบางวันก็จะทํา สิ มหมุทรา ชิ วหาพันธะ พรั หมมุทรา ชาลันธรพันธะ 2-3 รอบ จบด้วยการกล่ า วขอบคุ ณธรรมชาติ ขอบคุ ณ พระพุทธเจ้า ขอบคุณพระคุณพ่อแม่และบรรพบุรุษ ครู บาอาจารย์ เพื่อน กัลยาณมิตร ผูม้ ีพระคุณ แม้กระทัง่ คนที่ คิดว่าเค้าไม่ชอบเราก็ขอบคุณด้วย ขอบคุณที่ทาํ ให้เรามีสติ ปั ญญา รู้จกั การให้อภัยเพื่อบําเพ็ญบารมี พร้อมทั้งขอ 15
พร ขอพลัง จากธรรชาติ ธาตุ ที่รวมเป็ นเรา ดิ นจากพื้ นโลก นํ้า จากมหาสมุ ท ร แม่ น้ าํ ทุ ก แห่ ง ลมและอากาศที่ เคลื่อนไหวอยูร่ อบตัว ไฟจากพระอาทิตย์ เพื่อทําให้เรามีพลังที่จะทําในสิ่ งที่ดีงาม ช่วยเหลือผูอ้ ื่น และบําเพ็ญบุญ กุศล บารมี ให้สาํ เร็ จบรรลุ เป้ าหมายสู งสุ ดของความเป็ นมนุ ษย์ที่ธรรมชาติได้ทาํ ให้เราเกิดขึ้นมา …. ได้คาํ ตอบที่ แจ๋ วมาก “คนเราเกิดมาเพื่ออะไร” 5 เล่มจากพระโอษฐ์ บทสวดมนต์และเพลงผ่อนคลาย
เปลี่ยนวิถีชีวติ โยคะคือวิถีชีวติ (Yoga Living) การเปลี่ยนแปลงตัวเองทั้งหมดจากการปรับเพียงไม่กี่เดือนไม่ใช่เรื่ องง่ายด้วยบางสิ่ งที่คุน้ เคย สะสมและสร้าง จนเป็ นนิ สัยมาเป็ นสิ บๆ ปี แต่ก็เชื่ อมัน่ ว่าอยูท่ ี่ความตั้งใจและความเพียร พยายาม และต่อเนื่ อง สะสมไปที่ละเล็กละ น้อย แต่ที่ตอ้ งทําสมํ่าเสมอนัน่ คือการฝึ กอาสนะ พันธะมุทรา ปราณยามะ พันธะ มุทรา กิริยา ล้างจมูก ใช้ขา้ วของแต่ที่ จําเป็ น สละสิ่ งของ บริ จาค การรักษาอาการเจ็บป่ วยด้วยตนเอง ดื่ มนํ้าไม่เย็น ทานอาหารปรุ งสุ กใหม่ ทานแต่นอ้ ย ลด การดื่มกาแฟ พูดให้น้อยลง รับรู้และมีสติอยูก่ บั กายใจและความรู้สึกตลอดเวลาเท่าที่ระลึกได้ ช่ วยเหลือผูอ้ ื่นอยู่เสมอ ด้วยการแนะนําอาสนะบ้าง เทคนิคการดูแลกายใจบ้าง สวดมนต์ ฟังธรรมและทําสมาธิ เป็ นประจํา ละความโกรธ โลภ หลง และอกุศลใดๆ สังเกตความเปลี่ ยนแปลง รับรู้และรักษาร่ างกายและจิ ตใจของตนเองให้แข็งแรงสุ ขสดชื่ นและ สมดุ ลแบบองค์รวม ที่ สําคัญรู ้ เรื่ องกายใจตนเองให้มากๆ แต่รู้เรื่ องคนอื่ นให้น้อยลง ….สมกับสโลแกนที่ ตวั เองตั้ง เอาไว้วา่ “40+ยังแจ๋ วด้ วยโยคะ สุ ข สดชื่ น และแข็งแรง” สุ ดท้า ยนี้ ต้องขอขอบคุ ณทุ ก คนที่ มี ส่วนเกี่ ยวข้องในการทําให้สิ่งดี ๆ เหล่ านี้ ให้เกิ ดขึ้ น ขอบคุ ณ ครู ฮิโรชิ ครู ฮิเดโกะ ขอบคุณครู กวีที่คิดงานชิ้นนี้ให้ทาํ ขอบคุณพี่ออ๊ ด ครู เล้ง ครู รัฐ ที่ถ่ายทอดคําพูดของครู ญี่ปุ่นได้ดีอย่างไม่มีที่ ติ คุ ณครู ท่านอื่นที่ช่วยสั่งสอนอย่างทุ่มเท ขอบคุณในความอดทนและความเมตตาที่ มีให้กบั พวกเรา ที่ขาดไม่ได้คือ กัลยาณมิตรร่ วมชั้นเรี ยนที่ทาํ ให้การเรี ยนครั้งนี้เต็มไปด้วยความสนุ กสนาน มีชีวิตชี วา นํ้าใจ และอิ่มเอมใจ ขอบคุณลูก ศิษย์และผูท้ ี่สนใจโยคะที่ทาํ ให้ได้เรี ยนรู ้ในการถ่ายทอดบอกสอน ขอบคุณทุกคนค่ะ สรรสวย แช่มช้อย ตุลาคม 2553 16
เทคนิคโยคะที่ใช้ ในการฝึ ก อาสนะ นอนควํ่า นอนหงาย นัง่
ชุดท่างู ตัก๊ แตน ธนู ขับลม คันไถครึ่ งตัว ท่าเรื อ ปลา วัชระ โยคะมุทรา ไม้เท้า อูฐประยุกต์ กระต่าย หัวถึงเข่า คีม บิดสันหลัง ยืน ภูเขา ยืนด้วยปลายเท้า อินทรี กงล้อ ต้นไม้ ร่ ายรํา พัก ผ่อนคลาย ศพ จระเข้ วัชระ ยืนแยกเท้า นัง่ พักเหยียดขา นัง่ สมาธิ ปทุมอาสนะ โอม พร้อมทํา โยนี มุทรา สวดมนต์ Singing Bowl ปราณยามะ กปลาภาติ 120/นาที อนุโลมาวิโลมา 1:2 จํานวน 10- 20 รอบ อุชชายี เข้า 2 ข้าง ออกซ้าย 1:2 จํานวน10-20 รอบ ภัสตริ กา 2-3 รอบประกอบไปด้วย o กปาลภาติ 60/30 วิ o อุชชายี เข้า 2 ข้าง 5 วิ o กุมภกะ 10-20 วิ o อุชชายี ออกซ้าย 10 วิ มุทรา และพันธะ มูลพันธะ กับ อัศวนิมุทรา อุฑฑียานพันธะ ตฏากิ ชาลันธรพันธะ ชิวหาพันธะ สิ มหะมุทรา พรัมามุทรา วิปริ ตกรณี มุทรา (แต่อนั นี้ใช้กน้ พิงข้างฝาก่อนคะ) กิริยา ล้างจมูกด้วยกาเนติ อัคนีสาระ (ขยับหน้าท้องเข้าออก)
17
ภาพประกอบเทคนิคโยคะที่ใช้ ในการฝึ ก ท่าจระเข้
ท่างู
ท่าตัก๊ แตนสองขา
ท่าธนู
ท่าขับลมขาเดียว
ท่าคันไถครึ่ งตัวขาเดียว
ท่าคันไถครึ่ งตัวสองขา
18
ท่าขับลมสองขา
ท่าเรื อ
ท่าไม้เท้า
ท่าหัวถึงเข่า
ท่านัง่ วัชระ
ท่าภูเขา
ท่านัง่ พักเหยียดขา
ท่าคีม
ท่าบิดสันหลัง
ท่าอูฐประยุกต์
ท่าโยคะมุทรา
ท่ากงล้อ
ท่าต้นไม้
19
สิ มหะมุทราทําร่ วมกับ มูลพันธะ อุฑฑียานพันธะ ชาลันธรพันธะ
อนุโลมาวิโลมา เข้าซ้าย
ชิวหาพันธะ
อนุโลมาวิโลมา ออกขวา
โยนีมุทรา โอม
ปั ทมาอาสนะ (อาสนะชัย)
20
เกีย่ วกับผู้เขียนเมื่อจบงานวิจัย หยุดบันทึกแต่ ไม่ หยุดสั งเกตุ
:
ตุลาคม 2553
อายุ
:
43 ปี 1 เดือน
นา้ หนัก
:
ระหว่าง 74-75 กก (ลดลง 4-5 กิโล)
สารภาพ
ตัวเล็กลงนิดหน่อย ไม่ค่อยเหนื่อย อาการร้อนวูบวาม ลดลง ไม่ค่อยปวดคอบ่าไหล่เอวหลัง ไม่ค่อยท้องอืด มีลม มีแก็ส หากมีใช้ท่าขับลม ไม่ค่อยปวดหัว เวียนหัว ตาแห้งทุเลา ไม่ค่อยได้ยนิ ข้อเข่าซ้ายดังแล้ว ไม่เป็ นหวัดบ่อยๆ ไม่ค่อยมีอารมณ์ หมายถึงอารมณ์โกรธนะคะ คิดว่าเอา เวลาโกรธเกลียดใครไปสร้างบุญบารมีดีกว่า ธรรมะในบัญญัติองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โยคะแบบดั้งเดิม คือใช้แรงแต่นอ้ ยและมีสติ มีปิติ และสมาธิตลอด การฝึ กอาสนะ แนะนําถ่ายทอดบอกสอนผูอ้ ื่นเกี่ยวกับการดูแลกายใจ การรักษาตนเองแนวธรรมชาติ เรี ยนรู้และจัดการกับอารมณ์ กิเลส ตัณหา ร่ างกายและจิตของ ตนเอง ท่องเที่ยวแนวธรรมชาติ ดนตรี ร้องเพลง ศิลปะ
สนใจ
:
:
21
โยคะกับการพัฒนาตนเอง จัดทาโดย
นุชา เสาสีอ่อน
หลักสูตรอบรมครูโยคะระยะยาว 150 ชั่วโมง รุ่ น 10 (7 กรกฎาคม – 7 พฤศจิกายน 2553)
สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้ าน
22
โยคะกับการพัฒนาตนเอง
จากการที่โยคะได้ เป็ นที่ร้ ูจกั กันมากขึ ้นของบุคคลทัว่ ไป และยิ่งมากขึ ้นในปั จจุบนั โดยมีหลายที่เปิ ดสอนโยคะ กันอย่างแพร่หลายมากขึ ้น มีการโฆษณาตามสื่อต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นโทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ รวมถึงเว็บไซด์ ซึ่งการนําเสนอที่ ออกมานัน้ ทําให้ เห็นว่าโยคะเป็ นการออกกําลังกายอย่างหนึง่ ที่ทําให้ ร่างกายแข็งแรงและมีความยืดหยุ่น โดยส่วนตัว ของผมเองนันก็ ้ เป็ นคนที่ชอบและหลงใหลในการออกกําลังกายเป็ นทุนเดิมอยู่แล้ ว ซึ่งจะเล่ นกีฬาหลายอย่างไม่ว่าจะ เป็ นการวิ่ง ว่ายนํ ้า แบตมินตัน ปั่ นจักรยาน วอลเลย์บอล แต่สิ่งที่ชอบที่สุดในช่วงนี ้คือการเล่น แบตมินตัน ซึ่งเล่น อย่างน้ อยอาทิตย์ละประมาณ 3 ครัง้ ครัง้ ละ2-3 ชัว่ โมงเป็ นอย่างน้ อย จากการที่เล่นกีฬาอย่างนี ้ต้ องใช้ พละกําลังและ ความแข็งแรงค่อนข้ างมาก ประกอบกับอายุที่มากขึน้ ทําให้ ผมเกิดอาการปวดหลังตามมา และจากคุณประโยชน์ที่ ได้ รั บ ทราบมาข้ า งต้ น ของโยคะทํ า ให้ ผ มคิด ว่า โยคะน่า จะช่ว ยเรื่ อ งอาการปวดหลัง ของผมได้ ผมจึ ง ได้ ค้ นหา ภาพประกอบการฝึ กโยคะเบื ้องต้ นเพื่อ ที่ จะมาทดลองฝึ กฝนด้ วยตนเอง เพื่อช่วยลดอาการปวดหลั ง แต่ผมได้ พบ ประกาศการเปิ ดสอนคอร์ สครูโยคะของสถาบันโยคะวิชาการ จึงเกิดความสนใจ เพราะโดยส่วนตัวแล้ วผมเป็ นคนที่ไม่ ค่อยเชื่อคําพูดหรื อสิ่งที่บอกต่อกันมา จะเชื่อก็ต่อเมื่อเป็ นประสบการณ์ ตรงของตัวเอง เลยมีความคิดว่าการเรี ยน อย่างเป็ นจริงเป็ นจังน่าจะช่วยให้ ได้ รับประโยชน์สงู สุด และอีกอย่างที่ยิ่งทําให้ ผมสนใจเรี ยนคอร์ สนี ้คือการที่ตวั ผมเอง ฝึ กนัง่ สมาธิอยูเ่ ป็ นประจําอยูแ่ ล้ ว แต่ในแต่ละครัง้ ของการนัง่ ไม่สามารถนัง่ ได้ นานเพราะอาการปวดหลัง อาการเหน็บ ชา และอื่นๆ ของร่ างกายที่ไม่พร้ อม เมื่อได้ อ่านข้ อความหนึ่งในหน้ าเว็บไซด์ของสถานบันโยคะวิชาการในเรื่ อง “โยคะจะทาให้ น่ ังสมาธิได้ นานขึน้ ” ยิ่งทําให้ ผมมีความอยากที่จะลองเรี ยนอย่างจริ งจัง (แต่ไม่คิดที่จะเป็ นครูเลย แม้ แต่น้อยในขณะนันคิ ้ ดเพียงแต่ประโยชน์ตวั เอง)
เมื่อการเข้ าเรี ยนวันแรกมาถึง (วันปฐมนิเทศ ) ได้ พบอาจารย์และเพื่อนๆ ที่สนใจโยคะ โดยในวันนันได้ ้ ฟัง อาจารย์ เล่าให้ ฟังเกี่ ยวกับโยคะ ก็คิดว่าสิ่งที่เหมาะจะทําต่อไปจากนีน้ ่าจะเป็ นสิ่งที่ มาถูกทางแล้ ว และน่าจะเป็ น ทางเดินที่ดีสําหรับตัวเอง เพราะตัวผมเองไม่เคยรู้ จักโยคะมาก่อนเลย จึงเหมือนกับแก้ วที่ว่างเปล่าพร้ อมที่จะรับ ความรู้ทกุ อย่างได้ อย่างเต็มที่ ยิ่งได้ ยินคําพูดของอาจารย์ที่วา่ “โยคะเป็ นปั จเจกของแต่ ละบุคคล” ก็ยิ่งทําให้ อยาก ที่จะเรี ยนรู้ และรู้จกั โยคะตามแบบดังเดิ ้ มอย่างเต็มที่ มากยิ่งขึ ้น (ซึ่งช่วงแนะนําตัวได้ รับรู้ว่าเพื่อนๆ คนอื่นเรี ยนกันมา ก่อนบ้ างแล้ วมี ความรู้ มาแล้ ว จึ งกลัวตามคนอื่นไม่ทันเหมือนกัน ) จึงทํ าให้ ผมพยายามที่จะเรี ยนรู้ ให้ ได้ ม ากที่สุด เพื่อที่จะได้ พฒ ั นาตนเอง 23
จากเดิม ที่เ คยมองภาพว่าโยคะเป็ นการฝึ กฝนเพื่ อออกกํ าลัง กาย ทํ าให้ ร่างกายแข็งแรงและยืดหยุ่น แต่ หลังจากที่ได้ เรี ยนมาระยะหนึ่งแล้ ว ทําให้ รับรู้ว่าจริ งๆ แล้ วโยคะนันไม่ ้ ใช่การออกกําลังกาย แต่เป็ นการเตรี ยมพร้ อม ร่างกายให้ พร้ อมสําหรับการฝึ กสมาธิเพื่อการหลุดพ้ น ของโยคีในอินเดีย โดยการเตรี ยมร่ างกายนี ้จะเป็ นเสมือนการ ปรับสมดุลต่างๆ ของร่างกายให้ เป็ นไปอย่างปกติธรรมชาติที่สดุ เมื่อทุกอย่างสมดุลก็จะนํามาซึ่ งสุขภาพที่แข็งแรง ซึ่ง เป็ นผลพลอยได้ ของโยคะ แต่ในยุคปั จจุบนั ที่การดําเนินชีวิตเป็ นไปอย่างเร่งรี บ ทําให้ ทุกคนมองว่าการฝึ กสมาธิเ ป็ น ของคนกลุม่ หนึง่ เช่น นักบวช พระ หรื อผู้สงู อายุ แต่ผลทางอ้ อ มของโยคะที่ทําให้ ร่างกายแข็งแรงมีสขุ ภาพดี ได้ กลาย มาเป็ นจุดขายของโยคะ (ทําให้ คนทัว่ ไปรวมถึงผมในตอนแรกก็มองว่า โยคะเป็ นการออกกําลังกาย) ซึ่งต่อจากนี ้ไปใน เอกสารฉบับนี ้ผมจะนําเสนอ ประโยชน์ที่ได้ รับจากการเรี ยนรู้ และฝึ กโยคะ มาตลอดระยะเวลาเกือบ 4 เดือนของการ เรี ยนคอร์ สนี ้ที่เกิดขึ ้นกับตัวผมเอง โดยจะแบ่งเป็ น 2 หมวดหลักๆ คือ โยคะกับการพัฒนาทางด้ านกาย โยคะกับการพัฒนาทางด้ านจิต ซึ่งตัวผมเองจะเน้ นไปในสิ่งที่ได้ รับรู้ จากตัวเอง โดยหลักแล้ วจะเป็ นการพัฒนากายซึ่งเห็นเป็ นรู ปธรรมได้ มากกว่า ทางจิตที่ร้ ูสกึ ได้ แต่แสดงออกมาเป็ นรูปธรรมได้ ยากกว่า
โยคะกับการพัฒนาทางด้ านกาย ในส่วนนี ้ผมจะนําเสนอการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ ้นกับร่างกายของผมหลังจากการที่ได้ ฝึกโยคะมาระยะ หนึง่ โดยแบ่งไปตามอาการต่างๆ ของร่างกายดังนี ้ - อาการปวดหลัง จากที่กล่าวมาก่อนหน้ านี ้แล้ วว่า อาการปวดหลังเป็ นสิ่งที่นําผมมาให้ สนใจในโยคะ ซึง่ จากที่ได้ ฝึกโยคะมานันมี ้ กลุ่มท่าที่จะช่วยจัดปรับ และกระตุ้นให้ กล้ ามเนื ้อลึกชันในที ้ ่ติดกับกระดูกสัน หลังแข็งแรงขึ ้น เมื่อกล้ ามเนื ้อเหล่านี ้แข็งแรงทําให้ การพยุงกระดูกสันหลัง ทําได้ ดีขึ ้น จึงทําให้ อาการปวด หลังลดลง และดีขึ ้นในที่สดุ ซึ่งกลุ่มท่านี ้ได้ แก่ ท่างู – ภุชงั คาสนะ (Bhujangasana), ท่าตัก๊ แตน – ศลภาส นะ (Salabhasana), ท่าธนู - ธนุราสนะ (Dhanurasana) และท่าอูฐ – อุชตราสนะ (Ustrasana)
24
รู ปที่ 1. ท่างู – ภุชงั คาสนะ (Bhujangasana)
รู ปที่ 2. ท่าตัก๊ แตน – ศลภาสนะ (Salabhasana)
รู ปที่ 3. ท่าธนู - ธนุราสนะ (Dhanurasana)
25
- อาการเจ็ บ คอและเป็ นไข้ หวั ด โดยปกติของตัวผมเมื่ ออากาศเปลี่ ยนแปลงหรื ออยู่ในห้ อ งแอร์ ที่ ค่อนข้ างเย็น จะทําให้ เกิดอาการเจ็บคอ ตามมาด้ วยคออักเสบและเป็ นไข้ หวัด ตามมา ซึ่งเมื่อ เกิดอาการ เหล่านี ข้ ึน้ มาจะหายช้ ามาก ซึ่งทุกครัง้ ที่เป็ นต้ องไปพบแพทย์ โดยทุกครัง้ ก็จะได้ รับยาฆ่าเชือ้ และยา ปฏิชีวนะกลับมา ผมเองก็ไม่ค่อยอยากจะกินยาเหล่านี ้เท่าไหร่นัก แต่จําเป็ นต้ องกินเพื่อให้ อาการป่ วย หาย ถึงแม้ ว่าผมจะออกกําลังกายอยู่เป็ นประจํา แต่อาการนี ้ก็มักจะเป็ นอยู่เสมอ หลังจากฝึ กโยคะได้ ระยะหนึ่งอาการเหล่านี ้หายไปเลย เมื่อไม่นานมานี ้ เป็ นช่วงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยมาก แต่อาการ เจ็บคอและเป็ นไข้ ของผมได้ หายไป ซึง่ ผมคิดว่าการฝึ กในการทําท่าล็อกคาง (ชาลันธรพันธะ – Jalandhara Bandha) และการท่ากลับบนลงล่าง (วิปรี ตะกรณี – Viparita Karani) ซึ่งมีการกดนวดบริ เวณคอ ยกแกน ประสาทสันหลัง บริหารสมอง ทําให้ เลือดมาคลัง่ อยู่บริ เวณศรี ษะและคอ ซึ่งเป็ นจุดที่อยู่ของต่อมทอมซิล และไทรอยด์ ให้ เกิดการกระตุ้นทังสองต่ ้ อมทําให้ อาการดังกล่าวของผมหายไป
รู ปที่ 4. ท่าล็อกคาง (ชาลันธรพันธะ – Jalandhara Bandha)
รู ปที่ 5. กลับบนลงล่าง (วิปรี ตะกรณี – Viparita Karani) 26
- อุจจาระค่ อนข้ างเหลวและมีเศษอาหารที่เหมือนไม่ ย่อย ซึ่งลักษณะอาการดังกล่าวเป็ นอาการที่ เกิดเป็ นปกติของผมตังแต่ ้ ไหนแต่ไ รมานานมากแล้ ว จนผมคิดว่าเป็ นอาการปกติของตัวเองแล้ ว แต่ หลังจากการฝึ กโยคะได้ ไม่นานผมสังเกตสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป คือ การที่อจุ จาระของผมเป็ นก้ อนและมีเนื ้อ ค่อนข้ างละเอียด การขับถ่ายง่ายใช้ เวลาน้ อยไม่มีอาการเสียดท้ องขณะถ่าย ซึ่งผมคิดว่าการทําท่าโยคะ หลักๆ ที่เน้ นบริ เวณช่วงท้ องนันไม่ ้ ว่าจะเป็ นท่านอนควํ่า ที่จะนํ ้าหนักกดลงมาที่ช่วงท้ อง, ท่าบิดสันหลัง, ท่าโยคมุทรา, อุฑฑียานพันธะ, อัคนี, เนาติ ซึง่ จะเห็นได้ จากเกือบทุกท่าจะมีการกดนวดที่บริ เวณช่องท้ อง เพื่อกระตุ้นการทํางานของอวัยวะต่างๆ ที่อยูใ่ นช่องท้ องไม่วา่ จะเป็ น ตับ ไต ลําไส้ กระเพาะ ซึ่งโดยปรกติ ทั่วไปแล้ ว อวัยวะในส่วนนีข้ องร่ างกายแทบจะไม่ไ ด้ ถูกกระตุ้นเลย ดังนัน้ การฝึ กโยคะทําให้ เกิ ดการ กระตุ้นอวัยวะต่างๆ ในช่องท้ องตามที่กล่าวมา ทําให้ การขับถ่ายของผมดีขึ ้น
รู ปที่ 6. ท่าบิดสันหลัง (วักราสนะ - Vakrasana)
รู ปที่ 7. โยคมุทรา (Yoga Mudra) 27
รู ปที่ 8. อุฑฑียานพันธะ (Uddiyana Bandha) - การตอบสนองของร่ างกาย หลังจากที่ฝึกโยคะ ทําให้ กลไกลอัตโนมัติในการตอบสนองต่างๆ ของ ร่างกายของผมทํางานได้ ดีขึ ้น ซึง่ ผมสังเกตเห็นได้ จากการที่ผมเล่นแบตมินตัน ลูกกระชันชิ ้ ดที่มาเข้ าหา ตัวแล้ วผมสามารถที่จะตอบสนองตีลกู ได้ ซึง่ ก่อนหน้ านี ้ไม่สามารถทําได้ โยคะและการพัฒนาจิต จากการที่กล่าวไปก่อนหน้ านี ้แล้ วส่าผมชอบที่จะนัง่ สมาธิ แต่ไม่สามารถนัง่ ได้ นานเพราะ กายปวด และจิตก็ คิดฟุ้งซ่าน ทําให้ การนัง่ สมาธิไม่คอ่ ยดีและการพัฒนาไม่ดี เท่าที่ควร และโดยนิสยั ส่วนตัวแล้ วผมค่อนข้ างเป็ นคนขึ ้ หงุดหงิดเพราะชอบทําอะไรที่ต้องเร็ ว ไม่ชอบทําอะไรที่ผิดพลาด พอคนรอบข้ างทําอะไรที่ช้า หรื อผิดพลาดจะทําให้ เกิดความไม่พอใจ หงุดหงิด - หงุดหงิดโกรธง่ าย หลังจากการฝึ กโยคะมาระยะหนึง่ แล้ ว ซึ่งโดยหลักการฝึ กที่จะต้ องทํา อย่างช้ าๆ มีสติ เฝ้ามองภายในร่างกายของตัวเอง สังเกตุ รับรู้วา่ ร่างกายบอกอะไรมา สื่อสารอะไรมาให้ ผ้ ฝู ึ กได้ รับรู้ ซึ่งทํา ให้ ผ้ ฝู ึ กจะต้ องใจเย็น ค่อยๆปฏิบตั ิ ไปเรื่ อยๆ จึงทําให้ อารมณ์ของผู้ฝึกมัน่ คง และจากสิ่งนี ้เองที่คอ่ ยทําให้ อาการหงุดหงิดง่ายของผมลดน้ อยลงอย่างมาก (แต่ไม่ร้ ูตวั จนเพื่อนและน้ องที่ทํางานทักว่าเดี๋ยวนี ้แปลก นะ ไม่คอ่ ยโกรธหรื อหงุดหงิดเหมือนก่อน) จึงทําให้ ผมหันมามองตัวเองก็เห็นเป็ นจริ งว่าตัวเองใจเย็นขึ ้น มีสติ มีเหตุผลมากขึ ้น ซึ่งคิดว่าน่าจะเกิดจากการฝึ กการหายใจ ฝึ กจิต ของโยคะไม่ว่าจะเป็ น อนุโลม, กาลาปาติ หรื อแม้ แต่อานาปาณะสติ 28
- การนั่งสมาธิ ก็เป็ นส่วนต่อยอดมาจากการที่ใจเย็นลง มีสติ ทําให้ การนัง่ สมาธิไม่คอ่ ยคิดฟุ้งซ่าน มีสติ อยูก่ บั ลมหายใจ และยิ่งร่างกายที่ได้ รับการฝึ กมาเพื่อให้ พร้ อมสําหรับการฝึ กสมาธิแล้ ว ทําให้ ผมสามารถ ที่จะนั่งสมาธิ ได้ นานขึน้ บางครัง้ ถึง 1 ชั่วโมง โดยที่ร่างกายไม่ร้ ู สึกปวดหลังหรื อปวดเมื่ อยและการที่ ร่างกายพร้ อมนี เ้ อง ทําให้ ผมรู้ว่าการที่คนอื่นๆ บอกว่านัง่ นิ่งเป็ นหินเป็ นอย่างไร ผมสามารถนัง่ นิ่งๆ ได้ อย่างมัน่ คงสบาย และเมื่อกายหลุดพ้ นไปแล้ วก็จะยิ่งทําให้ สามารถที่จะสามารถเฝ้าดูจิตได้ อย่างดียิ่งขึ ้น จากที่กล่าวมาทังหมดนั ้ น้ เป็ นสิ่งที่โยคะทําให้ ผมสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ในสิ่งที่ดี ถึงแม้ ว่าจะยังไม่ถึง เป้าหมายของโยคะที่แท้ จริ งคือการพัฒนาจิต แต่อย่างน้ อยการพัฒนากายให้ พร้ อมก็จะเป็ นก้ าวแรกที่จะทําให้ ผม สามารถเริ่มก้ าวไปสู่การพัฒนาจิตของตัวเองให้ เป็ นไปด้ วยความมัน่ คงเพื่อให้ ส่จู ดุ หมายสูงสุดของโยคะ และสุดท้ าย เมื่อมาถึงจุดนี ้จากความคิดเดิมของผมที่ต้องการเรี ยนรู้ โยคะเพื่อตัวเองไม่ได้ อยากเป็ นครู ก็ได้ เปลี่ยนเป็ นอยากที่จ ะ แนะนําให้ คนอื่นๆ ได้ เจอสิ่งดีจากโยคะ อย่างที่ผมได้ เจอบ้ างแล้ วครับ
29
โยคะ กับ ชีวิตประจาวัน โดย พรทิพย์ อึงคเดชา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบว่า วิถีโยคะเกี่ยวข้องอย่างไรกับชีวิตประจําวัน 2. เพื่อทราบว่า วิถีโยคะเข้าไปอยูใ่ นชีวติ ประจําวันได้อย่างไร
ก่ อนจะมาเป็ นโยคะ เป็ นคนที่ชอบหาเรื่ องเรี ยนมาก ช่วงไหนรู้สกึ สนใจเรื่ องอะไร ก็จะหาแหล่งที่มาที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในด้ านนัน้ ๆ ได้ สนใจโยคะมานาน เป็ นช่วงที่กําลังอยูใ่ นกระแส แต่ข้อมูลที่หาได้ จะพบเจอแต่โยคะในสตูดิโอ หรื อ เพราะทํางานอยูใ่ จกลาง เมืองซึง่ แวดล้ อมด้ วยสภาพนันอยู ้ แ่ ล้ ว ซึง่ โดยส่วนตัวจะเป็ นคนทีค่ อ่ นข้ างต่อต้ านการออกกําลังใน Fitness อยูล่ กึ ๆ ไม่เคยเข้ าใช้ บริ การ มีความอยากเรี ยน แต่ก็ไม่ได้ สนใจหาข้ อมูลเพิม่ เติมตังแต่ ้ เมื่อ 6ปี ที่แล้ ว จนกระทัง่ ได้ มีโอกาสไปเรี ยนวิชาการแพทย์แผนไทย ในรัว้ มหาวิทยลัยรามคําแหง เป็ นสาขาวิชาทีส่ อื่ สารให้ มีการดูแลสุขภาพ อย่างเป็ นองค์รวม แต่ถ้ามองกันอย่างจริ งจัง อย่างไรก็ยงั เป็ นเรื่ องของคนที่เมื่อเกิดปั ญหา จึงต้ องการที่พงึ่ เพื่อช่วยแก้ ปัญหา จึงมานัง่ คิดดูวา่ อะไรนะที่จะสามารถให้ คาํ ตอบได้ วา่ บุคคลสามารถดูแล รักษา และบําบัดได้ ด้วยตัวเอง ทําให้ นกึ ถึงโยคะ ว่าน่าจะเป็ นคําตอบ ในเรื่ องของการดูแลสุขภาพตนเอง ได้ พบข้ อมูลของสถาบันเมื่อคอร์ สครูระยะสันช่ ้ วงที่ 2 จบไปแล้ ว จึงได้ สอบถามข้ อมูลไปยังสถาบันถึงโอกาสต่อไป ซึง่ ได้ รับ ความช่วยเหลือในเรื่ องของรายละเอียดเป็ นอย่างดี จึงตัดสินใจประเดิมด้ วยคอร์ สพื ้นฐานวันเสาร์ 1 วัน โดยส่วนตัวมีโรคประจําตัว แต่การตัดสินใจมาเรี ยนครูโยคะ ไม่ได้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความเจ็บป่ วย แต่อยูบ่ นพื ้นฐานของการ หาอาชีพสํารองต่อไปในภายภาคหน้ า เพราะโดยนิสยั ส่วนตัวไม่ชอบเอาเปรียบใคร แต่นิสยั เสียที่ตามมาก็คือไม่ยอมให้ ใครเอาเปรียบ เช่นกัน
เมื่อมาเป็ นโยคะ ก่อนอื่นต้ องบอกว่า ไม่เคยมีความรู้พื ้นฐานมาก่อน ไม่เคยศึกษามาก่อน ไม่สามารถเอาโยคะทีต่ วั เองได้ จากสถาบันไป เปรี ยบเทียบกับโยคะจากสํานักอืน่ ๆ ความรู้โยคะที่ได้ มาจากสถาบันล้ วน ๆ ส่วนหนังสือมีอา่ นบ้ าง แต่ไม่ได้ ลองทําตาม เพราะจากข้ อมูลที่ได้ หลายหลายที่ บอก ว่า สําหรับผู้ฝึกใหม่ ควรมีครูคอยชี ้แนะ ซึง่ เห็นด้ วย จึงรอคอยที่จะมาพบกับโยคะของสถาบันโยคะวิชาการ
30
จากวันแรกที่ปฐมนิเทศ ครูกวีตําหนิเรื่ องการดื่มกาแฟ ซึง่ ปกติ จะดื่มที่ 3 แก้ วต่อวัน สําหรับคนติดกาแฟ การเลิกกาแฟ ก็ เหมือนเลิกยาเสพติดรูปแบบหนึง่ มันทรมาน ไม่ไหวก็ต้องหามาดืม่ แต่อาจเป็ นเพราะการฝึ กโยคะทําให้ กาแฟที่เคยดืม่ อย่างเอร็ ดอร่อย ดื่มไปได้ แค่เพียงสองคํา รู้สกึ ว่าฉุนกลิน่ กาแฟเกินไป เลีย่ น และดืม่ ต่อไม่ได้ ท่าบางท่าที่เคยทําไม่ได้ หรื อ ทําได้ แต่ไม่มนั่ คง ก็เริ่ มจัดปรับ เริ่ มทําได้ และ ทําได้ อย่างมัน่ คงมากขึ ้น ในขณะเดียวกัน ท่าบางท่าที่ทาํ ไม่ได้ แต่พยายามที่จะฝื น เพื่อที่จะทํามันให้ ได้ สุดท้ ายตัวเองก็บาดเจ็บ แต่อย่างน้ อยก็ทนั รู้สกึ ตัว ว่าไม่ควรฝื นร่างกายตนเอง เนื่องจากความพร้ อมของร่างกายแต่ละคนมีไม่เท่ากัน การที่ทาํ ไม่ได้ ไม่ได้ หมายความว่าตนเองมี ความผิดปกติ สุดท้ ายจึงยอมที่จะวางและฟั งร่างกายตน เรื่ องของสมาธิดีขึ ้นไหม อันนี ้ ไม่กล้ ารับประกัน เพราะในขณะฝึ ก บ่อยครัง้ ที่เผลอปล่อยจิตตนเองให้ ลอ่ งลอยไปกับกระแส แห่งความคิด แต่จากการเฝ้ าสังเกตตนเองจะรู้สกึ มีสติ มีความสามารถในการจดจํามากขึ ้น ขี ้ลืมน้ อยลง การฝึ กท่าศพ จากครัง้ แรกๆที่เคยฝึ กจะเผลอหลับ แม้ จะช่วงระยะเวลาสันมากๆก็ ้ ตาม แต่คือหลับ แต่เมื่อแก่กล้ าขึน้ เริ่ มได้ ฝึ กนานวันขึ ้น ก็ไม่เผลอหลับอีก แม้ บางครัง้ จิตจะล่องลอยก็ตาม เริ่ มปฏิบตั ิถือศีล 5 มาตังแต่ ้ เริ่ มเรี ยนแพทย์แผนไทย แต่ก็มีบ้างทีย่ งั ไปสังสรรค์กบั เพื่อนฝูง ก็กินดืม่ กันแบบหารเท่า แต่ตงแต่ ั้ มาฝึ กโยคะ ก็งดเครื่ องดื่มมึนเมาโดยปริ ยาย เปลีย่ นมาเป็ นสไปร์ ทใส่มะนาว นํ ้าอัดลมสีดาํ หากวันไหนดื่มช่วงเย็น หรื อก่อนนอน คืนนันจะนอนไม่ ้ หลับ อาจเป็ นเพราะคาเฟอีนทีถ่ กู ผสมอยูใ่ นนํ ้านัน้ ทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ โชคดีทบี่ ้ านทํากับข้ าวทานเอง ฉะนันขั ้ นตอนการปรุ ้ งมัน่ ใจได้ ทานอาหารแต่พออิ่ม ไม่บริ โภคเกิน จําเป็ น เตรี ยมอาหารให้ พอดี และ ไม่กินทิ ้งกินขว้ าง
โยคะ กับการใช้ ชวิ ติ ประจาวัน เริ่ มตังแต่ ้ ตื่นนอน ปกติเป็ นคนตื่นค่อนข้ างเช้ า คือ 7.00 น. โดยประมาณ แต่เมื่อต้ องมาฝึ กอาสนะเวลาเช้ า ก่อนไปทํางาน ทําให้ ต้องตื่นเช้ ากว่าเดิมอีก 1 ชัว่ โมงโดยประมาณ เขาบอกว่า วิถีโยคะ ต้ องกินอาหารมังสวิรัติ ซึง่ ตรงกับจริ ตของตัวเองที่เป็ นคนชอบกินผัก ส่วนเนื ้อสัตว์ก็ไม่คอ่ ยได้ บริ โภคสัตว์ ใหญ่ กินแต่เพียงพออิม่ แบ่งกระเพาะออกเป็ น 4 ส่วน ให้ อาหาร 2 ส่วน นํ ้า 1 ส่วน เหลือที่วา่ งอีก 1 ส่วน ก็ประพฤติตามด้ วยดี ที่ เมื่อก่อนชอบกินบุฟเฟและจะต้ องกินให้ ค้ มุ ก็เริ่ มรู้สกึ ไร้ สาระ และเป็ นการบริ โภคเกินพอดี ซึง่ ส่งผลเสียทังกั ้ บร่างกาย และ ทรัพยากร ทางธรรมชาติทตี่ ้ องสูญเสียเกินจําเป็ น
31
ปกติเป็ นคนมีปัญหาเรื่ องระบบขับถ่าย คือ ถ่ายทุกวัน แต่ต้องมีอะไรไปกระตุ้น ซึง่ ที่ผา่ นมา จะใช้ วธิ ีการดืม่ กาแฟเป็ น ตัวกระตุ้น ซึง่ ได้ ผลดี แต่จากการมาฝึ กโยคะ ทําให้ ลองพยายามปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ไม่ดื่มกาแฟ แต่ใช้ วิถีโยคะแทน ซึค่ รูเคยบอกว่า ให้ ถ่ายก่อนทําอาสนะ แต่หากไม่ถ่าย ก็ทาํ แล้ วไปถ่าย แต่ปรากฏว่า ก็จะเป็ นวันวันไป บางวันทําเสร็จก็ปวดถ่าย แต่บางวันก็ไม่ปวด ทุกวันนี ้การจราจรบ้ านเรา รู้สกึ คนไทยขาดวินยั เข้ าไปทุกที ไม่มีมารยาท ใจร้ อน และไม่อดทน การจราจรก็ติดขัดมากมายทัง้ บรรดาแมงกาไซค์ รถบรรทุกใหญ่ รถเมล์ รถตู้ และแท๊ กซี่ โหย! เหนื่อย รู้สกึ เครี ยดกับการขับรถบนถนนมากกว่าการทํางานบางครัง้ ด้ วยซํ ้าไป ทําให้ เวลาขับรถรถติด ต้ องคอยทําการเกร็งคายกล้ ามเนื ้อบนใบหน้ า ตังแต่ ้ การยูห่ น้ าให้ เหลือนิดเดียว เอาปาก ตา จมูก มา รวมกันไว้ อยูต่ รงกลางให้ มากที่สดุ แล้ วจึงถลึงตาเบิกกว้ าง อ้ าปาก แลบลิ ้น พร้ อมกับหายใจออก เฮ้ อ ! ได้ ผล ลดความรู้สกึ เครี ยดลงไป ได้ หน่อย จากทีต่ ้ องตื่นนอนแต่เช้ า ทําให้ เข้ านอนเร็ วกว่าเดิม เพื่อเสริ มสร้ างความสดใสให้ กบั ร่ างกาย
สรุ ป วิถีโยคะ ไม่ได้ หมายแค่ถงึ การทําท่าอาสนะเท่านัน้ แต่หมายถึงทุกช่วงลมหายใจ ความคิด การประพฤติปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตาม แบบแห่งโยคี เราอาจไม่ได้ ปฏิบตั ิอาสนะเลย แต่เรามีจิตอิสระที่จะประพฤติตนแห่งวิถีของมรรค 8 ถามว่าทุกวันนี ้ โยคะ เข้ ามาอยูใ่ นชีวิตประจําวันแล้ ว หรื อยัง คําตอบ คือ อยู่ แต่ไม่ใช่ทกุ ช่วงเวลา จะอยูเ่ ป็ นระยะตามแต่ ความเหมาะสมของช่วงเวลานัน้ ๆ แต่ก็ยงั มีบางช่วงเวลาที่ไม่ได้ ประพฤติตามวิถีโยคะ เนื่องจากปั จจัยหลายประการ ทังบางที ้ ก็หลงลืม มันไป เนื่องจากกระแสแห่งสังคมการทํางานที่ยงั ต้ องปากกัดตีนถีบเพื่อความอยูร่ อดของปากท้ อง หรื อความมีเกียรติในสังคม แต่ทสี่ ดุ แล้ วก็พยายามให้ เป็ นส่วนหนึง่ เพือ่ พัฒนาร่างกาย และ จิตใจ พัฒนาจิตวิญญาณของตัวเองไปสูค่ วามสมดุล สมบูรณ์พร้ อม ที่จะอยูไ่ ด้ โดยไม่ไหวไปกับกระแสของสังคม จัดทาโดย พรทิพย์ อึงคเดชา
32
โยคะกับการสังเกตุตวั เอง
อัจฉราภรณ์ สุทธะลักษณ์ นก Yoga Teacher 10 t53
33
คาขอบคุณ
การทํางานวิจยั เกี่ยวกับโยคะ เมือ่ ได้ การบ้ านนี ้มาจากครู ความรู้สกึ แรกที่เกิดขึ ้นคือคําว่า “โอ้ ย..ภาระ” หนังสือที่ครูแจกมา รวมหลาย ๆ เล่มหนามาก ต้ องอ่าน และต้ องทําการบ้ านที่สง่ แต่ละเสาร์ เรี ยน ๆ ไปมีการสอบสรี ระด้ วย และ จะมีการสอบ ก่อนที่เราจะ เรี ยนจบอีกด้ วย รวมกับงานที่เราทําอยูป่ ระจําด้ วย “โอ้ ย ตายแน่” แต่พอได้ ลงมือทําจริ ง ๆ กับกลายเป็ นเหมือนเราได้ ให้ เวลาในการใคร่ครวญ ตัวเองในเรื่ องต่าง ๆ อย่างจริ งจัง ได้ มีโอกาสทํา ความฝั นเล็ก ๆ ให้ เป็ นจริ ง (เคยฝั นว่าอยากเป็ นนักเขียน) ได้ เขียนโดยที่ไม่ต้องกลัวว่าจะมีคนอ่านหรื อไม่ เพราะ มีครูเป็ นคนอ่าน แน่นอน อิอิ จากทีเ่ ข้ าเรี ยนมีความคิดว่า
มาเพื่อเรี ยนรู้เกี่ยวกับร่างกาย
ในระหว่างที่เรี ยนโยคะ
มีประโยชน์มากมายทีเ่ กิดขึ ้น
นอกเหนือจากการเรี ยนรู้ทางด้ านกาย แล้ ว คือการเรี ยนรู้ในด้ านจิตใจ ดีใจที่ได้ เป็ นนักเรียนของครู ดีใจที่ได้ ร้ ูจกั ดีใจที่ได้ เรี ยนรู้ ดีใจที่ตวั เองบ้ าพอทีจ่ ะละทิ ้งบางอย่าง และเลือกที่จะมาเรียนโยคะ สุขใจทุกครัง้ ที่ได้ มาเรี ยน ขอขอบคุณ ครูกวี ครูฮิโรชิ ครูฮิเดโกะ ครูพี่อ๊อด ครูพี่เล้ ง ครูพี่รัตน ครูเบิร์ด เรี ยนทุกคน ที่ได้ ให้ ความรู้ แบ่งปั นประสบการณ์ และสอนให้ ร้ ูถึงคุณค่าของชีวิต
ขอบคุณมากค่ะ นก
34
ครูดล ครูหมู ครูนนั และขอบคุณเพื่อนรวมชัน้
ไม่ มีคาว่ า “บังเอิญ” ครูชอบบอกเราเสมอ ๆ ว่าการที่เราได้ มาเจอกัน ไม่มีคาํ ว่า “บังเอิญ” ดังนันการที ้ ่ได้ มาเรี ยนโยคะกับ สถาบันโยคะวิชาการ ก็ คงมีเหตุปัจจัยอะไรบางอย่าง ความตังใจเริ ้ ่ มแรก เดิมเราเป็ นคนที่ชอบโยคะ ความรู้สกึ แรกๆ
โยคะก็เป็ นเหมือนการออกกําลังกายอย่างหนึง่ ที่ทําให้
สุขภาพแข็งแรง ทําช้ า ๆ ไม่ต้องพยายามอะไรมาก เหนื่อยก็ได้ นอนท่าศพ เคยไปทําโยคะที่สวนโมกข์มาก็สบาย ๆ ดี พอหลัง ๆ ก็มา เล่นโยคะกับฟิ ตเนต ไม่ชอบเลย เราทําได้ แค่นี ้ ยังให้ พยายามทํามากๆ ค้ าง นาน ๆ พยายามเยอะ ๆ ทังที ้ ่ตอนไปเล่นโยคะคือเวลาเลิก งาน ซึง่ เวลาทําท่าในใจก็คิดว่า “ ตู ทํางานมาทังวั ้ นก็เหนื่อย และต้ องใช้ ความพยายามอยูแ่ ล้ ว พอมาเล่นโยคะอีก ทําไมต้ องมา พยายามอย่างมากมายอีกหนอ เหนื่อยชิบ” ทําให้ เล่นได้ อยูไ่ ม่นอนก็เลิกเพราะเหนื่อย และเบื่อ สดชื่นตอนนันแป๊ ้ บเดียวหลังเล่น แต่ ชีวิตรวม ๆ เหนื่อย และ เหนื่อย จากนันก็ ้ มาฝึ กทําท่าไหว้ พระอาทิตย์อยูท่ ี่บ้าน ทําบ้ างไม่ทําบ้ าง ก็ร้ ูสกึ ดีที่ได้ ออกกําลังเหงือออกตอน เช้ า ๆ แต่ขณะที่เล่นโยคะเรื่ องของร่างการและจิตใจไม่เคยได้ ดเู ลย แค่ เหงือออกก็ถือว่าวันนันทํ ้ าได้ ดีแล้ ว สําหรับคําว่าการออกกําลัง กายด้ วย โยคะ และพอมาถึงเวลาที่ การลาออกจากงานเป็ น อะไรที่หวั ใจเรียกร้ องตลอดเวลา ก็เลยถามพ่อและแม่วา่ ทําไมถึงไม่อยากให้ ลกู ออก (เรื่ องนี ้มันได้ คยุ กันมาหลายครัง้ แล้ ว อิอิ) จากที่เคยมีเหตุการณ์ กดดัน จนได้ คําตอบให้ ชีวิตตัวเองว่า เงินไม่ได้ สาํ คัญที่สดุ ในชีวติ มีเงินแต่ไม่มีความสุขแม้ แต่วนั เดียว จะมีไปทําไม จนผ่านความกดดันนันมาได้ ้ และ เงินมันก็ยงั คงไม่สาํ คัญที่ สดุ อยูด่ ี วันนันเลยคุ ้ ย อย่างรอคําตอบ ปกติจะแค่บน่ ๆ คําตอบก็จะเป็ นคําว่าให้ อดทน เลยบอกพ่อถามจริ ง ๆ ทําไม พ่อบอก “ถ้ าอีกหน่อยอายุเยอะ และเรา ไม่สบายเราจะเอาเงินที่ไหนมารักษา เป็ นโรคอะไรทีต้องใช้ เงินเยอะน๊ ะ” อ๋อ....เพราะ รัก เพราะห่วง และ เพราะความกลัว นี่เอง ก็เลย ตอบไปแบบง่าย ๆ ว่า งันลู ้ กจะดูและตัวเองให้ แข็งแรงน๊ ะพ่อ เพราะถ้ าลูกยังคงทํางานไปจนแก่ ก็คงได้ ใช้ เงินนันรั ้ กษาตัวเองอย่างทีพ่ อ่ ว่านัน่ แหละ และอีกไม่กี่วนั เราก็มาบอกพ่อและแม่วา่ “ลูกจะเรียนโยคะน๊ ะ จะเป็ นครูโยคะ สุขภาพจะได้ แข็งแรง“ (อิอิ พ่อกะแม่มอง หน้ า คงนึกในใจว่า ลูกมันจะทําอะไรของมันอีกแล้ ว เราก็ได้ แต่ยิ ้ม และบอกว่า ลูกจริ งจังน๊ ะ ) และคงเป็ นด้ วยอะไรบางอย่างที่ไม่ใช่คําว่าบังเอิญ ทําให้ เราเลือก สถาบันโยคะวิชาการ
... จากวันที่เป็ นทุกข์ จนไม่ อยากอดทด ถึงวันนี ้ ต้ องขอขอบคุณความทุกข์ และผู้ท่ ที าให้ เกิดทุกข์ มันทาให้ ได้ เจออะไร บางอย่ าง ที่มากกว่ า เกิด ทางาน ตาย 35
ตื่นเต้ นเพราะสิ่งใหม่ แต่ ในใจเต็มไปด้ วยคาถาม ก่อนอื่นต้ องเปลีย่ นจากคําว่า “เล่นโยคะ” มาเป็ นคําว่า “ฝึ กโยคะ” หลังจากที่ได้ เรี ยนแล้ ว ความรู้สกึ มันเปลีย่ นไป เป้าหมาย มันไม่ใช่แค่ให้ เหงื่อออก แล้ ว ร่ างกายแข็งแรงอีกต่อไปแล้ ว การฝึ กโยคะ ครูจะบอกว่า “นิง่ สบาย ใช้ แรงแต่น้อย มีสติ” ครู ทําไม่มนั ไม่เห็นจะนิง่ เลย ทังเกรง ้ ทังสั ้ น่ ครูก็จะบอกเราว่า ก็ให้ ทําเท่าทีเ่ ราทําได้ ไม่ฝืน ทําเท่าที่เรารู้สกึ สบายค่อย ๆ รับรู้ความรู้สกึ ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อ้ าวครู ถ้ าไม่ให้ พยายามทํามาก ๆ ท่ามันก็ไม่สวยซิ ครูก็จะบอกว่า ท่าสวยไปทําไม ยกสูง ก้ มได้ มากไม่สาํ คัญ ฝึ กทําทุกวันมันก็จะก้ ม ได้ มากหรื อยกได้ สงู ไปเอง ครูทําไม่บางท่า ครูบอกจะเป็ นการยืดหลัง แต่ทําไม ขามันตึงไม่หมดเลย หรื อบางท่า ท้ องจะโดนกดนวด แต่ทําไมเราเมื่อยมืออยู่ ครูก็ จะบอกว่า ให้ เรา ค่อย ๆ จัดปรับท่า และหาสมดุลย์ ของตัวเอง โอ้ ยครูทําไมครูบอกให้ หายใจสบาย ๆ หายใจตามปกติ แต่พงุ มันโดนกดอยู่ หายใจตามปกติได้ ไงอ่ะ ครูก็จะบอกว่า ให้ เราค่อย ๆ ดูรับรู้ ลมหายใจของเราเอง ยังมีอกี หลาย ๆ คํา หรื อบางครัง้ ก็เป็ นคําเดิม ๆ ที่ครูพดู ซํ ้า ๆ เพื่อชี ้ทางให้ แก่เรา ค่อยๆ ฝึ ก ตอนฝึ กก็จะนึกถึงคําที่ครูบอก จากทีเ่ ราเคยอยากได้ คําตอบจากครู ว่าเท่าไหนมันถึงรู้สกึ สบาย ทําทุกวันแล้ วมันจะทําได้ ดีขึ ้นจริ งหรอ สมดุลย์มนั อยูต่ รงไหนละครู รับรู้ลมหายใจทังที ้ ่อดึ อัดน่ะหรอ พอเราฝึ กไปเรื่ อย ๆ คําตอบบางอย่างมันจะค่อย ๆ ปรากฏขึ ้นมาเอง
...คาว่ า “พอดี” ไม่ มีใครให้ คาตอบเราได้ เราต้ องหาคาตอบให้ ตวั เราเอง
36
แต่ ละวันไม่ เหมือนกัน ตื่นมาเช้ านี ้สดชื่นจังเลย ฝึ กโยคะได้ สบาย หายใจโล่ง นอนท่าศพได้ ผอ่ นคลายมาก ฝึ กสมาธิตอ่ อีกหน่อยกําลังดี เช้ านี ้ทําไมมันอึดอัดมาก ทําแต่ละท่าแทบไม่อยากค้ างอยูใ่ นท่าเลย หายใจสบาย ๆ ก็ไม่ได้ นอนพักในแต่ละท่า ก็คดิ โน่นคิด นี่เต็มไปหมด วันนี ้รู้สกึ ทําท่าได้ ดี แต่ทําไมหายใจอึดอัด เหมือนคนอดหายใจมานาน อยากจะหายใจเข้ าออกถี่ๆ ลองเช็คจมูกดูโดยการ หายใจทีละข้ าง อ้ อ วันนี ้เหมือนจมูกมันหายใจได้ เต็มที่แค่ข้างเดียว อีกข้ างหายใจเอาลมเข้ าได้ นิดเดียว วันนี ้ไม่อยากตื่นเลย อิอิ ขี ้เกียจ จัง เช้ านี ้ อยากนัง่ สมาธิอย่างเดียว วันนี ้อยากฝึ ก อยากรู้วา่ จะทําท่าบางท่าแล้ วจะทําได้ ดีขึ ้นไม๊ น๊ะ ทําข้ างขวาได้ ดกี ว่าข้ างซ้ าย วันนี ้ทําท่านอนควํา่ ได้ ดีจงั แต่ทาํ ท่านัง่ แล้ วอึดอัด วันนี ้อยากทําท่านี ้นาน ๆ แต่พอทําท่าอื่น เฮ้ อ บางท่าไม่อยากทําเลย ตอนฝึ กแรก ๆ จะคิดทําไมมันไม่เหมือนกันทุกวันน๊ ะ อยากให้ มนั สดชื่น ทําได้ ดีทกุ วัน เลย แต่พอฝึ ก ๆ ไป ความอยากนัน้ มัน ก็จะค่ อย ๆ จาง ไป ถ้ าวันไหนดีก็ร้ ูวา่ มันดี ถ้ าวันไหนไม่ดี ก็ฝึกไปทังที ้ ่ขี ้เกียจนั่นแหละ รับรู้ความขี ้เกียจไป พอทําเสร็ จจะรู้สกึ สบาย และไม่ทําให้ เราขี ้เกียจไปทังวั ้ นด้ วย
...ฝึ กทุกวัน เปลี่ยนแปลงทุกวัน เรียนรู้ทุกวัน
37
ล้ างจมูก จีด๊ ขึน้ สมอง (นา้ อุ่นเกินไป) การชําระล้ างทําความสะอาดจมูกเรี ยกว่า “เนาติ” อุปกรณ์ ก็จะมีกาเล็ก ๆ น่ารัก เหมือนตะเกียงของยัก ในเรื่ องอาละดิน เตรี ยม ต้ มนํ ้า และ ละลายนํ ้าเกลือ ทิ ้งไว้ ให้ นํ ้าอุน่ วีธีการล้ างจะมี
-
เอานํ้าเข้าทางจมูกข้างนึง ก้มตัวและเอียงตัวให้น้ าํ ออกทางจมูกอีกข้างนึง สลับทําทั้งสองข้าง เอานํ้าเข้าทางปาก และ ออกทางจมูก
-
เอานํ้าเข้าทางจมูก และ ออกทางปาก
-
ทําเสร็ จทําการหายใจที่เรียกว่า กบาลปาติ ก็พงุ ยุบหายใจออก พอปล่อยพุงก็จะหายใจเข้ าเองเป็ นธรรมชาติ หายใจด้ วย ความเร็ว เพื่อขจัดของเสีย และนํ ้าออกทางจมูก จากนันให้ ้ นอนท่าจระเข้ เพื่อให้ นํ ้าที่ค้างในจมูกไหลออก ทุบกะเทียมใส่เวลาเป็ นหวัดจมูกจะโล่งมาก เพื่อนบอก แต่ยงั ไม่เคยทําเอง หลังจากทีค่ รูสอนการล้ างจมูกแล้ ว เราก็กลับมาทําที่บ้าน ต้ มนํ ้าตามครูบอก ผสมเกลือพอเค็มนิดๆ รอให้ นํ ้าอุน่ เอานิ ้วจิ ้ม ๆ ดูความอุน่ อืม่ .. กําลังดี เตรียมนํ ้าเตรียมกา มุง่ มัน่ เข้ าห้ องนํ ้า ก้ มตัว เทนํ ้าเข้ าจมูก โอ้ ว .. จ๊ ากกก มันจี๊ดขึ ้นสมอง ซ่าไปทังหั ้ วเลย นํ ้ามัน ร้ อน อุน่ เกินไปสําหรับจมูกเรา คือไอ้ ตอนเอานิ ้วจิ ้มน่ะ มันเป็ นอุน่ เหมือนที่เราเคยกินนํ ้าอุน่ ลืมคิดว่า เนื ้อเยื่อในจมูกมันบอบบางกว่า โหย... พ่อกะแม่ งง มันทําอะไรของมัน อุตส่า จะให้ พอ่ กะแม่เห็นว่ามันดี ภาพแรกที่เห็นดันผิดพลาดไปหน่อย ต้ องมาอธิบายเค้ าว่ า นํ ้ามันอุน่ เกินไป อิอิ เรี ยนรู้เลยอุน่ สําหรับการกิน กับอุน่ สําหรับจมูกมันไม่เท่ากันพอวันหลังเราทําเสร็ จ ทุกครัง้ ที่ทาํ เสร็ จก็จะออกมา บอกเล่าสรรพคุณว่ามันหายใจได้ โล่งโปร่งสบาย จมูกสะอาด แก้ ไซนัสได้ ด้วยน๊ ะ ทําการล้ างจมูกเวลาไหนดี อันนี ้เราก็ลองทําดูแต่ละคนก็จะไม่เหมือนกัน แต่เพราะความที่เรามีเวลาจํากัดในช่วงเช้ า ทําตอน เช้ าเลยจะไม่คอ่ ยรู้สกึ สบายนัก แต่ถ้าเป็ นตอนหลังอาบนํ ้าก่อนนอน เราจะรู้สกึ สบายดี เพราะไม่มคี วามรู้สกึ ว่าต้ องรี บ แต่ทําดึกมากก็ จะนอนไม่คอ่ ยหลับ เพราะมันโล่งมาก จะนอนรับรู้การหายใจ ไปจนดึก (ปกติเป็ นคนนอนไว ๓ ทุม่ ครึ่งก็นอนแล้ ว มีอยูว่ นั ทํา ตอน ๒ ทุม่ ๕ ทุม่ ยังนอนไม่หลับเลย นอนตามลมหายใจอยูอ่ ย่างนัน้ หรื อด้ วยเพราะความโล่งหรื อป่ าว ใจมันเลยไปจับอยูอ่ ย่างนัน้ วันหลังก็ เลยปรับเวลาทําให้ เร็ วขึ ้น สักหน่อย นอนหลับก็จะเป็ นปกติ
...พอดีสาหรับสิ่งหนึ่ง อาจจะไม่ พอดีสาหรับอีกสิ่งหนึ่ง ทาให้ คดิ ได้ อีกว่ า อีกหน่ อยถ้ าเป็ นครูจะได้ ร้ ูไว้ พอดีสาหรับเรา อาจจะไม่ พอดีสาหรับคนอื่นด้ วย ให้ คนอื่นได้ เรียนรู้ความพอดีของตัวเอง เหมือนที่เราก็ต้องเรียนรู้ความพอดีของเรา 38
ริซซี่ ก็มีจ้า ด้ วยความที่ครูบอก ทําอาสนะ มุทรา และ พันธะ หลาย ๆ ท่า มันจะทําให้ ระบบย่อยอาหารดี อาหารที่เป็ นพิษก็จะถูกกําจัด ออกจากร่างกาย อ๊ ะ ... มันน่าทดลอง จากเดิมทีเ่ ราเป็ นคนที่กินผลไม้ และกินผัก ช่วงนัน้ ทดลองกินมันน้ อยลง กะหนํ่าพวกแป้ง ปลา กุ้ง ขนม ชอบ อร่อยกว่ากัน เยอะ ทําแบบนี ้ได้ ไม่ถงึ อาทิตย์ ก็มีเหตุการณ์มาสอนเราจนได้ ท้ องผูกอ่ะ อึไม่ออก ปกติจะอึตอนเช้ าทุกวันก่อนฝึ กโยคะ วันนี ้มันปวด แต่ไม่ออก และด้ วยความอยากให้ มนั ออกให้ ท้องโล่งก่อนฝึ กอีก ก็จดั การทําการเบ่งอย่างเต็มที่ หง่ะ ... เจ็บตูด เลือดออก เป็ นริ สสีดวง (ริ ซซี)่ ครัง้ ร้ ายแรงที่สดุ ในชีวติ เป็ นหลายวัน แรก ๆ ก็อดทนอยู่เป็ นอาทิตย์ กลับมากินผักผลไม้ แต่พออึที่ไรต้ องมีเลือดทุกที ถามพ่อ ตอนที่พอ่ เป็ น พ่อเคยใช้ ต้นไม้ อะไรสักอย่าง เหมือนพ่อเคยเล่าให้ ฟัง พ่อบอกพ่อไม่ร้ ูจกั ชื่อ ปลูกอยูอ่ ีกบ้ านนึง เราเลยบอกพ่อ ไปเด็ ดมา ให้ ลกู ใช้ บ้างซิ พ่อบอกคนทีเ่ ค้ ามาเช่าบ้ านถอนไปหมดแล้ วไม่มี พ่อก็ไม่ร้ ูจกั ชื่อด้ วย แต่มนั ทําให้ พอ่ หายได้ เสียดายจัง ด้ วยความที่เป็ นมาเป็ นอาทิตย์ได้ ไม่ไหวมันคงหายเองไม่ได้ เพราะทุกครัง้ ที่เบ่ง มันก็คงมีผลกับแผล ต้ องกินยากะเหน็บยา ซะแล้ ว น้ องที่ทํางานเคยเป็ นเค้ าก็เอามาให้ อืมมันหาย แล้ วพอมาเรี ยนเรื่ องสรี ระ ก็บอกว่า คนเราต้ องมี หลาย ๆ อ ที่ดี ต้ องมี อาหาร อากาศ ออกกําลัง เอนกาย อารมณ์ อาชีพ เอาพิษออก เราก็นกึ ขําในใจ และก็มี อ เกิดขึ ้นในใจอีก อ คือ อ เออว่ะ มันจะมีแค่อย่างใด อย่างหนึง่ ไม่ได้ มันต้ องมีหลาย ๆ อย่าง และต้ องสมดุลย์กนั ด้ วย เออ แล้ วทํา มูลพันธะ ตอนเป็ นริ ซซี่ด้วย ไม่ร้ ูเป็ นอะไรป่ าว แต่ผา่ นมาจนทุกวันนี ้ก็ไม่เห็นเป็ นอะไร สบายดี
...สุขได้ ตรงที่มนั พอดี 39
กินเยอะไม่ ได้ ไม่ อยากไปกินบุฟเฟ่ แล้ ว เราเป็ นคนนึง ที่ชื่นชอบอาหารบุฟเฟ่ มาก โดยเฉพาะ อาหารญี่ปนุ่ อาหารทะเล ชอบ ๆ กินไม่คิด มีความสุขขณะทีก่ ิน จากที เคยกินตามใจปาก อร่อย ท้ องเต็มแค่ไหนก็เอาลงไปได้ ท้ องมันบอกให้ หยุด แต่ปากมันบอกว่าอยาก กินจนแน่น อืด ยิ่งถ้ าเป็ นมือเย็น กินกันจนนอนไม่หลับเลยทีเดียว กินจนอวก ก็เคย อิอิ มันอร่อยนี่นา กินกันเข้ าไป พอฝึ กโยคะได้ ๓-๔ เดือน การกินมันเปลีย่ นไป อิ่มไว กินต่อไม่ได้ มันเกิดอาการ พอทังท้ ้ อง และ พอทังปาก ้ เกิดอาการหยุด กึก เฮ้ ย... เคยอร่อยนี่นา เคยกินได้ มากกว่านี ้นี่นา ทําไมล่ะ ไม่กินต่อจริ งหรอ มันเกิดอาการหยุดแบบ ไม่แย่แส อืม ... หรื อมันได้ เรี ยนรู้ ในคําว่า พอ ในช่วงที่กําลังดี รวมเป็ นคําว่าพอดีนี่เอง รู้สกึ ตัวเบาสบายดีด้วย ไม่หนัก ไม่อดื ไม่อดึ อัด เรื่ องของการกินครูบอกว่า ให้ แบ่งกระเพาะเป็ น ๔ ส่วน กินอาหารลงไป ๒ ใน ๓ ส่วน เป็ นส่วนของนํ ้าอีก ๑ ส่วน และปล่อย ให้ ท้องว่าง ไว้ ๑ ส่วน เพื่อให้ กระเพาะมีช่องว่างในการย่อยอาหาร ส่วนเรื่ องการเคี ้ยวให้ ช้าด้ วย ครูบอกให้ เคียวช้ า ๆ ในการกินอาหาร ให้ เคียวอาหาร ๓๐ ครัง้ ต่อคํา ส่วนตัวแล้ วเรายังไม่เคี ้ยวช้ าขนาดนัน้ เพราะ ยังคงต้ องใช้ ชีวติ ที่เร่งรี บอยูม่ งั ้ แต่ก็คอ่ ย ๆ ฝึ ก ค่อย ๆ ปรับกันไป เคยลอง เหมือนกัน มันทําให้ ไม่ตะกละ กินด้ วยความมีสติ ค่อย ๆ เคียว ไม่เกิดความอยาก ใจเย็น แต่ยงั ทําไม่ได้ บ่อยนัก และเหตุผลที่ไม่อยากไปกินบุฟเฟ่ แล้ วก็เพราะ พอกินได้ น้อย มันก็ร้ ูสกึ ว่าไม่ค้ มุ อิอิ และ ทําไมต้ องไปพยายามกินเยอะ ๆ ทัง้ ๆ ที่ร่างกายไม่ต้องการอีกแล้ ว
...ละเอียดอ่ อน ในการเรียนรู้ และรับรู้ให้ มากขึน้ มากขึน้ 40
จาชื่อท่ าไม่ ได้ แล้ วเสียงนุ่ม ๆ ทายังไงดีหน๋ อ จําชื่อท่าอาสนะ ได้ แค่บางท่า ส่วนใหญ่จะจําที่เป็ นภาษาไทย ไม่ได้ จําทีเ่ ป็ นภาษาสันสกฤต เพราะมันจํายาก นึกถึงวิธีการ เขียนแป๊ บข้ างฝา พูดชื่อท่าเวลาทํา ซึง่ เวลาฝึ กโยคะ ปกติจะนึกแต่ทา่ ภาษาไทย หรื อบางทีก็ทาํ โดยไม่นกึ ถึงชื่อท่าเลย ก็เปลีย่ นเป็ น เวลาฝึ กให้ นกึ ท่าที่เป็ นภาษาสันสกฤษด้ วย หรื อจะทําการ์ ดรูปภาพ เหมือนที่เด็ก ๆ ฝึ กภาษาอังกฤษดี และเมื่อเวลาใกล้ ฝึกสอนเข้ ามา ก็มีความกังวลเกิดขึ ้นอีกเรื่ อง คือ แล้ วไอ้ เสียงนุม่ ละ เค้ าทํากันยังไง ปกติเวลาเราพูดก็ไม่ใช่ คนเสียงนุม่ อะไร เลยนึกว่าทํายังไงดี ก็ลอง ฝึ กอ่านหนังสือ ออกเสียงช้ า ๆ มันก็ช่วยได้ บ้าง แต่เราก็ไม่มีเวลาฝึ กทุกวัน จะหาใครให้ เราฝึ กสอน เราก็ไม่มีเวลา พ่อกะแม่ก็ไม่คอ่ ยจะยอมทํา ได้ แต่บอกข้ อดีเป็ นส่วน ๆ เป็ นท่า ๆ แต่เรื่ องจะให้ สอน เป็ นเรื่ องเป็ นราวก็คงต้ องใช้ เวลา คิดอยูน่ า่ นว่าจะทํายังไงดีน๊ะ ก็มาคิดได้ วา่ ชื่อ ก็คอ่ ย ๆ จํากันไป ส่วนเสียง ก็เอาเสียงตามธรรมชาติของเราเนี่ยแหละ แต่คง พูดให้ มนั ช้ าลงหน่อย เอาแบบสบาย ๆ ไม่ฝืน เหมือนเวลาฝึ กอาสนะนัน่ แหละ ขอให้ มีสติละกัน
...คิดว่ ายังมีอกี อย่ างที่คนอยากเป็ นครูอย่ างเราต้ องเรียนรู้ คือ เป็ นอย่ างที่เราเป็ น
41
เรียนรู้ธรรมชาติ เรียนรู้ตัวเอง ครูบอกว่าเราฝึ กโยคะ อย่างหนึง่ ก็เพื่อทําให้ เรานัง่ สมาธิได้ นานขึ ้น เพื่อทีเราจะได้ มีความสงบในด้ านจิตใจ อันนี ้ก็ต้องทดลองซิเนอะ ถึงจะรู้วา่ จริงไม๊ จากทีเ่ คยก่อนนัง่ ท่าปทุม (ปั ทมาสนะ) อิอิ จะได้ จําชื่อท่าได้ เยอะขึ ้น บางครัง้ ก็ร้ ู สึกเมื่อย ตรงโน้ นตรงนี ้ก่อนจะนัง่ ซะอีก ปวด เข่า ปวดเท้ า ปวดหลัง ว่ากันไป นัง่ แป๊ บนึง ความคิดก็มาแล้ ว พอมาแล้ วบางครัง้ ก็จะคิดต่อ บางครัง้ ก็จะห้ ามไม่ให้ คดิ ไม่อยากให้ มี ความคิด นัง่ ได้ สกั หน่อย ปวดขา ปวดแข้ งไปหมด ไม่อดทนละ พอดีกว่า หรื อวันไหนอดทนนัง่ ยิ่งทนจะยิ่งอยากพอ ใจมีแต่คาํ ว่า พอแล้ ว พอแล้ ว รี บปล่อยขา ขาที่ชาอยู่ เจ็บมาก เคยเจ็บ แลพอปล่อย ให้ มนั คลายชา นํ ้าตาไหลเลยก็มี จากทีค่ อ่ ย ๆ ฝึ กโยคะมาเรื่ อย ก่อนนัง่ สมาธิทชี่ อบความปวดเมือ่ ยไว้ ก่อนก็จะหายไป ตามลมหายใจได้ นานขึ ้น ความคิดมา เป็ นครัง้ คราว แต่ก็ปล่อยไปตามธรรมชาติ ไม่ห้ามไม่ให้ คดิ แล้ ว ความคิดมาเดี๋ยวก็ไป อยูก่ บั ลมหายใจ ดูมนั ไปเรื่ อย ๆ นัง่ ได้ นา่ น กว่าเดิม พอเริ่ มเมื่อยยังนัง่ ต่อได้ อีก ไม่ถึงกับโอ๊ ย พอเถอะ นัง่ ไปสักพัก พอรู้สกึ ว่าเจ็บขามากแล้ ว ส่งความรู้สกึ ไปดูขาที่มนั แน่นมาก เจ็บ ใจก็คอ่ ย ๆ พอ (ยังไม่เคยก้ าวข้ ามความเจ็บไปได้ แต่จะค่อย ๆ ฝึ กดูไปเรื่ อย ๆ) ตอนคลาย ขาที่เป็ นเหน็บ ก็คอ่ ย ดูมนั คลาย ออกมา นิ่ง ๆ สบาย ๆ ไอ้ ความเจ็บก็ยงั คงเป็ นอยู่ แต่ความทุรนทุรายมันน้ อยลง แค่ดมู นั ไป บางวันหายใจได้ เบา บางวันหายใจรู้สกึ อึดอัด ก็เป็ นธรรมชาติ ไม่มีอะไรที่แน่นอนไปตลอด ความอยากให้ มนั แน่นอนก็คอ่ ย ๆ ลดลง ทุกอย่างก็เปลีย่ นไปตามเหตุปัจจัยของมัน
... ไม่ มีอะไรแน่ นอน ดีท่ ชี วี ติ มีความสุข แต่ ตอนที่ทุกข์ น่ ันแหละเป็ นช่ วงที่สอนเราได้ ดีท่ สี ุดในชีวติ
42
ตื่นมาซิจ๊ะ ฉันรอเธออยู่ ก่อนฝึ กโยคะจะเป็ นคนที่ ตื่นมาปุ๊ บ ความคิดจะวิ่งเข้ ามาปั๊ บ เหมือนความคิดรออยู่ ประมาณว่า ตื่นมาซิจ๊ะ ฉันรอเธออยู่ จะ คิดโน่น นี่ นัน่ งานจะทําอย่างโน้ น เจอคนนี ้จะพูดเรื่ องนี ้ คิดอะไรได้ สารพัด ทังเรื ้ ่ องที่เกิดขึ ้นไปแล้ ว และเรื่ องยังไม่เกิดขึ ้น หรื อบางที รู้สกึ ตัวตอน ตีสาม ตีสี่ ความคิดก็มาทันที บางครัง้ แก้ โดย นอนคิดอยูท่ ําไม ตื่นขึ ้นมาอ่านหนังสือ ฝึ กโยคะบ้ าง หรื อ หาอะไรทําไปบ้ าง ซึง่ น่าจะเป็ นเวลาที่นอนพักผ่อนต่อได้ อีกสักหน่อย เพราะ ถ้ าวันไหน ตื่นไวขนาดนัน้ บ่าย ๆ จะง่วง และ จากที่มีเรื่ องอะไรบางครัง้ จะมี การคิดฟุ้ง ปรุงแต่งต่อ เพลินไปกับความคิด สักพักใหญ่ถงึ จะรู้สกึ ตัวได้ วา่ ช่างมันเถอะ ทังเรื ้ ่ องทุกข์ และเรื่ องสุข เรื่ องบางเรื่ องก็คิด กลับไปกลับมาวกวนอยูอ่ ย่างนัน้ สังเกตุตวั เอง หลังจากฝึ กโยคะ กลายเป็ นตื่นปุ๊ บ ความคิดวิง่ เข้ ามา จะมีอีกความคิดนึงเข้ ามาว่า ยังไม่เห็นต้ องคิด อยูก่ ะลง หายใจซิ ลมหายใจที่มีแต่ความสุข ดีจงั ลมหายใจของเรา ทําแบบนี ้บ่อย ๆ เข้ าตื่นมาความคิดทีว่ งิ่ เข้ ามาหาเราจะน้ อยลง แต่ก็ยงั คงมี อีกอย่างนึง ในวันที่อากาศดี ๆ ตอนเช้ า ๆ มันจะมาบ่อยมาก ๆ พอกับความคิด อิอิ เจ้ าตัวขี ้เกียจนีเ่ อง มาบ่อย ต้ องคอยเอาชนะ ส่วนเรื่ องที่เพลิดเพลินกับความคิด
แต่พอฝึ กโยคะไปเรื่ อย ๆ เวลามีเรื่ องราวอะไรเข้ ามามักจะ กลับมาสังเกตุ ดูความ
เปลีย่ นแปลงของร่างกาย ว่าหัวใจมันเป็ นยังไง สังเกตุความคิดที่เกิดขึ ้น ถ้ าเราไม่คิดต่อ มันก็จะมาและไปตามธรรมชาติของมัน ส่วนเรื่ องที่เคยเกิดขึ ้น แล้ วนํามาคิดกลับไปกลับมาหลายรอบ กลับกลายเป็ นปล่อยมันไปได้ สบาย ๆ
คิดไปเยอะแยะ
มากมาย บางครัง้ เรื่ องทีค่ ิดก็ไม่เกิด หรื อไม่เป็ นอย่างที่เราคิด หรือ ถ้ ามันจะเป็ นปั ญหา คิดแค่นี ้ก็พอแล้ ว ไปแก้ ปัญหาเอาตอนที่มันเกิด ขึ ้นมาจริง ๆ มัง่ ก็ได้ เคยอ่านหนังสือเจอ แล้ ว ชอบ เค้ าบอกว่า ปั ญหามี ๒ แบบ ปั ญหาที่เราแก้ ได้ เราก็แก้ ไป กับ ปั ญหาที่เราแก้ ไม่ได้ แล้ วเราจะวิตกกังวลทําไม เราแก้ ไม่ได้ อ่านแล้ ว ได้ ลอยยิ ้ม เออว่ะเนอะ หรื อบางทีมเี รื่ องหยุดหงิด ก็อยากนัง่ สมาธิ แทนที่จะคิดให้ หยุดหงิดมากขึ ้น อย่างนี ้นีเ่ องมัง๊ ที่ครูบอกว่า การฝึ ก โยคะจะได้ ประโยชน์ ตรงที่เราทํามันด้ วยความสบาย ไม่ฝืน รับรู้ความเปลีย่ นแปลง และ การผ่อนคลาย หลังจากที่เราทําท่าเสร็ จ ก็สาํ คัญ เราเลยคิดว่า ประโยชน์ ของการที่เราได้ ตามรับรู้ความเปลีย่ นแปลงของร่างกาย ดูลมหายใจอันละเอียดอ่อน ของเรา บ่อย ๆ ในขณะที่เคลือ่ นไหว และ ในขณะที่พกั ในแต่ละครัง้ นัน่ แหละ ทําให้ เวลาที่เรามีอะไรมากระทบ เรามักกลับมาสังเกตุตวั เอง
...ฝึ กกายได้ เรียนรู้ใจ ฝึ กใจได้ เรียนรู้กาย ฝึ กกายใจ เรียนรู้ท่ จี ะปล่ อยวาง เพื่อจะได้ เป็ นผู้ร้ ู ผู้ต่ นื ผู้เบิกบาน ^_^ 43
ครูให้ เพื่อที่จะให้ เราให้ ต่อ ครูกวี สอนแบบเหน็บแนม อิอิ แต่ทําให้ นกึ ถึงคําท่านพุทธทาส ว่า “อย่าโง่” ไม่ร้ ูทําไมรู้สกึ อย่างนัน้ ครูพี่อ๊อด เหมือนพี่สาวคนโต คอยเตือน คอยบอกอะไรบางอย่างแล้ วให้ เราคิดเอง คอยทวงการบ้ าน อิอิ คอยกระตุ้นให้ ขยัน ครูพี่เล้ ง เหมือนพี่ที่วยั ใกล้ เคียงกัน ชอบมีนอกเรื่ อง หนุก ๆ เหมือนให้ ความรู้ที่เห็นภาพได้ งา่ ยขึ ้น ทําให้ หายง่วยในช่วงบ่าย ไปเยอะ ครูพี่รัตน แปลภาษาอังกฤษของครูญี่ปนให้ ุ่ เราฟั งแบบสบาย ๆ ครูหมู เหมือนเพื่อนน่ารัก ๆ สอนเราแบบใจดีมาก ๆ ยิ ้มกันตลอดเวลา ครูเบิร์ด ได้ ความรู้แบบฮา ๆ ครูนนั ให้ ความรู้แบบ สบายใจ คือ ความสงสัย ความกังวล ครูก็เคยเป็ นมาก่อน ครูดล ครูสอนให้ ร้ ูเรื่ องของชีวิต ได้ ฟังคนอื่น ได้ ฟังเสียงของใจตัวเอง ในเรื่ องบางเรื่ องที่บางครัง้ เราก็ละเลยมันไป ทําให้ เรา ละเอียดอ่อนกับเรื่ องของความรัก เพื่อน ๆ ก็เหมือนครู ที่มีนํ ้าใจให้ กนั ทุกคนเลย คุยกันได้ ตงแต่ ั ้ เรื่ องธรรมะ ยันเรื่ องขี ้ ๆ อิอิ เรื่ องบางเรื่ องที่มนั ค้ างคาใจเรามานาน เพราะความเมตตาของครู ๆ ก็ทําให้ เราได้ คดิ และได้ คาํ ตอบ (นอกจากเมลล์ที่ได้ ขอบคุณพี่อ๊อดไป) มันยังมีอกี คํานึง ที่อยู่ ๆ ก็เกิดขึ ้นมาในห้ วงของความคิด คือ ต้ องพัฒนาตัวเองจาก คําว่า “สงสาร” ไปสู่ คําว่า “เมตตา” คิดว่านํ ้าตาของความขี ้แย มันคงลดลง ยังไม่มีคาํ ตอบว่าเป็ นอย่างที่เราคิดหรื อเปล่า แต่ก็จะพยายามพัฒนาตนเอง ตาม แนวทางแห่งโยคะ และ พุทธะ ต่อไป จะพยายามเป็ นผู้ให้ อย่างทีค่ รูให้
ระหว่างทางที่ไม่ใช่เรี ยนรู้แค่โยคะ ครูฮิโรชิ สอน มหามุทรา (ชอบรูปนี ้ จัง ไม่ร้ ูทําไม) .. ครูไม่ ได้ ให้ คาตอบแก่ เรา แต่ ครูทาให้ เราค้ นพบคาตอบ
44
โยคะกับศีล5
โดย เนาวรั ตน์ อิ่มลิม้ ธาร
45
บทนา ข้ าพเจ้ าได้ เรี ยนรู้เกี่ยวกับศีลมานานแล้ ว น่าจะตังแต่ ้ ชนประถมศึ ั้ กษาว่ามี ศีล ห้ า สําหรับเราที่เป็ น บุคคลธรรมดาทัว่ ๆ ไป ศีลแปด สําหรับคฤหัสถ์ที่มีความไฝ่ ธรรมที่ต้องการปฏิบตั ิธรรมให้ มีความเคร่งครัดขึ ้น ไปอีก ศีลสิบ สําหรับแม่ชี และสามเณร รวมทังศี ้ ล 227 สําหรับพระสงฆ์ แม้ ว่าจะได้ มีโอกาสไปบวชชี พราหมณ์บ้างเมื่ออยูใ่ นวัยชันประถมในช่ ้ วงเข้ าพรรษาเนื่องจากเรี ยนที่โรงเรี ยนวัด แต่ก็เป็ นการบวชแบบเด็ก ๆ ที่เพื่อน ๆ ก็ยงั มีการทะเลาะกัน และคิดว่าข้ าพเจ้ าก็ไม่สามารถรักษาศีลได้ ถึง ศีล แปด ในช่วงเวลานัน้ แต่ นัน่ ก็นา่ จะเป็ นช่วงชีวิตที่ข้าพเจ้ าได้ เริ่มมีโอกาสขัดเกลาตัวเองตังแต่ ้ วยั เด็ก เมื่อมีโอกาสไปวัดเพื่อทําบุญก็จะได้ มีการอาราธนาศี ลห้ า แต่ก็ยังไม่ร้ ู เรื่ องการถื อศีล ห้ า เท่าใด จนกระทั่ง ชัน้ มัธ ยมที่ ไ ด้ เ รี ยนวิช าพุทธศาสนา และได้ เห็นตัวหนัง สื อ และบทสวดอาราธนาศีลห้ า ในทาง พระพุทธศาสนาประกอบด้ วยอะไรบ้ าง และก็ตงใจแต่ ั้ ไม่ได้ ตงจิ ั ้ ตว่าข้ าพเจ้ าจะถือศีล ห้ า ให้ ได้ มากที่สดุ เมื่อ เวลาผ่านไปข้ าพเจ้ าได้ มีโอกาสขัดเกลาจิตใจตัวเอง ฟั งธรรม อ่านหนังสือธรรมะและการได้ มีโอกาสไปปฏิบตั ิ ธรรม เป็ นระยะ ๆ ซึ่งช่วยให้ ข้าพเจ้ าได้ พิจารณาและตังจิ ้ ตที่จะถือศีล ห้ า อย่างเคร่ งครัดและละเมียดละไม ยิ่งขึ ้น และมีบ้างที่มีโอกาสได้ ถือศีลแปด เมื่อครัง้ ไปปฏิบตั ธิ รรม อย่างไรก็ตามการถือศีลห้ า จะเป็ นการปฏิบตั ิ ที่เข้ ากันได้ กบั วิถีชีวิตของคนทํางานประจําและยังมีวิถีทางโลกได้ มากกว่า ข้ าพเจ้ าได้ เริ่มรู้จกั โยคะครัง้ แรกเมื่อใดไม่ทราบแต่เท่าที่จําได้ ว่าตนเองสนใจที่จะฝึ กโยคะด้ วยตนเอง โดยเริ่มจากการซื ้อหนังสือโยคะเล่มหนึ่งที่มีรูปภาพวิธีการฝึ กโยคะท่าสุริยนมัสการ และได้ ลองทําด้ วยตนเอง จําได้ ว่าครัง้ แรกที่ลองฝึ กนันมี ้ แต่ความไม่มนั่ ใจว่าเราทําท่าถูกหรื อไม่และเราต้ องคงค้ างอยู่ในท่านานเท่าใด แล้ วในที่สดุ ก็ไม่ได้ ฝึกต่อ ไปหลังจากครัง้ นัน้ แล้ วต่อมาหนังสือก็ถกู เก็บไว้ ในตู้ ต่อมาข้ าพเจ้ าได้ มีโอกาสเป็ น สมาชิกของฟิ ตเนสคลับแห่งหนึง่ ที่มีคอร์ ส โยคะร้ อน แล้ วข้ าพเจ้ าได้ เข้ าไปร่ว มการฝึ กเป็ นระยะเวลาหนึ่ง แรก ๆ ก็ร้ ู สึกว่าเบาสบายตัวหลังจากเสร็ จสิน้ การฝึ กและนํ ้าหนักตัวลดลงกําลังดี แต่ต่อมาข้ าพเจ้ าสังเกตว่าตน ตนเองมีอาการปวดเมื่อยหลังมาก ๆ และต้ องพึง่ การนวดแผนไทยเพื่อบรรเทาอาการ ระหว่างนี ้ข้ าพเจ้ าได้ เข้ า ไปลองฝึ กที่ฟิตเนสที่สอนโยคะโดยเฉพาะ แต่ข้าพเจ้ ารู้สกึ เหนื่อยมากในการฝึ กโยคะด้ วยระยะเวลาชัว่ โมงครึ่ง และอีกประการหนึง่ ข้ าพเจ้ าคิดว่าค่าใช้ จ่ายในการเป็ นสมาชิก ฟิ ตเนสไม่ค้ มุ กับการที่ข้าพเจ้ าต้ องเสียเป็ นราย ปี แต่ยงั ไม่ทราบว่าข้ าพเจ้ าจะเล่นได้ อย่างต่อเนื่องหรื อไม่ จึงไม่สนใจที่จะสมัครเป็ นสมาชิก แล้ วในที่สดุ ก็ไม่ได้ ฝึ กโยคะอีกเลยเป็ นเวลาประมาณ 2 ปี
46
ต่อมาข้ าพเจ้ าได้ มีโอกาสได้ เรี ยนโยคะอีกครัง้ จากโปรแกรมที่จดั ให้ ของที่ทํางาน โดยเชิญครูโยคะ 2 ท่านที่มาจากโยคะวิชาการและเป็ นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒน์ ประสานมิตร ข้ าพเจ้ ารับรู้ถึง ความรู้สกึ ที่แตกต่างในรูปแบบของโยคะ และความเป็ นวิถีโยคะของครูที่เห็นชัดเจน เช่น ความเรี ยบง่าย สงบ สมถะ เย็น สุขมุ และลักษณะที่ทําให้ ข้าพรู้สึกว่าโยคะลักษณะนี ้น่าจะเป็ นโยคะที่ถูกจริ ตกับเรา หลังจากจบ คอร์ สข้ าพเจ้ าก็ยงั มีเล่นบ้ างแต่ไม่ตอ่ เนื่อง แต่ก็ยงั สนใจอยู่ หลังจากที่โครงการวิจยั ของข้ าพเจ้ าที่ทําอยู่สิ ้นสุด ลงและข้ าพเจ้ ามีเวลาว่างจึงนึกถึงว่าข้ าพเจ้ าอยากเรี ยนโยคะที่เป็ นโยคะรูปแบบที่ข้าพเจ้ าถูกใจนี ้ต่อไปอย่าง จริงจังและเป็ นความรู้ที่ถกู ต้ องจริง ๆ จึงปรึกษากับครูและได้ รับคําแนะนําให้ มาเรี ยนที่โยคะวิชาการ ข้ าพเจ้ าคิดว่าศีล 5 เป็ นหลักปฏิบตั ิพื ้นฐานที่ดีในการเป็ นมนุษย์ที่มนุษย์ทกุ คนสามารถปฏิบตั ได้ ไม่ ยาก แต่ทําไมก็ยงั มีจํานวนผู้คนน้ อยมากที่สามารถถือศีล 5 ได้ ในวิถีชีวิตปกติ ดังนันข้ ้ าพเจ้ าจึงอยากจะวิจยั ค้ นหาจากตัวของข้ าพเจ้ าเองและผู้ที่เข้ าฝึ กโยคะบางท่านว่าวิถีโยคะนันมี ้ ผลกับการถือศีล 5 อย่างไร รวมทัง้ ในทางกลับกัน การถือศีล 5 นันมี ้ ผลกับวิถีโยคะอย่างไร
ทบทวนวรรณกรรมจากตาราที่ได้ จากสถาบันโยคะวิชาการและอื่น ๆ โยคะ ปตัญชลีโยคะสูตรอธิบายรายละเอียดว่ากฏแห่งกรรมเป็ นส่วนหนึ่งของมรรค 8 ของโยคะ (อัษฎางค์ โยคะ) เมื่อปฏิบตั ติ ามมรรค 8 ด้ วยความอุทิศอย่างเคร่งครัด ผู้ฝึกก็จะมัน่ คงทังทางกาย ้ ใจ อารมณ์ อันทําให้ สามารถดํารงอยู่ได้ อย่างสงบในทุกสถานการณ์ ผู้ฝึกเรี ยนรู้ถึงจิตวิญญาณสูงสุด หรื อสภาวะแห่งพรหม และ ดํารงอยูพ่ ร้ อมทังกาย ้ วาจา ใจ กับสัจจะสูงสุดนัน้ ปตัญชลีอธิบายว่า ก่อนเข้ าสู่สมาธิ สํานึกของเราขึ ้นอยู่กบั ปั จจัย 5 ประการคือ 1 การรับรู้ที่ถกู ต้ อง 2) การรับรู้ ที่ ผิด (เมื่อประสาทรับรู้ บกพร่ อง) 3) เข้ าใจผิดหรื อลังเล (เมื่อใจไม่เอือ้ ) 4) การนอน และ 5) ความจํา จิตวิญ ญาณนัน้ มี คุณสมบัติที่บริ สุทธิ์ เป็ นพื น้ ฐาน แต่เมื่ อผ่านสํ านึกที่ แปดเปื ้อนหรื อเพี ย้ นก็ เกิ ด อาการไม่วา่ จะดีใจหรื อเสียใจและเป็ นทุกข์ เสมือนแมงมุมที่ตดิ ใยของตนเอง ปตัญชลีสอนผู้ปฏิบตั ิให้ สร้ างเมตตาและกัลยาณมิตร ยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุขและเมินเฉยต่อเรื่ อ สัพเพเหระและคงไว้ ซงึ่ ความสงบ ทังแนะนํ ้ าผู้ปฏิบตั ิให้ มีจริ ยธรรม ด้ วยการรักษาศีล (ยมะ) มีวินยั ในตน (นิย มะ) เพื่อควบคุมความประพฤติของตนเป็ นพื ้นฐานของการพัฒนาจิตวิญญาณ ปตัญชลียงั ได้ แนะนําวิธีตา่ ง ๆ เพื่อตัดสํานึกจากการกระตุ้นเร้ าของสมองและอารมณ์เพื่อสร้ างจิ ตวิญญาณสากลเมื่อผู้ปฏิบตั ิเต็ม ด้ วยความ 47
แจ่มใสการรับรู้ภายในและสัจธรรม จิตวิญญาณซึง่ เก็บงําอยู่ภายในก็เผยตัวปรากฏต่อผู้ แสวงหา ผู้แสวงหาก็ เข้ าสูส่ ภาวะนิรภิจารสมาธิ โดยไม่ต้องอาศัยเครื่ องมือใด ๆ มนุษย์ก้าวหน้ าหรื อถอยหลังจากการกระทําของตน การฝึ กโยคะ นําไปสู่วิถีแห่งจิตวิญญาณ การ กระทําที่นอกเหนือไปจากโยคะผูกมนุษย์เข้ ากับโลกแห่งวัตถุ อหังการ์ (การยึดถื อตัวเอง) คือรากของการ กระทํา ไม่ว่าดีหรื อชัว่ โยคะถอนวัชพืชแห่งความทะนงตน ช่วยให้ ผ้ แู สวงหาสะกดรอยไปถึง “สํานึก” อันเป็ น ตอของการกระทําและเป็ นที่เก็บผลกรรม (samskaras) ทังหลาย ้ ด้ วยวิถีแห่งโยคะ ผู้ปฏิบตั ิก็เป็ นอิสระจาก ผลกรรม ความปราถนา การกระทํา ผลของการกระทํา ล้ วนอยู่ในกงล้ อของความคิด เมื่อ สํานึกบริ สทุ ธิ์และ มัน่ คง มันก็จะถูกกําจัดไป การเคลื่อนไหวของใจสิ ้นสุดลง เมื่อผู้ปฏิบตั ิกลายเป็ นโยคีที่สมบูรณ์ ตื่นรู้อยู่กบั ทุก การกระทํา เช่นเดียวกับไขนํา้ มัน เปลวไฟรวมกันเป็ นแสง ความคิด คําพูด การทํา รวมกันเป็ นหนึ่งเดียว สําหรับผู้มิได้ ปฏิบตั ิ ความรู้ ความเข้ าใจก็ จํากัด วัตถุก็อย่างหนึ่ง การรับรู้ นันก็ ้ อีกอย่างหนึ่งและภาษาที่ใช้ เรี ยกก็ไม่ใช่สองอย่างแรก ความโอนเอนของใจจํากัด ความสามารถที่จะคิดและทํา โยคี ร้ ู ความแตกต่ า งระหว่ า งกระบวนการความคิ ด ที่ ไ ม่ ค งตัว กับ ความเข้ าใจต่ อ ตนเองที่ ไ ม่ เปลี่ยนแปลง โยคีทํางานในโลกในสถานะของผู้ เฝ้าดูโดยไม่ยึดติด ไม่โดนกระทบ ใจของเขาหรื อเธอใส สะท้ อ นทุก อย่ า งตามความเป็ นจริ ง โดยไม่บิ ด เบื อ น จุด นี ้ ความคาดคะเน ความจงใจสิ น้ สุด ลง โดยมี อิสระภาพเข้ ามาแทนที่ โยคีอยู่กบั ปั ญหา ไม่แต่งแต้ มด้ วยอารมณ์แห่งความต้ องการ ความโกรธ ความโลภ ความหลง ความทะนง และความพยาบาท ปั ญหานี ้นําผู้ปฏิบตั ิไปสู่ dharma megha Samadhi สติร้ ู อนั บริ สุทธิ์ ขึ ้นไปเป็ นขัน้ ๆ สู่ความรู้ และปั ญญา เข้ าสู่ ไกวัลย์ สภาวะที่จิตวิญญาณส่องสว่างอย่างต่อเนื่อง ไม่ เพียงต่อตนเองหากยังรวมถึงคนที่อยูร่ อบข้ าง จาก โศลกที่ 1.2 yogah citta vrtti nirodhah Yogah รวมหรื อองค์รวม จากชันนอกสุ ้ ดจนถึงชันในสุ ้ ด กล่าวคือ จากผิวหนังสู่กล้ ามเนื ้อ กระดูก เส้ นประสาท ใจ ความฉลาด ความปราถนา สํานึก และตัวตน Citta จิต สํานึก ซึง่ ปั จจัย 3 ประการ ใจ (มนัส) ความฉลาด (พุทธิ) และ ความมีตวั ตน (อหังการ์ ) จิต ตะ คือ พาหนะแห่งการสังเกต ความตัง้ ใจ มุ่งมัน่ และเหตุผล จิตตะมีหน้ าที่ 3 ประการ รับทราบ อํานาจที่จะ ทําสิ่งใดตามใจ และผลักดันจนป็ นการกระทํา
48
Vrtti พฤติ สภาวะของจิต การกระเพื่อมของจิต เหตุแห่งการกระทํา พฤติกรรม สภาวะแห่งการดํารง อยู่ Nirodhah นิโรธ ดับ หยุด สิ่งกีดขวาง เครื่ องกัน้ ควบคุม ศีลในแง่ ของโยคะ ศีลในแง่ของโยคะนัน้ ตามหลักสูตรของ สถาบันไกวัลยธรรม ประเทศอินเดีย ที่ศกึ ษาทําความเข้ าใจ โยคะอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ และยึดแนวทางปฏิบตั ิตามหลักตําราดังเดิ ้ มนัน้ กล่าวว่า โยคะประกอบด้ วย ขันตอน ้ 8 ประการ ที่เอื ้อซึ่งกันและกัน ผู้ที่จะได้ รับประโยชน์จากโยคะ จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องเรี ยนรู้ ทํา ความเข้ าใจ และฝึ กองค์ประกอบทัง้ 8 ประการนี ้ ควบคูก่ นั ไป เราสามารถเปรี ยบอัษฎางค์โยคะกับกงล้ อ 8 ซี่ ของวงล้ อ ล้ อที่ประกอบด้ วยกงที่สมบูรณ์เท่านัน้ ที่จะเคลื่อนที่ไปข้ างหน้ าได้ ที่จะนําพาเราไปสูเ่ ป้าหมายได้ 1 ยมะ คือ หลักการอยูร่ ่วมกับผู้อื่น (หมายรวมถึงสิ่งมีชีวิตทังหลาย) ้ ได้ อย่างสันติ มีอยู่ 5 ประการ อหิงสา การไม่ทําร้ ายชีวิต การไม่เบียดเบียน การแก้ ปัญหาโดยไม่ใช้ ความรุนแรง สัตยะ การรักษาสัตย์ ไม่โกหก อัสเตยะ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่ละโมบ ไม่ตกเป็ นเหยื่อของความโลภ พรหมจรรยะ การประพฤติตนไปบนหนทางแห่งพรหม (พรหม จรรยา) อปริคระหะ คือการไม่ถือครองวัตถุเกินจําเป็ น 2 นิยมะ คือวินยั ต่อตนเอง มีอยู่ 5 ประการเช่นกัน เศาจะ หมัน่ รักษาความสะอาดบริ สทุ ธิ์ ทัง้ กาย-ใจ สัมโตษะ (สันโดษ) ฝึ กพอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่ ตปั ส (ตบะ) มีความอดทน อดกลัน้ สวาธยายะ หมัน่ ศึกษา เรี ยนรู้ ทังเรี ้ ยนรู้เกี่ยวกัยโยคะ และเรี ยนรู้เกี่ยวกับตนเอง อิศวรประณิธานะ ฝึ กเป็ นผู้ออ่ นน้ อมถ่อมตน มีความศรัทธาในโยคะ ที่เรากําลังฝึ กปฏิบตั ิ 3 อาสนะ คือการฝึ กฝนร่างกายให้ มีความสมดุล 4 ปราณายามะ คือการฝึ กกําหนด ควบคุมลมหายใจ เพื่อการควบคุมอารมณ์ของตนให้ สงบ 5 ปรัตยาหาระ คือการฝึ กสํารวมอินทรี ย์ ฝึ กควบคุมประสาทสัมผัสทัง้ 5 รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และจิต 49
6 ธารณา คือการฝึ กสติให้ กําหนดรู้กบั สิ่งใดสิ่งเดียว อยูก่ บั เรื่ องใดเรื่ องเดียว Concentration 7 ธยานะ คือการเพ่งจ่องกับสิ่งที่กําหนดจนดื่มดํ่า หลอมรวมเข้ าเป็ นหนึง่ เดียวกับสิ่งนัน้ Meditation 8 สมาธิ คื อ การฝึ กจิ ต การยกระดับ จิ ต ให้ สู ง ขึ น้ เป็ นสภาวะที่ พ้ นไปจากระดับ จิ ต ทั่ว ไป Trans Consciousness การฝึ กโยคะอาสนะ เนื ้อหาที่แปลจากหนังสือเรื่ อง อาสนะ ของสถาบันไกวัลยธรรม หน้ า 5 ได้ กล่าวถึงเหล่านันคื ้ อมรรค 8 ของโยคะ ที่จะต้ องเป็ นการฝึ กจิตก่อนหน้ าการฝึ กกายจากท่าอาสนะ ที่จะต้ องปฏิบตั ิด้วยความจริ งใจ อันเอื ้อ ต่อความสงบในจิ ต ซึ่ง จะทํ าให้ มีอิสระจากความรุ นแรง ความศรัทธาจะทํ าให้ มองโลกในแง่ ดี มี สํานึกที่ กระจ่างชัด มีความสุขสงบตลอดเวลา กล่าวคือมีสขุ ภาพจิตที่ดี ต้ องยอมรับว่าการฝึ ก ยมะ นิยมะให้ สมบูรณ์นนเป็ ั ้ นเรื่ องยากมาก ไม่ต้องไปคิดเลยว่าจะทําได้ โดย สมบูรณ์ แต่คณ ุ ค่าอันมิอาจประเมินได้ ของ ยมะ และ นิยมะ อยู่ที่การน้ อมใจลงสู่มนั ต่างหาก ซึ่งเกิดขึ ้นได้ ทันที แม้ กับผู้เริ่ มต้ น แน่นอนระดับของสุขภาพขึ ้นอยู่กับระดับของความจริ งใจและขึ ้นกับว่าเราประเมิ นผล อย่างไร แต่แม้ กระทัง่ ความสําเร็จที่หยาบที่สดุ ก็นํามาซึง่ ความปิ ติ ดังนัน้ สิ่งจําเป็ นในการในการเตรี ยมตัวเพื่อ ฝึ กอาสนะก็คือ ความพยายามที่จะฝึ ก ยมะ นิยมะ คือความพยายามที่จะพัฒนาสุขภาพจิตที่ดี ในทางปฏิบตั ิ แล้ วเราสามารถฝึ กทังยมะ ้ นิยมะ กับอาสนะไปได้ พร้ อม ๆ กัน แต่สิ่งที่จําเป็ นอย่างยิ่งในการฝึ ก ยมะ นิยมะ หากเราต้ องการที่จะรับผลของอาสนะอย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม ประโยชน์ทางกายมิได้ ช่วยการฝึ กจิตให้ ดีขึ ้น หากมิได้ ใส่ใจกับยมะ นิยมะ อาสนะเพื่อ สมาธิทําให้ จิตพ้ นจากการรบกวนของกายก็จริ ง แต่จิตก็ยงั สามารถสัดส่ายอยู่เรื่ อยไป และไม่สามารถจดจ่อ ได้ เว้ นเสียแต่วา่ จจิตนันเป็ ้ นอิสระจากอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็ นเพียงแค่ระดับเล็กน้ อยก็ตาม ดังนันในการพั ้ ฒนา จิต การฝึ กยมะ นิยมะ อย่างเต็มรู ปแบบเป็ นสิ่ง จําเป็ น หากปรศจากยมะ นิยมะ อย่างเต็ม รู ปแบบ การร พัฒนาจิตก็ไม่มีทางก้ าวหน้ าสูส่ มาธิได้ เลย ศีลในทางพุทธศาสนา ศีลในทางพุทธศาสนานันคื ้ อความไม่ล่วงละเมิดของผู้มีเจตนาความตังใจ ้ งดเว้ นจากความชัว่ ทาง กาย วาจา และอาจตลอดไปถึงใจด้ วย บางคนอาจจะไม่ล่วงละเมิดเพราะตังใจไว้ ้ ก่อน เช่น ตังใจว่ ้ าจะไม่ฆ่า
50
สัตว์ ก็ไม่ฆ่าตามที่ตงใจไว้ ั้ ศีลจึงเป็ นเครื่ องขัดเกลา กาย วาจา รวมไปถึงใจให้ สะอาด เป็ นเครื่ องขัดเกลา กิเลสอย่างหยาบ ที่จะล่วงออกมาทางกาย ทางวาจา มีการตี การด่า เป็ นต้ น ศีลเป็ นส่วนหนึง่ ของหนทางไปสู่ มรรค ผล นิพพาน เป็ นหลักปฏิบตั ิพื ้นฐานในการดําเนินชีวิต ในการ ทําบุญทํากุศล จากมรรค8 ศีลจะเกิดเมื่อมีสัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบเกิดขึ ้นก่อน ทําให้ ร้ ู ผิดรู้ ถูก ต่อไป สังกัปปะหรื อดําริชอบ ทําให้ คดิ อยากจะรักษาศีล รู้จกั ทํามาหากินนี ้เรี ยกว่า ปั ญญาขันธ์ เมื่อมีปัญญา มีความเห็นชอบ ดําริชอบ จึงทําให้ เกิดมีสมั มาวาจาหรื อวาจาชอบ สัมมากัมมันตะหรื อ การงานชอบ สัมมาอาชีวะหรื อเลี ้ยงชีพชอบเกิดขึ ้นตามมา นี ้คือ ศีลขันธ์ สุดท้ าย สัมมาสติหรื อสติระลึกชอบ สัมมาวายามะหรื อความเพียรชอบจึงเกิด และสัมมาสมาธิหรื อ จิตตังมั ้ ่นชอบเกิดขึน้ ในที่สุดนี เ้ ป็ นสมาธิ ขันธ์ ซึ่งเรี ยกมรรค8 นีว้ ่า ศีล -สมาธิ -ปั ญญา เป็ นทางสู่มรรค ผล นิพพาน สําหรับผู้ไม่ได้ หวังในมรรค ผล นิพพาน ถ้ ามีสมั มาทิฏฐิ ขึ ้นแล้ วอย่างน้ อยก็จะเป็ นผู้มีปัญญาขันธ์และ ศีลขันธ์ ไม่ดําเนินชีวิตเสี่ยงต่อการตกไปสู่อบายภูมิ แต่ก็ยงั จะต้ องเวียนว่ายตายเกิดไม่มีที่สิ ้นสุด หากภพใด ชาติใดไม่ไ ด้ เ กิ ดมาเป็ นมนุษย์ หรื อไม่ไ ด้ เกิ ดมาพบพระพุทธศาสนาแล้ ว ก็ ย่อมหลี กหนี การกระทํ าที่ เป็ น อกุศลกรรมได้ ยาก ไม่พ้นต้ องลงสู่อบายภูมิอยู่ดี เพียงแต่ยงั ไม่ไปสู่อบายภูมิหลังจากตายไปในชาตินี ้ภพนี ้ เท่านัน้ ดังนันท่ ้ านใดไม่ต้องการตกลงสู่เบื ้องตํ่าแล้ วไซร้ ก็ขอให้ เร่ งปฏิบตั ิให้ สมาธิขนั ธ์ เกิดขึ ้นด้ วยเถิด จึงจะ เรี ยกว่าเป็ นผู้ไม่ประมาท ถึงแม้ แต่ผ้ ทู ําบุญกุศล บําเพ็ญปฏิบตั ิภาวนา แต่ยงั ไม่ได้ บรรลุถึงขันปฐมญาณ ้ ตายไปก็จะไปเกิดใน สวรรค์ ถ้ าได้ บรรลุถึงขันปฐมญาน ้ แต่ยังไม่สามารถบรรลุมรรค ผล นิพพาน ตายไปก็ได้ ไปบังเกิดเป็ นพระ พรหมอยู่ในพรหมโลก ไม่ว่าตายไปแล้ วจะไปเกิดเป็ นเทพยดาหรื อพระพรหม ก็ยงั ไม่พ้นบ่วงแห่งวัฏสงสาร เพราะเมื่อหมดบุญ ก็ยงั ต้ องกลับลงมาเวียนว่ายตายเกิดใหม่ จะได้ หลุดพ้ นไปจากวัฏสงสาร ในกิมตั ถิยสูตร อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต ข้ อ 1 พระผู้มีพระภาคเจ้ าอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงแสดง อานิสงฆ์ของศีลที่เป็ นกุศล คือกุศลศีล ที่มีกศุ ลศีล ที่มีกศุ ลจิตเป็ นสมุฏฐานแก่ท่านพระอานนท์ไว้ 10 ประการ คือ 1. ศีลที่เป็ นกุศล มีอวิปปฏิสาร คือความไม่เดือดร้อนใจเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 2. ความไม่เดือดร้อนใจ มีความปราโมทย์เป็ นผลเป็ นอานิสงฆ์ 51
3. ความปราโมทย์ มีปีติเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 4. ปี ติ มีปัสสัทธิ คือความสงบใจเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 5. ปัทสัทธิ มีสุข คือความสุ ขใจเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 6. สุ ข มีสมาธิเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 7. สมาธิ มียถาภูตญาณทัสสนะ คือความเห็นด้วยญาณตามความเป็ นจริ งเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 8. ยถาภูตญาณทัสสนะ มีนิพพิทาวิราคะ คือความหน่าย ความคลายเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 9. นิพพิทาวิราคะ มีวมิ ุตติญาณทัสสนะ คือความเห็นด้วยญาณเป็ นเครื่ องหลุดพ้นเป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ 10. ศีลที่เป็ นกุศลย่อมถึงอรหัตโดยลําดับ ด้วยประการฉะนี้ 11. เพราะฉะนั้นโลกียศีลจึงเป็ นบันไดให้เข้าถึงโลกุตรศีล เข้าถึงอธิ กศีลสิ กขา เป็ นอริ ยศีลได้ในที่สุด คนเราจะมีศีลได้ก็เพราะมีหิริและโอตตัปปะคือความละอายบาปและเกรงกลัวบาป ทั้งละอายตนเอง และละอายคนอื่น โดยอาศัยการมีสติเตือนตนว่า “เราเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าผูบ้ ริ สทธิ์ ไม่ควรทําความชัว่ ” ดังนี้ เมื่อสติคิดได้เช่นนี้ จิตใจก็อ่อนโยน ไม่กล้าทําความชัว่ เมื่อไม่ทาํ คามชัว่ ก็ไม่เดือดร้อน ศีลจึงมีความไม่เดือดร้อน เป็ นผล เป็ นอานิสงฆ์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในมหาปริ นิพพานสู ตร ทีฆนิ กาย มหาวรรคว่า ผูม้ ีศีลย่อมได้รับ อานิสงฆ์ 5 ประการคือ 1. ย่อมได้รับโภคทรัพย์ใหญ่ เพราะความไม่ประมาทเป็ นเหตุ 2. เกียรติศพั ท์อนั งามของผูม้ ีศีลย่อมฟุ้ งขจรไปไกล 3. ผูม้ ีศีลเข้าไปสู่ สมาคมใด ๆ ย่อมเข้าไปอย่างองอาจ ไม่เก้อเขิน 4. ผูม้ ีศีลย่อมไม่หลงทํากาละ คือไม่หลงในเวลาตาย 5. ผูม้ ีศีลตายแล้วย่อมเข้าถึงสุ คติโลกสวรรค์โลกสวรรค์ นอกจากนันพระพุ ้ ทธองค์ยงั ทรงแสดงไว้ ด้วยว่า ผู้ที่หวังได้ รับความรักไคร่ สรรเสริ ญจากบัณฑิตทังหลาย ้ ควรทําศีลให้ บริบรู ณ์ ศีลเป็ นรากฐานแห่งคุณความดีทงั ้ หลาย และกํ าจัดความชั่วทัง้ ปวง ศีลมีระดั บสูงตํ่า ตามเจตนาของ ผู้รักษา ถึง 3 ระดับคือ ศีลที่บคุ คลสมาทานรักษา เพื่อต้ องการภวสมบัติและโภคสมบัติ ด้ วยอํานาจตัณหา ความต้ องการ ชื่อว่าหีนศีล ศีลอย่างตํ่า ศีลที่บคุ คลสมาทานรักษาเพื่อต้ องการให้ ตนเองหลุดพ้ นจากกิเลสชื่อ
52
ว่า มัชฌิมศีล ศีลอย่างกลาง ศีลที่พระโพธิสตั ว์รักษา เพื่อต้ องการให้ สตั ว์ทงหลายหลุ ั้ ดพ้ นจากกิเลส ชื่อว่า ปณีตศีล ศีลอย่างประณีต ศีลมีทงของบรรพชิ ั้ ตและศีลของคฤหัสถ์ ศีลของบรรพชิตแบ่งเป็ นสม คือศีลของภิกษุ มี 227 ศีล ศีลของ ภิกษุณี มี 311 ศีล ของสามเณรมี 10 ศีลของคฤหัสถ์ ได้ แก่ศีล 5 ศีล 8 และศีลอุโบสถ โดยคฤหัสถ์ที่ปราศจากศีล 5 อาจเป็ นพิษเป็ นภัยแก่ ตนเองและผู้อื่นด้ วย โดยศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเพื่อขัดเกลากิเลสของตนเอง และเพื่อความสงบสุขของสังคม เพียงแต่ทกุ คนพากันรักษาศีล 5 ข้ อเท่านันชาวโลกก็ ้ จะอยูร่ ่วมกันเป็ นปกติสขุ ศีล 5 ข้ อ ได้ แก่ 1. ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวติ สัตว์ให้ตกล่วงไป 2. อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้ 3. การเมสุ มิฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผดิ ในกามทั้งหลาย 4. มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ 5. สุ ราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุ ราเมรัย อันป็ นที่ต้ งั แห่งความประมาท
ผลการวิจัย จากการศึกษาวิจยั นันสามารถเห็ ้ นสิ่งที่โยคะหรื อวิถีโยคะนันมี ้ ผลต่อศีล 5 อย่างไร จากการเป็ นผู้ เฝ้าดู การฝึ กจิ ตก่อนและขณะการฝึ กกายจากท่าอาสนะ ที่ จ ะเป็ นผู้เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงที่ เกิ ดขึน้ ของ ร่ างกายตามความเป็ นจริ งขณะพักอยู่ในท่า ขณะเปลี่ยนท่า ขณะกําลังเคลื่อนไหว ณ ขณะนันด้ ้ วยจิตใจที่ สงบ เป็ นการเกิดขึ ้นไม่ว่าจะเป็ นทังทางกาย ้ ทางความคิด สภาวtอารมณ์ที่เกิดขึ ้นในขณะนัน้ ๆ จิตใจที่สงบ อ่อนโยนรู้ เท่าทันความคิด สิ่งนี ้ที่เริ่ มเกิดขึ ้นตังแต่ ้ เราได้ เริ่ มฝึ กและมีอารมณ์ เพื่อเข้ าสู่สมาธิ มีการรับรู้ สิ่งที่ เกิดขึ ้นเกี่ยวกับตนเองตลอดทุกอิริยาบถเลื่อนไหว ความคิดที่เกิดขึ ้นในขณะมีอิริยาบถนัน้ ๆ สภาวะอารมณ์ ความรู้สกึ ที่เกิดขึ ้น โดยจะติดตามในรื่ องต่าง ๆ เหล่านี ้ กระบวนการเปลี่ยนแปลง
53
เริ่ มจากการฝึ กท่าอาสนะครัง้ แรก เริ่ มจากการฝึ กรับรู้ การเป็ นผู้เฝ้ามองการเคลื่อนไหวของร่ างกาย ในท่า ต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในร่างกาย การฝึ กท่ า อาสนะครั ง้ ที่ ส อง สาม ฝึ กรั บ รู้ การเป็ นผู้เ ฝ้ ามองการเคลื่ อ นไหวของร่ า งกาย ในท่ า ต่า ง ๆ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในร่างกาย กล้ ามเนื ้อ อวัยวะในช่องท้ อง การฝึ กท่าอาสนะร่วมกับปราณายมะช่วงแรก ๆ ฝึ กรับรู้ การเป็ นผู้เฝ้ามองการเคลื่อนไหวของร่ างกาย ในท่า ต่าง ๆ ลมหายใจเข้ า การสังเกตลมหายใจออก การเคลื่อนไหวของกระบังลม การควบคุมระยะเวลาการ หายใจ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในร่างกายในขณะและหลังจากการฝึ ก การฝึ กท่าอาสนะร่วมกับปราณายามะและพันธะ ฝึ กรับรู้การเป็ นผู้เฝ้ามองการเคลื่อนไหวของร่างกาย ในท่า ต่าง ๆ การล็อคอวัยวะ การสังเกตลมหายใจเข้ า ลมหายใจออก การเคลื่อนไหวของกระบังลม การควบคุม ระยะเวลาการหายใจ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในร่างกายในขณะและหลังจากการฝึ ก และสุดท้ ายการฝึ กท่าอาสนะร่วมกับปราณายามะพัน ธะ และกริ ยา ฝึ กรับรู้ การเป็ นผู้เฝ้ามองการเคลื่อนไหว ของร่างกาย ในท่าต่าง ๆ การล็อคอวัยวะ การสังเกตลมหายใจเข้ า ลมหายใจออก การเคลื่อนไหวของกระบัง ลม การควบคุมระยะเวลาการหายใจ การทําความสะอาดช่องนาดี การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในร่ างกาย ในขณะและหลังจากการฝึ ก พบว่าจากการฝึ กเริ่ มต้ นตังแต่ ้ ครัง้ แรก ครัง้ ที่สอง ครัง้ ที่สาม และความพยายมที่จะฝึ กอย่างต่อเนื่องให้ ได้ เกือบทุกวันมากบ้ างน้ อยบ้ าง ที่เราเริ่ มจะละเอียดกับสิ่งต่าง ๆ ภายในตัวเรา เริ่ มจากการเปลี่ยนแปลงทาง รู ปธรรมที่เห็นได้ ชัดเจน จากการเคลื่อนไหวของร่ างกาย ของอวัยวะต่ างๆ การเปลี่ยนแปลงของร่ างกาย หลังจากทําท่าอาสนะต่าง ๆ จากที่จบั ได้ บ้าง ไม่ได้ บ้าง รู้ตามบ้ าง ไม่ร้ ูตามบ้ าง มาเป็ นค่อย ๆ ต่อเนื่องมาก ขึ ้นเรื่ อย ๆ แล้ วต่อมาค่อย ๆ เริ่ มสังเกตลมหายใจที่เข้ าออกที่สมั ผัสที่ปลายจมูกที่ชดั เจนขึ ้น การเคลื่อนไหวของกระบัง ลมจากการฝึ กท่าต่าง ๆ จากการหายใจ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายในขณะที่หายใจเข้ า หายใจออก การ หยุดหายใจ แล้ วมีความละเอียดมากขึน้ จนไปถึงการพิจารณาถึงนามธรรมที่เกิดขึน้ ในระหว่างการฝึ กท่า อาสนะ ความคิดที่ผุดขึ ้นมาในระหว่างทําท่าอาสนะ การเฝ้าสังเกตความต่อเนื่อง การหยุดคิดรวมถึงกา ร เปลี่ยนแปลงของร่างกายในขณะที่คดิ ขณะที่หยุดคิด ซึง่ สิ่งที่เกิดขึ ้นที่ผ่านมานันได้ ้ มีการเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ทํ าให้ ข้าพเจ้ า ค่อย ๆ พัฒ นาตัว ตน จิ ตใจ ให้ มี ความตระหนักรู้ ต่อสิ่ ง ต่าง ๆ รอบตัวทัง้ ทางรู ป ธรรมและ 54
นามธรรม ให้ มีความชัดเจนต่อเนื่ องและละเอียดละเมียดละไมมากยิ่งขึน้ สิ่ง ที่เกิ ดขึน้ นัน้ มามีผลต่อการ ปฏิบตั ติ ามหลักศีล 5 ที่ข้าพเจ้ ายึดถือเพื่อเป็ นหลักพื ้นฐานในการดํารงชีวิตโดยข้ าพเจ้ าพบสิ่งที่เกิดขึ ้นตามข้ อ ของศีล 5 ดังนี ้ 1. ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวติ สัตว์ให้ตกล่วงไป จากการที่ ไ ด้ฝึ กรู ้ ตามสิ่ ง ที่ เกิ ดขึ้ น กับ ตนเอง เฝ้ ามองตนเองอย่า งต่ อเนื่ องทํา ให้ รับ รู ้ ถึ ง ผลกรรมที่ เกิ ดชขึ้ นจากการกระทําของตนเองชัดเจนขึ้ น ดังนั้นการพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ ที่ มีผลต่อความคิ ด การ กระทํา อารมณ์ต่าง ๆ ที่จะส่ งผลให้ไปทําร้ายผูอ้ ื่น สิ่ งมีชีวิตอื่น ๆ ให้ได้รับความลําบากรวมทั้งตัวเรา เองเป็ นสิ่ งที่เราจะรู ้เท่าทันได้เร็ วและชัดเจนมากขึ้น จนกระทัง่ สามารถสงบยับยั้งได้ รวมทั้งจากการ ฝึ กโยคะ รวมั้งการปฏิ บตั ิตามวิถีโยคะที่ทาํ ให้เรามีจิตใจที่สงบลง เย็นลง ไม่โกรธ ก็จะทําให้ศีลข้อ หนึ่งนี้ถูกละเมิดได้ยาก 2. อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้ การฝึ กโยคะที่ผ่านมาทําให้จิตใจที่ คอยวิ่งตามกระแสสังคม ความวุ่นวายใจของจิตใจที่ เต็มไปด้วย โลภะเบาบางลง มีความเรี ยบง่ายมากขึ้น และเกิดคําถามในใจถึงความต้องการสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดพอดีของ เรา แม้วา่ จะมิได้อยากได้ของใครมาอยูก่ ่อนแล้ว แต่ของที่ยงั ไม่ได้เป็ นของเรา แล้วเราต้องการอยากได้ เป็ นเจ้าของแล้วพยายามที่จะหาเงินมาซื้ อเพื่อที่จะให้ได้เป็ นเจ้าของนั้น มันเคยทําให้เราวุน่ วายใจมาก แต่เมื่อจิตที่ฝึกมาแล้ว จิตใจที่สงบ สมถะ เรี ยบง่ายทําให้เราไม่วนุ่ วายใจเวลาที่อยากได้สิ่งของต่าง ๆ สิ่ งนี้น่าจะเป็ นสิ่ งที่ละเอียดมากกว่าเพียงแค่การงดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้ 3. การเมสุ มิฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผดิ ในกามทั้งหลาย การฝึ กจิตใจที่สงบไม่วงิ่ ตามกิเลสกามที่จะทําให้เราเกิดโมหะ ความมัวเมาลุ่มหลงทั้งหลาย มีผลทําให้ เราสงบไม่วิ่งตามกิเลสหรื อตัณหาที่มีอย่างหน้ามืดตามัว สิ่ งนี้ น่าจะละเอียดกว่าการแค่งดเว้นจากการ ประพฤติผดิ ในกาม หากว่าเราสงบเยือกเว็นไม่หมกมุ่นมัวเมา สติที่จะทําให้เราไม่ไปทําผิดในข้อนี้ได้ 4. มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ การที่เรามีความระมัดระวังพิจารณาไปถึงความคิด สภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรู ้เท่าทัน รวมทั้งจิตที่ สงบมีผลให้ตวั เรามีเวลาที่จะไปพิจารณาและตระหนักถึงผลที่จะเกิดจากการกระทํา คําพูดของเราที่จะ ไปมีผลกระทบกับความรู ้สึก สุ ขทุกข์ของคนอื่น การพิจารณาเท่าทันความคิดก่อนที่จะพูดออกมาจาก ปากรวมถึงผลกระทบที่เราจะพูดสิ่ งใดออกไป สิ่ งนี้น่าจะละเอียดมากกว่าการงดเว้นจากการกล่าวเท็จ 5. สุ ราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุ ราเมรัย อันป็ นที่ต้ งั แห่งความประมาท การฝึ กจิตใจให้รู้เท่าทันถึงสภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้น ความคิด การกระทํานั้นเป็ นสิ่ งที่ละเอียดมาก ในผู ้ ที่จะต้องดื่ มสุ ราเมรัย อันเป็ นที่ต้ งั แห่ งความประมาทนั้นส่ วนใหญ่แล้วมักจะเกิ ดจากสภาวะอารมณ์ 55
บางอย่า งที่ นํา ไปให้เขาต้องดื่ ม สุ รา การปฏิ บ ตั ิ ตามวิถีโยคะที่ จิตใจสบาย สงบ ไม่ ฟุ้ งเฟ้ อและไม่ ฟุ้ งซ่ านน่ าจะละเอียดมากกว่า คือหากเราอยู่ในสภาวะที่สงบนั้นแล้ว การที่จะเข้าหาสุ ราเป็ นที่พ่ ึงนั้น เป็ นเรื่ องที่ห่างไกลมาก คุณแอนผูท้ ี่เข้ารับการฝึ กโยคะอย่างสมํ่าเสมอ และต่อเนื่ องก็ได้พบว่าตนเองมีการเปลี่ยนแปลงที่เห็ น ชัดเจนเกี่ ยวกับศีลห้า ในศีลข้อสี่ เรื่ องการพูด โดยจะพบว่าการฝึ กโยคะได้ทาํ ให้ตนเองมีหนทางในการเข้าถึ ง ธรรมะมากขึ้น ได้รู้เท่าทันความคิดมากขึ้น แม้วา่ ก่อนหน้านี้ จะมีความระมัดระวังอยูแ่ ล้ว แต่ไม่ได้ละเอียดถึงขั้น รู ้เท่าทันความคิดและบางครั้งก็ได้พดู ไปแล้วถึงได้รู้ แต่โยคะได้ฝึกให้รู้เท่าทันตั้งแต่ความคิดที่จะพูด คุ ณแต่งเป็ นผูห้ นึ่ งที่ผูท้ ี่เข้ารั บการฝึ กโยคะอย่างสมํ่าเสมอ ก็ได้พบว่าโยคะมี ผลอย่างชัดเจนต่อการ เปลี่ยนแปลงในเรื่ องของความคิดและการกระทํา คําพูด ซึ่ งจะเห็นชัดเจนกับตัวเองในศีลข้อสี่ ที่จะไม่พูดในทางที่ ไม่ดี ไม่พดู เพ้อเจ้อ ส่ อเสี ยด นั่นคื อสิ่ ง ที่ เกิ ดขึ้ นเนื่ องจากการปฏิ บ ตั ิ ตามวิถี โยคะที่ มี ก ารฝึ กอย่า งต่ อเนื่ อ ง ด้วยกายใจ ที่ มุ่ ง มั่น นอกจากนั้นข้าพเจ้ายังพบด้วยตนเองอีกว่า การฝึ กโยคะทุกวันตอนเช้าจะทําให้ร่างกายสดชื่ นทั้งวัน ทํางานไม่ เหนื่ อย กระปี้ กระเปร่ า ไม่ว่าจะพบกับสถานการณ์ที่เลวร้ายปานใด จิตใจที่ได้รับการฝึ กมาแล้ว นิ่ งสงบ สยบ ความวุน่ วายได้เป็ นอย่างดี อุปสรรคที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็ นเรื่ องหนักหนาสาหัส เนื่ องจากเรามีสติพิจารณารู ้เท่าทัน สิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับเรา รวมทั้งความสงบที่เกิ ดขึ้นและส่ งผลให้มีเวลาที่จะพิจารณาถึ งผลกรรมที่จะเกิดขึ้น จากการกระทํานั้น และความคิดนั้น ๆ ศีล 5 เป็ นเครื่ องขัดเกลากิเลสอย่างหยาบ เป็ นส่วนหนึ่งของหนทางไปสู่ มรรค ผล นิพพาน เป็ นหลัก ปฏิบตั ิพื ้นฐานในการดําเนินชีวิต ในการทําบุญทํากุศล ดังนันจากการวิ ้ จยั นันสามารถกล่ ้ าวได้ ว่าหากมีการ ฝึ กอาสนะ ปราณายามะ พันธะ กริ ยา รวมถึงมีวิถีโยคะเป็ นไปตามหลักการดําเนินชีวิตตามยมะ นิยมะ 3 อาสนะ ปราณายามะ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ สมาธิ การที่จะประพฤติผิดในสิ่งที่ไม่เหมาะไม่ควร ทังหลายจึ ้ งไม่น่าจะเกิดขึ ้น และการถือตามหลักปฏิบตั ิพื ้นฐานในการดํารงชีวิตของความเป็ นมนุษย์ คือศีล ห้ า ไม่ใช่เป็ นเรื่ องยากอีกต่อไป
56
โยคะกับสมาธิ โดย ปวริศา จันทรา
โยคะ เป็ นวิถีแห่งการฝึ กตนเองมีมาแต่โบราณอินเดีย เป็ นภูมิปัญญาของอินเดียและเชื่อว่ามีมากว่า 5 พันปี แล้ ว โดยปกติจะ ถ่ายทอดกันปากต่อปาก และมีหลายสํานักด้ วยกัน แต่ทา่ นปตัญชลีได้ รวบรวมโยคะให้ เป็ นระบบ แบบแฟนรัดกุมมากที่สดุ เรียกว่า โยคะสุตรา สําหรับไทยตามตําราฤาษีดดั ตนทีว่ ดั โพธิ์ เข้ าใจว่าโยคะเป็ นที่ร้ ูจกั สมัยรัชการที่ 1 โปรดให้ สร้ างฤาษี ดดั ตนด้ วยดิน จน ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 3 ทรงให้ ปฏิสงั ขรณ์วดั โพธิ์และทรงพระกรุณาโปรดให้ ปัน้ ฤาษีดดั ตน 80 ท่าน คนไทยเริ่ มรู้จกั นําท่าฤาษีดดั ตนมา บริ หารร่างกายเพื่อบําบัดอาการต่างๆ เช่น ปวดเมื่อย และโยคะเริ่มมีการเผยแพร่ในไทย ระหว่าง พ.ศ. 2468 – 2469 ในตําราชื่อ วิทยาศาสตร์ การหายใจ แปลโดยพระยานรรันต์ราชมานิต และใน พ.ศ. 2499 อาจารย์ชด หัสบําเรอ ได้ เปิ ดสอนโยคะและเผยแพร่ขึ ้น ในประเทศไทย ความหมายของโยคะ มาจากรากศัพท์ “ยุจ” แปลว่า รวม องค์รวม หรื อ Integration สิง่ สําคัญคือ การรวมกายกับใจของผู้ฝึกไว้ ด้วยกัน ให้ ร้ ูจกั ตัวตนของตนและให้ ความสําคัญต่อเทคนิคต่างๆ ที่ ให้ มนุษย์ร้ ูจกั มูลเหตุทที่ ํา ให้ เกิดความสมดุล อันก่อให้ เกิดความหายป่ วย และจัดปรับให้ คนื ความสมดุลตามปกติ ดังนัน้ จึงเป็ นศาสตร์ ที่วา่ ด้ วยการพัฒนาจิต และกายของมนุษย์ และด้ านบําบัดรักษาโรคไปพร้ อมๆ กัน เป้าหมายของโยคะ โยคะเป็ นไปเพื่อดับการปรุงแต่งของจิต เทคนิคของโยคะ อาศัยอาสนะ การหายใจและสมาธิ เพื่อบรรลุถึงเป้าหมายสูงสุด คือการดับการปรุงแต่งของจิต โยคะกับสมาธิเกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ในด้ านปรัชญาโยคะ ผลสูงสุดของโยคะ คือ สมาธิ แปลว่า จิตหนึง่ เดียว หรื อจิตหลุดพ้ น ซึง่ ต้ องอาศัยเทคนิคโยคะต่างๆ เช่น อาสนะ เพื่อให้ นงั่ สมาธิได้ นาน จนสามารถบรรลุถงึ ผลสูงสุดนัน้ ในด้ านแพทย์ทางเลือก โยคะกับสมาธิ เป็ นวิธีการด้ านการแพทย์ทางเลือกด้ านกายและจิต (Mind/ Body Medicine) ที่ แพทย์แผนปั จจุบนั นิยมนํามาใช้ ร่วมกันกับการรักษาด้ วยยาและพิสจู น์ได้ วา่ การฝึ กอาสนะแนวผ่อนคลาย ร่วมกับการฝึ กหายใจแบบ ลึกๆ ช้ าๆ จะช่วยลดอาการเจ็บป่ วยในบางโรค เช่น โรคภูมิแพ้
57
ในที่นี ้ผู้เขียนขอเปรี ยบเทียบระหว่างโยคะกับสมาธิในแง่ของพุทธศาสนาในเรื่ องการเกื ้อหนุนและเชื่อมโยงกันอย่างไร และ ต่างกันอย่างไรบ้ าง เพราะคําว่า สมาธิ ในปรัชญาโยคะเองนัน้ ใช้ ความหมายแตกต่างกับในด้ านของศาสนาพุทธ
โยคะ
พุทธศาสนา
เป้าหมาย
โมกษะ (การหลุดพ้ น)
นิพพาน
หนทาง
มรรค 8 (อัษฎางค์โยคะ)
มรรค 8 ซึง่ รวมย่อคือ ศีล สมาธิ ปั ญญา
สมาธิ
ผลสูงสุดของโยคะ คือจิตเป็ นหนึง่
สภาวะที่จดจ่อกับสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จนเกิด
เดียว
อารมณ์ตงมั ั ้ น่
จิตมีผ้ รู ้ ูและตัวถูกรู้ เรียกว่า
จิตเดิมแท้ คือ จิตที่บริ สทุ ธิ์ ซึง่ ถูกห่อหุ้ม
จิต
ไปด้ วยกิเลส
“ปุรุษะ” และ “ประกฤติ”
ช่วงวัยและอายุ
ฝึ กได้ ทกุ เพศและวัย แต่ก็ต้อง
สมาธิ สามารถฝึ กได้ ตลอดเวลา
คํานึงถึงโรคประจําตัวและขีด ความสามารถของร่างกาย
จะเห็นได้ วา่ สมาธิ ในความหมายในแง่ของพุทธศาสนา จึงมิได้ หมายถึงแต่วา่ การนัง่ บริกรรม หลับตาหรื อเดินจงกรมนานๆ เท่านัน้ แต่ยงั หมายถึงการกระทําใดๆ ก็ตามที่มีอารมณ์จดจ่อต่อการเคลือ่ นไหว ที่เราเรียกว่า สติ อารมณ์ที่จดจ่อต่อการกระทําใดๆ เพื่อให้ เกิดสมาธิ ความแน่วแน่ มีพลัง สามารถกระทํากิจกรรมใดๆ ได้ อย่างสัมฤทธิ์ผลและมีประสิทธิภาพสําเร็ จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี และเนื่องจากสมาธิ ยังมีความเข้ าใจจากหลายคนว่าต้ องปฏิบตั ิตามรูปแบบข้ างต้ นเท่านัน้ จึงทําให้ เกิดการเบื่อหน่าย และ รู้สกึ ถึงความยากกาย และใจ ในความปวดเวทนา ที่เกิดขึ ้นกับร่างกาย และจิตใจที่ไม่หยุดนิง่ เพราะจิ ตคนเราเคลือ่ นไหวอยูต่ ลอดเวลา ไม่มีเครื่ องอยูเ่ ป็ นอารมณ์ จึงเกิดสมาธิได้ ยาก การฝึ กโยคะนัน้ จึงเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยเกื ้อหนุนสําหรับผู้ที่ต้องการมีสมาธิ และมีสติ เนื่องจากโยคะอาสนะ ทําให้ เรารับรู้ถงึ ความเคลือ่ นไหวของกาย รับรู้ถงึ ความรู้สกึ ที่เกิดขึ ้นภายใน มีการสังเกตตัวเอง ปิ ดการรับสิง่ เร้ าจากภายนอก และการฝึ กปราณยามะ ก็ สามารถให้ ผ้ ฝู ึ กได้ รับรู้ถึงลมหายใจที่เข้ าออก หากผู้ฝึกเฝ้ าสังเกต จะเห็นได้ วา่ หลังจากฝึ กโยคะและปราณยามะแล้ วนัง่ สมาธิตอ่ จะ เห็นได้ ชดั ถึงอารมณ์ที่นมุ่ นวล ลมหายใจที่แผ่วเบาสบาย จิตดื่มดํา่ กับลมหายใจที่เข้ าออกอยูท่ กุ ขณะ
58
และจากการสอบถามครูผ้ ฝู ึ กด้ วยกันหลังจากฝึ กปฏิบตั ิโยคะมาสีเ่ ดือน พบว่ามีสมาธิในการงานดีขึ ้น ใจจดจ่อกับเหตุการณ์ ที่กระทํามากขึ ้น ผลของงานก็เป็ นไปได้ ด้วยดี เมื่อเทียบกับกลุม่ ผู้ที่ไม่เคยฝึ กโยคะ ประสบการณ์ตรงของผู้เขียน เนื่องจากผู้เขียนได้ มีโอกาสฝึ กตามสตูดิโอและดูตาม CD และเว็บไซต์บ้างตามโอกาสเมื่อสีป่ ี ก่อน ได้ ฝึกปฏิบตั ิทกุ วันวันละ ประมาณ 45- 60 นาทีในช่วงเช้ า พบว่าหลังจากทําโยคะไปแล้ วประมาณ 1 เดือน อาการภูมิแพ้ ไม่ปรากฏอีก และมีภมู ิต้านทานต่อ สภาวะการเปลีย่ นแปลงของภูมิอากาศได้ ดีขึ ้นกว่าแต่ก่อน และไม่ติดหวัดง่ายอีก และที่สาํ คัญ มีสมาธิได้ ดีขึ ้นอย่างมาก จึงพบตัวเอง ว่า เหมาะแก่การทําโยคะและก็เป็ นอีกวิถีหนึง่ เพื่อพัฒนาสมาธิของตนเป็ นอย่างยิ่ง บทสรุป โยคะ จึงเน้ นความรู้สกึ ของจิตมากกว่าท่าทาง ดังนัน้ จึงกล่าวได้ วา่ โยคะและศาสนาพุทธมีความเชื่ อมโยงกันอย่างมาก และ เกื ้อหนุนให้ เกิดเป้าหมายอย่างเดียวกัน คือ ความดับการปรุงแต่งของจิต และนิพพานนัน่ เอง ปวริ ศา จันทรา ตุลาคม 2553
59
การบําบัดด้วยโยคะ
คําพูดจากใจ โยคะกับการใช้ชีวติ และแนวคิดที่เปลี่ยนไป หลังจากการเรี ยนรู ้โยคะ การเข้าค่ายอยูร่ ่ วมกัน กับครู และเพื่อนผู ้ อบรมครู โยคะ ตั้งแต่วนั แรกแล้วที่เรารู ้สึกว่าเราโชคดีมากที่ได้มาเจอกลุ่มคนพวกนี้ ซึ่ งจากการพูดคุยและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เรารู ้สึกว่าหลายคนมีความคิด ความอ่านคล้ายคลึงกัน และมีคลื่นพลังแห่งความสุ ข คลื่นของความเปิ ดเพื่อ รอรับการเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆที่เข้ามาในชีวติ ตั้งแต่วนั แรกที่พบกันจนถึงกระทัง่ วันนี้ ซึ่ งใกล้จะจบคอร์ สแล้ว ความรู ้สึกปิ ติ ดีใจที่ได้มารู ้จกั กับครู และเพื่อน ๆ กลุ่มนี้ไม่เคยจางหายไป ยิง่ เรามีโอกาสได้สนิทสนม พูดคุยยิง่ ทําให้รู้สึกผูกพันธ์ มากขึ้น ในความจริ งของประโยคที่วา่ “งานเลี้ยงย่อมมีวนั เลิกรา” มันก็ทาํ ให้เราตระหนักได้วา่ เออทุกเหตุการร์ ที่เกิด ขึ้นมานี้ แล้วมันก็จะมีการจบสิ้ นไป หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าเมื่อเรี ยนจบคอร์ สนี้ไปแล้ว เรา เพื่อน ๆ และครู ผสู ้ อนจะได้มี โอกาสที่จะได้พบปะกันบ้าง เป็ นครั้งคราว จะขอเก็บความรู ้สึกดีดีน้ ีไว้ในใจตลอดไปค่ะ งานวิจยั ฉบับนี้ได้รวบรวมข้อมูลจากคนที่เข้าร่ วมฝึ ก ซึ่ งเป็ นการการฝึ กโยคะและใช้คริ สตัลโบว์ลบําบัดใน ตอนท้ายของการผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณคณะครู ที่ให้มีการจัดทํางานวิจยั ขึ้น เพราะทําให้เราได้เรี ยนรู ้วา่ และการค้นคว้าเพิ่มมากขึ้น และสิ่ งนี้ก็มีประโยชน์ต่อตัวเราเองมากและผูอ้ ื่นไม่มากก็นอ้ ย ด้วยความเคารพ ปวีณนุช สร้อยสองสี 60
จุดเริ่ มต้นของความสนใจในโยคะ ผูเ้ ขียนมีความสนใจในโยคะมานานหลายปี แล้ว แต่วา่ ยังไม่มีโอกาสที่จะลงเรี ยนเป็ นคอร์ ส ได้แต่ฝึกกันเองที่ทาํ งาน เพราะด้านสปา ซึ่ งส่ วนใหญ่จะมีท้ งั การนวด ขัดตัว ทําหน้า และการบําบัด ครั้งแรกที่ได้รู้จกั และฝึ กฝนโยคะ จะเป็ นที่ ประเทศดูไบ ครู ฝึกโยคะ เป็ นกูรูที่มาจากอินเดีย ชื่ อว่า วีเนย์ (Vinay) พึ่งมารู ้วนั นี้ เองว่าโยคะที่เราฝึ กทํากันวันนั้นเมื่อ 5-6ปี ก่อน (2005) คือโยคะอาสนะ (Asana Yoga) มันช่างผ่อนคลายลํ้าลึกมากเลย เพราะท่าสุ ดท้ายในการฝึ กครั้งนี้คือ ท่าศพ (Savasana pose) ขณะที่ทาํ เราก็เผลอหลับไปจนทุกคนลุกขึ้นนัง่ เราก็ยงั นอนหลับและฝันว่าเราไปที่ไหนซักที่ที่มี คนมากมายคุยกันจอแจ จนซักพักเพื่อนคนนัง่ อยูข่ า้ ง ๆ เลยปลุกให้ตื่น อ้อ ก็เลยรู ้วา่ เสี ยงที่ได้ยนิ คือเสี ยงคนที่อยูใ่ นห้อง โยคะเดียวกันนี่ เอง ชอบมากเลยค่ะ และมีความตั้งใจว่าซักวันนึงเราจะต้องเป็ นครู โยคะที่สามารถใช้การกดจุดนวดไทย เข้าร่ วมกัน เพื่อการบําบัดในอีกระดับหนึ่ง จนกระทัง่ ผ่านเลยมา 5-6 ปี แล้วปี นี้(2010)เลยเป็ นจังหวะที่ดี เพราะลาออกจากงานที่ทาํ อยูท่ ี่ประเทศสาธารณรัฐโดมิกนั เพราะว่าอาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อจากการทํางานที่ไม่ได้หยุดพักผ่อนประจําปี เพราะโดยปกติทวั่ ไปแล้วทุกปี ที่ทาํ งาน จะมีพกั ร้อนหรื อได้กลับบ้านพักผ่อนอยูป่ ระมาณ 5-6 เดือนในแต่ละปี ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่โชคดีอย่างมาก แต่วา่ ปี นี้ผเู ้ ขียน ย้ายงานใหม่ เลยทําให้ตอ้ งลากยาวไปจน ปี ครึ่ งจิตใจก็เริ่ มล้า ร่ างกายก็ไม่ไหวแล้วจึงทําให้เกิดการบาดเจ็บของ กล้ามเนื้อสะบักข้างขวาเลยตัดสิ นใจลาออกวันนั้นเลย และสองอาทิตย์ต่อมาก็ได้กลับมาเมืองไทยสมใจนึก มาถึงเมืองไทยวันที่ 24 กรกฎาคม 2553 วันที่ 25 ก็เริ่ มมองหาเลยว่าเราจะไปเรี ยนโยคะที่ไหนดีหนอ ที่จะทําให้เราเป็ น คนที่รู้และเข้าใจในโยคะอย่างแท้จริ ง คือการเน้นคุณภาพและราคาย่อมเยา เลยโทรหาเพื่อนรุ่ นน้อง(หมวย) ว่า พี่ควร จะเรี ยนโยคะที่ไหนดีหนอ น้องเลยบอกว่า เข้าอินเตอร์ เน็ตไปดูที่โยคะวิชาการเลยค่ะ ก็เลยเข้าไปดู พอเห็นหัวข้อการ เรี ยนการสอนก็น่าสนใจดี เห็นราคา โอ้ 20,000 บาท 150 ชัว่ โมง เอจะเรี ยนดีไหมหนอ หรื อว่าจะไปเรี ยนที่อินเดียดี เพราะไหน ๆช่วงนี้ เราก็ฟรี อยูแ่ ล้วควรจะไปหาประสบการณ์โดยตรงจากประเทศต้นกําเนิดแห่งโยคะ ก็เลยเขียน จดหมายหาเพื่อน(Vinay)ผ่าน face book เพราะเขาเคยบอกว่าถ้าสนใจเรี ยนโยคะให้บอกจะหาโรงเรี ยนที่ดี มีคุณภาพ และไม่แพงให้ แต่ไม่เห็นมีการตอบกลับจากท่านวีเนย์ เราก็เลยตัดสิ นใจมาลงเรี ยนที่นี่ เลย โยคะวิชาการ
61
เรี ยนโยคะที่สถาบันโยคะวิชาการแล้วได้อะไรบ้าง การเรี ยนโยคะคอร์ สนี้ได้เรี ยนรู ้อะไรหลายอย่างที่ตวั ผูเ้ ขียนเอง
ไม่ค่อยแน่ใจและไม่มีความชัดเจนในหลาย
เรื่ อง ทําให้เกิดความกระจ่างและชัดเจนขึ้น เพราะว่าในเรี ยนโยคะต้องเริ่ มด้วย การถือศีล 5 ซึ่งเป็ นการฝึ กกายและจิตไป พร้อม ๆ กัน และการมีจริ ยธรรมนั้น ถือเป็ นพื้นฐานอันดับแรกของมนุษย์ ซึ่ งได้แก่ อหิ งสา ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่พดู ปด ประพฤติพรหมจรรย์ และ ไม่ ถือครองวัตถุเกินความจาเป็ น ในศีล 5 ข้อนี้ ตัวผูเ้ ขียนมาชัดเจนถึงความสุ ขของข้อ ไม่ถือ ครองวัตถุเกินความจําเป็ น เพราะตลอดเวลาที่ผเู ้ ขียนเรี ยนโยคะนั้น ไม่มีงานทําเลย เป็ นช่วงที่ผเู ้ ขียนคิดว่าควรจะเก็บ เกี่ยวประสบการณ์ หรื อเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด แต่ก็มีบา้ งครั้งก็นึกถึงว่า เอ เราควรจะหางานทําบ้างดีหรื อปล่าวหนอ มี เพื่อน ๆ ที่เป็ นห่วงหลายคนพยายามเตือนและบอกให้หางาน แต่ดว้ ยเราที่มีศีลข้อนี้ เราเลย ไม่ค่อยเดือดร้อนเท่าไหร่ มี น้อยใช้นอ้ ย ไม่ถือครองเกินความจําเป็ น ส่ วนในข้ออื่น ๆ ผูเ้ ขียนก็ปฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบอยูแ่ ล้ว การเรี ยนรู้ ใน นิยามะ หรื อวินยั 5 ซึ่ งมี อดทน สันโดษ ชําระกายใจให้บริ สุทธิ์ หมัน่ ศึกษาตนเอง และศรัทธา ในเรื่ องนี้ ก็ทาํ ให้ผเู ้ ขียนมาชัดเจน ในการอยูก่ บั ตนเอง (สันโดษ) อย่างมีความสุ ขและสงบ ซึ่ งเมื่อก่อนจะต้องหาเพื่อน ตลอด ทําให้การใช้ชีวิตประจําวัน และการพู ดคุยกับผูค้ นมีความสุ ขมาก ๆ ในเรื่ องของวินยั อีก 4 ข้อที่ไม่ได้กล่าวถึ ง ผูเ้ ขียนก็ปฏิบตั ิอยูเ่ ป็ นประจํา การฝึ กปราณายามะ และสมาธิ ควบคู่กนั ไป จนกระทัง่ การเรี ยนในสัปดาห์ ที่ 6 ผูเ้ ขียนถึ งเริ่ มเข้าใจการฝึ ก ปราณ ว่ามันดีอย่างไร เพราะหลังจากการทํา กปาลภาติ และ อนุ โลมาวิโลมา ผูเ้ ขียนรู ้สึกว่าการนัง่ หลังสมาธิ จากนั้นมี ความสบาย และรู้ สึกเหมือนหยุดหายใจเองอัตโนมัติไปชัว่ ขณะ รู ้สึกเหมือนตัวเองเป็ นลูกโป่ งลอยอยูใ่ นอากาศ เพราะ ก่อนหน้านี้ ที่ฝึกมาทั้งหมดพอถึงช่ วงการนัง่ สมาธิ ตอนสุ ดท้ายผูเ้ ขียนจะแค่นงั่ หลับตา นิ่ ง ๆ และรอเวลาครู ฮิโรชิ เชิ ญ ระฆัง แต่หลังจากที่ได้รับรู ้อารมณ์ การหยุดหายใจ และตัวลอยเหมือนลูกโป่ งทําให้การฝึ กสมาธิ ดีข้ ึนเรื่ อย ๆ มา กริ ยาการสอนให้รู้จกั การทํา ความสะอาดบ้านภายใน ตอนนี้ ที่ ใช้อยู่ประจําก็ คือการล้างจมู ก ซึ่ ง ดี ม ากมัน เหมือนเราได้ลา้ งสิ่ งที่อยูภ่ ายในและสะสมอยูม่ าเป็ นเวลานานมากแล้วแต่เราไม่รู้วิธีในการชําระล้างทําความสะอาดที่ ถูกวิธี การเรี ยนรู ้ นี่ทาํ ให้เวลาผูเ้ ขียนรู ้ สึกเจ็บคอหรื อว่าหายใจไม่โล่งผูเ้ ขียนจะรี บล้างจมูกโดยวิธีการล้างเข้าทางจมูก ออกทางปาก ซึ่ งหลังจากนั้นเราจะรู ้สึกว่าโล่ง และสบายขึ้นทั้งช่องจมูกและลําคอ
62
การรับประทานอาหารในแต่ละครั้งที่สถาบันโยคะวิชาการนี่ ก็สอนได้ชดั เจนในเรื่ องของ การเลือกทานอาหาร ที่มีพลังชี วิตอยู่ และรับประทานแค่ 3 ใน 4 ส่ วนของกระเพาะ 2 ส่ วน เป็ น ของแข็ง 1 ส่ วนคือนํ้า และอีก 1 ส่ วนควร เป็ นที่โล่งเพื่อการคลุกเคล้าของอาหารในกระเพาะขณะทําการ ทางด้ านจิตวิญญาณ ได้เรี ยนรู ้เรื่ องของจิตของการเป็ นผูใ้ ห้ ให้โดยไม่หวังสิ่ งตอบแทนการให้น้ ี ก็ไม่จาํ เป็ นใน เรื่ องของทรัพย์สินเงินทอง เราให้ได้หลายทาง การให้ความรัก ความเข้าใจ การเป็ นกําลังแก่กนั และกัน การรับฟั งเรื่ อง ของการเปิ ดใจ ซึ่ งมันเป็ นอะไรที่ยิ่งใหญ่และมีความสุ ข แต่ท้ งั นี้ ท้ งั นั้น ตัวผูเ้ ขียนเองก็ยงั มีภาระหน้าที่ ครอบครัว ที่ ต้องรั บผิดชอบ และเรื่ องปากท้อง จึงจะเป็ นการช่ วยเหลื อในส่ วนที่ เราช่ วยได้ โดยตัวเราเองมี ความสุ ขจริ ง และไม่ ลําบาก ทางด้ านร่ างกาย รู ้สึกว่าสุ ขภาพร่ างกายแข็งแรงขึ้น อยูใ่ นท่าอาสนะได้นานและนิ่ ง ด้วยหลัก ของนิ่ งสบาย ใช้ แรงแต่นอ้ ยกล้ามเนื้อสะบักด้านขวาซึ่ งบาดเจ็บจากการทํางานนวด ก็ดีข้ ึน แต่ก็ไม่ถึงกับหายขาด อาการที่เคยเป็ นภูมิแพ้ บ่อย ๆ ก็ดีข้ ึน ทุกสิ่ งที่อย่างที่ผเู ้ ขียนกล่าวมาในข้างต้น ทําให้ผเู ้ ขียนเองชัดเจนกับการที่คนเราเกิดมาเพื่ออะไร กับคําถามนี้ คําตอบที่ได้ให้กบั ตนเองขณะนี้คือ เกิดมาเพื่อทําความดี เกิดมาเพื่อการขออโหสิ กรรมในทุกสิ่ งอย่างที่เราได้ล่วงเกินคน อื่นไปทั้งด้าน กาย วาจา และใจ ทั้งที่โดยเจตนาและไม่เจตนา การกระทําและความคิดเช่นนี้ ทาํ ให้ผเู ้ ขียนเปลี่ยนตัวเอง มาเป็ นคนที่เฝ้ ามองและสังเกตการณ์ ในการเกิดเหตุการณ์ในแต่ละวัน หรื อว่าสิ่ งที่เข้ามากระทบทั้งทางกาย วาจา และ ใจ(อารมณ์) ก็มีบา้ ง บางครั้งที่เผลอไป เพราะฉะนั้นต้อง ออกกําลังจิตใจด้วยการทําสมาธิ หรื อการมีสติตลอดเวลา จิตที่ตื่น ตระหนักรู้ ทุกขณะของชีวติ และลมหายใจ คือจิตที่เบิกบาน และเป็ นสุ ข
63
งานวิจัย โยคะ โดย มานิสา โสมภีร์ ครู โยคะรุ่ น 10 – TYI10/T53
“โยคะ ฐานแห่ งการต่ อยอดสู่ประตูปัญญา” งานวิจัย โยคะ โดย มานิสา โสมภีร์ ครูโยคะรุ่น 10 – TYI10/T53
“โยคะ ฐานแห่ งการต่ อยอดสู่ประตูปัญญา” บทนา จากความมุง่ หมายในการเลือกทีจ่ ะมาเรี ยนรู้โยคะที่สถาบันโยคะวิชาการ เนื่องจาก - ต้ องการเพิม่ เติมทางเลือกในการปฏิบตั ิฝึกหัดใจตน รู้วา่ การทําสมาธิชว่ ยเรื่ องใจมาก จากประสบการณ์ที่พอจะได้ รับผลดีจากการฝึ ก มาบ้ าง ต้ องการเรียนรู้ เข้ าใจการทําสมาธิให้ มากขึ ้น ศึกษาสมาธิรูปแบบต่างๆ ว่าต่างหรื อมีสว่ นเหมือนกันตรงไหน - ต้ องการรู้การประยุกต์ใช้ สมาธิในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือการทําสมาธิในรูปแบบพุทธที่มีการยืน เดิน นัง่ นอน เพื่อนํามาช่วยการ ปฏิบตั ิประจําวันให้ ดีขึ ้น - ต้ องการเพิม่ สติจากการเคลือ่ นไหว เพระกําลังมีปัญหาติดขัดในการบริ กรรมภาวนา มีความฟุ้งซ่านในสังขารการปรุงแต่ง - ต้ องการเข้ าใจปรัชญาโยคะแท้ ๆว่า คืออะไรกันแน่ และเราจะสามารถนําข้ อดีมาปรับใช้ ได้ อย่างไร สิง่ ที่ได้ ค้นพบหลังเรี ยน - มองภาพรวม และ เข้ าใจองค์ประกอบของสมาธิได้ ชดั เจนมากขึ ้น เข้ าใจว่าสมาธิเป็ นการฝึ กเพื่อเสริ มสร้ างทังสติ ้ และสัมปชัญญะ - เห็นความเกี่ยวเนื่องของการทํางานอย่างสอดผสานของกายและจิตมากขึ ้นจากการผ่านการฝึ กจริ ง - ได้ คําตอบให้ กบั ความสงสัยใคร่ร้ ูข้างต้ น และยังคิดว่าการฝึ กตนตามแนวโยคะได้ สง่ เสริ ม เลือ่ นระดับของการปฏิบตั ิตามรูปแบบเดิม ของเราให้ ดีขึ ้น - ได้ พบความเป็ นไปได้ ที่จะแบ่งปั นสิง่ ดีๆที่เรี ยกว่า สมาธิ ผ่านทางความเป็ นสากลของโยคะ ให้ กบั คนที่มีรูปแบบจริ ตต่างๆมากขึ ้น - เข้ าใจธรรมขันสู ้ งขึ ้นไปได้ ดีขึ ้น พอจะมีความเข้ าใจและรู้จกั ทีม่ าของมิตกิ ารรับรู้ด้วยใจเป็ นกลางได้ ชดั เจนกว่าเดิม 64
เราดีขนึ ้ อย่ างไร??? และคิดว่ า โยคะจะดีต่อใคร?? อย่ างไร?? เดิมแนวทางที่ปฏิบตั ิอยูใ่ นการฝึ กตนเป็ นทําสมาธิ เป็ นการนัง่ เดิน และใช้ การบริ กรรม ภาวนา พุทโธ ปฏิบตั ิตอ่ เนื่องมาเป็ น เวลาสองปี ความก้ าวหน้ าในสมาธิและความพึงพอใจในชีวติ พอจะมีเพิม่ ขึ ้นไปตามลําดับ แต่มีปัญ หาใหญ่ตดิ ขัด เรื่ องความคิด ความ ฟุ้งซ่าน ทังๆที ้ ่เห็นอารมณ์ตา่ งๆทีเ่ ข้ ามาแต่ขาดปั ญญาที่พอเพียง ไม่สามารถแยกจิตออกจากอารมณ์ได้ ใช้ การบริ กรรมเท่าไหร่ๆก็แล้ ว จิตไม่ยอมรวมไปสูค่ วามสงบเลย บวกกับปั ญหาเรื่ องสุขภาพ มีอาการปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อและเส้ นเอ็นเรื อ้ รัง ต้ องอาศัยการนวดเป็ น ประจํา ซึง่ ช่วยได้ แค่บางครัง้ จึงคิดว่า เราต้ องช่วยตัวเองด้ วย รอคนอื่นแก้ ไขให้ ไม่ได้ เลยหันหาโยคะเพราะคิดว่าเป็ นหนทางที่จะช่วย ได้ ทงกาย ั้ และ ใจ ความสนใจส่วนตัวเน้ นอยากรู้เรื่องใจ เพราะรู้วา่ จิตเป็ นใหญ่ จิตเป็ นประธาน จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว เรื่ องฝึ กจิตเป็ นเรื่ อง ยากมาก จึงพยามเสาะหาแง่มมุ อื่นๆช่วยเสริ มในการทําความเข้ าใจสมาธิ เปรี ยบเทียบ เช่น ในการศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ อย่างเราหา อ่านหนังสือจากหลายแหล่ง ภาษาทีใ่ ช้ วิธีการในการอธิบายต่างกัน อาจจะทําให้ เข้ าใจเรื่ องนันๆมากขึ ้ ้น ดีขึ ้นได้ จากการเปิ ดรับ เรี ยนรู้ จากมุมที่แตกต่าง เช่นกันกับในการฝึ กปฏิบตั ิสมาธิ ที่มวี ิธีการมากมายนับไม่ถ้วนในการนําใจไปสูจ่ ดุ แห่งความสงบอันเป็ นที่หมาย เดียวกัน พื ้นฐานความรู้เดิมสนใจเรื่ องเกี่ยวกับการรักษาตนเอง ศาสตร์ การนวด และการแพทย์แบบตะวันออก พอรู้จกั การทําสมาธิ จึงเห็นประโยชน์วา่ สมาธิก็ถกู นํามาใช้ ในการบําบัดความเจ็บไข้ ได้ ป่วยเช่นกัน จึงไปต่อยอดด้ วยการฝึ กพลัง จักรวาล Cosmic Energy จากการฝึ กเกิดความเข้ าใจว่าศาสตร์ แนวนี ้ ทุกอย่างมาจากรากฐานเดียวกัน อันมีกาย-จิต และการเลือ่ นไหลของพลังงานหรื อปราณ หลังการฝึ กได้ ประโยชน์จากวิชาพลังจักรวาลนี ้มาช่วยพัฒนาสมาธิให้ ดีมากขึ ้นด้ วย จึงคิดว่าโยคะเป็ นศาสตร์ แห่งการบําบัดในตระกูล เดียวกันที่มีผลข้ างเคียงในการพัฒนาสมาธิเช่นกัน การฝึ กโยคะต่างไปจากการออกกําลังหรื อการทํากายภาพทัว่ ไปซึง่ ให้ ผลดีกบั ร่างกายเป็ นส่วนใหญ่ ในแง่ที่วา่ การเคลือ่ นไหว ผสานความความมีสติ มีการฝึ กการรับรู้ให้ เคยชินในการทํางานตามหน้ าที่โดยพยามลดการแทรกแซงให้ น้อยที่สดุ เป็ นกลไกการ ทํางานของกาย-จิตควบคูก่ นั ผลที่ได้ จากการฝึ ก นอกจากจะได้ ฝึกจิตให้ นิ่ง ปราศจากความวิตกกังวลหรื อขัดแย้ งภายในแล้ ว จิตทีผ่ อ่ น คลาย เบาสบาย เบิกบานก็มีผลช่วยให้ การบําบัดตัวเองของร่างกายสมบูรณ์ดีขึ ้นจากภายในด้ วย ในเทคนิคการฝึ กที่หลากหลายของโยคะ ไม่วา่ จะเป็ นการทําอาสนะ มุทรา-พันธะ ปราณายมะ กริยา ต่างช่วยปรับปรุงการ ทํางานของระบบประสาทในชันต่ ้ างๆให้ ดีขึ ้น และรูปแบบการฝึ กของสถาบันที่เน้ นให้ มีสติจดจ้ องอยูท่ ี่ ความเคลือ่ นไหว ความรู้สกึ ใน กาย ตลอดเวลาที่ทําการฝึ กเทคนิคต่างๆด้ วย มีผลช่วยทําให้ มกี ารพัฒนาความรับรู้ให้ ชดั เจน แหลมคมขึ ้น เข้ าใจอาการต่างๆของ ร่างกาย เช่น ความไม่สบายกาย ตึง สัน่ เกร็ ง หรื อความสบาย ผ่อนคลาย ว่ามีผลส่งมาถึงจิตใจได้ อย่างไร การฝึ กโยคะในรูปแบบนี ้ นับเป็ นเครื่ องช่วยอย่างดีในการปฏิบตั ิสมาธิ เคยคิดว่าโยคะเป็ นการฝึ กสมาธิเคลือ่ นไหว และช่วยเรื่ องยืดเส้ นยืดสาย แต่คิดแค่วา่ เป็ นสมาธิจดจ่อแบบ active คือ ต้ อง ตังใจกํ ้ าหนดจดจ่อ แต่พอมาปฏิบตั ิแล้ ว รู้สกึ ว่าได้ เกิดมี สัมปชัญญะ หรื อสมาธิแบบ passive คือ เกิดความความรู้สกึ รับรู้ รู้เนื ้อรู้ตวั ไป ในขณะเดียวกันด้ วย เข้ าใจได้ วา่ สติ-สัมปชัญญะที่เรี ยกคูก่ นั มีความต่างกันอย่างไร และทํางานร่วมกันอย่างไร 65
ในการภาวนาสายที่ฝึกอยูน่ นใช้ ั ้ การบริ กรรมพุทโธจับลงไปที่ฐานจิต ณ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึง่ ที่ใจรู้สกึ สบายตามแต่จริ ต ให้ บริ กรรมจนจิตรวมลงเป็ นสมาธิ เป็ นการฝึ กแนวพระป่ ากรรมฐาน เมื่อจิตรวมลงไปถึงฐานแล้ วจึงจะเข้ าใจ และรู้จกั สภาวะของผู้ร้ ู มี สติและสัมปชัญญะเต็มเปี่ ยม ณ จุดนัน้ ก่อนการภาวนาครูอาจารย์ทา่ นให้ ถามใจตัวเองก่อนทุกครัง้ คือ ให้ ถามว่า ใครคือผู้ร้ ู ถามทิ ้งไว้ แล้ วไม่ต้องตอบ ให้ เริ่มภาวนาไปเลย จิตจะรวมลงนิ่งหรื อไม่ก็ตาม ให้ ปฏิบตั ิสะสมพลังอยู่อย่างนี ้ประจําทุกวันเรื่ อยไป จนกว่าเราจะถึง จุดที่พอเพียง มีพลังทวนกระแส และเข้ าใจในผู้ร้ ูชดั เจน แล้ วจึงจะทําวิปัสสนาเพื่อให้ เกิดปั ญญาที่แท้ ได้ สาํ เร็ จ ส่วนการฝึ กโยคะ(ภายนอก)นัน้ ใช้ การกําหนดสติอยูท่ ี่การรับรู้ทางกาย ใช้ การผ่อนคลาย ลดความขัดแย้ ง เมื่อจดจ่ออยูก่ าย จะเบา และจิตจะเริ่ มเบา มีปิติ เริ่มเป็ นสมาธิ ในการฝึ กเทคนิคโยคะต่างๆทําให้ เรามีความละเอียดอ่อนเรื่ องความรู้สกึ มากขึ ้น ทังกาย ้ และใจ หากเรามีสติณะฝึ ก เราจะทันต่อความรู้สกึ อารมณ์ และเวทนาที่เกิดขึ ้น เมื่อเราตังฐานอยู ้ ท่ ี่การรับรู้ เราจะเห็นแขกจรที่มาเยื อน เราได้ ดีขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นความรู้สกึ เจ็บ ตึง เกร็ง คลาย สบาย ไม่สบาย ชอบ ไม่ชอบ อึดอัด กดดัน หงุดหงิด และการปรุงแต่งต่างๆนานา เข้ าใจว่าการเกิดปั ญญานัน้ เกิดจากพื ้นฐานการมีสติสมั ปชัญญะรับรู้ ทําให้ ร้ ูจกั แยกแยะความรู้สกึ ที่เกิดขึ ้น แยกแยะ อารมณ์ แยกแยะผู้ดู ผู้รับรู้ออกจากความคิดและอาการภายนอก เมื่อจิตเราเริ่ มตังเที ้ ่ยงมากขึ ้นและเราสามารถแยกผู้ดกู บั สิง่ ที่ถกู ดู ออกได้ แล้ ว เราจะวุน่ วายกับมันหรื อเก็บเอามันเข้ ามาเป็ นความทุกข์ของเราได้ น้อยลง จะเห็นว่าปั ญญาที่เกิดขึ ้นทังจากการปฏิ ้ บตั ิและการฝึ กโยคะล้ วนเริ่ มมาจากฐานของสมาธิทงสิ ั ้ ้น ส่วนคติในการเข้ าสูค่ วามจริงสูงสุดนันแยกเป็ ้ นความเห็นและทางเดินที่แตกต่างกัน หากจะเปรี ยบเทียบเหมือนอย่างกางแผนที่ ตามตําราโยคะสูตรของปตัญชลี บทที่ 1-2 จะว่าด้ วยเรื่ องการเตรี ยมกายใจจน เข้ าถึงสมาธิจดุ ทีจ่ ิตรวมเป็ นหนึง่ ปราศจากการรบกวนทางกายและเหลือแต่ “ผู้ร้ ู ” แล้ วจากนันในบทที ้ ่ 3-4 จะกล่าวถึงการยกจิต เข้ าสมาธิขนสู ั ้ งขึ ้น จนถึงจุดที่มคี วามสามารถพิเศษเหนือธรรมดา แล้ วต้ องยกจิตผ่านจุดนันจนกระทั ้ ง่ ดับความสัมพันธ์กบั กิเลสหรื อ อารมณ์ภายในได้ หมดเข้ าสูไ่ กวัลยในที่สดุ ส่วนแผนที่การทําสมาธิตามแบบพุทธ (สายพระกรรมฐาน) ในที่นี ้อ้ างอิงตามผังของหลักสูตรครูสมาธิ ของหลวงพ่อวิริยงั ค์ สิรินธโร วัดธรรมมงคล ซึง่ เป็ นพระกรรมฐานลูกศิษย์หลวงปู่ มัน่ ภูริทตั โต ได้ จําแนกขันตอนและทางเดิ ้ นของการทํา สมาธิไว้ ตามรูปที่แนบมา (หน้ าถัดไป) เริ่ มจากตังต้ ้ นการทําสมาธิ คุณภาพของจิตจะสงบตัวละเอียดลงไปเรื่ อยๆจากฌานที่ 1 ไปถึง 4 ซึง่ ไม่ได้ ระบุถงึ ระยะเวลาในการฝึ ก เพราะแต่ละคนก้ าวหน้ าไปช้ าเร็ วไม่เท่ากัน เมื่อผ่านฌานที่ 4 จะเป็ นเอกัคคตา มีอเุ บกขา มีความ เป็ นกลางของจิตและที่จดุ นี ้เองจะมี “ผู้ร้ ู ”ชัดเจน จากภาวะทีเ่ ป็ นกลางนี ้ จะสามารถไปพิจารณาทางปั ญญาเข้ าสูว่ ิปัสสนา เพื่อให้ ถงึ พระสัทธรรมจากการตื่นรู้ และ รู้แจ้ งนี่เอง หรื อตังจิ ้ ตเพื่อทําอิทธิฤทธิ์อย่างทีต่ ําราโยคะบทที่ 3 กล่าว หรื อถ้ าจะเพ่งอยูใ่ นฌานระดับลึก ไปกว่านัน้ ก็จะไปอรูปฌานซึง่ นําไปสูค่ วามดับของการติดต่อทางจิตทังหมด ้ อันมีที่สดุ ที่ฌาน8 หรื อเทียบเป็ นความหลุดพ้ นในแบบของ โยคีทงหลาย ั้
66
67
ทําไมจึงกล่าวว่าโยคะเป็ นฐานทีด่ ีของการต่อยอดทางปั ญญา การฝึ กโยคะอย่างมีสติ ทําให้ เกิดการแยก “ผู้ร้ ู” ออกมาได้ ซึง่ จะปั จจัยสําคัญที่สดุ ต่อการเติบโตภายใน 2. โยคะมีความเป็ นสากล ปั จจุบน ั ผู้คนทัว่ ไปมองโยคะว่าเป็ นศาสนาน้ อยลง และเป็ นแค่วิธีฝึกของโยคี เปิ ดกว้ างต่อการนํามาฝึ กปฏิบตั อิ ย่างมาก โดยเฉพาะในโลกตะวันตก 1.
การฝึ กโยคะเป็ นการฝึ กที่เชื่อมโยงกาย-ใจ ดังนันผลที ้ ่ได้ กบั แต่ละบุคคล จะเป็ นผลจากการปฏิบตั ิที่ผ้ ฝู ึ กสามารถรู้สกึ สัมผัส
3.
ได้ ด้วยตนเอง ถ้ าเราดีขึ ้น ก็เพราะเรารู้สกึ จริงๆ ไม่ใช่เพราะการน้ อมนําทางทัศนคติให้ เชื่อ เป็ นการเรี ยนรู้ทางใจ ไม่ใช่ทางสมอง วิถีการฝึ กไม่ขดั แย้ งกับวิถีการดํารงชีวติ หรื อเอื ้อต่อในดํารงวิถีชีวติ ปั จจุบนั ให้ เป็ นไปได้ อย่างมีสมดุล เป็ นองค์รวม ทําให้ ชีวติ ก้ าวไป พัฒนาไปอย่างมีความสุขขึ ้น ทังกายใจ ้ เราไม่ยํ่า อยูก่ บั ที่ใช้ ชีวิตไปวันๆ เมื่อก้ าวไป เราถือก็มีทิศทาง 4.
ถ้ าเราอยูเ่ ฉย ๆโดยไม่ร้ ูสกึ ว่าคุณค่าของชีวติ อยูท่ ี่ไหน ใจเราจะไม่มีทิศทาง โยคะสร้ างโอกาสในการปฏิบตั ิมากขึ ้นกว่าแค่ในอิริยาบถ ยืนเดิน นัง่ นอน รู้สกึ ตัวเองว่า มีสติรับรู้ร่างกายมากขึ ้น พอเผลอ
5.
มักจะเกร็ งไหล่ไว้ ร่างกายก็ตงึ เครี ยด เดี๋ยวนี ้พอตึงปั๊ บก็รับรู้ และค่อยผ่อนคลายออกบ่อยๆ 6.
โยคะกับการกระทบภายนอก เมื่อฝึ กอย่างถูกต้ อง เราจะใส่ใจกับสิง่ ทีเ่ ราทํา เราเป็ นมากขึ ้น การกระทบกระทัง่ จะน้ อยลง
เกิดสุข เกิดพอใจ ใช้ ชีวิตฉลาดขึ ้น เสียเวลากับเรื่ องไม่เป็ นเรื่ องน้ อยลง อาจจัดผลการฝึ กที่ได้ รับจากโยคะนําไปสูป่ ั ญญา 2 ระดับ - ปั ญญาทางโลก ดําเนินชีวิตตามวิถีโลกปั จจุบนั ซึง่ เปลีย่ นแปลงรวดเร็ว มีสงิ่ มากระทบมากมายได้ อย่างสมดุลมากขึ ้น เมื่อกายใจ พร้ อมขึ ้น ดํารงชีวติ ที่สมดุลมีความสุขจากข้ างในมากขึ ้นแล้ ว เรามีแนวโน้ มที่จะแสวงหาคําตอบของการมีชีวิตอยูใ่ นขันที ้ ่สงู ขึ ้นเอง อัน นี ้จะน้ อมนําเราไปสูก่ ารปฏิบตั ิทางใจ - ปํ ญญาทางธรรม เมื่อเอาทักษะที่ได้ จากโยคะไปปฏิบตั ิตอ่ เพื่อความสุขในระดับสูงขึ ้นไป 7.
โยคะ เป็ นการภาวนา เป็ นการฝึ กตน เมื่อเรารู้จกั “ผู้ร้ ู “และได้ ตอ่ ยอดด้ วยความเห็นทีถ่ กู ต้ อง เกิดเป็ นปั ญญาที่แท้ จากการ
ปฏิบตั ิ หรื อภาวนามยปั ญญาได้ 8.
ผู้ปฏิบตั ิธรรรมที่ยดึ ติดกับคําพูด จนไม่สามารถไปถึงสภาวะที่แท้ จริ งได้ เมื่อมาฝึ กโยคะ จะช่วยให้ เข้ าใจภาวะนันๆได้ ้ จาก
ประสบการณ์ตรง โดยคลายความยึดติดในถ้ อยคํา สัญญา อารมณ์ หรื อคําสอนจากการอ่าน 9.
ง่ายต่อผู้ที่ฝึกตนใหม่ๆทีย่ งั ไม่มมี มุ มองด้ านในมากนัก และ พัฒนาการปฏิบตั ิของผู้ฝึกเดิมอยูแ่ ล้ ว
68
10.
ธรรมะกับจริ ตที่ตา่ งกันของคน คนเรามักจะวาดภาพในใจไว้ ก่อน อาจศรัทธาหรื อไม่ศรัทธา หรื อมีอคติตอ่ การปฏิบตั ิธรรม
แบบใดแบบบหนึง่ ซึง่ ปั จจุบนั มีรูปแบบหลากหลาย การจะชักชวนให้ คนมาปฏิบตั ิธรรมหรื อมาเข้ าใจธรรมะ เป็ นเรื่ องยาก หากเค้ าไม่ พร้ อม บางครัง้ เราชักชวนตรงๆไม่สาํ เร็ จเพราะเค้ ามีอคติ หรื อความเข้ าใจที่ผิดต่อการปฏิบตั ิ โยคะเป็ นทางเลือกกลางๆ เป็ นอุบายที่ดีที่ จะนํามาสูก่ ารปฏิบตั ิธรรม แม้ วา่ ในตอนแรก คนที่หนั มาสนใจจะเพียงคิดว่า เป็ นการออกกําลังกายรูปแบบหนึง่ ก็ตาม 11. “ผู้ร้ ู ” คือ สิง่ สากล เอาไปต่อยอดได้ กบ ั การฝึ กปฏิบตั ิจิตทุกแบบ ไม่ขดั แย้ งกับอะไร
สรุ ป
-
-
การได้ มาเรี ยนรู้และฝึ กโยคะแนวไกวัลยธรรมซึง่ อ้ างอิงตําราโยคะดังเดิ ้ ม มีสว่ นช่วยคลีค่ ลายปั ญหาในการปฏิบตั ิสมาธิ ภาวนาของตนเองเป็ นอย่างมาก ทําให้ สามารถปฏิบตั ิตอ่ เนื่องก้ าวหน้ าขึ ้น โดยเข้ าใจมากขึ ้นว่าอะไร คืออะไร นําโยคะมาใช้ เป็ นประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้ เป็ นอย่างดี เรื่ องสุขภาพที่มีปัญหาเรื่ องปวดเมื่อยเรื อ้ รัง ในระยะยาวคิดว่า จะดีขึ ้นอย่างแน่นอน เพราะสามารถจับรับรู้ความเกร็งตึงของร่างกายส่วนทีม่ ีปัญหาแล้ วคลายออก เป็ นการหยุดปั ญหาที่ สาเหตุ และจะได้ แก้ จดุ อ่อนแอทีม่ ีอยูด่ ้ วยโยคะต่อไป ได้ เครื่ องมือใหม่มาใช้ เพื่อแบ่งปั นวิถีสภู่ ายในให้ กบั คนอื่นๆต่อไป เป็ นการแบ่งปั น เฉลีย่ เผื่อแผ่ความสุขที่มี คา่ กับใจของ ตนเองมาก ดังคํากล่าวที่วา่ “การให้ ธรรมะ ย่อมชนะการให้ ทงปวง ั้ ”
69
“โยคะ VS วัยทอง” โดย ครูจิราลักษณ์ (อ้อม) บทนา งานวิจยั ชิน้ นี้ เรียบเรียงมาจากประสบการณ์ของผูเ้ ขียน จากการเข้ามาเรียนโยคะในหลักสูตรครูโยคะ รุน่ ที่ 10 ของมูลนิธหิ มอชาวบ้าน ช่วง เดือน กรกฎาคม – พฤศจิกายน 2553 เพื่อต้องการแลกเปลี่ยนสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ และประสบการณ์โยคะของตนเองกับครูผแู้ นะนาและเพื่อน ร่วมชัน้ เรียน "อโรคยา ปรมาลาภา - ความไม่มโี รคเป็ นลาภอันประเสริฐ" อาการปว่ ยใข้ และอาการปรวนแปรในร่างกายทีเ่ ริม่ เกิดขึน้ บ่อยๆ เป็ นสัญญาน เตือนจากร่างกาย ทีท่ าให้ตนเองได้ตระหนักว่า ควรต้องเพิม่ การดูแลตนเองให้มากขึน้ เพื่อคุณภาพชีวติ ทีด่ แี ละไม่เป็ นภาระกับตนเองและคน ทีเ่ รารัก จึงเริม่ มองหาสิง่ ทีน่ ่าจะเหมาะกับวัย และถูกจริตความชอบของตนเอง ซึง่ “โยคะ” เป็ น คาตอบแรก และบังเอิญได้เห็นประกาศการ เปิ ดหลักสูตรครูโยคะ ของมูลนิธหิ มอชาวบ้าน จึงได้ตดั สินสมัครเข้ามาเรียนรู้
ซึง่ ผลและสิง่ ทีไ่ ด้รบั หลังจากการเรียนรูข้ องแต่ละคนอาจเหมือนและต่างกันไปตามพืน้ ฐานและต้นทุนของแต่ละคน สาหรับหัวข้อทีน่ ามา ั แบ่งปนครัง้ นี้ จะเป็ นมุมมองของคนวัยทองทีม่ กี บั การฝึ กโยคะวิธแี นวดัง้ เดิมทีไ่ ด้เรียนในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา โดยความเห็นความคิดทัง้ หมดนี้ เป็ นทัศนคติสว่ นตัวของผูเ้ ขียนเอง ผิดพลาดประการใดโปรดชีแ้ นะและแบ่งปนั กันต่อไป
“โยคะ VS วัยทอง” คนต้นเรือ่ ง กับเหตุผลทีเ่ ข้ามาศึกษาโยคะ จากผูห้ ญิงทางาน มาดมั ่น ใจแข็งแรง เริม่ พบว่า หลังการก้าวเข้าสู่อายุหลักที่ 50 แล้ว เริม่ มีอาการที่ตอ้ งไปหาหมอบ่อยขึน้ ความถดถอย ของร่างกายปรากฎมากขึน้ รวมถึงความแข็งแรงของอารมณ์ทอ่ี ่อนแอหลัง อาการเครียดทีส่ ง่ ผลต่อการปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดหัว แล้วยัง พบว่า อ่อนไหว และอ่อนแอทางอารมณ์ ในสิง่ ทีไ่ ม่คอ่ ยจะเป็ นมาก่อน ต่อมาก็เริม่ มีโรคพิเศษมาเยืยนเพิม่ ขึน้ ในช่วงเวลา 6 เดือน อาทิ เนื้อ งอกในต่อมไทรอยด์ และตามด้วยจอประสาทตาขาด ถึงสองครัง้ ทาให้ตอ้ งลาหยุดงานยาว ซึง่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ อาจเกิดได้อกี ตามสภาพการใช้ งานทีม่ ากเกินไป และร่างกายที่เสื่อมถอยตามวัย
เป้ าประสงค์ทีค่ าดหวัง ผูเ้ รียนรุน่ 10 ทัง้ 22 ชีวติ มีความหลากหลายของวัย อาชีพ และเป้าประสงค์ ความคาดหวังอาจเข้มข้นต่างกันไปตามต้นทุน และพืน้ ฐาน ของแต่ละคน สาหรับผูเ้ รียนสาววัยทองคนนี้ มีความคาดหวังเบือ้ งต้นเพียงว่า -
ต้องการเรียนรูแ้ ละฝึ กฝนโยคะที่ถูกต้อง เพื่อการดูแลสุขภาพตนเองให้แข็งแรง สามารถใช้เวลาได้อย่างเป็ นประโยชน์ ถ้าตนเองสามารถฝึกฝนได้ดี อาจจะมีโอกาสถ่ายทอดให้กบั คนอื่นได้ต่อไป
70
สัมผัสทีแ่ ตกต่าง ! ก่อนเข้ามาเรียนโยคะที่น้ี ผูเ้ ขียนไม่เคยรูจ้ กั กับมูลนิธหิ มอชาวบ้านมาก่อน ส่วนหลักสูต รการเรียนก็ทราบเพียงว่า จะมีทงั ้ ภาควิชาการ และ การปฏิบตั ิ เมื่อสมัครเรียนแล้วก็รอไปเข้าชัน้ เรียนตามกาหนด โดยไม่ได้ไปค้นคว้าและทาความรูจ้ กั แต่อย่างใด และด้วยภารกิจงาน ทาให้ ไม่ได้ไปเข้าปฐมนิเทศน์ก่อน
หลังจากได้เข้าร่วมค่ายเปิ ดทีศ่ ูนย์ฝึกดอนเมือง พบน้องๆ รุ่นกับครูผดู้ แู ลทัง้ หลาย ก็เห็นความแตกต่างทัง้ แนวการเรียน เนื้อหา และพิเศษว่า คือ ครูผสู้ อน ทีด่ ผู อมบาง เนิบช้า ดูต่างไปจากครูโยคะทีเ่ ราเห็นกันในโรงฝึ ก แล้วโยคะแนวนี้จะทาให้เราแข็งแรงได้จริงหรือ ? เป็ นบทที่ ต้องพิสจู น์กนั ในตลอดระยะเวลาทีเ่ ข้ามาเรียน
นอกจากนัน้ เนื้อหาการเรียนก็แตกต่างไปจากการฝึ กโยคะ ทีไ่ ด้เคยสัมผัสมาอย่างมาก เนื้อหาการเรียน แบ่งเป็ น -
ภาควิชาการ ซึง่ เราจะต้องเรียนรูถ้ งึ ปรัญชา แนวคิด สรีระกายวิภาค ฯลฯ ตาราหลายเล่มทีต่ อ้ งอ่าน เพื่อสามารถทาการบ้านส่งครูได้ เป็ นอีกหนึ่งภาระกิจทีต่ อ้ งทาในคืนวันศุกร์ เพื่อมีการบ้านส่งงานได้ในเช้าวันเสาร์ อันนี้น่าเป็ นห่วงสาหรับคนทีม่ ภี าระกิจงานมาก เพราะจะต้องจัดการเวลาให้ดี เพราะจะถูกกดดันด้วยความรับผิดชอบของตัวเอง แต่ทน่ี ่ ารัก คือ การช่วยเหลือกันเองในกลุ่ม การฝึ กภาคปฎิบตั กิ ม็ คี วามต่าง มิได้เข้มข้น และมุง่ เน้นท่ายาก หรือต้องทาให้ได้เหมือนครูผสู้ อน สิง่ ที่ได้เรียนรูใ้ นการทาท่าอาสนะ แต่ ละท่าต้องทาอย่างเนิบช้า มีสติตามความรูส้ กึ ไปจนถึงจุดพอเพียงของท่านัน้ ๆ แล้ว หยุดนิ่ง ผ่อนคลาย สบาย และสงบ เลยได้เคล็ด การฝึ กท่าอาสนะของตนเองว่า “ใช้ความนิง่ สงบ สยบความเคลือนไหว” ผ่อนคลาย และทีส่ าคัญจะต้องปิ ดท้ายด้วยการนั ่งสมาธิ (ในท่านั ่ง ไม่ใช่ท่าศพ) ทุกครัง้ ซึง่ จะช่วยให้เราสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันทีต่ อ้ งการนั ่งสมาธิได้ดขี น้ึ
-
นอกเหนือจากการฝึกอาสนะแล้ว ยังมีเรื่องใหม่ทต่ี อ้ งทาการเรียนรู้ คือ การฝึกปราณายามะ พันธะ กริยา และมุทรา การฝึกปราณา ยามะ (การฝึ กหายใจ) กับการฝึกพันธะ (ซึง่ เป็ นกดล็อค อวัยวะและควบคุมกล้ามเนื้อ) ซึง่ การฝึ กนี้จะช่วยให้เราควบคุมการหายใจให้ชา้ ลง ส่งผลใจสงบ และเข้าสูส่ มาธิได้งา่ ย แม้วา่ ในการฝึกผูเ้ ขียนเอง มักจะเจอปญั าหาในการจาชื่อท่า และผิดเสมอๆ ซึง่ การฝึกเหล่านี้ ต้องอาศัยความเพียรและฝึกต่อเนื่อง
-
สาหรับการฝึ กกริยา ก็เป็ นการทาความสะอาดอวัยวะในร่างกายของเราในหลายทาง เช่น จมูก คอ ท้อง ซึง่ ก็แปลก เร้าใจ ตื่นเต้น ไปอีก อย่าง ได้ลา้ งจมูกด้วยน้ าเกลือในแบบทีไ่ ม่เคยทา แต่พอทาได้กส็ นุ กแบบแปลกๆ ดี
-
ในการเริม่ จะจัดให้มกี ารฝึกสอนกันเอง แบ่งเป็ นกลุ่มๆ เปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกและซ้อมสอน ต้องเตรียมแผนการสอน ต้องใช้ ความคิด และความสามารถของสมาชิกกลุ่มทีส่ ร้างสรร เช่น ปิ ดท้ายการสอนด้วยเสียงดนตรีบาบัด อันเป็ นทีป่ ระทับใจอย่างมาก
หลังการฝึ กโยคะแล้วได้อะไรบ้าง ? -
สุขภาพกาย สิง่ ทีร่ สู้ กึ ได้ คือ ร่างกายแข็งแรง และยืดหยุน่ มากขึน้ หลายคนทักว่า ดูผอมลง แต่น้ าหนักตัวไม่ลงคงเท่าเดิม ในการฝึก อาสนะและปราณายามะแต่ละครัง้ ไม่ได้ทาให้เหนื่อยมาก เหงื่อท่วมกาย ใจเต้นเร็วในแบบทีอ่ อกกาลังทั ่วไป แต่จะเบา ผ่อนคลาย และ สงบและหายใจช้าลง อาการป่วนทีม่ ากับวัยทอง อาทิ วูบวาบเหมือนธาตุไฟแตก หงุดหงิด ปวดหัว ไม่สบายตัว โดยไม่ทราบสาเหตุ เริม่ ห่างหายไป ไม่ รบกวนวุ่นวายเหมือนทีเ่ คยเป็ น
-
สุขภาพใจ เป็ นสิง่ ทีไ่ ด้เพิม่ เติม รูส้ กึ ว่านิ่งมากขึน้ มีสติ รูว้ า่ โกรธ เสียใจ หงุดหงิด ผิดหวัง ได้เร็วขึน้ และสามารถหยิบออก และปล่อย วางได้เร็วขึน้ การฝึ กทาสมาธิ ซึ่งครูจะให้เราได้ฝึกกันทุกครัง้ หลังการฝึ กอาสนะ ปราณายามะ และ/หรือ การทาพนธะ ซึง่ จะช่วยให้สงบ ผ่อนคลาย จิตใจ
-
71
สิง่ ทีไ่ ด้รบั ทัง้ หมดนี้ บรรลุผลตามความตัง้ ใจ คือ ได้เรียนรูแ้ ละฝึ ก ฝนโยคะทีถ่ ูกต้อง ช่วยให้สขุ ภาพตนเองแข็งแรง ได้ใช้เวลาได้อย่างมี ประโยชน์ และทีไ่ ด้มากกว่า คือ จิตใจทีด่ สู งบมากขึน้ ไม่เร่งร้อน สวดมนต์ได้ชา้ ลง มีสติปล่อยวางได้เร็วขึน้ ส่วนการฝึ กฝนจนสามารถ เป็ นครูถ่ายทอดให้กบั คนอื่นนัน้ คงต้องอาศัยความเพียรและเวลาในการฝึ กฝนอย่างต่อเนื่องต่อไป การฝึ กโยคะ (YOGA) ในวิถดี งั เดิมนี้นบั เป็ นตัวเลือกทีด่ มี ากในการนามาช่วยสร้างสมดุลให้กบั ชีวติ ทัง้ ร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ให้รวมเป็ นหนึ่งเดียว ร่างกายที่ดี จะอยูใ่ นจิตใจที่ดี ไม่วา่ จะเป็ นเพศไหน วัยใด โดยเฉพาะคนวัยทอง หรือ วัยป่วน และปรวนแปร แทนการ กินยาหาหมอ หากจะใช้วธิ ธี รรมชาติบาบัด การฝึกโยคะวิถที างนี้ ก็น่าจะเป็ นตัวช่วยทีด่ ี เพื่อเปลียนให้วยั ทอง เป็ นวัยของความมั ่งคัง่ ทีม่ ี ความสุข สงบ อย่างยั ่งยืน
บทส่งท้าย ขอขอบคุณครูผถู้ ่ายทอดทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้ดว้ ย ในความเมตตาและวิทยาทานทีถ่ ่ายทอดอย่างเต็มเปี่ ยม และขอบคุณน้องๆ ร่วมชัน้ เรียนทีน่ ่ ารัก เปี่ ยมน้ าใจ ทีไ่ ด้ดแู ล แบ่งปนั กันมาตลอดการเรียน ขออวยพรให้ ทุกคนประสบความสาเร็จในสิง่ ดีทม่ี งุ่ หวังตัง้ ใจและเติบโตใน วิถโี ยคะอย่างมั ่นคงและยั ่งยืนตลอดไป
จิราลักษณ์ (อ้อม) 20/10/10 นักเรียนหลักสูตรครูโยคะ รุน่ ที่ 10
++++++++++++++++++++++++++++++++
72
บนเส้ นทางแห่ งการฝึ กฝนจิตวิญญาณ โดยครู จอย จุดมุ่งหมาย รายงานฉบับนี ้จัดทําขึ ้นเพื่อทบทวน และศึกษา จุดเริ่ มและจุดหมายปลายทางในการเดินบนเส้ นทางแห่งจิตวิญญาณ สิ่งสําคัญมิใช่ก ารรู้ ให้ มากที่ สุดเพื่อส่งเสริ มตัวตน แต่จะนําความรู้ นัน้ ไปใช้ ในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ให้ ได้ มากที่สุดเท่าที่ ศักยภาพของเราจะทําได้ เพราะความรู้ นนไม่ ั ้ ใช่สมบัติของใครคนใดคนหนึง่ แต่ด้วยการประสาน เชื่อมโยง และส่งต่อ ก็จะทําให้ ผู้ที่ก้าวเดินมาบนหนทางนี ้ในชื่อเรี ย กที่อาจจะต่างกันไป ได้ เข้ าใจถึงระบบการศึกษาอบรมตนในแนวพุทธและโยคะอย่างเป็ น องค์รวม ไม่ตดั ทอนหรื อนําส่วนใดส่วนหนึง่ ไปใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ของอัตตา หรื อเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมายเดิม อนึง่ พึงตระหนักไว้ วา่ ความรู้ จากตัวหนังสือจะไม่มีคา่ เลย ถ้ าขาดการฝึ กฝนหรื อมีประสบการณ์ ทางจิตวิญญาณ และ ข้ อสังเกตและข้ อเสนอแนะของข้ าพเจ้ าในที่ นี ้ อาจเป็ นแค่ความเห็นที่มีความหมายเฉพาะตัวที่สร้ างขึน้ เพื่อการทําความเข้ า ใจความจริ ง
แรงบันดาลใจ ในตอนแรกตังใจจะทํ ้ าวิจยั ในหัวข้ อ “โยคะกับการปฏิบตั ิธรรม” แต่ก็ไม่ร้ ู ว่าจะเขียนอะไรยังไง เพราะว่าตนเองกําลังจะ เลิก “ปฏิบตั ิ” ธรรม สาเหตุก็มาจากว่า เพื่อนคนหนึง่ ผู้กําลังจะก่อตังสั ้ งฆะขึ ้นมาใหม่ ได้ ส่งอีเมลมาถามคําถามถึงการปฏิบตั ิ ทัศนคติ และ แรงบันดาลใจในชีวิตที่มีตอ่ การภาวนา มันทําให้ ข้าพเจ้ าได้ ทบทวนถึงการภาวนาในช่วงชีวิตที่ผ่านมาทังหมด ้ ทําให้ ข้าพเจ้ ารู้ สกึ ว่า ตลอด 6 ปี ที่ผ่านมา ข้ าพเจ้ าเข้ าไปอยู่ในโลกของถ้ อยคําทางศาสนา เพื่อแสวงหาสิ่งที่สมบูรณ์ แบบ ซึง่ ไม่ต่างอะไรจากการ เข้ าไปสู่โลกของวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ สญ ั ญะและบัญญัติต่างๆ เพื่อทําความเข้ าใจปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ ้นกับกายและจิต กับความ จริ งที่อยู่ตรงหน้ า ข้ าพเจ้ าอยู่กบั การวัดค่าเปรี ยบเทียบ การดู การรู้ จนติดกับดักของวิธีการเหล่านัน้ และวิธีการเหล่านันเองที ้ ่ บด บังความจริ งที่อยู่ตรงหน้ า ในที่สดุ ก็พบว่า การเฝ้าดู เฝ้ารู้ อย่างนันมั ้ นก็เป็ นอุปทานอย่างหนึ่ง เป็ นสิ่งที่ข้าพเจ้ าสร้ างขึ ้นมาเ อง มันไม่เป็ นธรรมชาติ มันคับแคบ คือวิธีการที่เคยใช้ มันใช้ ไม่ได้ อีกต่อไปแล้ ว มันเป็ นการปฏิบตั ิจนเป็ นอัตโนมัติโดยที่ไม่ร้ ู ตวั ทํา ให้ ติดอยู่แค่การดูการรู้ ก็เลยคิดว่า ถึงเวลาเลิก “ปฏิบัติ” ธรรม เลิกค้ นหาความจริ งที่สมบูรณ์ แบบเสียที เพราะมันไม่มีอะไรที่ คงที่ เปลี่ยนแปลงตลอดจนไม่สามารถจับยึดอะไรที่เรี ยกว่า “ความจริ ง” ไว้ ได้ เลย เนื่องจากเป็ นประสบการณ์ ใหม่ที่ไม่เคยรู้ จกั มาก่อน จึงอาจจะไม่สามารถสรรหาถ้ อยคําใดที่จะกินความที่ต้องการจะ สื่อสารได้ ดี เท่ากับการค้ นคว้ าหาบทความที่เคยมีบางคนเคยถ่ายทอดไว้ แล้ วมาอ้ างอิงในบางส่วน บางส่วนก็ได้ มาจากการ สังเกตปรากฏการณ์ในสังคมไทยมาเป็ นระยะเวลาหนึง่ และจากการสนทนากับเพื่อน
73
และประสบการณ์ในการปฏิบตั ิธรรมด้ วยการฟั ง การอ่าน การสนทนาธรรม และการเจริ ญสติในชีวิตประจําวัน เป็ นแรง บันดาลใจแรกนัน่ เอง ส่วนแรงบันดาลใจที่สองคือ การที่ครู กวีมาสอนเรื่ อง “จิตที่ครู โยคะควรรู้ ” โดยได้ เปรี ยบเทียบแนวความคิดของตะวันตก อินเดีย และพุทธ เรื่ องเล่าของครู ดลที่เล่าว่า ในหลวงถามหลวงพ่อฤาษี ลิงดําว่า เสียสละแล้ วไปนิพพานได้ ไหม หลวงพ่อบอกว่า ไม่ได้ เสียสละ ตัดคําว่า เสีย ออก ยังไปได้ แค่สวรรค์ ต้ องตัด ส เสือ อีกตัวหนึง่ ถึงจะไปนิพพานได้ และคําพูดของครู นนั ท์ที่วา่ จิตใจเราบังคับให้ ร่างกายทําสิ่งต่างๆ ตามความอยาก ร่ างกายต้ องสนองความพึงพอใจของ จิตใจตลอดเวลา และเมื่อได้ ทําศึกษาค้ นคว้ าเพื่อการเขียนรายงานฉบับนี ้แล้ ว ก็พบว่า ตัวเองไม่ได้ เลิกปฏิบตั ิธรรม เพียงแต่เลิก “เจริ ญ ส ติ ” แ ล ะ วิ วั ฒ น์ ไ ป สู่ อี ก ขั ้ น ห นึ่ ง แ ล ะ ใ น โ ล ก นี ้ มี ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ที่ เ ร า เ รี ย น รู้ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ม่ มี จบสิ ้น ขอเพียงไม่คิดว่า เรารู้ แล้ ว เราก็จะรู้ ได้ มากขึ ้นไปอีก ขอเพียงไม่คิดว่า เราตื่นแล้ ว เราก็จะสามารถตื่นได้ ยิ่งๆ ขึ ้นไป
จุดเริ่มต้ น จุดเริ่มต้ นของการฝึ กตนในวิถโี ยคะ มรรค 8 แห่ งโยคะ โดยทัว่ ไป ผู้เริ่ มต้ นฝึ กโยคะเบื ้องต้ นโดยส่วนมาก มักเข้ าใจว่า การฝึ กอาสนะคือโยคะทังหมด ้ แต่ความจริ งแล้ ววิถีของ โยคะนัน้ มีวิธีปฏิบตั ิที่ครอบคลุมมิติทงด้ ั ้ านร่ างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ แบบเป็ นองค์รวม (Holistic) หลักการปฏิบตั ิของ โยคะมี 8 ประการ ที่เรี ยกว่า อัษฎางคโยคะ อันประกอบด้ วยเทคนิคถึง 8 ประการ ที่ล้วนมีความสําคัญ และเชื่อมโยงกัน ผู้ฝึกตน ในวิถีโยคะจําเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องเรี ยนรู้ ทําความเข้ าใจ และฝึ กองค์ประกอบทัง้ 8 ประการนี ้ ควบคูก่ นั ไป เราสามารถเปรี ยบอัษฎางค์โยคะกับ “ซี่” ที่ประกอบกันขึน้ มาเป็ น ”ล้ อ” กงล้ อแห่งชีวิตจะพัฒนาไปได้ ก็ด้ วยความ แข็งแรงของซี่ล้ทงั ้ 8 ที่จะเคลื่อนไปข้ างหน้ า และนําพาเราไปสูเ่ ป้าหมายได้ 1. ยมะหรื อศีล 5 โยคะเป็ นการฝึ กกายไปพร้ อมๆ กับใจ การฝึ กทัศนคติโดยผ่านข้ อปฏิบตั ิทางจริ ยธรรม อันเป็ น หลักการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติ จึงเป็ นจุดเริ่ มต้ นของการฝึ กโยคะ
74
1.1 อหิงสา คือการไม่ทําร้ ายเบียดเบียนผู้อื่น มีเมตตากรุ ณาเอื ้ออาทร ใส่ใจผู้อื่น รู้ รับผิดชอบในหน้ าที่ของตน คิดใคร่ ครวญให้ รอบคอบก่อนที่จะกระทําสิ่งใดอันจะเกิดโทษหรื อเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ซึง่ จะรวมถึงการไม่ทําร้ าย สัตว์ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้ อมธรรมชาติที่จะเอื ้อต่อการดํารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทังหลาย ้ 1.2 สัตยะ คือ การรักษาสัตย์ ไม่โกหก พูดความจริ งพิจารณาใคร่ ครวญด้ วยว่าสิ่งใดควรพูด สิ่งใดไม่ควรพูด พูดแล้ วเกิดผลกระทบต่อผู้อื่นอย่างไร 1.3 อัสเตยะ คือ การไม่ลกั ทรั พย์ ไม่ละโมบ ไม่นําของคนอื่นมาเป็ นของตน รวมทัง้ การไม่แสวงหา ผลประโยชน์จากหน้ าที่การงาน 1.4 พรหมจรรยะ คือ การประพฤติตนบนหนทางของความดีงาม (พรหม) การมีความรับผิดชอบ หรื อมี ความสัมพันธ์ที่เกื ้อกูลกันในอันที่จะนําไปสูห่ นทางของความจริ งที่สงู สุด 1.5 อปริครหะ คือ การไม่ถือครองวัตถุเกินความจําเป็ น
2. นิยามะหรื อวินัย 5 หลักการสร้ างวินยั ต่อตนเอง 5 ประการ 2.1 เศาจะ คือ การรักษาความสะอาด ความบริ สทุ ธิ์ ทังร่้ างกายและจิตใจ 2.2 สันโตษะ คือ ความพอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่ รวมทังการยอมรั ้ บความจริ งใจในสิ่งที่เกิดขึ ้นกับชีวิตเรา จิตใจที่ไม่ร้ ู จกั พอจะขาดพลังจิต ขาดทิศทางและยากที่จะสงบลงได้ 2.3 ตปั ส คือ ความอดทนอดกลัน้ ความเพียรพยายามในการควบคุมกาย วาจาและใจให้ ทําในสิ่งที่ดีๆ 2.4 สวาธดิยายะ คือ หมัน่ ศึกษาหาความรู้ ทังที ้ ่เกี่ยวข้ องกับโยคะและที่เกี่ยวข้ องกับตนเอง 2.5 อิศวรปณิธาน คือ ความอ่อนน้ อมถ่อมตน การมีศรัทธาต่ออํานาจสูงสุด การเป็ นหนึ่งเดียวกับสิ่ งที่เรา เคารพศรั ทธา ไม่ว่าจะเป็ นอะไรก็แล้ วแต่ เพื่อว่าความคิด และการกระทําของเรา จะเป็ นไปด้ วยฉันทะเพื่อนําเราไปสู่ ศักยภาพสูงสุด
3. อาสนะหรื อการดูแลร่ างกาย เมื่อศีลและวินยั พร้ อม ต่อมาก็ดแู ลร่ างกายตนเองให้ พร้ อม มีการจัดปรับสมดุลของ ร่ างกาย ให้ ร่างกายมีความมัน่ คง สามารถนัง่ สมาธิได้ นานพอ หรื อคงตัวอยู่ในตําแหน่งใดตําแหน่งหนึง่ นิ่งๆ ได้ อาสนะพัฒนามา จากการแสวงหาอิริยาบทที่เหมาะสมที่สดุ ในการเข้ าสูส่ มาธิ โดยหลักของอาสนะคือ นิ่ง สบาย ใช้ แรงแต่น้อย มีสติร้ ู ตวั 75
4. ปราณายามะหรื อการฝึ กลมหายใจ เมื่อฝึ กอย่างสมํ่าเสมอ จะทําให้ ง่ายต่อการควบคุมจิตให้ เป็ นสมาธิ 5. ปรั ตยาหาระหรื อสารวมอินทรี ย์ คือ การควบคุมประสาทการรั บรู้ ทงั ้ 5 ตา หู จมูก ลิ ้น กาย เพื่อฝึ กควบคุม อารมณ์ ซึง่ มักแปรปรวนไปตามสิ่งเร้ าภายนอก 6. ธารณะหรื อการเพ่ งจ้ อง คือ การทําจิตใจให้ แน่วแน่อยู่กบั วัตถุที่ใช้ ทําสมาธิ เช่น เพ่งที่ลมหายใจปลายจมูก เพ่งที่ หน้ าท้ อง เพ่งที่หว่างคิ ้ว เพ่งที่หวั ใจบริ เวณหน้ าอก ฝึ กจิตให้ นิ่ ไม่ให้ ซดั ส่ายไปมา เพราะจิตนิ่งเป็ นจิตที่มีประสิทธิภาพ เป็ นจิตที่ สามารถทํางานได้ สําเร็ จลุลว่ ง 7. ธยานะ คือ การเพ่งจ้ องไปยังสิ่งที่กําหนดจนกระบวนความคิดค่อยๆ ลดน้ อยลง จิตจะจดจ่ออยู่กบั สิ่งที่กําหนดเพียง อย่างเดียว ไม่มีการรับรู้ สิ่งรอบข้ างอื่นๆ เลย 8. สมาธิ คือ การฝึ กจิต ยกระดับจิตให้ สงู ขึ ้นจนไปสูเ่ ป้าหมายสุดท้ ายคือ ความหลุดพ้ น (โมกษะ) อันเป็ นอิสระจากสิ่ง ผูกมัดทังหลายทั ้ งปวง ้
ในการฝึ กปฏิบตั ิทงหมดนี ั้ ้ ก็เพื่อที่จะยกระดับมนุษย์ไปสูศ่ กั ยภาพสูงสุดของตน ซึง่ พัฒนาการของมนุษย์นนเป็ ั ้ นที่ทราบ กันดีอยู่แล้ วว่า ไม่ได้ อยู่ที่ร่างกาย แต่อยู่ที่จิตใจ เป้าหมายสูงสุดของโยคะนัน้ คือ การหยัง่ รู้ ในตนเอง การเข้ าสู่สภาวะแห่งความ เป็ นหนึง่ เดียวกับสิ่งต่างๆ หรื อความความเป็ นหนึง่ เดียวกับจักรวาล ซึ่งจะกล่าวถึงโดยละเอียดในหัวข้ อ จุดมุ่งหมายของการฝึ ก ตนในโยคะ
จุดเริ่มต้ นของการฝึ กตนในแนวพุทธ ในโอวาทปาฏิ โมกข์ อันเป็ นหลักคําสอนที่เป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้ าแสดงในวันมาฆบูชา วันที่ พระองค์ได้ ประกาศหลักธรรม คําสั่งสอนของพระองค์ เพื่อให้ พระอรหันต์ ทั ง้ หลายที่ มาประชุมกันในวันนัน้ นํ าไปเผยแผ่ ได้ ก ล่ า ว ถึ ง จุ ด ห ม า ย ห ลั ก ก า ร แ ล ะ วิ ธี ก า ร
ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ว้ อ ย่ า ง ค ร บ ถ้ ว น
http://www.learntripitaka.com/History/MakhaBucha.html) 1. จุดหมายของพระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน (นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา) นิพพาน หมายถึง สภาพที่ดบั กิเลสและกองทุกข์แล้ ว ภาวะที่เป็ นสุขสูงสุด เพราะไร้ ทกุ ข์ เป็ นอิสรภาพสมบูรณ์
76
(จาก
"นิพพาน" จากบาลี Nibbāna निब्बाि ประกอบด้ วยศัพท์ นิ (ออกไป, หมดไป, ไม่มี) + วานะ (พัดไป, ร้ อยรัด) รวมเข้ าด้ วยกันแปลว่า ไม่มีการพัดไป ไม่มีสิ่งร้ อยรัด คําว่า "วานะ" เป็ นชื่อเรี ยกกิเลสตัณหา กล่าวโดยสรุ ป นิพพานคือการไม่มีกิเลสตัณหาที่จะร้ อยรัดพัดกระพือให้ กระวนกระวายใจ 2. หลักการของพระพุทธศาสนา คือ ต้ องมีความอดทน ในการฝึ กตนเอง เพื่อบรรลุจุดหมาย (ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา) ต้ องประกอบด้ วย ก. ไม่ทําความชัว่ โดยประการทังปวง ้ ทังทางกาย ้ วาจา และทางใจ (สพฺพปาปสฺส อรกณํ) ข. ทําความดีทงทางกาย ั้ วาจา และใจ (กุสลสฺสปู สมฺปทา) การไม่ทําความชัว่ นัน้ จะเรี ยกว่า เป็ นคนดียงั ไม่ได้ การเป็ นคนดี จะต้ องทําความดี ทังทางกาย ้ วาจา ใจ มิฉะนันแล้ ้ ว คนปั ญญาอ่อน คนเป็ นอัมพาต เป็ นต้ น ก็จะเป็ น คนดีไปหมด ค. การชําระจิตใจให้ สะอาด ผ่องใส สงบ (สจิตฺตปริ โยทปนํ) 3. วิธีการที่จะบรรลุจุดหมาย คือ ต้ องฝึ กอบรมตนแบบต่อเนื่อง ให้ เกิดมรรคสามัคคี คือ อริ ยมรรคมีองค์ 8* รวมพลังกัน เหมือนเชือก 8 เกลียว หรื อให้ มี ศีล สมาธิ และปั ญญา รวมพลังกัน เหมือนเชือก 3 เกลียว พัฒนากาย วาจา ใจ ให้ พูดดี ทําดี คิดดี ไม่ตกอยู่ในอํานาจแห่งกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ หรื อ ราคะ โมสะ โมหะ ไม่ตกอยู่ใน อํานาจแห่งกิเลส ตัณหา หรื อความใคร่ ความอยากมี อยากเป็ น แบบมืดบอด ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็ น ที่มนั เป็ นไปไม่ได้ เช่น ไม่อยากเป็ นคนเสื่อมลาภ, ยศ, สรรเสริ ญ, สุข เป็ นต้ น โดยอาศัยวิธีการดังต่อไปนี ้ ก. ฝึ กวาจา ระวังเสมอ มิให้ กล่าวคําเท็จ คําหยาบ คําส่อเสียด คําเพ้ อเจ้ อ (อนูปวาโท) ------------------------* อริยมรรคมีองค์ 8 ได้ แก่ สัมมาทิฏฐิ -ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ-ความดําริ ชอบ สัมมาวาจา-การพูดจาชอบ สัมมากัมมันตะ-การทํางานชอบ สัมมาอาชีวะ-การเลี ้ยงชีวติ ชอบ สัมมาวายามะ-ความพากเพียรชอบ สัมมาสติ-ความระลึกชอบ สัมมาสมาธิ-ความตังใจมั ้ น่ ชอบ
ข. ฝึ กกาย ระวังเสมอมิให้ มีการฆ่า ทําลายชีวิต ตลอดจนถึงการเบียดเบียนทางกาย (อนูปฆาโต) ค. ละเว้ นข้ อที่พระพุทธเจ้ าได้ ตรัสห้ ามไว้ และทําตามข้ อที่พระพุทธองค์อนุญาต (ปาฎิโมกฺเข จ สํวโร) 77
ง. รู้ จกั ประมาณในการบริ โภค อาหาร ตลอดจน รู้ จกั ประมาณในการใช้ สอยปั จจัย ๔ (มตฺตํฺํตุ า จ ภตฺตสฺสมึ) จ. ฝึ กตนอย่างจริ งจัง ในที่ที่สงัดจากสิ่งรบกวน (ปนฺตนฺ จ สยนาสนํ) ฉ. ภาวนาอยู่เสมอ คือ พัฒนาตนเองให้ พ้นจากอํานาจของกิเลสตัณหา การภาวนา หมายถึง การใช้ ทงสมาธิ ั้ และวิปัสสนา แก้ ปัญหา หรื อจัดการกับกิเลส (อธิจิตฺเต จ อาโยโค) เป็ นการตรวจสอบตัวเองอยู่เสมอ มิให้ จิตใจ เศร้ าหมอง ให้ จิตใจผ่องใสอยู่เสมอ (สจิตฺตปริ โยทปนํ) จุดหมาย หลักการ และวิธีการ ที่พระพุทธเจ้ าได้ ประกาศไว้ จะเป็ นไปด้ วยดี และบรรลุวตั ถุประสงค์ที่ พระพุทธเจ้ าทรงมุง่ หมายไว้ นนั ้ พระองค์ได้ ยํ ้าเตือนไว้ วา่ จะต้ องปฏิบตั ิตนให้ เป็ นอย่างบรรพชิต และเป็ นอย่างสมณะ คือ เว้ นจากความชัว่ ทุกประการ และเป็ นผู้ปฏิบตั ิตวั เป็ นแบบอย่าง เพื่อระงับบาปอกุศล ได้ แก่ ผู้ปฏิบตั ิธรรม เพื่อเป็ น อริ ยบุคคล ทังไม่ ้ เบียดเบียนและไม่ก่อให้ เกิดความเดือดร้ อนแก่คนที่ประพฤติดี ปฏิบตั ิชอบทังหลาย ้ (น หิ ปพฺพชิโต ปรู ปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต) และสิ่งที่ชาวพุทธให้ ความสําคัญคือ การฝึ กอบรมตนแบบต่อเนื่องด้ วย บุญ-เครื่ องชําระสันดาน, ความดี, กุศล, ความสุข, ความประพฤติชอบทางกายวาจาและใจ กุศลธรรม บารมี-คุณความดีที่บําเพ็ญอย่างยิ่งยวด เพื่อบรรลุจดุ หมายอันสูงยิ่ง มี 10 คือ ทาน, ศีล เนกขัมมะ, ปั ญญา , วิริยะ, ขันติ, สัจจะ, อธิษฐาน, เมตตา, อุเบกขา วิธีสร้ างบุญบารมีในพระพุทธศาสนามีอยู่ 3 ขันตอนคื ้ อการให้ ทาน การถือศีล และการเจริ ญภาวนา ที่นิยม เรี ยกกันว่า "ทาน ศีล ภาวนา" บุญกุศลมีมากมายหลายชนิด เป็ นสิ่งที่ควรทําทุกชนิด พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงกําหนดไว้ เป็ นพวกใหญ่ๆ 3 พวก คือ ทาน ศีล ภาวนา (จาก http://www.thaioctober.com/smf/index.php?topic=1700.0) 1. ทาน ห มาย ถึ ง การ ให้ การให้ สิ่ ง ของ ที่ ส มควรแ ละจํ าเ ป็ นแ ก่ ผ้ ู รั บ เพื่ อ อนุ เ คร าะ ห์ ให้ เกิ ด ความสุขก็ดี ให้ เพื่อบรรเทามัจฉริ ยะ ความตระหนี่ที่มีอยู่ในใจก็ดี ให้ เพื่อให้ จิตใจอ่อนโยนเป็ นบาทแก่การเจริ ญสมถะและ วิปัสสนาก็ดี ล้ วนแต่ได้ ชื่อว่าทานทังสิ ้ ้น แต่ทานประการหลังมีผลมากที่สดุ อภัยทาน - การให้ อภัยกันและกัน ไม่ถือโทษกัน ไม่พยาบาทปองร้ ายกัน ก็เป็ นทาน
78
ธ ร ร ม ท าน - ก า ร ใ ห้ ธ ร ร ม ะ ด้ ว ย ป ร ะ ส ง ค์ ที่ จ ะ ใ ห้ ผู้ อื่ น เ กิ ด ปั ญ ญ า ก็ เ ป็ น ท าน แ ล ะ เ ป็ น ท าน ที่ พระพุทธเจ้ าตรัสว่า เลิศกว่าทานทังปวง ้ ปั ต ติ ท า น - ก า ร ใ ห้ ส่ ว น บุ ญ ก า ร ที่ เ ร าทํ า บุ ญ แ ล้ ว อุ ทิ ศ ห รื อ แ บ่ ง บุ ญ ใ ห้ ผู้ อื่ น โด ย ไ ม่ ห วง แ ห น เป็ นการสละมัจฉริ ยะ ความตระหนี่ออกจากใจ ก็เป็ นทาน ปั ตตานุโมทนา - การพลอยยินดีในบุญที่ผ้ อู ื่นทําแล้ ว เป็ นการกําจัดความริ ษยาในใจ ก็เป็ นทาน และศีล 5 ท่านก็ เรี ยกว่า มหาทาน เพราะให้ ความไม่มีเวร ไม่มีภยั แก่สตั ว์ทงหลาย ั้ 2. ศีล หมายถึง การมีปกติเว้ นจากกายทุจริ ต คือความประพฤติชั่วทางกาย 3 มีการฆ่าสัตว์ การถือเอาของที่ เจ้ าของมิได้ ให้ การประพฤติผิดในกาม และเว้ นจากวจีทจุ ริ ต คือความประพฤติชวั่ ทางวาจา ๔ มีการพูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดหยาบคาย และพูดเพ้ อเจ้ อ อปจายนะ - การอ่อนน้ อมถ่อมตนต่อผู้ที่ควรอ่อนน้ อม ก็สงเคราะห์ลงในศีล เวยยาวัจจะ - การขวยขวายช่วยเหลือผู้อื่นในกิจการงานที่ไม่มีโทษ ก็สงเคราะห์ลงในศีล อปจายนะและเวยยาวัจจะทัง้ สองนี ้ สงเคราะห์ ลงเป็ นศีลในส่วนที่เป็ นจารี ตศีล คือเป็ นการกระทํา ตามจารี ต ประเพณีตามปกติของคนดี 3. ภาวนา หมายถึงการอบรมเจริ ญให้ เกิดมีขึ ้นได้ แก่ การอบรมให้ เกิดความสงบใจ ที่เรี ยกว่า สมาธิ หรื อ สมถ ภาวนาอย่างหนึง่ และได้ แก่การอบรมให้ เกิดปั ญญา รู้ เท่าทันสภาพธรรมที่เกิดขึ ้นตามความเป็ นจริ งว่า ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ไม่อยู่ในบังคับบัญชาของใคร ที่เรี ยกว่า วิปัสสนาภาวนา อีกอย่างหนึง่ ในสองอย่างนี ้ วิปัสสนาเป็ นเลิศ
ทาน ศีล ภาวนา ยังเปรี ยบเสมือนลาดับขัน้ ของการทาบุญ ลาดับอย่ างไร กล่าวคือ คนไม่เคยทําบุญ ก็จะให้ เริ่ มต้ นด้ วยการทําทาน จากทําทานก็จะขยับไปรักษาศีล แล้ วก็ไปเจริ ญสติ ทําสมาธิภาวนา การทําภาวนา ได้ บญ ุ มากกว่าการรักษาศีล การรักษาศีลก็ได้ บุญมากกว่าการทําทาน ทังนี ้ ้เพราะการทําทาน ใ ค ร ๆ ก็ ทํ า กั น ไ ด้ โ จ ร ที่ เ พิ่ ง ลั ก ข โ ม ย ม า ก็ ยั ง ทํ า ท า น ไ ด้ แ ต่ โ จ ร รั ก ษ า ศี ล ไ ม่ ไ ด้ คุณสมบัติที่สําคัญที่จะรักษาศีลได้ คือต้ องสามารถเอาชนะใจตนเองได้ คนทําผิดจึงมีสาเหตุหลัก 2 อย่าง หนึง่ ไม่ร้ ู สอง แพ้ ภยั ตนเอง แล้ วสุดท้ ายจึงทําภาวนา 79
เมื่อพิจารณาแล้ ว ทาน ศีล ภาวนา เป็ นวิถีปฏิบัติที่ครอบคลุมและสอดคล้ องกับหลักการของพระพุทธศาสนาอย่าง แท้ จริ ง ในที่นี ้ข้ าพเจ้ าจะขอเสริ มว่า เพื่อให้ สอดคล้ องกับเป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน การไม่มีกิเลส ตัณหาที่จะร้ อยรัดพัดกระพือให้ กระวนกระวายใจ การฝึ กอบรมจิตใจนันก็ ้ ไม่ควรเป็ นไปเพื่อ “สะสม” บุญหรื อบารมีใดๆ ทังสิ ้ ้น แต่มงุ่ ที่จะละ วาง และคลายความยึดติดทังหลายทั ้ งปวงลง ้ จึงขอนิยามคํา 3 คํานี ้ใหม่ เพื่อให้ สอดคล้ องกับหัวข้ อ บนเส้ นทาง แห่ งการฝึ กฝนจิตวิญญาณ ว่า ทาน เป็ นจุดเริ่ มต้นของการทาหน้าที ข่ องมนุษย์ ทีแ่ ท้ ศีล คือ ความปกติ ของมนุษย์ ภาวนา คือ การเปลี ย่ นแปลงภายในเพือ่ กลับไปสู่สภาวะเดิ มแท้
จุดสุดท้ าย จุดมุ่งหมายของการฝึ กตนในวิถีโยคะ ใน “โยคะ การฝึ กทําทุกวัน” ตามหลักสูตรของสถาบันไกวัลยธรรม ของสถาบันโยคะวิชาการ ได้ สรุ ปนิยามของ คําว่า โยคะ ไว้ วา่ คําว่าโยคะ มาจากภาษาสันสกฤต ซึง่ รากศัพท์แปลว่า รวม, เต็ม, integration หรื อที่เราคุ้นกันว่า องค์รวม สภาวะอันถือว่ าเป็ นแก่ นของโยคะ 3 ประการ คือ 1. การรวมกาย-จิต เข้ าด้ วยกัน อันหมายถึงการมีสติ รู้ อยู่กบั กาย ตลอดเวลา 2. ความสมดุล ทัง้ สมดุล ภายในตนเอง สมดุ ล ระหว่ า งตนเองกั บ ผู้ อื่ น และสมดุล ระหว่ า งตนเองกั บ สิ่งแวดล้ อม 3. การพัฒนา โดยเฉพาะ การฝึ กจิตให้ นิ่ง การบริ หารจิตให้ เข้ มแข็ง ตลอดจนยกระดับจิตให้ สงู ยิ่งๆ ขึ ้นไป คาอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ ของโยคะ โ ย ค ะ คื อ ศ า ส ต ร์ ที่ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ฝึ ก ฝ น ต น เ อ ง อั น มี ร า ก ฐ า น ม า จ า ก อิ น เ ดี ย โ บ ร า ณ เป้าหมายของโยคะคือ พัฒนามนุษย์ ในทุกๆ มิติ เช่น กาย จิต อารมณ์ บุคลิกภาพ ฯลฯ อย่างเป็ นองค์รวม การเข้ าสูแ่ ก่นของโยคะนัน้ ประกอบด้ วยเทคนิคอันหลากหลายโดยลักษณะร่ วมของเทคนิคโยคะทังหมดล้ ้ วน เป็ น เรื่ อง กาย-จิตสัมพันธ์ แม้ แต่ละเทคนิคจะมีกระบวนการ ช่องทางต่างกัน แต่ทกุ เทคนิคก็ล้วนสนับสนุนกัน และกัน 80
1. 2. 3.
4.
5.
ใน “ปรัชญาโยคะ” (อัจฉรี ยา วัชรายน) ได้ สรุ ปเรื่ องปรั ชญาโยคะไว้ วา่ ปรัชญาโยคะก่อตังโดย ้ ปตัญชลี เพราะเป็ นผู้รจนาคัมภีร์โยคสูตร ซึง่ เป็ นคัมภีร์หลักของระบบนี ้ คําว่าโยคะ แปลตามพยัญชนะว่า รวมเข้ า คือรวมอาตมันย่อยเข้ ากับอาตมันสากล แต่ในที่นีห้ มายถึง ความ พยายามทางจิต เพื่อให้ บรรลุถงึ ความสมบูรณ์เต็มที่ โดยวิธีคมุ ร่ างกายและใจ โดยวิธีปฏิบตั ิให้ มีวิเวกญาณเกิดขึ ้นเพื่อ แยกปุรุษะออกจากประกฤติอย่างเด็ดขาด มุ่งหมายให้ จิตที่เป็ นการยจิต (จิตที่ถูกจองจําด้ วยร่ างกาย) กลับคืนสู่ภาวะที่เป็ นการณจิต (จิตที่มีเสรี ภาพ อย่างเต็มที่) ตามเดิมโดยการขจัด รชะ และตมะ เมื่อจิตกลับสูส่ ถานะเดิมได้ ก็จะบรรลุโมกษะ จิตนันเป็ ้ นวิวฒ ั นาการแรกของประกฤติ เกิดจากปุรุษะสะท้ อนรัศมีเข้ าไปหาประกฤติ จนทําให้ คณ ุ ะ สามชนิด ปรากฏออกมา คื อ สัต ตวะ รชะ และตมะ ทัง้ สามนี ผ้ สมผสานกัน จนเกิ ด เป็ นจิ ต ขึ น้ เป็ นสิ่ งแรก จิ ต นี ป้ ราศจาก สัมปชัญญะ แต่เนื่องจากมันเป็ นสิ่งละเอียดอ่อนและอยู่ใกล้ ชิดปุรุษะซึง่ มีลกั ษณะมีสมั ปชัญญะตลอดเวลา จึงเหมือน กระจกเงาที่สะท้ อนภาพของปุรุษะออกมาจึงปรากฏลักษณะสัมปชัญญะ และเพราะเมื่อจิตไปพัวพันกับวัตถุสิ่งใดในกระบวนการแห่งความรั บรู้ มนั ก็จ ะมีรูปร่ างเหมือนสิ่งนัน้ เรี ยกว่า พฤติภาพของจิต คือ การที่จิตเปลี่ยนแปรมีอาการไปตามสภาพของสิ่งที่รับรู้ ซึ่งต่างจากปุรุษะซึง่ เป็ นความรู้ บริ สุทธิ์ หรื อวิญญาณบริ สทุ ธิ์ และเป็ นอิสระในตัวเอง แต่การที่เราถูกอวิทยาครอบงํานัน้ ทําให้ ปรุ ษะนันหลงผิ ้ ดไปว่าตัวเองคือ แรงสะท้ อนของจิต จึงคิดว่าตัวเองกําลังเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งต่างๆ และคิดว่าตัวเองมีพฤติต่างๆนานา ซึง่ ตามความ จริ ง ปุรุษะเป็ นภาวะคงที่ ดังนัน้ ถ้ าเมื่อใดที่ปรุ ุ ษะตระหนักได้ วา่ ตนเองแยกจากอย่างเด็ดขาดกับประกฤติ หรื อผลใดๆจากประกฤติ เมื่อ นันปุ ้ รุษะจะหยุดสําคัญตนผิดๆและกลับมารู้ แจ้ งว่าตัวเองคือแรงสะท้ อนเข้ าไปในจิต (ไม่ใช่สิ่งที่จิตส่งมา) พร้ อมกับการ รู้ แจ้ งนี ้ ปุรุษะจะหยุดส่งแรงสะท้ อนไปยังจิต ผล คือ พฤติต่างๆ ของจิตจะหยุดลง ซึง่ เป็ นการปิ ดฉากการหลงผิดต่างๆ อย่างสิ ้นเชิง ปุรุษะจะกลับเข้ าสูส่ ภาพสมบูรณ์ดงั เดิม ซึง่ วิธีที่จะทําให้ เกิดสิ่งนี ้ได้ คือ การปฏิบตั ิตามอัษฎางคโยคะ พฤติกรรมของจิต โยคะกล่าวว่าจิตสามารถสําแดงพฤติภาพออกเป็ น 5 ประการคือ ประมาณ ได้ แก่ จิตที่ทําหน้ าที่รับรู้ อารมณ์ ต่างๆอย่างถูกต้ อง เหมือนกับของนยายะ คือ ประจักษประมาณ อนุมาน ประมาณ และศัพทประมาณ วิปรยายะ คือ พฤติกรรมของจิตที่รับรู อารมณ์อย่างผิดๆ ซึง่ ตรงข้ ามกับประมาณ เช่น คนเห็นเชือกกล้ วยแล้ วคิดว่าเป็ นงู หรื อเห็นพยับแดด คิดว่าเป็ นนํ ้า วิกลั ปะ คือ จิตที่ทําหน้ าที่รับรู้ อารมณ์ตามศัพท์ หรื อ ตามจินตนาการเอาเองนัน้ คือ รู้ อารมณ์ ตามคําเล่าลือ แต่หามีตวั จริ งอยู่ไม่ เช่น คนหรื อสัตว์ในนิยาย หรื อคํากล่าวเช่น หนวดเต่า เขากระต่าย ซึง่ เป็ นคําที่จินตนาการขึ ้นโดยปราศจาก ความจริ งมารองรับ นิทรา คือ จิตที่ไม่ร้ ู อารมณ์ หรื อจิตหลับ โยคะเห็นว่าสิ่งนี ้เป็ นพฤติกรรมอย่างหนึ่งของจิต เพราะเห็นว่าจิตที่หลับยังมี พฤติของจิตอยู่ พิสจู น์ได้ จากคํากล่าวของคนที่ตื่นจากหลับว่า แหม ฉันหลับสนิทตลอดคืน ไม่ฝันเลย หรื อจําได้ ว่าฝั น ว่าอะไรบ้ าง ถ้ าจิตที่หลับไม่มีพฤติแล้ ว จะรู้ ได้ อย่างไรว่าหลับดี หรื อฝั นอย่างไรบ้ าง สมฤติ คือ จิตที่ทําหน้ าที่จดจําอารมณ์ตา่ งๆ หรื อเรื่ องราวต่างๆที่ผ่านมา
81
Dr. R.S. Bhogal จาก สถาบันไกวัลยธรรม (http://www.thaiyogainstitute.com/article/19) ได้ บรรยายเอาไว้ วา่ Yoga Citta Vritti Nirodtha เป็ นโศลกสําคัญที่สดุ ซึง่ ระบุไว้ ในปตัญชลีโยคะสูตร บทที่ 1.2 กล่าวว่า โยคะ เป็ นไปเพื่อดับการปรุ งแต่ งของจิต แต่เมื่อนําจิตวิทยามาศึกษาประโยคนี ้ เราจะพบข้ อโต้ แย้ งว่า เป็ นไปไม่ได้ ที่จะดับ การปรุ งแต่งของจิตทัง้ 5 ประการอย่างสิ ้นเชิง ดังนัน้ ในแง่จิตวิทยา จึงอธิ บายว่า ให้ มีการปรุ งแต่งของจิตเฉพาะที่ จําเป็ นเท่านัน้ และปรับการปรุ งแต่งนันให้ ้ มีความพอดี เช่น ไม่นอนมากเกินไป ไม่จํามากเกินไป คิดเฉพาะเท่าที่จําเป็ น เป็ นต้ น หรื ออาจกล่าวได้ วา่ ในมิติด้านจิตวิทยา โยคะคือการฝึ กควบคุมอารมณ์ ขนพื ั ้ ้นฐาน กายกรรม และวจีกรรม ซึง่ จะนําความสงบสุขมาสูช่ ีวิตของเรา
จุดมุ่งหมายของการฝึ กตนในแนวพุทธ ทุกรู ปแบบการฝึ กฝนในแบบพุทธนัน้ ล้ วนเป็ นมีจุดมุ่งหมายที่จะปลุกจิตคนให้ ตื่นขึน้ มาจากความไม่ร้ ู เห็นความจริ ง ตามธรรมชาติ และเกิดการรับรู้ อย่างอิสระจากอวิชชาหรื อความไม่ร้ ู นนั ้ สภาวะนันเรี ้ ยกว่า นิพพาน เทคนิควิธีในแบบพุทธนันมี ้ อยู่อย่างหลากหลาย รายละเอียดก็มีมากมายหลากหลายแตกต่างกันไป ที่เป็ นที่ร้ ู จกั ในหมูช่ าวพุทธเถรวาทคือ กรรมฐาน 40 ซึง่ ในปั จจุบนั วิธีการปลุกให้ คนตื่น ก็ได้ พฒ ั นาขึ ้นตามความซับซ้ อนของจิตใจคน และพัฒนาจากฐานวัฒนธรรมต่างๆ จนกลายมา เป็ นหลักปฏิบตั ิในนิกายและสายธรรมต่างๆ อันปรากฏเป็ นวิธีการแบบเถรวาท เซน มหายาน และวัชรยาน ส่วนของชาวพุทธไทยจะขอยกตัวอย่าง เทคนิคอานาปานสติจากหนังสือ “อานาปานสติ กุญแจไขความลับของชีวิต” (พุทธทาสภิกขุ, 2531) ซึง่ รวบรวมคําบรรยายที่พุทธทาสภิกขุแสดงแก่ชาวต่างประเทศ ที่มาฝึ กอบรมสมาธิภาวนาที่สวนโมก ขพลาราม กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาจิตหรื อปฏิบตั ิวิปัสสนาตามอานาปาน-สติสตู ร แบ่งการปฏิบตั ิเป็ น 4 หมวด คือ กาย เวทนา จิต ธรรม หมวดละ 4 ขันตอน ้ รวมการปฏิบตั ิทงหมด ั้ 16 ขันตอน ้ เริ่ มตังแต่ ้ การเตรี ยมร่ างกาย สถานที่ เวลา และอาจารย์ หรื อกัลยาณมิตร เข้ าสูข่ นตอนแรก ั้ คือการฝึ กกําหนดลมหายใจ สัน-ยาว ้ และสังเกตลมหายใจ หยาบหรื อละเอียด จากนันใช้ ้ การ กําหนดลมหายใจเข้ าไปร่ วมพิจารณาใน กาย เวทนา จิต ธรรม จนสามารถบังคับควบคุมและเห็นสภาพการเกิดขึ ้น ตังอยู ้ ่ ดับไป ของสภาวะนันๆ ้ เมื่อจิตมีความตังมั ้ น่ แล้ ว จะละลายความยึดมัน่ ถือมัน่ มีความสลัดคืน และนําไปสู่เป้าหมายสูงสุดคือความ รอด ซึง่ หมายถึงพระนิพพาน นอกจากนีพ้ ุทธทาสภิกขุยังกล่าวถึงประโยชน์ของอานาปานสติ คือสามารถระงับอารมณ์ อันไม่พึงประสงค์ให้ เข้ าสู่ ระเบียบปกติ ไม่หวัน่ ไหวไปกับเครื่ องล่อต่างๆ มีเวทนาที่ฉลาด คือความต้ องการที่ถูกต้ อง รู้ เห็นสัจจะที่ ทําให้ สลัดออก จน สามารถกําจัดกิเลสอาสวะหมดสิ ้น คือพระนิพพานได้ อานาปานสติในหมวดธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อาจารย์ที่สวนโมกข์เคยอธิบายอย่างสันกระชั ้ บไว้ ว่า เหมือนการที่เรา พิจารณาทองคํา แล้ วเราเห็นความไม่เที่ยงของมัน ว่ามันไม่ต่างไปจากขี ้ เมื่อเห็นความไม่เที่ยงหรื อความไม่สามารถคงอยู่ใน 82
สภาวะนันได้ ้ ตลอดไปแล้ ว ความรัก ความอยากได้ ในทองคํา ย่อมจางคลายไปเอง เราก็ปล่อยมือจากทองคํานัน้ เมื่อคลายลง แล้ ว ในที่สดุ ก็ย่อมดับไม่เหลือ เมื่อดับไม่เหลือแล้ ว มันจะไปไหน มันก็กลับคืนสูธ่ รรมชาติ นัน่ คือความรู้ สกึ ที่มีตอ่ ทองคํานัน้ ซึง่ ไม่ได้ พิเศษไปกว่าขี ้กองหนึง่ แต่อย่างใด เห็นทองคําอย่างที่เป็ น มิได้ มีความยึดมัน่ หรื ออยากได้ ในทองคํานัน้ อาจารย์บอกว่า จริ งๆ แล้ วจะจบที่ดบั ไม่เหลือก็เข้ าใจแล้ ว แต่คนอาจจะสงสัยต่อว่ามันไปไหน ก็คืน ธรรมชาติเขาไป พระพุทธเจ้ าท่านช่างคิดได้ ครอบคลุมซะจริ ง เพราะคนอาจจะคิดแค่วา่ ดับคือจบ พ้ นทุกข์คือจบ แต่รายละเอียด ของการกลับคืนสู่ธรรมชาติ และเข้ าใจธรรมชาติของมนุษย์ และโลกของปรากฏการณ์ ยงั มีมากกว่านันในขั ้ น้ ของมหายานและ วั ช ร ย า น
ซึ่ ง ใ น ข ณ ะ กํ า ลั ง ห า ข้ อ มู ล ใ น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต
เ กี่ ย ว กั บ
อานาปานสติ เพื่อจะมาสนับสนุนความคิดในเรื่ องเป้าหมายของการศึกษาในแนวพุทธนัน้ ก็ไปเจอกับบทความเรื่ อง พหุปัญญา กับวิถีบูรณาการของคนสูงวัย (ตอน 5) ของ รศ.ดร.สุวินยั ภรณวลัย จาก www.suvinai-dragon.com บทความนี ้เขียนถึง ศิ ล ป ะ แ ห่ ง ก า ร เ จ ริ ญ ส ติ ปั ฏ ฐ า น 4 โ ด ย ก ล่ า ว ส รุ ป อ า น า ป า น ส ติ 16
ขั ้ น แ ล ะ ส ติ -
ปั ฏฐาน 4 ไว้ ก่อนที่จะพูดถึงขันต่ ้ อไปว่า การพิจารณาธรรมนี ้ก็เพื่อให้ เกิดปั ญญาขึ ้นมาว่า ธรรมเหล่ านีม้ ีอยู่กเ็ พียงเพื่ออาศัยเจริญญาณ เจริ ญสติ เท่ านัน้ ไม่ได้ อาศัยตัณหาและทิฐิอยู่เลย จนเกิดความไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ อะไรๆ ในโลกนี ้ จากที่กล่าวมาข้ างต้ น จะเห็นได้ ว่า ทัง้ ๆ ที่พระไตรปิ ฎกก็มีให้ อ่าน และหลักการปฏิบตั ิเพื่อบรรลุความเป็ น พุทธะ ก็มีกล่าวไว้ ในพระไตรปิ ฎกอย่างชัดแจ้ ง แต่กระนันพุ ้ ทธธรรมก็ดเู หมือนยังคงเป็ นสิ่งที่ถ่ายทอดได้ ยากหรื อเข้ าถึง ได้ ยากสําหรับคนทัว่ ไปอยู่ดี อุปมาดัง่ หลอดไฟก็มีอยู่ สายไฟก็มีอยู่ ปลัก๊ ไฟก็มีอยู่ แต่พอเสียบปลัก๊ แล้ วไฟในหลอดไฟกลับไม่สว่าง นัน่ เป็ น เพราะ ไม่ มีกระแสไฟไหลเข้ าหลอดไฟ นั่นเอง! ผู้เขียนหวังว่า ข้ อเขียนต่อจากนี ้ไปที่จะกล่าวถึง ศิลปะแห่งการเจริ ญสติปัฏฐาน 4 คงพอจะทําให้ มีกระแสไฟ ไหลเข้ าหลอดไฟได้ บ้าง แม้ เพียงเล็กน้ อยก็ยงั ดี สิ่งแรกที่จําเป็ นที่สดุ ในการเจริ ญ มหาสติปัฏฐาน ก็คือ การมีศรั ทธาว่ า วิธีนีเ้ ป็ นวิธีท่ ีทาให้ เราฉลาด สะอาด สว่ าง สงบได้ หรื อเป็ นพุทธะได้ ในการฝึ กสติ จิต สมาธิ และปราณนัน้ เราต้ องมีสติก่อน เมื่อมีสติแล้ ว จิตย่อมตังมั ้ น่ สมาธิปรากฏ ปราณกับ จิต สติ และสมาธิจักผสมผสานกัน ยามฝึ กลําตัวต้ องตังตรง ้ สายตาทอดตํ่า นัง่ ด้ วยความผ่อนคลาย เดินลมหายใจเข้ าเบาๆ ลึก หายใจออกนิ่ม นวล ผ่อนคลาย จนกายกับใจรวมกันเป็ นหนึ่ง 83
การฝึ กรวมกายกับใจให้ เป็ นหนึ่งเดียว จะทําให้ ผ้ ูนนั ้ พ้ นจากภาวะปรุ งแต่งของอารมณ์ ทําให้ มีพลังและ สามารถเข้ าถึงแหล่งพลังอันไม่มีวนั สิ ้นสุดได้ เริ่ มจากการหมัน่ ส่งความรู้ สกึ เข้ าไปสํารวจโครงสร้ างของร่ างกายตังแต่ ้ หวั จดเท้ า ในการส่งความรู้ สกึ ลึกๆ ลง ไปภายในกายตัวเอง จงพยายามจับโครงกระดูกภายในกายตนให้ ได้ ด้ วยการตรวจสอบโครงสร้ าง และกระดูกทุกข้ อ ภายในตน จนกระทัง่ ไม่ปรากฏอารมณ์ใดๆ ไร้ ความคิด สิ ้นความรู้ สกึ ใดๆ เพราะกายกับใจของตนผนึกแนบแน่นรวมกัน เป็ นหนึง่ ขณะที่นกึ แต่ "กายในกาย" ในการสํารวจโครงสร้ างกระดูกของตน สมองของผู้ฝึกจะค่อยๆ โล่ง ความคิดจะไม่ปรากฏ อารมณ์ จะไม่ปรุ งแต่ง เพราะกายกับใจรวมกันจนเกิดเป็ น สมาธิ แต่เมื่อใดก็ตามที่ผ้ ฝู ึ กเผลอวูบไปคิดเรื่ องอื่นๆ เมื่อรู้ ตวั ก็ต้อง หยุดหายใจ ทันทีคือ ไม่หายใจเข้ า และไม่หายใจ ออก จนกว่าร่ างกายจะทนไม่ได้ แล้ วจึงเริ่ มหายใจใหม่ เหตุที่ต้องทําเช่นนี ้ก็เพราะ ธรรมชาติของกายกับใจนันสั ้ มพันธ์ กนั ใจจะกลับมาเพื่อดูแลระวังรักษากาย เมื่อ เราเลิกหายใจ สิ่งที่มนั หลุดออกไปคิดเรื่ องอื่นๆ ก็จะกลับเข้ ามาที่กาย เพื่อเตือนให้ เราหายใจ มิให้ เราตาย เราก็จะเริ่ ม หายใจยาวๆ สูดเข้ ายาวๆ แบบสุภาพนิ่มนวล และอ่อนโยนเสร็ จแล้ วก็คอ่ ยๆ ผ่อนลมหายใจออกอย่างผ่อนคลาย ปล่อย วาง และหมดจด จากนันจึ ้ งเริ่ มสํารวจโครงสร้ างของร่ างกายต่อ โดยทําอย่างเป็ นธรรมชาติที่สดุ การเจริ ญสติและสมาธิแบบนี ้ สามารถทําได้ ทุกขณะ ไม่จํากัดเวลาและสถานที่ ไม่จําเป็ นต้ องหาที่วิเวกหรื อ เวลาที่ปราศจากการงานใด จึงเป็ นสมาธิแบบวิถีธรรมชาติ เมื่อจิตเป็ นสมาธิแล้ วก็ใช้ จิตนันพิ ้ จารณาความจริ งของขันธ์ 5 อันไม่เที่ยง และไม่มีตวั ตน จนจิตเกิดปั ญญาญาณสามารถละวางและเข้ าหาความหลุดพ้ นได้ กายกับใจที่รวมกันจะทําให้ ผ้ นู นเป็ ั ้ นผู้ชนะต่อสรรพสิ่ง เราไม่จําเป็ นต้ องคอยเวลารวมใจกับกายให้ เป็ นหนึ่ง เดียวในตอนเย็นหรื อตอนเช้ า แต่เราควรจะรวมกายกับจิตให้ เป็ นหนึง่ ได้ ทกุ เวลาที่มีโอกาสที่จะทํา และนําพลังนันไปสร้ ้ างสรรค์กิจกรรมอันมี ประโยชน์ตอ่ มวลมนุษยชาติ ต้ องขอยํ ้าอีกครัง้ ว่า เคล็ดสุดยอดของสมาธิแบบพระพุทธเจ้ านัน้ คือ กายรวมกับใจ มหาสติปัฏฐานจึงมีเรื่ อง 2 เรื่ องเท่านันที ้ ่ต้องให้ ทําคือกายกับจิต ถ้ าพ้ นกายกับจิตไม่ใช่มหาสติปัฏฐาน ความหมายของมหาสติปัฏฐานคือ การฝึ กดูกายและการฝึ กดูจิต โดยเฝ้าดูความเป็ นไปของกายนี ้ และความ เป็ นไปของอารมณ์ภายในตัวเรานี ้ โดยใช้ "สติ" ดูกาย ดูจิต สติเป็ นสิ่งที่ต้องฝึ ก วิธีการฝึ กสติทําได้ ด้วยการระลึกรู้ ลม หายใจ ด้ วยการดูโครงกระดูกของตัวเอง จนกระทัง่ อารมณ์ ทงปวงรวมเป็ ั้ นหนึ่ง แล้ วให้ สติจบั อยู่ในอารมณ์ นนั ้ รวมทัง้ ให้ สติจับอยู่ในอิริยาบถต่างๆ หากจิตของผู้ ฝึกยังหยาบเกินกว่ าที่จะฝึ กสติด้วยการระลึกรู้ ลมหายใจอย่ าง ต่ อเนื่อง ก็อาจใช้ ศิลปะต่ างๆ ที่ผ้ ูเขียนได้ กล่ าวไปแล้ ว มาฝึ กให้ จติ ละเอียดลงก่ อนก็ย่อมได้ 84
แม้ ว่าการฝึ กเจริ ญสติจะเป็ นการฝึ กที่สําคัญยิ่งในการดําเนินชีวิตก็จริ ง แต่ การมีสติ การใช้ สติพิจารณา ความคิด และทุกๆ การกระทาของตัวเอง ก็ยังไม่ ใช่ สุดยอดและปลายทางของการฝึ กจิตในระดับอทวิภาวะ (mondual) ซึ่งเป็ นระดับขัน้ ตอนสูงสุดในวิวัฒนาการของจิต เพราะในการเจริ ญสติยงั เป็ นการกระทําอยู่ และยังมีตวั ผู้นนกํ ั ้ าลังเป็ นผู้พิจารณาผู้เจริ ญสติอยู่ จึงยังมีอตั ตา ตัวตนหลงเหลืออยู่อย่างเบาบางในระดับประณีตมาก เพราะจะเห็นได้ ว่า สิ่งที่เรี ยกว่า การเจริ ญสตินี ้ยังมีการแบ่งแยก ออกเป็ นคูร่ ะหว่าง ผู้รับรู้ กับ สิ่งที่ถกู รั บรู้ โดยที่ผ้ รู ับรู้ เป็ น องค์ ประธาน แห่งการกระทําในการเจริ ญสตินนั ้ การเจริ ญสติจึงยังเป็ นความสัมพันธ์ ระหว่าง ผู้กระทา กับ สิ่งที่ถูกกระทา หรื อระหว่างผู้รับรู้ กบั สิ่งที่ถูกรับ รู้ อยู่ แต่ สภาวะจิตที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์ อยู่ในตัวเอง ดุจบ่อนํ ้าใสที่สะท้ อนจันทร์ ได้ ไม่ใช่เช่นนันและเป็ ้ นมากกว่า นัน้ เพราะใน ภาวะจิตแบบอทวิภาวะดุจจันทร์ ในบ่ อ มันจะไม่มีผ้ กู ระทําใดๆ และก็ไม่มีสิ่งที่ถูกกระทําใดๆ มัน ไม่มีผ้ รู ับรู้ ใดๆ และก็ไม่มีสิ่งที่ถกู รับรู้ ใดๆ ด้ วย มันจึงไม่มีผ้ กู ําลังเจริ ญสติพิจารณา ไม่ว่าจะเป็ นใคร และก็ไม่มีใครหรื อ สิ่งใดที่กําลังถูกพิจารณาด้ วยเช่นกัน อาจกล่าวได้ ว่า ภาวะจิตแบบอทวิภาวะ นี ้เป็ น บูรณาการแห่ งการกระทาและธรรมทัง้ ปวง มันจึงมิได้ เป็ นความสัมพันธ์ ระหว่างผู้กระทํากับสิ่งที่ถูกกระทําใดๆ ทังสิ ้ ้น แต่สิ่งเหล่านี ้ได้ ถูกหลอมรวมจนสูญสิ ้นซึง่ อัตลักษณ์ แห่งตน ไม่มีตวั ตนอัตลักษณ์ของใคร และก็ไม่มีสิ่งใดที่ถกู จับจ้ องเอาใจใส่เป็ นพิเศษ การปรากฏของภาวะจิตแบบอทวิภาวะ จึงมี ลักษณะเป็ นแบบทังหมดทั ้ งสิ ้ ้น มันเป็ นปรากฏการณ์ เดี่ยวของ ผู้กระทํ าและสิ่งที่ ถูกกระทําที่ กลมกลืนเป็ นเนือ้ เดียวกันอย่างทัง้ หมดทัง้ สิน้ ในขณะที่ การเจริ ญสติยังมีความเป็ นคู่ ระหว่างผู้กระทํากับสิ่งที่ถูกกระทําดํารงอยู่อย่างชัดเจน แต่คนทัว่ ไปนัน้ ยากที่จะเข้ าถึงภาวะจิตแบบอทวิภาวะได้ ถ้ า หากไม่ฝึกเจริ ญสติให้ ได้ เสียก่อน การเจริ ญสติ จึงเป็ นการถมช่องว่างระหว่าง การขาดสติ (ไม่ได้ พิจารณา 'เห็น' ความคิดของตัวเอง) กับ ภาวะจิตที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์ อยู่ในตัวเอง การเจริ ญสติจึงเป็ นวิธีการอย่างหนึ่ง และเป็ นวิธีการที่สําคัญยิ่งในการไปสู่ภาวะจิตที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์ อยู่ ในตัว เองแบบอทวิภาวะดุจจันทร์ ในบ่อ แต่ การเจริญสติกย็ ังไม่ ใช่ ภาวะจิตดุจจันทร์ ในบ่ ออยู่ดี ผู้มีสติย่อมประเสริ ฐกว่าผู้ขาดสติ แต่ผ้ ทู ี่อยู่ในภาวะจิตที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์อยู่ในตัวเอง ย่อมประเสริ ฐยิ่งกว่า ผู้มีสติสมบูรณ์เสียอีก!
85
เพราะ ภาวะจิตที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์ อยู่ในตัวเองนีเ้ ป็ นการตื่นอย่ างพุทธะของพุทธะ จิตสํานึกนําไปสู่ การเจริ ญสติได้ ฉันใด การเจริ ญสติย่อมนําไปสู่การตื่นอย่างพุทธะได้ ฉันนัน้ แต่การตื่นอย่างพุทธะจะไม่นําไปสู่อะไร ทังสิ ้ ้น เพราะไม่มีอะไรอีกแล้ วที่จะต้ องไปบรรลุไปเข้ าถึง การตื่นอย่างพุทธะจึงเป็ นปลายทางสิ ้นสุดแห่งวิวฒ ั นาการทางจิตของผู้นนดุ ั ้ จวงกลมที่ไร้ ซงึ่ ศูนย์กลาง และมี ความเพียบพร้ อมสมบูรณ์อยู่ในตัวมันเอง จิตแบบอทวิภาวะที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์อยู่ในตัวเองนี ้ เป็ นจิตของพุทธะอันเป็ น ระดับจิตของธรรมจิต (Spirit) แต่การเข้ าใจว่ าระดับจิตของพุทธะเป็ นปลายทางสิน้ สุด หรื อระดับที่สูงสุดในวิวัฒนาการของจิต ก็ยังเป็ น ความเข้ าใจที่ถูกต้ องเพียงครึ่งเดียวเท่ านัน้ ! (ยังมีตอ่ ) พหุปัญญากับวิถีบูรณาการของคนสูงวัย (ตอน 6) (10) ศิลปะแห่ งการเจริญสติปัฏฐาน 4 (ต่ อจากตอนที่แล้ ว) ทังนี ้ ้เพราะ พุทธะ หรื อ ธรรมจิต ไม่มีทางที่จะเป็ นแค่สิ่งที่แฝงเร้ น ฝั งจมอยู่ในก้ นบ่อที่ลกึ ที่สดุ ของจิตไร้ สํานึก ของคนเราที่รอการขุดค้ นพบเจอ และก็มิใช่ขุมทรัพย์ที่อยู่บนยอดเขาสูงสุดที่รอการปี นป่ ายจากมนุษยชาติ เราไม่ควร เข้ าใจพุทธะหรื อธรรมจิตอย่างด้ านเดียวเช่นนัน้ ในทางตรงกันข้ าม เราควรมองให้ ทะลุว่า ระดับจิตของพุทธะหรื อธรรมจิต คือสภาวะอันปกติและปั จจุบนั ของ คนเรานี่แหละ จิตแห่งพุทธะอันไร้ ขอบเขต ไร้ ประมาณที่ครอบคลุมทุกสรรพสิ่ ง จักต้ องดํารงอยู่ ในทุกๆ ระดับแห่ง สภาวะของจิต เท่าที่จะคาดนึกได้ จิตแห่งพุทธะและนิพพาน ย่อมไม่มีทางที่จะเป็ นระดับจิตที่พิเศษเฉพาะที่ตดั ขาดแยกต่างหากออกมาจาก ระดับจิตขันอื ้ ่นๆ ของมนุษย์ แต่จะต้ อง "ไม่มีระดับ" หรื อ "ดํารงอยู่ในทุกระดับ" ด้ วย เพราะการไป จํากัด จิตของพุทธะ ให้ ดํารงอยู่แค่ที่ระดับใดระดับหนึ่ง แม้ จะเป็ นระดับที่สูงสุดก็ตาม มันเท่ากับไปทําลายจิตของพุทธะมิให้ เป็ นจิตของ พุทธะอันไร้ ขอบเขต ไร้ ประมาณครอบคลุมทังหมดอี ้ กต่อไป ธรรมจิต เป็ นความจริ งอันปรมัตถ์ที่ไร้ มิติ ไร้ กาลเวลาที่ระดับจิตแต่ละระดับเป็ นแค่ ความบ่ายเบนเชิงมายา ออกจากตัวมันที่ดํารงอยู่ในทุกที่ และครอบคลุมทุกสิ่งเอาไว้ ทงั ้ หมด เพราะฉะนัน้ ไม่ว่าจะเป็ นสภาวะจิตใดๆ ใน ปั จจุบันของเรา คือไม่ว่าจะเป็ นความสุข ความเศร้ า ความหดหู่ ความปราโมทย์ ความโกรธ ความสงบ ความกลัว ความอยาก สภาวะจิตเหล่านี ้ สภาวะจิตอย่างที่เป็ นอยู่นี ้ ล้ วนแล้ วแต่ดํารงอยู่ในจิตของพุทธะ หรื อธรรมจิตทังสิ ้ ้น พุทธะหรื อนิพพาน จึงไม่ใช่และจะต้ องไม่ใช่ประสบการณ์พิเศษ มิใช่ระดับจิตหรื อสภาวะทางวิญญาณที่พิเศษ เฉพาะในห้ วงเวลาใดเวลาหนึง่ แต่ อย่างใด แต่มนั จะต้ องดํารงอยู่ และดํารงอยู่ในทุกๆ ระดับของจิตที่เราเป็ นเสมอ 86
พุทธะจึงไม่ใช่เรื่ องที่ไกลตัว และนิพพานก็มิใช่เรื่ องของโลกหน้ าอันไกลโพ้ น แต่มนั เป็ นเรื่ องของจิตสํานึกอัน ปกติประจําวันของคนเรานี่แหละ จริ งอยู่ที่ในบางช่วงของชีวิตคนเรา เพื่อแสวงหาพุทธะ เพื่อเข้ าถึงพุทธะ พวกเขาจึง เก็บตัวหรื อตัดขาดจากโลกไปพักหนึ่ง แต่เมื่อพวกเขาได้ เข้ าถึงความจริ งแห่งพุทธะแล้ ว พวกเขาก็จะกลับมาอีก และ ดําเนินชีวิตตามแนวของพระโพธิสตั ว์ ผู้แลเห็นความเป็ นพุทธะดํารงอยู่ในทุกที่ ทุกสิ่งและทุกคน ไม่ว่าพวกเขาจะทํา อะไร กิจกรรมใด อิริยาบถใด หรื อประสบกับทุกขเวทนา และความยากลําบากในชีวิตเพียงไหน พวกเขาก็จะตระหนัก รู้ อยู่แก่ใจดีเสมอว่า "แล้ วทุกอย่างก็จะดีเอง เพราะถึงอย่างไร กายนี ้คือกายของพุทธะ และ โลกนี ้ คือการเผยตัวออกมาของธรรม จิต ความเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกิดขึ ้น จักไม่ทําให้ จิตของเราหวัน่ ไหวได้ " เนื่องจากพุทธะ หรื อธรรมจิตดํารงอยู่ในทุกที่ และทุกเมื่อ มันจึงดํารงอยู่แล้ ว สมบูรณ์ เพียบพร้ อมอยู่แล้ ว อย่างที่ไม่จําเป็ นจะต้ องออกไปแสวงหาที่ไหน เพราะการออกไปแสวงหา ซึง่ หมายถึงการเคลื่อนที่ออกจากที่นี่ ไม่มี ไป เสาะหาที่ที่ มี ซึง่ มัน ไม่จริ ง หรื อเท่ากับปฏิเสธความจริ งของพุทธะดังข้ างต้ น มันเป็ นความหลงผิด เป็ นอุปทาน เป็ นอวิชชาของตัวผู้แสวงหา คนนันเองต่ ้ างหากที่คิดว่าไม่มีพุทธะในที่ที่มนั มีพุทธะอยู่แล้ ว เพราะไม่มีที่ไหนที่เป็ นที่พิเศษเฉพาะให้ พุทธะดํารงอยู่หรอก แต่พุทธะดํารงอยู่ในทุกที่และทุกขณะ พุทธะหรื อธรรมจิตที่ดํารงอยู่ในทุกระดับนี ้ จึงเป็ นสิ่งที่คนเราไม่อาจไปบรรลุได้ (เพราะเป็ นอยู่แล้ ว) แต่ก็ไม่อาจหนีจาก มันได้ เช่นกัน เหตุที่คนเราค้ นหาพุทธะของตนไม่พบ ก็ด้วยเหตุผลง่ายๆ ว่า ก็เหมือนกับที่ดวงตาของเราย่อมไม่สามารถเห็น ดวงตาของเราโดยตรงเองได้ ต้ องมองผ่านกระจกจึงจะเห็นได้ ฉันใดก็ฉันนัน้ คนเราย่อมไม่อาจบรรลุในสิ่งที่ตวั เราเป็ น สิ่งนันตั ้ งแต่ ้ เริ่ มแรกอยู่แล้ ว ได้ สิ่งที่คนเราทําได้ คือ การระลึกรู้ ตระหนักรู้ จําได้ (โดยผ่านการฝึ กสติตามแนวสติปัฏฐาน) เท่านัน้ หาใช่การ แสวงหาใดๆ จากโลกภายนอก หรื อโลกภายในแต่อย่างใดไม่ อุปมาดัง่ การค้ นหาสิ่งที่ไม่ถูกต้ อง ในภาพๆ หนึ่งซึง่ อยู่ ตรงหน้ าเรา มันดํารงอยู่ก่อนแล้ วตรงนัน! ้ แต่เราอาจต้ องใช้ เวลาสักพักกว่าจะสังเกตเห็นได้ ว่า ตรงไหนคือส่วนที่ไม่ ถูกต้ องในภาพนัน้ สิ่งที่ทําให้ เราเสียเวลาค้ นหาก็เพราะตัวเรายังไม่ตระหนักรู้ สังเกตเห็นได้ เท่านัน้ เนื่องจาก พุทธะหรื อธรรมจิตหรื อนิพพาน เป็ นสภาวะที่เราเป็ นมันอยู่แล้ ว เราจึงไม่เคยต้ องบรรลุถึงมัน ความ พยายามใดๆ ในการแสวงหาพุทธะ ผลสุดท้ ายย่อมล้ มเหลว! เพราะการแสวงหานัน้ ตังอยู ้ ่บนความเชื่ออย่างผิดๆ ที่ว่า เราจะพบมันในวันข้ างหน้ าหรื อในอนาคต แต่ไม่ใช่ขณะนี ้ ขณะที่ พุทธะหรื อธรรมจิตไม่เคยรู้ อดีต รู้ อนาคต รู้ เวลา เพราะพุทธะคือปั จจุบนั ขณะอันไร้ เวลา 87
พุทธะไม่เคยดํารงอยู่ในที่ไหน นอกจากดํารงอยู่ในปั จจุบนั ขณะอันปราศจากเวลานี ้เท่านัน้ การแสวงหาพุทธะ ภายใต้ มิติของกาลเวลา จึงถูก กับดักของกาลเวลา จองจําอย่างยากที่จะดิ ้นหลุดไปได้ ไม่ว่าคนผู้นนจะปฏิ ั้ บตั ิธรรม ด้ วยแนวทางใด หรื อของสํานักใดก็ตาม เพราะเขาผู้นัน้ ปฏิบตั ิธรรมโดยตังอยู ้ ่บนข้ อสมมติฐานที่ผิดพลาดตังแต่ ้ แรก แล้ ว เหตุที่ผิดพลาดก็เพราะ พวกเขาไม่เข้ าใจว่า พุทธะไม่ใช่วตั ถุที่อยู่นอก และนิพพานก็มิใช่ภพภูมิ หรื อโลกอื่นที่ อยู่นอกตน พวกเขาแสวงหาพุทธะ แสวงหานิพพาน โดยไม่ได้ ตระหนักว่า สิ่งที่พวกเขากําลังแสวงหานั น้ มันมิใช่สิ่งใด อื่น นอกจากตัวผู้ร้ ู ตัวผู้เห็น และตัวผู้แสวงหานัน่ เอง ซึง่ ไม่มีทางที่จะเป็ นเป้าภายนอกให้ ถกู รู้ ถูกเห็น ถูกบรรลุถงึ ได้ เลย เพราะคนเราย่อมไม่อาจเห็นตัวเราเองจริ งๆ ได้ ด้วยประสาทสัมผัสภายนอก หรื อด้ วยความคิด ด้ วยมโนทัศน์ ใดๆ ก็ตาม สิ่งที่ตวั เราเองหลงผิดคิดว่า เราได้ เห็นตัวเราจริ งๆ นัน้ ที่แท้ ก็เป็ นความรู้ สึกที่เกิดจากผัสสะหรื อประสาท สัมผัสของเรา หรื อไม่ก็เป็ นทัศนะความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเราต่างหาก หาใช่ตวั ตนที่แท้ จริ งของเราที่เป็ นอนัตตาไม่ ความจริ งอันนี ้ ผู้คนส่วนใหญ่กลับมิได้ ตระหนัก ทังๆ ้ ที่มนั แจ่ มชัดเหลือเกิน หรื ออาจเป็ นเพราะว่ามันแจ่มชัด เกินไป จนไม่ได้ เฉลียวใจก็วา่ ได้ กล่าวคือ คนเราไม่อาจได้ ยินผู้ได้ ยิน ไม่อาจดมผู้ดม ไม่อาจรู้ สกึ ผู้ร้ ู สึก ไม่อาจเห็นผู้เห็น ไม่อาจสัมผัสผู้สมั ผัส แต่เรา กลับนึกว่าเราทําได้ ! เรากลับแยกตัวเราเองออกจากสิ่งที่ถูกเห็น ถูกได้ ยิน ถูกดม ถูกรู้ สกึ ถูกสัมผัส จนเกิด สภาวะทวิ ภาพขันปฐมภู ้ มิ (Primary Dualism) ขึ ้นมา ทังๆ ้ ที่ในความเป็ นจริ งแล้ ว ผู้เห็น (subject) กับ สิ่งที่ถูกเห็น (object) ก็ ไม่ได้ แยกขาดจากกันจริ ง ผู้ร้ ู กับ สิ่งที่ถกู รู้ ก็มิใช่สองสิ่งหรื อคนละสิ่งกัน เพราะ ผู้ร้ ู เป็ นสิ่งเดียวกับสิ่งที่มนั รู้ มันเห็น ความรั บรู้ มาจากสิ่งที่ถูกรู้ นนั ้ ดํารงอยู่ในตัวผู้ร้ ู เหมือนกับที่ท่าน ผู้อา่ นที่กําลังอ่านข้ อเขียนนี ้บนหน้ ากระดาษนี ้ กําลังเป็ นหนึง่ เดียวกับกระดาษหน้ านี ้อยู่ กระดาษหน้ านี ้ที่ถกู เห็นกับการ เห็นหน้ ากระดาษนี ้ ความจริ งเป็ นสองชื่อของข้ อเท็จจริ งเดียวที่ไม่อาจแบ่งแยกกันได้ การที่เรากล่าวเช่นนี ้ มิได้ หมายความว่า กระดาษหน้ านี ้มิได้ ดํารงอยู่จริ งในเชิงภาววิสยั แต่เราต้ องการจะบอก ว่า สําหรับ ผู้ร้ ู แล้ วกระดาษหน้ านี ้ในฐานะเป็ น สิ่งที่ถูกรู้ มันมิได้ ดํารงอยู่ในฐานะที่เป็ น วัตถุภายนอกการรับรู้ ข องตน หรื อกล่าวอีกนัยหนึง่ ได้ วา่ ในจิตของพุทธะมันไม่มีช่องว่าง ไม่มีระยะห่างดํารงอยู่ระหว่างผู้ร้ ู กบั สิ่งที่ถกู รู้ ต่างหาก เพราะฉะนัน้ เราถึงกล้ าที่จะบอกว่า ขณะนี.้ ..ขณะที่ท่านผู้อา่ นกําลังอ่านข้ อเขียนนี ้อยู่ สิ่งที่อยู่ในตัวท่านผู้อ่าน ที่ร้ ู ที่เห็น ที่กําลังอ่านข้ อเขียนนี ้อยู่นี ้แหละคือ พุทธะ คือธรรมจิต ซึง่ ไม่สามารถเห็นหรื อรับรู้ ในฐานะที่เป็ นวัตถุภายนอก ตัวเองได้ !
88
สิ่งที่ถกู เห็น ถูกรับรู้ ได้ คือ อัตตา ของเรา แต่มิใช่ จิตเดิม ของเรา มิใช่ ธรรมจิต หรื อ พุทธะ ในตัวเรา ขณะที่สิ่ง ที่กําลังกระทําการรับรู้ กระทําการเห็นอยู่คือ ธรรมจิต การเป็ นหนึง่ เดียวกับ บางสิ่ง คือ อัตตา แต่การเป็ นหนึ่งเดียวกับ ทุกสิ่ง คือ จิตเดิม หรื อ ธรรมจิต เมื่อใดก็ตามที่คนเราแยกตนออกจากทุกสิ่งมาเป็ น เอกเทศ เมื่อนันจึ ้ งเกิดตัวตนเกิดอัตตา และเป็ นที่มาของสังสารวัฏ หากท่านผู้อ่านที่กําลังอ่านข้ อเขียนนี อ้ ยู่ เกิดตัดสินใจที่จะข้ ามพ้ นอัตตาตัวตนเพื่อลองค้ นหาดูสิว่า มีใครที่ กําลังอ่าน กําลังเห็นกระดาษหน้ านี ้อยู่กนั แน่ เขาก็จะพบว่า เขาไม่สามารถหาผู้ร้ ู ผ้ เู ห็นใดๆ ได้ เขาจะพบแต่กระดาษ หน้ านี ้เท่านัน! ้ ตัวเขาที่เป็ นผู้ร้ ู ผ้ เู ห็นกับกระดาษหน้ านี ้ ความจริ งเป็ นหนึง่ เดียวกันในขณะนี ้อยู่ หากมีช่องว่างเกิดขึ ้นระหว่างท่านผู้อ่านกับกระดาษหน้ านี ้ นัน่ ก็เป็ นช่องว่างอันเดียวกับที่เกิดขึน้ ระหว่างตัว ผู้อ่านกับ "ปั จจุบนั ขณะ" นีเ้ ช่นกัน ถ้ าหากท่านผู้อ่านสามารถดํารงชีวิตอย่างเต็มเปี่ ยมใน "ปั จจุบันขณะ" นี ้ได้ ท่าน ผู้อา่ นกับกระดาษหน้ านี ้ก็จะเป็ นหนึง่ เดียวกัน และในทางกลับกัน หากท่านผู้อา่ นกําลังเป็ นหนึง่ เดียวกับกระดาษหน้ านี ้ อยู่ ท่านผู้อ่านก็จะอยู่ใน "ปั จจุบนั ขณะ" เช่นเดียวกันด้ วย และนี่คือ สภาวะจิตของพุทธะที่เพียบพร้ อมสมบูรณ์ อยู่ใน ตัวเอง คนเราจึงไม่มีทางค้ นพบพุทธะหรื อธรรมจิตโดยผ่าน ที่ว่ าง (space) ด้ วยการไปแสวงหามันข้ างนอกตน หรื อ ไปค้ นหามันในที่ที่มีระยะห่างจากตน และในขณะเดียวกัน คนเราก็ไม่มีทางค้ นพบพุทธะหรื อธรรมจิต โดยผ่าน เวลา ด้ วยการคาดหวังว่า จะค้ นพบมัน หรื อบรรลุถงึ มันในอนาคตข้ างหน้ า ทังนี ้ ้ก็เพราะว่า มันไม่มีวิถีที่จะไปสู่ "ที่นี่" และก็ไม่มีวิถีที่จะไปสู่ "เดี๋ยวนี"้ "ขณะนี"้ จงอย่าลืมว่า สิ่งที่แสวงหา จนค้ นพบภายในมิติแห่งเวลา มันย่อมอนิจจัง ไม่เที่ยงและไม่มีทางเป็ นความจริ งสูงสุดได้ ผู้คนส่วนใหญ่มกั คิดไปว่า ตัวเองปฏิบตั ิธรรมไม่เพียงพอ จึงยังไม่ร้ ู แจ้ ง แต่ถ้ามุง่ มัน่ ปฏิบตั ิธรรมให้ มากเข้ า สักวันหนึง่ ข้ างหน้ าก็คงรู้ แจ้ งได้ เอง ทัศนะเช่นนี ้ ยังเป็ นทัศนะที่ไม่สมบูรณ์ อยู่ดี เพราะการรอความรู้ แจ้ งในวันข้ างหน้ า บ่งชีว้ ่าวันนี ผ้ ้ ูนนั ้ ขาด ความรู้ แจ้ ง และการรอนิพพานก็เป็ นการบ่งบอกว่า ขณะนี ้ผู้นนยั ั ้ งไม่นิพพาน ทังๆ ้ ที่ นิพพานเป็ นสิ่งที่เข้ าสู่ไม่ได้ เพราะ นิพพานดํารงอยู่ในทุกๆ "ปั จจุบนั ขณะ" และสภาวะใดที่เข้ าสู่ได้ ย่อมเป็ น สภาวะชัว่ คราว เท่านัน้ ถ้ าไม่พบนิพพานใน "ปั จจุบนั ขณะ" นี ้ ก็จะไม่ได้ พบมันเลย การทําสมาธิมีหลายรู ปแบบ หลายวิธีก็จริ ง แต่สมาธิที่ทําให้ เข้ าสู่ สภาวะจิตใดๆ แม้ จะเป็ นสภาวะแห่งจิตอัน ละเอียด สุข สงบ เพียงไหน ก็ยังเป็ นสภาวะชั่วคราวที่ต้อง ออกมา อยู่ดี สมาธิ เหล่านีจ้ ังยังไม่ใช่ สมาธิ ที่ยิ่งใหญ่ที่ 89
แท้ จริ งของพุทธะ แต่เป็ นอุบายในการหลอกตนเองของผู้ปฏิบตั ิให้ ไปค้ นหา หรื อแสวงหาในสิ่งที่ตวั เองมีอยู่แล้ ว เป็ นอยู่ แล้ วโดยไม่เคยสูญเสียมันไป เพียงแต่ผ้ นู นั ้ ยังไม่ตระหนักรู้ เท่านัน้ จุดยืนทางสมาธิของพุทธะนันลึ ้ กลํ ้าปานนี ้ แม้ ในปั จจุบนั นี ้ก็ยงั ไม่คอ่ ยเป็ นที่เข้ าใจกันในหมู่ผ้ ปู ฏิบตั ิธรรม และ ผู้สนใจทางจิต ซึง่ เป็ นเรื่ องที่น่าเสียดายเหลือเกิน แล้ วจะ เริ่ มต้ น กันอย่างไรดี? ก็ต้องเริ่ มจาก ลมหายใจอันแสนธรรมดา เฮือกหนึง่ นี่แหละ ลมหายใจที่ดเู ผินๆ เหมือนไม่ต่างจากลมหายใจที่ เคยสูดเข้ าออกมาทังชี ้ วิต แต่หลังจากนี ้ที่ตา่ งออกไปอย่างสิ ้นเชิงคือ ใจ อันเป็ นใจที่ตงจิ ั ้ ตมัน่ ว่าจะ "เห็น" ลมหายใจเป็ น ราวเกาะสําหรับประคองตัวเดินไปบนวิถีของพุทธะ และเป็ นใจที่ม่งุ มัน่ ว่าจะใช้ ลมหายใจที่ เหลือทังชี ้ วิต เป็ นเครื่ อง อาศัยระลึกของการเจริ ญสติตามแนวทางที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้
เราหลงทางกันได้ อย่ างไร 1. ขาดการศึกษาทบทวนแผนที่ และตัดทอนหรื อแยกส่วนวิธีการที่เป็ นองค์รวม เมื่อผู้ที่ฝึกวิถีปฏิบตั ิใดก็ตามขาดการศึกษาเรื่ องของวิธีการทังหมด ้ ก็มีแนวโน้ มที่ จะปฏิบตั ิไปผิดทาง ในวิถีแห่งการฝึ ก ตนทังในโยคะและพุ ้ ทธนัน้ ได้ มีการวางรากฐานในการปรับทัศนคติและพฤติกรรมก่อนการฝึ กฝนทางจิตวิญญาณไว้ แล้ ว แต่การ นําวิถีเล่านี ้ไปตัดทอน และแยกส่วน เช่น การเรี ยนท่าอาสนะโดยขาดความเข้ าใจในเรื่ องวิถีปฏิบัติแบบโยคะ ก็จะทําให้ ผ้ เู รี ยน ไม่ได้ รับประโยชน์จากโยคะ และอาจนําโยคะไปรับใช้ กิเลสของตน เช่น ฝึ กอาสนะแข่งขันกับผู้อื่น และฝึ กเพราะคิดว่ารู ปลักษณ์ จะงดงามขึ ้น เป็ นต้ น หรื อวิธีปฏิบตั ิที่เป็ นลําดับขัน้ ทาน ศีล สมาธิ ที่มีการเรี ยงลําดับตามนี ้เพื่อขัดเกลาจิตให้ ละเอียดยิ่งขึ ้นตามลําดับ แต่มี คนจับใจความผิดๆ เห็นว่าทําภาวนา ทําสมาธิได้ บญ ุ มากที่สดุ ก็เลยกระโดดไปทําสมาธิ โดยไม่สนใจทําทาน ไม่รักษาศีล ก็เลย วุน่ วายกับสมาธิด้วยจิตที่หยาบกระด้ าง คับแคบ ไม่พร้ อมที่จะเผชิญกับสภาวะทางใจทุกชนิดที่เกิดขึ ้น ด้ วยไม่เคยให้ ทาน และ ร้ อนรนสับสนในใจด้ วยไม่เคยรักษาศีลอบรมใจให้ เป็ นปกติ การทําสมาธิจงึ ไม่ได้ มีผลในการเปลี่ยนแปลงจิตใจใดๆ ทังสิ ้ ้น เมื่อไม่ ปฏิบตั ิตามข้ ออบรมเพื่อขัดเกลาจิตใจตามขันตอน ้ ก็ไม่สามารถไปถึงเป้าหมายได้ หรื อการฝึ กฝนตนที่ไม่ได้ อยู่ในวิถีชีวิต แยกการฝึ กฝนที่จะเรี ยนรู้ ทําความเข้ าใจตนเองออกจากการใช้ ชีวิตประจําวัน เช่น เข้ าหาธรรมเมื่อมีทุกข์เท่านัน้ หรื อเริ่ มทําโยคะและทานมังสวิรัติเมื่อเป็ นโรคร้ าย เมื่อวิถีที่เป็ นองค์รวม ถูกตัดทอนหรื อแยก ส่วนเช่นนี ้ ก็แทบจะไม่มีผลใดๆ ต่อการเปลี่ยนแปลงจิตวิญญาณภายในเลย
90
2. ขาดความเข้ าใจเบื ้องต้ นในเป้าหมายที่ตนต้ องบรรลุ และปฏิบตั ิตนไม่สอดคล้ องกับเป้าหมายนัน้ ความเข้ าใจในจุดหมายสูงสุดของการฝึ กจิตในพุทธศาสนา คือ การเข้ าถึงสภาวะนิพพาน อันหมายถึง สภาพที่ดบั กิเลส และกองทุกข์แล้ ว ภาวะที่เป็ นสุขสูงสุด เพราะไร้ ทกุ ข์ เป็ นอิสรภาพสมบูรณ์ แต่การปฏิบตั ิอย่างพากเพียรพยายามเพื่อที่จะเข้ าถึง สภาวะนันกลั ้ บเป็ นอุปสรรคในตัวมันเอง เพราะสภาวะนิพพานไม่ใช่สภาวะที่จะได้ มา หรื อเอามาเป็ นของตน ในเมื่อจุดนันคื ้ อ การสละ ละ วาง ทุกสิ่งทุกอย่าง จนไม่มีแม้ กระทัง่ ตนเอง แล้ วจะมีอะไรให้ “มี”, “ได้ ” หรื อ “เอา” ในเบื ้องต้ นนัน้ อาจทําให้ เรามีทศั นคติที่แยกทางโลกออกจากทางธรรม โดยคิดว่าทางธรรมบริ สทุ ธิ์ ทางโลกสกปรก ก็ เลยจะมุ่งขจัดกิเลสขัดเกลาตนเองเพื่ อที่จะ “มี” สภาวะที่สูงส่งขึน้ จนไม่ได้ ทําความเข้ าใจกับกิเลสนัน้ และอาจเกิดอาการ รังเกียจผู้ที่มีศีลน้ อยกว่า ดูถกู ผู้ที่ให้ ทานน้ อยกว่าหรื อฝึ กภาวนามาน้ อยกว่า นัน่ เองที่ทําให้ อตั ตาของเรายิ่งพอกพูนขึ น้ ผู้ปฏิบตั ิบางคนอาจเกิดอาการหนีโลกเข้ าหาธรรม ปฏิเสธความจริ งในตัวเองที่มีทงดี ั ้ และร้ าย และหนีความวุ่นวายใจ ของตัวเองไปพักจิตไว้ ในสมาธิ หรื อเพื่ อที่จะ “ได้ ” ความสุข ความสงบ ทํ าให้ จิตใจไปแช่อยู่กับสภาวะแห่งการดู การรู้ หรื อ วิญญาณขันธ์ แต่เพราะจิตใจนัน้ เป็ นสภาวะชั่วคราว ที่ถูกอุปโลกน์ ขึน้ มาเพื่อเกือ้ กูลโลกนีเ้ ท่านัน้ การเอาจิตใจมาเกาะเกี่ยว เหนี่ยวรัง้ หรื อเหนียวแน่นกับการดู การรู้ ในทุกอิริยาบถ ทุกความรู้ สกึ นึกคิดทุกอารมณ์ จนกลายเป็ นสิ่งเสพติดขึ ้นมา จนติดธรรม ติดการดู การรู้ เป็ นการไปหลงฝึ ก เพราะความเป็ นจริ งแห่งความไม่ยดึ ติด คือ ไม่มีจิต หรื อ ไม่มีความเป็ นจิตใดๆ ทังสิ ้ ้น การรู้ รูป เวทนา สังขาร แต่มาติดที่วิญญาณ หรื อตัวรู้ ตัวดูนนั ้ ยากแก่การคลายเป็ นที่สดุ เพราะผู้ปฏิบตั ิมกั จะเข้ าไปแช่ อยู่กับการดู การรู้ โดยเข้ าใจว่าเป็ นการตื่น เป็ นการปฏิบัติที่ถูก เพราะมีสติ สมาธิ สัมปชัญญะครบถ้ วน แต่การรวมจิต รวม พลังงาน เพื่อสร้ างจิตมารองรับการดูการรู้ เป็ นเรื่ องคับแคบ และไม่เป็ นธรรมชาติ ความติดพัน เหนียวแน่นกับการดู การรู้ การสังเกต การพิจารณา คือ ตัณหา คือการพยายามยึดนัน่ เอง ซึง่ ในสัจธรรม นัน้ มันไม่ยึดอยู่แล้ ว เปลี่ยนแปลงตลอด เมื่อไม่ยึด ไม่เหนียวแน่น ไม่คบั แคบอยู่กบั ตัวเอง ก็เริ่ มคลายจากทุกสภาพการณ์ ทุก สภาวะ ไม่จําเป็ นต้ องสร้ างวิธีการขึ ้นมาเพื่อหลอกตัวเอง หรื อหลอกว่ามีตวั เอง มีจิตอยู่ แม้ แต่ปัจจุบนั ก็ไม่เอา ก็เริ่ มกว้ าง เริ่ มไร้ ขอบเขต ตรงต่อความเป็ นจริ งไปเอง เหล่านี ้มิใช่การเจริ ญหรื อดําเนินจิตใดๆ ทังสิ ้ ้น ไม่ได้ อาศัยความพยายามละ ตัด ดับ ของ “ตัวเอง” แต่คลายและวาง “ตัวเอง” ลง โดยไม่ต้องคอยเริ่ มหรื อคอยจบแบบไหน เพราะมันจบอยู่แล้ ว วางอยู่แล้ ว ว่างอยู่แล้ ว หรื อนิพพานอยู่แล้ ว เรี ยกว่า ทุกขณะมันมีความว่างอันหมดจดสมบูรณ์ อยู่แล้ วในตัวเอง ถ้ าใช้ “ตัวเอง” พยายามในการรู้ การเห็น ก็จะเป็ นกลายเป็ นโมหะ หรื อเห็นผิดไปจากความจริ งทันที ถ้ าใช้ ความพยายามกับความสงบกับนิพพาน จะกลายเป็ นความดิ ้นรนไปทันที ใช่หรื อไม่ว่า เป้าหมายอื่นไปถึงได้ เพราะความพยายาม แต่เป้าหมายทางจิตวิญญาณถึงได้ เพราะทิ ้ง “ตัว” ผู้กระทํา หรื อผู้พยายามนันเสี ้ ยเอง 91
ข้ อสังเกตและข้ อเสนอแนะ ใช่หรื อไม่ว่า การพยายามหยุดการทํางานของจิตในโยคะ ยังอยู่ในขันของทวิ ้ นิยม เป็ นการเจริ ญสติที่ยงั มีความเป็ นคู่ อยู่ (แยกส่วนกันระหว่าง ปุรุษะ กับ ประกฤติ ) ยังมีผ้ ดู ู ผู้ร้ ู และสิ่งที่ถูกรับรู้ อยู่ แม้ สดุ ท้ ายแล้ วจะมีการปล่อยอาตมันกลับคืนสู่ พรหมมัน หรื อปรมาตมัน แต่อาตมันก็ยงั เป็ นอัตตาที่ถกู ควบคุมให้ สงบนิ่งกับการรู้ อยู่ เมื่อออกมาจากสมาธิ ก็ยงั เป็ นทุกข์อยู่ด้วย ไม่เห็นความจริ งของธรรมชาติที่ว่า เราไม่สามารถควบคุมอัตตาได้ ตลอดเวลา เพื่อไม่ให้ ทุกข์ แต่เราสามารถที่ จะไม่ทุกข์ได้ ด้วย การปลดปล่อยตัวเองออกจากพันธนาการของอัตตา ข้ าพเจ้ าคิดว่า คําว่า “นิ่ง สบาย ใช้ แรงแต่น้อย มีสติร้ ู ตวั ” ที่บอกถึงหัวใจของการทําอาสนะนัน้ นอกจากการรวมกาย และจิตแล้ ว ยังสามารถเพิ่มเติมความหมายไปได้ มากกว่าการควบคุมจิตเพื่อสมาธิในแบบของโยคะด้ วย นัน่ คือ ความหมายในแบบของพุทธ ที่หมายถึงการลดละ การคลายตัวตน ของผู้พยายาม หยุดการดิ ้นรนทางจิตในการ พยายามไปให้ ถึงเป้าหมายใดๆ ทังสิ ้ ้น และการมีสติร้ ู ตวั นอกจากความรู้ ตวั ทัว่ พร้ อมแล้ ว ยังอาจหมายถึง การละ วาง สติร้ ู ตวั ของอัตตาอับคับแคบ เพื่อหลอมรวมทังหมด ้ ทังการดู ้ การรู้ ผู้ร้ ู และสิ่งที่ถกู รู้ เข้ าสูม่ หาสัมปชัญญะอันไร้ ขอบเขต ซึง่ ไม่ใช่พรหม มัน แต่เป็ นธรรมชาติของความว่างอันไร้ ขอบเขต ที่ใช่วา่ จะไม่มีอะไร แต่เคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยู่ทกุ ขณะ
92
โยคะ แก้ ปวดท้ อง ถ้ าหากให้ ผมทําวิจยั เล่มนี ้ก่อนที่จะมาอบรมหลักสูตรครูที่สถาบันโยคะวิชาการ ผลออกมาจะเป็ น คนละเรื่ องกับสิ่งที่ผมจะนําเสนอเลยทีเดียว เพราะโยคะในวันนัน้ กับความรู้และความเข้ าใจที่ได้ ตลอด ระยะเวลา 2 - 3 เดือนที่ผ่านมานี ้ เรี ยกได้ ว่าพลิกจากหน้ ามือเป็ นหลัง..เอ่อ มือ เลยทีเดียว
ก่อนที่จะมาเรี ยนโยคะที่สถาบันโยคะวิชาการแห่งนี ้ ความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับโยคะคือการออกกําลัง กายชนิดหนึง่ หลังจากที่ได้ มาเรี ยนและฝึ กโยคะที่นี่ สิ่งหนึง่ ที่ดีขึ ้นโดยที่เราเองไม่ทนั ได้ สงั เกตุก็คืออาการ ท้ องอืดท้ องเฟ้อที่เคยเป็ นประจํามีอาการดีขึ ้น คือ มีอาการน้ อยลงจนแทบจะหายไปเลย แต่ก็ไม่ร้ ูสกึ แปลกใจว่าทําไม เพราะหลังจากที่ได้ เรี ยนที่สถาบันโยคะวิชาการแห่งนี ้ คือ โยคะ จะเน้ นที่การกดนวดใน ช่องท้ อง หรื อเป็ นการบริ หารอวัยวะภายใน เพราะอวัยวะภายในช่องท้ องมีความสําคัญต่อการมีสขุ ภาพที่ ดี
จึงได้ รวบรวมข้ อมูลของคนที่เล่นโยคะแล้ ว ปั ญหาของระบบภายในช่องท้ อง ไม่ว่าจะเป็ นท้ องอืด ท้ องเฟ้อ ฯลฯ รวมทัง้ อาการปวดประจําเดือน ที่เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ ้น
ขอบคุณอาจารณ์ทกุ ท่าน รวมถึงเพื่อนๆ พี่ๆ ทุกคน ที่ได้ ให้ ความรู้ และ ความเข้ าในการเรี ยนการสอนที่ดี ขึ ้นมากครับ
นาย อิทธิราช ปิ ตพุ รหมพันธุ์ (เอ็กซ์)
93
โรคลาไส้ แปรปรวน วิธีแก้ : โยคะ ความถี่ : สัปดาห์ละ 4 ชัว่ โมง เหตุผล : โรคนี ้ยังไม่ทราบเหตุผลแน่ชดั วินิจฉัยและรักษาได้ ยาก อาการอาจมี เช่น ท้ องอืด ท้ องผูก ท้ องเสีย เสียดท้ อง แต่นกั วิจยั พบว่าการบําบัดที่เน้ นทังด้ ้ านร่างกายและจิตใจจะให้ ผลดี ผู้เชี่ยวชาญด้ าน ลมในลําไส้ ของมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย ในเมืองแวนคูเวอร์ พบว่า โยคะสามารถบําบัดอาการนี ้ได้ ผู้ที่ได้ เรี ยนโยคะโดยใช้ ค่มู ือสอนทางดีวีดี และได้ เล่นโยคะสัปดาห์ละ 4 ชัว่ โมง มีอาการเกี่ยวกับท้ องไส้ ลดน้ อยลงอย่างมาก และมีความวิตกกังวลน้ อยลง เมื่อเทียบกับกลุ่มเปรี ยบเทียบซึง่ ออกกําลังกายแบบ ธรรมดา งานวิจยั อีกชิ ้นหนึง่ ของมหาวิทยาลัยเบอร์ มิงแฮม พบว่า การทํากิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย รวมทังโยคะ ้ สัปดาห์ละ 5 วัน ช่วยลดอาการนี ้ได้ เหตุที่ช่วยได้ นนั ้ เพราะนอกจากโยคะช่วยบําบัดร่างกายแล้ วยังช่วย บําบัดจิตใจด้ วย วิธีแก้ อื่น ว่ายนํ ้าหรื อเล่นแอโรบิกในนํ ้า สัปดาห์ละ 3 - 5 ครัง้ ที่มา :
Healthcorners.com
วันที่โพสต์ : 2009-07-02
94
การเรี ยนโยคะเป็ นวิธีออกกาลังกาย "ที่ดีสุด" คุณฐิ ตินนั ท์ ตันติถาวร (โอ๋ ) อายุ 25 ปี กําลังศึกษาต่อปริญญาโท MBA การท่องเที่ยวที่สวนดุสิต Q:
เรี ยนโยคะแล้วมี การเปลี ่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ทางด้ านรูปร่างเมื่อก่อนจะเป็ นคนที่สะโพกและบันท้ ายใหญ่ พอได้ มาเรี ยนโยคะก็ร้ ูสกึ ว่าสะโพกและบัน ท้ ายลดลงจากเดิม ส่วนทางด้ านระบบร่างกาย จากเดิมจะเป็ นคนที่ถ่ายยาก 3 วันถึงจะถ่าย พอได้ มา เรี ยนโยคะเดี๋ยวนี ้ก็กลับมาถ่ายทุกวันเป็ นปกติ และเมื่อก่อนช่วงก่อนและระหว่างมีประจําเดือน จะมี อาการปวดท้ องมากทุกครัง้ พอได้ เรี ยนโยคะอาการปวดท้ องก็ค่อยๆ หายไป และก็ร้ ูสกึ ว่าสุขภาพร่างกายโดยรวมดีขึ ้น เพราะการเรี ยนโยคะจะมีการฝึ กลมหายใจที่ถกู ต้ อง ทําให้ ระบบต่างๆ ภายในร่างกายดีขึ ้น และนํ ้าหนักจาก 57 กก. ลดลงเป็ น 55 กก.โดยที่เรายังทานเป็ น ปกติ 3 มื ้อ Q:
คนอืน่ ทักอย่างไรบ้าง หลังจากไปเรี ยนโยคะ
ส่วนใหญ่เพื่อนและคนรู้จกั จะทักเรื่ องรูปร่างว่า ผอมลง เอวเล็กลง รูปร่างดูกระชับดูดีขึ ้น หน้ าใสขึ ้นดูเด็ก ผลดังกล่าวจึงทําให้ เพื่อนและคนรู้จกั สนใจถามว่าไปทําอะไรมา เลยบอกไปว่าเรี ยนโยคะ เพื่อนและคน รู้จกั ก็สนใจอยากเรี ยนโยคะบ้ าง
95
Q:
วิ ธีสารวจตัวเองว่าเกิ ดความเปลี ่ยนแปลงหรื อไม่ มี วิธีอย่างไร
มีค่ะ ลองเอาเสื ้อตัวเล็กที่เคยซื ้อเก็บไว้ นานแล้ ว กลับมาใส่ใหม่ กปรากฎว่าสวมได้ สบาย กางเกงยีนส์ กางเกงทํางาน และเสื ้อผ้ าที่ใส่อยู่ประจําก็ร้ ูสกึ หลวมไม่แน่นเหมือนเมื่อก่อน ใส่สบายมากขึ ้น Q:
สรุปว่าเรี ยนแล้วได้อะไรจากโยคะบ้าง
ตังแต่ ้ เริ่มเรี ยนโยคะมา เห็นความเปลี่ยนแปลงได้ ชดั จากร่างกายที่ดสู มส่วนและกระชับมากขึ ้น ระบบ ร่างกายภายใน เช่นระบบขับถ่ายดีขึ ้น อาการปวดท้ องเมื่อประจําเดือนมาหายปวด สุขภาพโดยรวมก็ดี ขึ ้น เลยอยากชวนให้ ทกุ ๆ คนที่รักสุขภาพมาเรี ยนโยคะกัน เพราะโยคะเป็ นการออกกําลังการที่ดีต่อ สุขภาพและระบบต่างๆ ทําให้ ระบบต่างๆ ทํางานอย่างสมดุล การเรี ยนก่อให้ เกิดสมาธิ ได้ หายใจอย่าง ถูกหลัก รู้สกึ ผ่อนคลาย การเรี ยนโยคะจึงเป็ นวิธีออกกําลังกายที่ดีสดุ มาเรี ยนกันเยอะๆนะค่ะ เพื่อ สุขภาพที่ดีค่ะ โยคะช่ วยให้ ชีวิต "มีความสุขขึน้ " ดร.พิม์มาดา วิชาศิลป์ (อาจารย์อ้อม) อายุ 34 ปี อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต Q: ฝึ กโยคะมานานเท่าไหร่ แล้ว
ฝึ กมาได้ 6-7 เดือนแล้ วค่ะ ตังแต่ ้ มิย. 51 Q:
ทาไมถึงเลื อกทีจ่ ะมาฝึ กโยคะ
ปกติเป็ นคนที่ออกกําลังกายมาตลอด แต่พอมาช่วงหลังๆเริ่มทํางานเลยไม่ได้ ออกกําลังกาย และเกิด ความเครี ยดแล้ วก็มีโรคประจําตัวคือโรค "กรดไหลย้ อน" เพราะฉะนันจึ ้ งมองหากีฬาที่เหมาะสมกับตัวเอง ในช่วงนี ้ 96
และสามารถคลายเครี ยดได้ ด้วย ประกอบกับไม่ค่อยมีเวลาที่จะไปออกกําลังกายตาม fitness และ เผอญมีนกั ศึกษาแนะนําให้ มาฝึ กที่นี่ เพราะว่าต้ องการที่จะฝึ กแบบตัวต่อตัวมากกว่า แล้ วก็อยากจะให้ คุณครูจะได้ ช่วยดูแลรักษาโรคให้ ด้วย Q:
ตอนแรกทีจ่ ะมาฝึ กโยคะคิ ดว่า โรคกรดไหลย้อนจะหายรึ เปล่า
ตอนแรกก็หวังไว้ นะคะ เพราะโรคนี ้จะเกิดจากร่ ายกายที่พกั ผ่อนไม่เพียงพอ ทานอาหารไม่เป็ นเวลา โดยเฉพาะประเด็นสําคัญคือ "ความเครี ยด" เราก็คิดว่า โยคะสามารถช่วยให้ ผ่อนคลายได้ ทําให้ จิตใจ สงบขึ ้น หลับสบายขึ ้น และคิดว่าโยคะเป็ นกีฬาที่ไม่เหนื่อยล้ าเหมือนกีฬาประเภทอื่นๆ เพราะว่าถ้ าเป็ น สมัยก่อนยังไม่เป็ นไรเพราะมีเวลาพักผ่อนเยอะ แต่เดี๋ยวนี ้งานหนักด้ วยและเวลาพักผ่อนก็น้อย และถ้ า เล่นกีฬาประเภทอื่นอาจจะทําให้ ปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อจนลุกไม่ไหวเราก็จะลําบาก เลยคิดว่าโยคะน่าจะ เป็ นทางเลือกที่ดีกว่าค่ะ Q:
6-7 เดื อนทีผ่ ่านมามี อะไรเปลี ่ยนแปลงบ้าง
โรคประจําตัว (กรดไหลย้ อน) ก็หาย จากที่ต้องพบคุณหมอตลอดก็หายแล้ ว หลับสบายขึ ้น รู้สกึ ดีกบั ตัวเอง เครี ยดน้ อยลง คือทกุครัง้ ที่มาเล่นก็จะรู้สกึ ผ่อนคลาย มีความสุขขึ ้นด้ วยจากที่เคยกังวลกับทุกเรื่ อง ก็จะดีขึ ้น ส่วนผลพลอยได้ ก็คือ รู้สกึ ว่าร่างกายกระชับขึ ้นด้ วย เพราะช่วงก่อนไม่ได้ ออกกําลังกายก็จะ อ้ วนมาก ตอนนี ้ก็ดีขึ ้นค่ะ นอกจากเป้ าหมายหลักเรื ่อง "กรดไหลย้อน" และ "ผ่อนคลาย" ทีส่ าเร็ จแล้ว ส่วนเป้ าหมายข้างเคี ยง เกี ่ยวกับรู ปร่ างหน้าตาเป็ นยังไงบ้าง Q:
ก็ร้ ูสกึ ว่าผอมลง รู้สกึ ว่ามีความสุขขึ ้น เพราะผู้หญิงเราพอรู้สกึ ว่าร่างกายดีหาเสื ้อผ้ าใส่ง่ายก็แฮปปี ข้ ึ ้น ทางเลือกในการเลือกเสื ้อผ้ าก็จะมากขึ ้น มันก็มีส่วนทําให้ ชีวิตมีความสุขด้ วยค่ะ
97
แล้วเห็นอาจารย์ บอกว่าเป็ นคนทีอ่ อกกาลังกายเป็ นประจาอยู่แล้ว อยากถามว่าการฝึ กโยคะ เปรี ยบเทียบกับการออกกาลังกายประเภทอืน่ มี ขอ้ ดี ขอ้ เสียอย่างไร และชอบแบบใหนมากกว่า Q:
ถ้ าจะให้ พดู จริงๆแล้ ว ถ้ าวัยเราเด็กกว่านี ้ เราก็จะชอบการออกกําลังกายที่ active ตลอดเวลามากกว่า ทําให้ ร่างกายกระฉับกระเฉง แต่ด้วยวัยตอนนี ้ก็ 34 แล้ ว ก็กงั วลเรื่ องหัวเข่าและข้ อเท้ า เพราะว่าข้ อเท้ า พลิกบ่อยและบางทีวิ่งหนักๆก็เจ็บหัวเข่า เลยคิดว่า ขณะนี ้เราควรจะเล่นอะไรที่เบากว่านี ้ และถ้ า เปรี ยบเทียบกันแล้ วผลเรื่ องสุขภาพก็จะเหมือนๆกัน แต่สามารถลดอาการบาดเจ็บได้ เพราะฉะนัน้ ถ้ามองถึงเรื ่องสุขภาพ ความแข็งแรง และผลข้างเคี ยงต่างๆ ก็ถือว่าโยคะเป็ นทางเลื อก ทีด่ ี ทีส่ ดุ รึ เปล่า Q:
ดีที่สดุ โดยเฉพาะสําหรับวัยเรา เราก็คิดว่าโชคดีที่เรายังไม่สายเกินไปที่จะรู้ จกั กับโยคะ เพราะสมัยก่อน เคยคิดว่าโยคะน่าเบื่อเพราะกว่าจะพลิกตัวแต่ละทีมนั ช้ ามาก แต่พอมาถึงจุดนี ้ก็คิดว่ามันก็เหมาะกับเรา และอาจจะเป็ นเพราะคุณครูของที่นี ้ให้ ความเอาใจใส่กบั เรา เพราะว่าเมื่อก่อนเคยฝึ กที่เมืองนอกก็ไม่ ค่อยมีความสุขกับมัน เพราะว่าเราไม่ค่อยรู้เรื่ องการปรับลมหายใจให้ ถกู ต้ อง แต่ตอนนี ้รู้สกึ ว่ามีความสุข และยังไม่อยากกลับไปเล่นกีฬาประเภทอื่น คิดว่าจะฝึ กโยคะไปเรื่ อยๆ และมันก็มีผลดีเยอะมากค่ะ
98
โยคะบาบัดโรค
โดย กวินทิพย์ สุทธิกิจพงศ์ อบรมครูโยคะ รุน ่ ที่ 10 สถาบันโยคะ วิชาการ 99
คาทักทาย ก่อนอื่นต้ องบอกก่อนว่า ถ้ ามองย้ อนไปประมาณ ปลายปี 2552 แล้ วก็อดที่จะนึกขําตัวเองไม่ได้ ว่า เวลาที่แฟนฉันบอกว่า อยากให้ ฉันไปหัดเล่นโยคะนะ เพราะโยคะเป็ นการออกกําลังกายที่ดี เป็ น การยืดเส้ นของกล้ ามเนื ้อ เป็ นการออกกํ าลังกายที่ ไม่รุนแรงกับร่ างกายและไม่หกั โหมเหมือนกับ การ ออกกําลังกายอย่างอื่น ฉันก็จะถามแฟนว่าโยคะมันเป็ นเป็ นอย่างไรล่ะ แฟนก็จะตอบว่าเหมือนที่พี่เล่น ทุกเช้ าไง ฉันก็ได้ ตอบไปทันทีโดยที่ไม่คิดถนอมนํ ้าใจแฟนเลยว่า “ว้ าย ไม่เอาหรอก ฉันไม่ใช่คนแก่นะ ถึงจะมาออกกํ าลังกาย ยืดแขน ยื ดขา เอียงซ้ าย เอี ยงขวา แบบนัน” ้ พอมา ถึงวันนี ้อยากจะบอกกับ ตัวเองว่า “เราช่างเป็ นกบอยู่ในกะลาเสียจริง” แต่ถ้าถามว่า ทําไมถึงได้ มาเล่นโยคะ ต้ องบอกว่าเป็ นความบังเอิญ (ที่โชคดีในปั จจุบนั ) ประมาณกลางปี 2552 ได้ มีโอกาส ไปบวชชีพรามณ์ ที่วดั หลวงพ่อสดธรรมกายาราม จัง หวัด ราชบุรี รู้ สึ ก ถูก จริ ต ตัว เองมาก ชอบในการนั่ง สมาธิ ม าก ทัง้ ที่ วัน ๆ หนึ่ง ต้ อ งนั่ง สมาธิ วันละ ประมาณ 4-5 ชัว่ โมง ก็ยงั ชอบ ตอนแรก ตังใจว่ ้ าจะบวช แค่ 7 วัน รู้สกึ ติดใจ จึงขอแฟนบวชต่ออีก 7 วัน รวมแล้ วเป็ น 14 วัน ตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน ปี 2552 จนมาถึงวันนี ้ก็จะครบ ปี แล้ ว ก็บวชมาตลอดทุกเดือน เดือนละประมาณ 2- 3 วันและตังใจ ้ ปวารณา ตัวว่า จะบวชทุกเดือนอย่าง นี ้ไปตลอด ถ้ าถามว่าเกี่ยวข้ องยังไงกับการที่ได้ มารู้จกั โยคะก็ต้องบอกว่าเกี่ยวข้ อง เพราะทุกวันนี ้ต้ องช่วย แฟนทํางานที่บริษัท ทุกวัน ขับรถไปเก็บเช็คลูกค้ าบ้ าง ถ้ าที่บริ ษัทส่งของไม่ทนั บางวันถ้ าของไม่เยอะเรา ก็จะช่วยบ้ าง ช่วงแรกก็ดีหรอก แต่มาระยะหลัง ๆ เริ่ มมีอาการเพลียเสียแล้ ว มันรู้ สึกว่าตัวเองอยากนอน ทังๆ ้ ที่ตวั เองก็น่าจะนอนเต็มตื่นนะ ก็เลยคิดว่า หรื อว่าเราไม่ค่อยได้ ออกกําลังกายนะ แฟนฉันก็คิดว่า ไม่ ไ ด้ แ ล้ ว คนช่ ว ยคนงานเริ่ ม ล้ า แล้ ว ก็ เ ลยมาบอกให้ ฉั น และลู ก อี ก 3 คนไปสมัค รเล่ น ฟิ ตเนส ที่ แคลิฟอร์ เนีย สาขาเอกมัย ซึ่งอยู่ใกล้ บ้าน ก็จะขยันไปเล่นพวกเครื่ องเล่นซะเป็ นส่วนมากในช่วงแรก พอ เมื่อได้ ขึ ้นไปชัน้ 2 ก็เล่นพวกสเต็ปเต้ น ตามผู้ฝึกและ พวกจักรยานเสือภูเขา 100
จนมาวันหนึง่ ก็ได้ เข้ าไปเล่นห้ องๆ หนึ่ง เห็นคนยืนเต็มห้ องเลย เราก็เลยเข้ าไปกับลูกสาว ก็เข้ าไป ยืนมองซ้ าย มองขวา เห็นเขาหยิบแผ่นอะไรสีฟ้าๆ ริมห้ องเลยไปหยิบมาปูพื ้นบ้ าง หลังจากนันไม่ ้ นานก็ มีคนเดินมาเป็ นผู้ชาย หุ่น ดีๆ ดําๆ หน้ าตาเหมือนคนอินเดีย แล้ วก็มานัง่ ยืดเส้ น ยืดสาย ก้ มหน้ า ก้ ม หลัง สักพัก ครึ่ งชัว่ โมงแรกผ่านไป รู้ สึกว่าทําไมเหงื่อเราไหลขนาดนี ้นะ ครึ่ งชัว่ โมงหลัง ก็เริ่ มไหว้ พระ อาทิตย์ พอหนึ่งชัว่ โมงผ่านไป โอโห้ ! เดินออกจากห้ องหวิวไปหมดเลย รู้ สึกขาเพลียมาก ไม่แน่ใจ นี่มนั ห้ องอะไร ก็เลยหันกลับมาที่ห้อง หน้ าห้ องเขียนว่า “โยคะ” เราก็คิดว่าทําไมไม่เล่นเหมือนที่แฟนเราเล่น เลยนะ เราก็เลยถามลูกสาวว่า ชอบไหม ลูกสาวบอกว่าไม่ชอบให้ คนตัวดํามาจับตัวเลย เวลาก้ มน้ อยก็ มาจับตัวให้ ก้มลงอีก เขาบอกว่าตอนนันปวดมาก ้ และนึกโกรธด้ วย เป็ นอันว่าเราก็ไม่ได้ มาเล่นอีกพัก หนึง่ จนมาวันหนึง่ ได้ ไปที่ธนาคารกรุงศรี อยุธยา สาขาบางรัก ไปทําเอกสารเกี่ยวกับการออกของจาก ต่างประเทศ จึงได้ คยุ กับคุณแอน (ภรหทัย) ครู รุ่น 10 เหมือนกัน ได้ คยุ เรื่ องฟิ ตเนส แอนก็บอกว่าเขาก็ เป็ นสมาชิกที่นี่เหมือนกัน แต่เขาเล่นโยคะ เราก็นกึ ขึ ้นได้ ว่าเราก็เคยเข้ าไปเล่น ครัง้ หนึ่ง เพื่อนแอนก็บอก ดีนะ เพราะจะช่วยเรื่ องสุขภาพเราดีมากเราก็บอกว่า ชอบเหมือนกันเพราะเรารู้ สึกว่า มันเข้ ากับสมาธิที่ เราชอบได้ ดีมาก หลังจากนัน้ ก็ นัดกันไปเล่นตอนเย็นด้ วยกัน จนมาวันหนึ่ง แอนบอกว่า เบื่อทํางาน ธนาคารแล้ ว แล้ ว อยากไปเป็ นครู สอนโยคะ เราก็ บ อกว่ า ก็ ดีน ะ สนับ สนุนเต็ ม ที่ เขาก็ เ ช็ค ดูหลายที่ เหมื อ นกั น นะ จนโทรมาบอกฉั น ว่ า ที่ ส ถาบัน วิ ช าการนี่ ดี น ะ ราคาไม่ แ พงและที่ สํ า คัญ ได้ รั บ ใบ ประกาศนียบัตรด้ วย เขาก็ชวนฉัน ช่วงแรกก็ลงั เลเพราะเราเล่นไม่เก่ง และที่สําคัญต้ องมาเรี ยนวันเสาร์ ซึ่งเราต้ องไปต่างจังหวัดทุกเสาร์ ตลอด และเราก็นึกสงสารเพื่อนกลัวไม่มีเพื่อนเรี ยน ก็เลยคิดว่า เราก็ สนใจโยคะนี่นา เล่นก็พอเล่นได้ แล้ วก็เลยคิดว่า เราน่าจะมาเรี ยนรู้ โยคะในภาควิชาการบ้ างดีกว่าไหม ก็ เลยสมัครเข้ ามาและแล้ วสถาบันโยคะวิชาการนี่เองที่ทําให้ ความเข้ าใจ “โยคะ” เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เป็ นแบบไหน อย่างไร ติดตามได้ ค่ะ
101
ขอขอบพระคุณ คุณครู ทกุ ท่านที่ตงใจให้ ั้ ความรู้ เราอย่างเต็มที่ ครู ฮิโรชิ ,ครู ฮิเดโกะ, ครู กวี, ครู อ๊ อด, ครู เล้ ง, ครู หมู, ครู ดล, ครู เบิร์ด และทีมงานของสถาบันโยคะวิชาการที่ช่วยเหลือและประสานงาน ต่างๆ มากมาย ขอขอบคุณคุณกลอย คุณปอม และขอขอบคุณเพื่อนแอนที่ทําให้ ฉันรู้ จกั โยคะและรัก โยคะเหมือนในวันนี ้ ปูดํา
วิถีโยคะที่ได้ เข้ ามาสัมผัส จําได้ ว่า สมัยตอนเล่นที่ฟิสเนส จะไม่เข้ าใจการเล่นที่แท้ จริ ง เข้ าไปเล่นโยคะใหม่ๆ ก็จะเล่นโยคะ ใกล้ ป้าอายุมากๆ รู้ สึกจะเป็ น ท่าเหยียดหลัง (ปั ศฉิมอาสนะ) ตัวเราก้ มลงไป ได้ แค่นิดเดียว ทําไมคุณป้า ก้ มลงแขนติดพื ้นนะ ทําให้ การเล่นโยคะในช่วงแรกเต็มไปด้ วยความอยากเอาชนะ จนได้ มาเรี ยนที่สถาบัน นี ้ ได้ เรี ยนรู้ ทังภาคทฤษฎี ้ และภาคปฏิบตั ิ ทําให้ เราทราบว่า มันไม่ใช่เพียงแค่การออกกําลังกาย มันไม่ใช่ เพียงแค่ การทําให้ รูปร่างสวยงาม แต่มนั คือ วิถีของการพัฒนามนุษย์ทงกายและใจ ั้ โดยการเริ่ มต้ นจาก ยมะและนิยมะ คนเราพยายามที่จะ ไขว่คว้ าเรี ยนรู้ หลายๆ เรื่ องในชีวิตของเรา ที่มนั ไกลตัว เราเรี ยนรู้แต่สิ่งที่อยู่ภายนอกตัว เรารู้ วิธีการหาเงิน รู้ วิธีการเก็ บเงินแต่บางที เรากลับลื มไป ที่ จะเรี ยนรู้ เรื่ อง ของร่ างกายและจิต ใจของเรา เรารั กสิ่งที่ อ ยู่ ภายนอกตัวเรา มากกว่าตัวเรา เสียอีกหรื อนี่เป็ นประสบการณ์ ให้ ฉันไว้ เป็ นอย่างดี ในจํานวนที่ฉันได้ ไป ร่ วมงานศพ 95% ส่วนใหญ่
เสียชีชิตจากโรคมะเร็ ง ทังๆ ้ ที่บางท่านอายุยงั ไม่สมควรแก่เวลาเลย
และนี่ก็เป็ นคําถามที่เกิดขึ ้นในใจฉัน แล้ วก็ พยายามที่จะหาหนทางไปสู่อิสรภาพของการใช้ ชีวิตอย่างมี ความสุข การได้ ร้ ูจกั วิถีโยคะ ทําให้ ฉนั ได้ ร้ ูว่า วันที่ฉนั รํ่ ารวยที่สดุ คือวันที่ฉนั พอใจ กับ ทุกสิ่งที่มีอยู่ในขณะนี ้ ฉันรํ่ ารวยความรัก ความเมตตา ต่อตนเอง และต่อเพื่อนมนุษย์ ฉันรํ่ ารวยมิตรภาพที่เกิดขึ น้ ระหว่าง การเดินทางของชีวิต (มันทําให้ ฉนั แอบยิ ้มกับตัวเอง ได้ อย่างมีความสุขเงียบๆคนเดียว) มันทําให้ ฉันต้ อง 102
ขอบคุณ ข้ าวทุกจาน อาหารทุกมื ้อ ที่หล่อเลี ้ยงร่ างกาย ขอบคุณลมหายใจ ที่เข้ าไปสู่ร่างกาย และทํา หน้ าที่สนั ดาปอาหารนัน้ ให้ แปรเปลี่ยนไปเป็ น เลือด เป็ นเนื ้อหล่อเลี ้ยงชีวิต มันทําให้ ฉันอยากแบ่งปั นและ เผื่อแผ่สิ่งที่มีอยู่ไปให้ กบั คนอื่น ได้ รับความสุขเหมือนอย่างที่ฉันเป็ น และในที่สดุ มันทําให้ ฉันอยากแบ่งปั น เรื่ องโยคะ ส่งต่อสิ่งที่ดี ๆ เหล่านี ้ให้ กับเพื่อนมนุษย์ ถึงแม้ จะไม่ได้ เงินทองหรื อของตอบแทนใด แต่สิ่งที่ รํ่ ารวยมากกว่า คือ ความรู้สกึ ที่มีอยู่ภายในใจฉัน “อิ่มเอม”
บาบัดโรค เรามาเข้ าหัวข้ อที่ทํางานวิจยั ดีกว่าค่ะ สิ่งแรกที่ฉนั ได้ สมั ผัสวันแรก ที่เริ่ มฝึ กโยคะ กับครู ชาวอินเดีย โอ้ โห! ร่ า งกายทํ าไมมันปวดเมื่ อยกล้ ามเนื อ้ ไปหมด หลาย ๆ คนที่ เคยฝึ กในสตูดิ โอทั่วไป คงได้ รั บรู้ ความรู้ สึกแบบนี ้ และสถานที่ ก็โปร่ งโล่งระบาย อากาศเย็นดีเพราะติดแอร์ แต่ทําไมเหงื่อมันออกมาก ขนาดนี ้ ครู บอกว่า ในช่วงแรกของการฝึ กก็เป็ นแบบนี ้แหละ เอ้ า ! เชื่อครู ฝึ กมันต่อไป ปวดเมื่อยก็ทน ๆ กันไป ยังจําคํานี ้ได้ ดี นิ่งสบาย ใช้ แรงแต่น้อย และมีสติได้ คงอยู่ในท่านิ่งสบาย (แต่เชื่อไหมว่าตอนนันมั ้ น ทรมานมาก แค่ไหน ไม่อยากจะพรรณนาเลย) กว่าร่ายกายจะชิน และเข้ าที่ก็ปาเข้ าไปเกือบสองอาทิตย์ อาศัยว่าก่อนหน้ านี ้มีเล่น ที่ฟิสเนสมา บ้ างนะ ไม่เช่นนันคงจะดู ้ ไม่จืดเลยแหละ บางทีก็ แวบ ๆ เหมือนจะเข้ าใจไปเองว่า มันน่ าจะต้ องใช้ สมาธิ มากๆ ถึงจะคงค้ างท่าได้ อย่างง่ายๆ เวลาครู นบั ถอยหลัง ในขณะค้ างท่าทีไร ในใจฉันก็คิดว่า “เมื่อไหร่ มันจะถึง ซีโร่ สักทีนะ จะแย่อยู่แล้ ว” หากหล่นลงมาก่อน ก็จะได้ ยินเสียงดังๆ ดุมาว่า “Never give up! Try &Try & Try Again”
แล้ ววันแห่งคําถามที่มีอยู่ในใจก็เริ่มคลี่คลายด้ วย สถาบันโยคะวิชาการ ด้ วยท่าอาสนะพื ้นฐาน 14 ท่า และท่าพิเศษเพิ่มเติม จากเคยฝึ กอย่างหนักหน่วงในวันแรก เจอด้ วยเทคนิคการเกร็ งและคลาย ท่า จระเข้ ท่างู ท่าตัก๊ แตน ท่าคันไถ (ฝึ กอย่างนี ้แล้ วฉันจะผอมลงได้ อย่างไรละนี่ เกิดคําถามในใจอีกแล้ ว) เอ้ า! เชื่อครู ฝึ กๆ ไปก่อนละกัน และแล้ วก็มีคําตอบด้ วยหลักการของวิชาการจริงๆ
103
โรคปวดขา การฝึ กโยคะ คือการรวมกายกับจิตใจเป็ นหนึ่งเดียวกัน สําหรับตัวเองแล้ วต้ องบอกก่อนเลยว่า เป็ นคนชอบปวดขามากๆ จนที่บ้าน รู้ กนั ว่า ลูกสาวคนเล็ก คือหมอนวดประจําบ้ าน ที่เราจองตั วทุกเย็น เหยียบขาค่ะเหยียบทุกวัน จนคิดว่าเราปวดทุกวันยังงี ้ ลูกก็ต้องเหยียบทุกวัน ถ้ าจะให้ เหยียบนานๆ ส งสัยต้ องมี Tip กันสักหน่อยแต่พอได้ มาเรี ยนที่นี่ ต้ องขอบอกตามตรงว่าคุณลูกสาวจะไม่ค่อยชอบสัก เท่าไร เพราะว่าทําให้ รายได้ ของคุณเธอขาดไป จนวันหนึ่ง คงจะสงสัยมานานจึงเอ่ยถามเราว่า “ มามี ้ ทําไมเดี๋ยวนี ้มามี ้ไม่ปวดขาแล้ ว” เราก็ได้ แต่อมยิ ้ม ขําในความเดียงสาของลูก จริงสิ เราก็ไม่อยากจะเชื่อ เลย ว่าจากที่เราปวดขานัน้ มันหายไปได้ ยงั ไง ซึง่ ปกติจะต้ องเสียค่านวดจับเส้ น 2 เดือน 500 อยู่ประจํา เลยมาเป็ นคําถามกับตัวเอง และก็ได้ คําตอบว่า การที่เราบริ หารกล้ ามเนื ้อ เส้ นเอ็น ข้ อต่อกระดูก มัน เป็ นการยืดและบริหารส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทําให้ กล้ ามเนื ้อ เส้ นเอ็น ข้ อต่อกระดูก มีความแข็งแรงและ ยืดหยุ่น ไม่ตงึ ตัว ทําให้ เลือดและออกซิเจนไปเลี ้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายเราได้ อย่างทัว่ ถึง จึงทําให้ เรา ไม่ปวดขาหรื อปวดเมื่อยตามร่ างกายอย่างที่เราเคยเป็ น ซึ่งมันก็ทําให้ ร่างกายเรากระชับได้ สดั ส่วนอีก ด้ วย
โรคท้ องผูก ปกติตวั เราจะเป็ นคนท้ องผูก ทังๆ ้ ที่กินนํ ้าเยอะ ตังแต่ ้ ตวั เองมาเล่นโยคะช่วงเช้ าทุกวันทําให้ เรา ขับถ่ายได้ เกือบทุกวัน อาจเป็ นเพราะ ท่าของอาสนะมันจะมีการดันตัว พับตัว ก้ มตัว เอียงตัว จึงทําให้ อวัยวะต่างๆ ภายในร่ างกายของเรา ได้ รับการกดนวดจึงทําให้ อวัยวะ เช่นกระเพาะอาหาร สําไส้ เล็ก ลํ า ไส้ ใ หญ่ ตับ ม้ า ม ปอด หัว ใจ และอวัย วะต่ า ง ๆ ซึ่ง เป็ นอวัย วะภายในของเรา ทํ า งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น
104
โรคไมเกรน ก่อนมาเล่นโยคะ โรคที่มาเยือนใหม่ๆก็คือ โรคไมเกรนนัน่ เอง ซึ่งนานๆ ที
จะกําเริ บ
มาซักที จึงคิดว่า เอ.. ถ้ าเวลาช่วงที่กําเริบ เราต้ องกินยาแก้ ปวดไมเกรน ซึง่ มัน จะมีสารสเตียรอยด์ ผสม อยู่ ในยาบางตัว ถ้ าเรากินมากไป นานๆ เข้ าก็คงจะไม่ดี กับร่ างกายเราแน่เลย ก็เลยคิดว่าโยคะ น่าจะ เป็ นทางเลือกที่ดี สําหรับเรา ซึง่ มาวันนี ้ก็ได้ คําตอบชัดเจนว่า หลังจากที่เราได้ ฝึกโยคะแค่เพียงท่าอาสนะ ง่ายๆ ช้ าๆ ใช้ หลักการนิ่งสบาย ใช้ แรงแต่น้อย และมีสติซึ่งเราเล่นเช้ า - เย็น ช่วงละ ครึ่ งชัว่ โมง เพราะ งานบ้ านเยอะทํ าให้ มีเวลาจํ ากัด ก็ สามารถทํ าให้ เราไม่ต้ องพึ่งยาได้ ทํ าให้ ช่ว งนี ้ เวลาในการกิ นยา ห่างไปอย่างไม่น่าเชื่อ
โรคไขมันในเลือดสูง เมื่อก่อนมาเล่นโยคะ ช่วงบ่ายเราจะรู้สกึ ว่า ร่างกายเพลียมากตาปรอย อยากนอนทังๆ ้ ที่ไม่ง่วง นอน แต่ถึงแม้ นอนมันก็ไม่หลับ เ วลานอนตอนกลางคืนก็ชอบตื่น ตี 2 ตี3 (ไม่ร้ ู จะตื่นมาทําไม) พอ ตอนเช้ าจะรู้ สึก ไม่เบิกบาน จะรู้ สึกง่วงนอนงงๆ ไม่แจ่มใส
จนไปหาหมอ ตรวจสุขภาพจึงได้ ร้ ู
ว่า ไขมันในเลือดสูง จึงทําให้ มีอาการง่วงนอน สมองไม่แจ่มใส แต่หลังจากมาฝึ กโยคะแล้ ว ได้ ประมาณ 1 เดือน ผ่านไป ก็จะหลับลึก หลับสบาย ทุกวันนี ้ตื่นประมาณ ตี 4 เลย ซึ่งเป็ นอะไรที่ดีมากๆ โดยที่ไม่ ต้ องพึง่ ยา
ลดความอ้ วน ของแถมในการเล่นโยคะ อีกอย่างก็คือ นํ ้าหนักลดลงไป 5 กิโลกรัม ตังแต่ ้ ที่เล่นโยคะมา อาจเป็ น เพราะท่าอาสนะ ทําให้ เรามีการกดนวดในช่วงท้ อง ทําให้ ระบบการย่อยทํางานได้ ดีขึ ้น เราก็จะหิวเป็ น เวลา ไม่กินจุกจิก เหมือนเมื่อก่อน ที่จะกินลืมมื ้ออาหารตลอด จนทุกวันนี ้แฟนจะพูดเสมอว่า “เหมือนได้ 105
เมียคนใหม่” เพราะรู ปร่ างเปลี่ยนไป จากกางเกงที่เคยนุ่งได้ ตอนนี ้ก็น่งุ หลวมแล้ ว ซึง่ ก็ดีทีเดียวจากที่ เมื่อก่อนเล่นไม่ได้
นึกอยากลดนํ ้าหนัก ถือว่าเป็ นผลพลอยได้
สรุ ป โยคะ เป็ นเป้าหมายหนึง่ ที่ได้ รับความสนใจ ด้ วยตระหนักว่าผู้คนส่วนใหญ่ ในยุคนี ้สนใจในเรื่ องรู ปร่ างและสุขภาพ ซึ่งไม่ใช่แค่ได้ สุขภาพทางกายย่างเดียว แต่จะมีสุขภาพทางใจ เพิม่ มาด้ วย ในการที่ได้ มาเรี ยนที่สถาบันนี ้ ทําให้ เรารู้ว่าเราสามารถที่จะไปถ่ายทอดให้ คนอื่นทําได้ โดยไม่ต้อง กังวลว่าจะบาดเจ็บ เพราะฝึ กผิดขันตอนหรื ้ อผิดท่า ขอเพียงมีความมุ่งมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักของการนิ่งสบาย ใช้ แรง แต่น้อยและ มีสติ อย่าใจร้ อน เพราะธรรมชาติย่อมไม่สามารถบําบัด ได้ เร็ วเท่ากับการกินยา แต่สิ่งที่ดีกว่าคือ ไม่มี ผลข้ างเคียง และถ้ าปฏิบตั ิต่อไปเรื่ อยๆ คุณจะหายจากโรคนันๆ ้ อย่างถาวร หรื ออย่างน้ อยสามารถอยู่กบั โรคที่เป็ นอย่างมีความสุขขึ ้นอย่างแน่นอน นอกจากนันผลของการฝึ ้ กโยคะ ยังทําให้ เราเป็ นคนอดทน มีจิตใจที่เข้ มแข็ง ปล่อยวางสิ่งต่าง ๆ ได้ มากขึ ้น และสิ่งที่นกึ ไม่ถึงก็คือมีรูปร่าง ที่ดีขึ ้นเป็ นผลพลอยได้ ด้วย การฝึ กเท่า กับ ฝึ กทัง้ กายและจิ ตใจไปพร้ อมๆ กัน อยากชวนทุก ๆ คนที่ สุข ภาพไม่แข็ง แรงหรื อ ต้ องการความแข็งแรงทังร่้ างกายและจิตใจ มาเรี ยนโยคะกันดีกว่าค่ะ สุขภาพกายใจที่ดี คือ ชีวิต ธุรกิจ คือ ของแถม ยิ่ง นิ่ง ยิ่ง ยิ่งใหญ่ 106
งานวิจัย เรื่อง ธรรมะกับคนโยคะ โดยพรพรรณ อุดมพงษ์ สุข
107
คานา หลังจากที่ข้าพเจ้ าได้ รับรู้จากคุณครูวา่ นักเรี ยนต้ องทํางานวิจยั เรื่ องโยคะที่เราเรี ยนกันมา ข้ าพเจ้ าบอกกับ ตัวเองว่า นี่ฉันกําลังเรี ยนปริ ญญาโทอยู่หรื อนี่ ข้ าพเจ้ ารู้สกึ เซ็งอย่างมาก ชนิดที่ไม่ร้ ูจะบรรยายความเซ็งกับใคร อย่างไร ให้ คนอื่นเข้ าใจได้ ว่าเราเซ็งมากขนาดไหน แล้ วก็ร้ ูสกึ แบบนันนานอยู ้ ห่ ลายวัน คิดเท่าไรก็คิดไม่ออกว่าเราจะ ทํางานวิจยั เรื่ องอะไรดี วิธีก็ไม่ร้ ู ขันตอนก็ ้ ไม่ร้ ู ห่างเหินจากการทํางานแบบนักเรี ยนก็นานมากมาแล้ ว แอบคิดว่ายังมี เวลาอีกเยอะ คิดไปก่อนแล้ วกัน ในวันหนึง่ ข้ าพเจ้ าคิดได้ วา่ เราควรหารื อกับเพื่อนรักของเรา เพราะเขาเคยเรี ยนปริญญาโท เพื่อนคนนี ้คงจะ บอกทางสว่างแก่เราได้ เมื่อเล่าให้ เพื่อนฟั ง เพื่อนก็งงว่าไอ้ การเรี ยนแค่โยคะนี่เหรอ ถึงขนาดต้ องทํางานวิจยั กันเลย อธิบายกันอยูช่ วั่ ครู่เพื่อนก็เข้ าใจ และบอกข้ าพเจ้ าว่า เขาเองนันคิ ้ ดว่าคุณครูทงหลายคงต้ ั้ องการเพียงรายงานชิ ้นหนึง่ ที่กล่าวถึงประสบการณ์การเรี ยนโยคะของเราแค่นนกระมั ั้ ง ไม่ต้องเซ็งหรอก ก่อนหน้ านี ้ก็คดิ ว่าจะทําหัวข้ อ “อาหารเกี่ยวอะไรกับโยคะ” และจะให้ น้องชายข้ าพเจ้ า ภรรยาของเขาและลูก สาวของเขาเป็ นผู้โดนทดสอบการฝึ กโยคะ แล้ วสามารถรับประทานอาหารอะไรก็ได้ เพื่อจะทดสอบว่าโยคะช่วยอะไร ได้ บ้าง ข้ าพเจ้ าสอนท่าโยคะบางท่าและปราณะยามะบางอย่างให้ ทงสามคนปฏิ ั้ บตั เิ ป็ นเวลา 30 วัน และให้ บนั ทึก อาหารทุกมื ้อที่รับประทานเข้ าไปด้ วย แต่แล้ วเมื่อเวลาผ่านไปจนใกล้ จะครบวัน ข้ าพเจ้ าค้ นพบว่า ทังสามใช้ ้ เวลาฝึ ก โยคะน้ อยมาก และผลของการฝึ กครัง้ นี ้จึงเป็ นแค่ทําให้ กล้ ามเนื ้อในส่วนต่างๆ ที่ฝึกแข็งแรงขึ ้นพอสมควร และนํ ้าหนัก ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ข้ าพเจ้ าคิดว่าควรจะต้ องเปลี่ยนหัวข้ อเป็ นอย่างอื่นดีกว่า บังเอิญมีอยู่วนั หนึง่ ข้ าพเจ้ ารู้สกึ ว่า (แต่จริงๆ ได้ ร้ ูสึกอย่างนี ้มานานหลายเดือน) บรรดาเพื่อนๆ ของเราทุกคนมีธรรมะอยูใ่ นใจกันทังสิ ้ ้น คิดว่าเรื่ องนี ้ น่าจะมาเป็ นหัวข้ อให้ ข้าพเจ้ านํามาทําเป็ นงานวิจยั ดีกว่า เพราะมันมีผลกระทบกับข้ าพเจ้ าดัง่ ที่คณ ุ ครูต้องการให้ เป็ น พรพรรณ อุดมพงษ์สขุ
108
ตังแต่ ้ วนั แรกที่พวกเราเข้ าค่าย และเริ่มทําความรู้จกั กับเพื่อนๆ ทุกคน สิ่งที่ทําให้ ข้าพเจ้ ารู้สกึ แปลกใจอย่าง มากก็คือ ข้ าพเจ้ ารับรู้ได้ ว่าเพื่อนใหม่กลุม่ นี ้ไม่เหมือนเพื่อนที่เราได้ เคยรู้จกั คบหาสมาคม ไม่วา่ จะเป็ นเพื่อนที่ใกล้ ชิด กันหรื อห่างกันก็ตาม มันเป็ นความแปลกใจที่การเรี ยนครัง้ นี ้ ผู้ที่เรี ยนร่วมกับเราเป็ นบุคคลที่มีแนวความคิดที่ใกล้ เคียง กัน คิดไปในทิศทางเดียวกันอย่างไม่นา่ เชื่อ และที่สําคัญช่างเป็ นผู้ที่มีธรรมะกันแทบทุกคน ในการทํางานวิจยั ครัง้ นี ้ ข้ าพเจ้ าได้ ตงคํ ั ้ าถามให้ แก่เพื่อนๆ ทังหมด ้ แล้ วให้ พวกเขาตอบมาเพื่อประมวลผล ด้ วย และเพื่อได้ ร้ ูจกั เพื่อนกลุ่มนี ้มากขึ ้นด้ วย คําถามที่ข้าพเจ้ าให้ แก่เพื่อนทังหลายคื ้ อ 1 ท่านอายุเท่าไร 2 ท่านรู้สกึ ว่าสนใจเรื่ องธรรมะตังแต่ ้ อายุเท่าไร 3 ด้ วยเหตุผลใด 4 ธรรมะช่วยอะไรท่านบ้ าง 5 เคยนัง่ สมาธิหรื อไม่ เหตุผลของการตังคํ ้ าถามดังกล่าวคือ 1 แน่นอนเพื่อนๆ มีอายุที่แตกต่างกันก็จริง แต่มีชอ่ งว่างตังแต่ ้ คนแรกถึงคนสุดท้ ายที่มากพอสมควร อายุน้อย ที่สดุ คือ 29 ปี และมากที่สดุ คือ 52 ปี และข้ าพเจ้ าคิดว่าแม้ แต่คนที่อายุยงั ไม่มากก็ยงั มีความสนใจเรื่ องธรรมะ 2 ข้ าพเจ้ าอยากจะทราบว่าแต่ละคนสนใจธรรมะกันมานานรึยงั 3 เคยมีคนพูดว่า ผู้คนจะสนใจธรรมะก่อต่อเมื่อมีเหตุการณ์อะไรในชีวิต แต่ก็ไม่ใช่ทกุ คน ข้ าพเจ้ าจึงอยาก ทราบว่าเพื่อนๆ เป็ นทังสองอย่ ้ างหรื อไม่ 4 ที่ตงคํ ั ้ าถามนี ้เพราะคิดว่า คนที่มีธรรมะในใจ ชีวิตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อย 5 ข้ าพเจ้ าเป็ นคนที่ไม่เคยให้ ความสนใจกับการนัง่ สมาธิสกั เท่าไร และคิดว่าเมื่อเพื่อนๆ เรามีความสนใจ ธรรมะ พวกเขาก็น่าจะเคยนัง่ สมาธิ
ข้ อมูลของเพื่อนในชัน้ เรี ยน เพื่อนคนที่ 1 คือ เจ ตอบว่ า 1 อายุ 29 ปี 2 สนใจเรื่ องธรรมะจริงจังเมื่ออายุ 24-25 ปี หลังจากที่ทํางานได้ 2 ปี แล้ วไปบวช และไปฝึ กปฏิบตั ธิ รรมครัง้ แรกที่สวนโมกข์ จึงได้ ตงปณิ ั ้ ธานเอาไว้ วา่ จะใช้ ชีวิตและทํางานที่สอดคล้ องกับธรรมะ 109
3 เพราะเข้ าใจชีวิตและความทุกข์ที่เกิดทังในชี ้ วิตเราและคนอื่น ผ่านจากการทํางานกับคนเป็ นร้ อยเป็ นพันคน ในช่วงเวลาแค่ 2-3 ปี ทําให้ เห็นวงเวียนเดิมๆ ของชีวิตคน เลยอยากทําให้ ชีวิตเราไปในทางที่หลุดพ้ น ละมุง่ มัน่ อยาก ช่วยคนอื่นด้ วย 4 ธรรมะช่วยให้ เราได้ เห็นความจริงของชีวิต และเป็ นแนวทางให้ เราก้ าวไปอย่างมุน่ คง 5 เคยนัง่ สมาธิแล้ ว ลองหลายแบบอยู่ ที่ทําประจําคือการฝึ กสร้ างสมาธิจากการเคลื่อนไหวร่างกาย และฟั ง เสียงเพลง จากนันก็ ้ นงั่ สมาธิ หรื อ นัง่ เดินลมปราณแบบชี่กง เพื่อนคนที่ 2 คือ นุ่น ตอบว่ า 1 อายุ 30 ปี 2 สนใจธรรมะตอนอายุ 16 ปี 3 ก่อนหน้ านี ้ก็แค่สวดมนต์ แต่ร้ ูสกึ ว่าคุณครูให้ สวดเราก็สวดๆ ไป ไม่ได้ ซาบซึ ้งอะไร แล้ วก็ได้ ยินตามสื่อต่างๆ ว่าถ้ าเรานัง่ สมาธิสวดมนต์จะมีสิ่งดีๆ เข้ ามาในชีวิต ก็เลยสนใจอยากลองว่ามันจริงๆ หรื อเปล่า ก็เลยไปเข้ าค่ายธรรมะ ดู 4 ธรรมะช่วยให้ เราสงบจิตใจ ผ่อนคลายร่างกาย จัดระเบียบความคิด ได้ บญ ุ ความคิดที่วา่ เราได้ บญ ุ ทําให้ เรา รู้สกึ ดีอิ่มเอิบ แล้ วก็ทําให้ เรามีความคิดไปในแนวทางที่บวกๆ ดีๆ ต่อไปในชีวิต 5 เคยนัง่ สมาธิแน่นอน แต่ได้ ไม่นาน จะได้ นานตอนไปเข้ าค่ายธรรมะ แต่มานัง่ ที่บ้านก็จะได้ น้อยกว่า เพื่อนคนที่ 3 คือ เมย์ ตอบว่ า 1 อายุ 30 ปี 2 สนใจธรรมะประมาณอายุ 23 ปี แต่ไม่ได้ จริงจังมากนัก 3 เพราะคุณพ่อคุณแม่เข้ าวิปัสสนาอยู่หลายครัง้ เลยอยากทดลองเองบ้ าง 4 ธรรมะให้ ข้อคิด และเป็ น guide การดําเนินชีวิตที่ดีมีสติ 5 เคยนัง่ สมาธิ แต่ตอนนันไม่ ้ คอ่ ยชอบเท่าไหร่ เพื่อนคนที่ 4 คือ จอย ตอบว่ า 1 อายุ 31 ปี 2 เริ่มสนใจตังแต่ ้ เรียนชัน้ ประถมศึกษา 3 เพราะคิดว่าเราเกิดมาทาไม มีหน้าทีอ่ ะไรต้องทา 4 ธรรมะช่วยให้มองเห็นความจริงของชีวติ ใช้ชวี ติ เป็น ไม่ทุกข์หรือสุขมากจนเกินไป 110
5 เคยนังสมาธิ ่ ฝึกตอนอายุ 24 เพื่อนคนที่ 5 คือ เอ็กซ์ ตอบว่า 1 อายุ 31 ปี 2 เอ็กซ์สงสัยว่าข้าพเจ้าถามผิดหรือเปล่าเลยตอบมาว่า ธรรมะ !? หรื อ โยคะ 3 เอ็กซ์คดิ ว่าข้าพเจ้าคงหมายถึงโยคะ จึงตอบว่า สําหรับโยคะ ตอนแรกเพราะอยากออกกําลังกายเพื่อ รูปร่างและสุขภาพ 4 ธรรมะก็คงช่วยให้ ชีวิตดีขึ ้น (มัง)้ สําหรับคนที่เชื่อ แต่ไม่ใช่วา่ คนที่ไม่เชื่อจะมีชีวิตที่ไม่ดีนี่ 5 ไม่เคยนัง่ สมาธิเลย อาจจะเคยสมัยเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษา ตอนที่ครูบงั คับให้ นงั่ ในวิชาพุทธศาสนา เพื่อนคนที่ 6 คือ ณุชา ตอบว่ า 1 อายุ 33 ปี 2 สนใจธรรมะตังแต่ ้ เด็กๆ 3 เพราะพ่อแม่และตายายบังคับให้ เข้ าวัด เลยซึมซับมาตังแต่ ้ เด็ก พอโตขึ ้นก็หา่ งไป 4 ธรรมะช่วยให้ ร้ ูเท่าทันสิ่งที่เป็ นไป ไม่ดีใจ เสียใจ มากเกินไป 5 นัง่ สมาธิคอ่ นข้ างบ่อย เพื่อนคนที่ 7 คือ เหมียว ตอบว่ า 1 อายุ 34 ปี 2 เริ่มสนใจธรรมะตังแต่ ้ ประมาณ 4-5 ขวบ เพราะคุณยายชอบทําบุญตักบาตร ไปวัดปฏิบตั ธิ รรม แล้ วก็พา หลานๆไปด้ วย แล้ วก็เล่าธรรมะ คําสอนที่เข้ าใจง่ายให้ หลานๆ ฟั ง 3 เพราะธรรมะให้ ข้อคิดและเป็ นความจริงของชีวิต เมื่อใดก็ตามที่ได้ ไปปฏิบตั ธิ รรม หรื อฟั งธรรมก็จะรู้สกึ ปิ ติ สุข และแม้ เราใช้ ชีวิตอยู่ปัจจุบนั ก็ชว่ ยเป็ นเครื่ องนําทางให้ ชีวิตได้ 4 ธรรมะเป็ นที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจและหลักปฏิบตั ิ เพื่อให้ เราใช้ ชีวิตอย่างถูกต้ องไม่หลงทาง 5 เคยนัง่ สมาธิ เพื่อนคนที่ 8 คือ เจี๊ยบ ตอบว่ า 1 อายุ 35 ปี
111
2 ตังแต่ ้ เป็ นวัยรุ่นก็เพียงแค่สนใจใคร่ร้ ู ไม่ชอบไปวัดเท่าไหร่ แต่แม่ชอบหนีบให้ ไปด้ วย ก็ไปงันๆ ้ ไม่ได้ ทราบ ความสําคัญ รู้แต่ว่าไปทําบุญแล้ วควรจะทําให้ สบายใจ ยิ ้มย่องผ่องใส เริ่มตอบสนองความอยากรู้ด้วยการอ่าน เริ่ม จากการไม่มีอะไรจะอ่านที่บ้าน
ตอนปิ ดเทอมก็หยิบหนังสือธรรมะง่ายๆ
เล่มเล็กๆ
มาอ่านแก้ เบื่อ
ตอนเข้ า
มหาวิทยาลัยก็ยงั อ่านหนังสือธรรมะอยู่บ้างนานๆ ที เพราะที่บ้านมีหนังสือธรรมะเยอะมาก ถือว่าเรื่ องธรรมะไม่ได้ อยู่ ห่างตัวมากนัก การเป็ นคนกลัวผีมากๆ ทําให้ เรายังต้ องรู้จกั สวดมนต์ แผ่เมตตาอยูบ่ ้ าง ทังตอนสมั ้ ยเรี ยนที่ต้องอยู่หอพัก (ซึง่ มักมีเรื่ องเล่าผีๆ) หรื อเวลาไปที่แปลกๆ กับอีกช่วงที่ได้ ไปทํางานต่างจังหวัด เวลาว่างๆ อากาศดีๆ ก็จะเดินจงกรมบ้ าง 3
เหตุผลที่ทําให้ ตงใจคิ ั ้ ดว่าจะหันมาหาธรรมะจริงจังคือ หลังจากสูญเสียคุณพ่อเมื่อ 5 ปี ที่แล้ ว คุณ
พ่อป่ วยค่อนข้ างกะทันหัน ทําให้ เราไม่มีโอกาสจะตอบแทนท่าน และเมื่อเสียท่านไปนับเป็ นการสูญเสียยิ่งใหญ่ครัง้ แรกในชีวิต ทําให้ เสียอกเสียใจมากๆ เศร้ าโศกอยูน่ าน จึงคิดว่าทําอย่างไรเราจะทําอะไรดีๆ ส่งบุญให้ ทา่ นได้ มากที่สดุ 4 ธรรมะช่วยให้ โลกดีขึ ้น เพราะเรามองโลกเปลี่ยนไป ทําให้ เราอึดอัดคับข้ องลดลง ความรู้สึกโดยรวมมี ความสุขใจมากขึ ้นมาก จากเดิมที่ไขว่คว้ าหาความสุขตลอด ก็ไม่เคยจะสมหวังซักเท่าไหร่ หรื ออาจจะได้ ดงั ใจอยูแ่ ป๊ บ เดียว ทังๆ ้ ที่พยามมาตลอดเวลา ตอนนี ้ความรู้สกึ สุขที่มี มันเป็ นความรู้สึกดีๆ ที่มีออกมาจากใจมากกว่า เลยพูดว่า ธรรมะทําให้ โลกดีขึ ้น 5 นัง่ สมาธิเป็ นประจํา จนเป็ นส่วนหนึง่ ของชีวิต เริ่มหัดทําสมาธิครัง้ แรกตอนจะสอบเข้ ามหาวิทยาลัย แต่ทํา ได้ ชว่ งสันๆ ้ แบบเด็กๆ แก้ ฟ้ งซ่ ุ าน พอเอ็นท์ติดก็ไม่ได้ ทําอีกเลย เคยได้ ยินมาว่าการทําสมาธิเป็ นบุญสูงสุด เลยเริ่มคิดจะนัง่ สมาธิและอ่านหนังสือธรรมะเพื่อช่วยรักษาใจให้ ดี ขึ ้นบ้ าง ตรงนี ้ถือว่าเป็ นจุดเริ่ มที่มาจากความตังใจข้ ้ างในจริงๆ แต่การทําสมาธิเป็ นเรื่ องยาก ทําได้ นิดหน่อย พอเริ่มมี อาการแปลกๆ ก็ต้องเลิกทําเพราะกลัว กลัวเป็ นบ้ า และไม่มีใครคอยชี ้นําใกล้ ชิด ทําๆ หยุดๆ นิดๆ หน่อยๆ สนใจอ่าน หนังสือและฟั งเทศน์ทางสายพระป่ าเป็ นส่วนใหญ่ เพราะท่านพูดเน้ นเรื่ องการภาวนาเยอะกว่าพระทัว่ ไป ซึง่ มักเทศน์ เรื่ องศีลธรรมปลีกย่อยอื่นๆ เราอาจจะคิดว่าเรารู้แล้ ว เป็ นเรื่ องพื ้นๆ ใครก็สอนให้ ทําความดี อย่าไปทําชัว่ เลย และโดย ความสนใจส่วนตัวเราอยากทําความเข้ าใจเรื่ องสมาธิให้ มากขึ ้น สมาธิทําให้ เข้ าใจตัวเองมากขึ ้นๆ เพราะการที่เราต้ องหุบปาก หลับตา นัง่ นิ่งๆ เราจะเห็นตัวเองทันทีว่า ตัวเรา เองวุน่ วายฟุ้งซ่านแค่ไหน เราจะเห็นสิ่งไม่ดีในใจเราชัดเจนมากขึ ้น ขนาดหุบปากแล้ ว ใจเรายังคิดอะไรไม่ดีๆ ให้ ตวั เอง ได้ กงั วลอยู่ตลอด ทําให้ เห็นว่า เรานี่เองที่เป็ นทาสของความคิดวุน่ วายที่มนั ลากพาเราไปให้ หลงดีใจ กลุ้มใจ หนักใจ เสียใจตามมัน ทําให้ เห็นว่าใจเรามันคันยุกยิกมาก มันชอบคิด มันนิ่งเองไม่ได้ ถ้ าไม่มีการฝึ กฝนอย่างต่อเนื่องและ
112
ขาดเครื่ องฝึ กฝนที่ดี หรื อขาดครูบาอาจารย์ผ้ รู ้ ูจริงคอยช่วยชี ้แนะทางที่ถกู แล้ ว เราคงเป็ นทุกข์มากมายเพราะความคิด ของเรานัน่ เอง เพื่อนคนที่ 9 คือ เปิ ้ ล ตอบว่ า 1 อายุ 36 ปี 2 เป็ นคนหนึง่ ที่ไม่เคยสนใจการเข้ าวัด เริ่มหันมาสนใจธรรมะ จําไม่ได้ วา่ ตอนนันอายุ ้ เท่าไหร่ แต่นานมาแล้ ว เหมือนกัน น่าจะเกือบ 10 ปี 3 สนใจอีกครัง้ เมื่อตอนอกหัก ดีที่มีครอบครัว มีเพื่อนและมีหิ ้งพระอยูท่ ี่บ้าน จิตใจมันไม่อยูก่ บั เนื ้อกับตัว รัง แต่จะสร้ างความทุกข์ให้ จิตใจตัวเอง แต่ที่เริ่มปฏิบตั ิและสนใจศึกษาพุทธศาสนาอย่างจริงจัง เริ่มจากอ่านหนังสือ “ไอนสไตน์ถาม พระพุทธเจ้ าตอบ” ไอนสไตน์บอกว่า พุทธศาสนาคือวิทยาศาสตร์ เลยเริ่มอยากรู้วา่ เป็ นวิทยาศาสตร์ ยังไง ทังที ้ ่ตวั เองก็จบสายศิลป์มา รู้เรื่ องวิทยาศาสตร์ อย่างน้ อยนิดมาก เอาหนังสือมาอ่านก็ไม่เห็นจะเข้ าใจ จนกระทัง่ ได้ ไปปฏิบตั กิ รรมฐาน ณ สถานที่ปฏิบตั ธิ รรมแห่งหนึง่ ระหว่างที่ตวั เองปฏิบตั กิ ็เกิดคําถามขึ ้นในใจอยู่ตลอดเวลา มี อะไรมากมายที่สงสัยคลางแคลงใจ ทําให้ การปฏิบตั ขิ องตนเองไม่ได้ รับความก้ าวหน้ าเท่าที่ควร จากการปฏิบตั ิครัง้ นัน้ ทําให้ ได้ รับอะไรหลายอย่าง เหมือนที่เขาบอกว่ามันเป็ นปั จจัตตัง รู้ได้ ด้วยตนเอง หลังจากการปฏิบตั ิครัง้ นันทํ ้ าให้ ศกึ ษาเข้ าใจได้ มากขึ ้น แต่ก็ยงั ไม่ลกึ ซึ ้ง และจากการได้ ฟังธรรมะของหลวงพ่อองค์ หนึง่ ซึง่ ตอบคําถามญาติโยม ยิ่งทําให้ ร้ ูสึกว่า จากการไปปฏิบตั ธิ รรมครัง้ นัน้ ได้ อะไรมามากมายอย่างที่ตวั เองไม่ร้ ูตวั 4 ธรรมะช่วยให้ มีสติ มองสิ่งรอบตัวอย่างที่เป็ น พยายามหลีกเลี่ยงกรรมชัว่ และพยายามที่จะประกอบกรรมดี ทังทางกาย ้ วาจา ใจ 5 เมื่อครัง้ ที่อกหัก เป็ นครัง้ แรกที่เริ่มสวดมนต์หน้ าหิ ้งพระบ้ านตัวเอง ตามหนังสือสวดมนต์ที่เขานิยมพิมพ์แจก หลังจากนันแม่ ้ บอกให้ นงั่ สมาธิด้วย ก็เลยเริ่มนัง่ สมาธิสนๆ ั ้ หลังสวดมนต์ ปั จจุบนั นัง่ สมาธิบ้าง แต่ไม่ได้ ประพฤติเป็ น ประจําทุกวัน เพื่อนคนที่ 10 คือ นก ตอบว่ า 1 อายุ 36 ปี 2 เริ่มสนใจธรรมะตังแต่ ้ เด็กๆ 3 ได้ รับการปลูกฝั งกับโรงเรี ยนสอนศาสนาวันอาทิตย์ 4 ธรรมะอยูก่ บั เราตลอดแต่เราไม่ร้ ูจกั จนวันหนึง่ การที่เรามากไปในกิเลศ หลง ลืมตัว ปฎิเสธทุกข์ แต่สดุ ท้ าย ธรรมะก็ได้ ชี ้ให้ เห็นความจริงของชีวิตเรา ชี ้แนวทางให้ เราสามารถดํารงได้ กบั ความเป็ นจริง 5 นัง่ สมาธิบ้าง แต่ไม่บอ่ ย 113
เพื่อนคนที่ 11 คือ แอน ตอบว่ า 1 อายุ 36 ปี 2 เริ่มสนใจธรรมะประมาณ 8 ปี ที่แล้ ว 3 เพราะเมื่อตอนช่วงแม่จะเสีย แม่เป็ นมะเร็ง โชคดีที่เป็ นมะเร็ง เราจึงมีเวลาเตรี ยมตัวกัน ส่งความรู้สกึ ที่ดีตอ่ กัน แต่ก่อนสิ ้นใจแค่ 3 วัน ตอนแรกเอาแต่ร้องไห้ มีพี่คนหนึง่ เอาหนังสือสวดมนต์มีคําแปลด้ วย เกี่ยวกับการละวาง สังขาร ทําให้ เราอยากอ่านให้ แม่ฟัง แม่ได้ เห็นสัจธรรมในกาย และสุดท้ ายแม่จากไปอย่างสงบมาก ทังๆ ้ ที่ก่อนหน้ า นัน้ ลมหายใจของแม่ให้ ความรู้สกึ ว่ายังไม่อยากละสังขาร กลัวตัวเองว่าจะไม่หายใจ หายใจแรงมาก ต่อมาก็เริ่มสนใจ แต่ยงั ไม่มากจนมีปัญหาเรื่ องความรัก ซึง่ ในตอนแรกคิดว่าคนอื่นมีปัญหา จนสุดท้ ายพบว่า ปั ญหานันเกิ ้ ดที่ใจเราเอง อ่านหนังสือของท่านชยสาโร ลูกศิษย์หลวงพ่อชา คําว่าเบื่อนี ้น่าพิจารณา จิตเหมือนถังนํ ้ารั่ว ... ดีแล้ วก็ชิน ชินแล้ วก็เบื่อ 4 รู้สกึ สะดุ้งและอยากพัฒนาจิตมาก เพราะรู้สกึ ชีวิตขาดอะไรสักอย่างมาตลอด แต่เมื่อมาพบธรรมะ ทําให้ ชีวิตเราเต็มและมีคณ ุ ค่าขึ ้น 5 นัง่ สมาธิบ้าง เพื่อนคนที่ 12 คือ ปูดา ตอบว่ า 1 อายุ 37 ปี 2 ปกติก็จะชอบทําบุญฟั งเทศน์มาตลอด แต่ถ้าสวดมนต์ภาวนาทําเกือบทุกวันก็นา่ จะปลายปี 2552 และบวช ชีพราหมณ์ทกุ เดือน เดือนละ 2-3 วัน อารมณ์เย็นลงจากที่ใจร้ อน 3 เพราะธรรมะช่วยให้ เรามองโลกสดใสสวยงามมากกว่าแต่ก่อน ยิ ้มคนเดียวก็ได้ อารมณ์ดีขึ ้น 4 ธรรมะให้ ความสุขทางใจ เวลาที่ได้ ทําบุญจะรู้สกึ มีความสุขอิ่มเอมใจ มันมีมากจนบอกไม่ถกู คิดว่าวันนัน้ เราทําอาจจะยังไม่เห็นอะไร แต่เราอยากสะสมบุญเราไว้ ไม่วา่ ผลจะตอบแทนให้ เห็นในชาตินี ้ หรื อชาติหน้ า 5 เริ่มนัง่ สมาธิตงแต่ ั ้ ปี 2552 ปลายปี นัง่ วันละ 1 ชัว่ โมงขึ ้นไปตลอด มีชว่ งเดือนนี ้แหละที่ยงุ่ ๆ เลยไม่คอ่ ยได้ นัง่ แต่จะใช้ วิธีเจริญภาวนาในใจอยู่ตลอดเวลา เพื่อนคนที่ 13 คือ นก ตอบว่ า 1 อายุ 38 ปี 2 สนใจธรรมะ 2 ช่วงคือ อายุ 18 และ 30 ปี
114
3 เริ่มจากอ่านหนังสือแล้ วทําตาม ท่องพุทโธแล้ วมันว่าง สว่าง แต่ตอนนันกลั ้ ว วิ่งออกมาข้ างนอก กลัวกลับ ไม่ได้ ด้ วยความไม่ร้ ู แล้ วก็ไม่ได้ จริงจังกับมันอีก แต่เรื่ องนี ้ยังคงอยู่ในใจ คิดว่ามันต้ องมีอะไรแน่ๆ และเริ่มจริงจังตอน อายุ 30 ได้ มีโอกาสไปสวนโมกข์เพราะความกลัว หรื อทุกข์มนั สัง่ สมมามากพอ จึงต้ องไปหาปั ญญามาแก้ 4 ธรรมะช่วยลดความกลัว ความกังวล ปล่อยวางได้ มากขึ ้น ช่วยให้ ร้ ูคณ ุ ค่าของชีวิต สบาย สงบ ตะเกียกตะกายกับสิ่งที่ไม่จําเป็ นในชีวิตน้ อยลง 5 นัง่ สมาธิบ้าง ถ้ าไม่มีเวลาก็จะเป็ นดูใจ ดูกายตามโอกาส เพื่อนคนที่ 14 คือ จุ๋ม ตอบว่ า 1 อายุ 38 ปี 2 ไม่ชดั เจนว่าเริ่มสนใจธรรมะตังแต่ ้ เมื่อไหร่ แต่วา่ รู้สกึ ว่าสนใจเมื่อช่วงเข้ าวัยกลางคน 3 เพราะอยากรู้จกั ตัวเอง อยากรู้จกั จิตใจ อยากรู้ต้นสายปลายเหตุของชีวิต บางคนบอกธรรมะเป็ นยา เรา รักษาธรรมะ ธรรมะย่อมรักษาเรา อาจเป็ นเหตุผลส่วนตัวทํานองนี ้ 4 ธรรมะช่วยเรื่ องความเข้ าใจ ทําความเข้ าใจกับผู้คน ทําความเข้ าใจกับสถานการณ์ และสภาวะอารมณ์ ต่างๆ ในตัวเรา บางทีชีวิตเป็ นเช่นนันเอง ้ ธรรมมะจูงมือเรามาสูค่ วามเป็ นธรรมดาสามัญ และมอบบ้ านภายในตัวเอง ผ่านลมหายใจของเรา 5 เคยนัง่ สมาธิ แต่ไม่บอ่ ย เรี ยกว่ายังเป็ นเด็กอนุบาลอยู่ เพื่อนคนที่ 15 คือ นุ่ม ตอบว่ า 1 อายุ 39 ปี 2 เริ่มสนใจตังแต่ ้ เด็ก ไปวัดกับย่าบ่อย แต่ยงั ไม่ร้ ูสกึ อะไร เริ่มจริงน่าจะอายุประมาณ 30 กว่าๆ 3 ไม่แน่ใจเหตุผลชัดเจน แต่ชดั เจนขึ ้นหลังจากอ่านหนังสือ “สัตว์โลกย่อมเป็ นไปตามกรรม” นิทานธรรมะ ของหลวงพ่อจรัญ 4 ธรรมะช่วยให้ เรารู้จกั ใช้ ชีวิตอย่างไม่ประมาทและมีความสุข 5 เคยนัง่ สมาธิบ้าง ล่าสุดก็ที่ไปปฏิบตั ิที่โกเอ็นก้ า สังขละ กาญจนบุรี และฝึ กบ้ างบางครัง้ เพื่อนคนที่ 16 คือ เอ๋ ตอบว่ า 1 อายุ 40 ปี 2 สนใจธรรมะตังแต่ ้ อายุประมาณ 10 ขวบ 3 เพราะแม่ชอบพาไปวัด และคําสอนของศาสนา คือความจริงของชีวิต 115
4 ธรรมะช่วยแก้ ไขปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ ้น ธรรมะคือหลักของการดําเนินชีวิตในทางที่ถกู ที่ควร 5 เคยนัง่ สมาธิ ถ้ าการนัง่ สมาธิหมายถึงการภาวนา การเดินจงกรมด้ วย เพื่อนคนที่ 17 คือ จิง้ ตอบว่ า 1 อายุ 42 ปี 2 สนใจธรรมะตังแต่ ้ อายุ 8 ขวบ 3 เพราะที่โรงเรี ยนเป็ นโรงเรี ยนวัด มีสอนวิชาพุทธศาสนา มีพระมาสอนที่โรงเรี ยน 4 ธรรมะให้ ความเป็ นธรรมชาติ ลดตัวตน เสริมสร้ างความเมตตา มีปัญญาประดับชีวิต 5 เคยนัง่ สมาธิ เพื่อนคนที่ 18 คือ แต่ ง ตอบว่ า 1 อายุ 43 ปี 2 สนใจธรรมตังแต่ ้ อายุ 20 ปี 3 เพราะธรรมะเป็ นหนทางสู่ความสุขที่แท้ จริง 4 ธรรมะช่วยให้ ตดั สินใจในสิ่งที่ถกู ต้ อง ทําให้ จิตใจสงบ ไม่ฟ้ งซ่ ุ าน ไม่อิจฉาตาร้ อน 5 เคยนัง่ สมาธิบอ่ ย แต่ไม่มีสมาธิเลย เคยเข้ า course ฝึ กสมาธิกรรมฐาน 7 วัน แต่พอกลับมาอยู่บ้านไม่ได้ ฝึ กต่อเนื่องก็เหมือนเดิม เพื่อนคนที่ 19 คือ สวย ตอบว่ า 1 อายุ 43 ปี 2 สนใจธรรมะจริงจังน่าจะประมาณ 30 กว่าๆ แต่ตงแต่ ั ้ จําความได้ ร้ ูสกึ ถามตัวเองตลอดว่าคนเราเกิดมาเพื่อ อะไร ร่ายกายนี ้ทําไมเหมือนไม่ใช่ตวั เรา มันลอยๆ กันอยู่ 3 เพราะคุณแม่ป่วยด้ วยโรคความดันสูงและโรคไต 4 ธรรมะช่วยให้ เข้ าใจว่าทุกสรรพสิ่งที่เราได้ พบได้ เจออยู่ทกุ วันนี ้ มันคือธรรมะ มีการเกิดดับ บังคับไม่ได้ และ เป็ นเช่นนันเอง ้ อย่าไปสนใจ ควรหันมาสนใจที่จิตของเราเท่านัน้ เอาตัวรอดได้ และถ้ าหากจะช่วยเหลือผู้อื่นก็จะช่วย ได้ 5 เคยนัง่ สมาธิและทําเป็ นประจําวัน ในระหว่างวันก็ทําบ่อยๆ ทุกครัง้ ที่มีโอกาส
116
เพื่อนคนที่ 20 คือ พี่อ้อม ตอบว่ า 1 อายุ 52 ปี 2 ข้ อนี ้พี่อ้อมตอบว่าไม่เข้ าใจคําถาม เพราะกว้ างเกินไป 3 เมื่อไม่มีคําตอบข้ อ 2 จึงไม่มีคําตอบข้ อ 3 4 ธรรมะช่วยให้ ดําเนินชีวิตได้ ถกู ต้ อง เป็ นคนดี 5 เพิ่งนัง่ สมาธิตอนเรี ยนโยคะ ส่ วนของตัวข้ าพเจ้ าเอง ตอบว่ า 1 อายุ 45 ปี 2 สนใจธรรมะจริงจังเมื่ออายุ 42 ปี 3 เพราะเรื่ องสามี มีความรู้สกึ ว่าเราทุกข์ใจเรื่ องที่มนั ไม่ใช่สิ่งสําคัญอันดับหนึง่ ในชีวิต แต่จะให้ ทกุ ข์มนั ลดลง ได้ นา่ จะต้ องมีเครื่ องช่วย และคิดว่าธรรมะน่าจะเป็ นเครื่ องช่วยที่เหมาะสมที่สดุ และสามารถช่วยได้ ทกุ ความทุกข์ด้วย 4 ธรรมะช่วยให้ เราคิดได้ ในหลายๆ เรื่ องมากขึ ้น และยังสามารถนําไปบอกผู้อื่นได้ ด้วย ถึงแม้ วา่ ผู้นนจะเห็ ั้ น ด้ วยหรื อไม่เห็นด้ วยก็ตาม 5 ไม่เคยนัง่ สมาธิเลย จนเมื่อเกิดทุกข์จงึ ลองดู ก็ไม่ประสบผลสําเร็จ มันไม่นิ่ง ทุกวันนี ้มาเรี ยนโยคะ ได้ มี โอกาสนัง่ สมาธิก็ยงั ไม่นิ่งอยู่ดี ข้ อมูลทังหมดที ้ ่ได้ มาจากเพื่อนๆ ยิ่งทําให้ ร้ ูสึกว่า กลุม่ คนเหล่านี ้ เขากําลังมาช่วยให้ เราได้ เห็นอะไรบางอย่ าง ในชีวิต ได้ มีโอกาสเล่าเรื่ องเพื่อนๆ ให้ พี่ที่ร้ ูจกั คนหนึง่ ฟั ง พี่คนนี ้บอกว่าเป็ นโชคดีของเรามากที่ได้ เจอกัลยาณชน ในช่วงของการเรี ยนแรกๆ ข้ าพเจ้ าไม่ได้ คดิ ว่าจะยังคงความสัมพันธ์มนั่ คงกับกลุม่ เพื่อนกลุม่ นี ้ แต่นานวันเข้ า ข้ าพเจ้ ารู้สกึ ว่าเพื่อนกลุม่ นี ้มีคา่ กับชีวิตข้ าพเจ้ ามาก ทุกครัง้ ที่ได้ เจอกันมักจะมีสิ่งเล็กๆ น้ อยๆ ที่มีประโยชน์กบั ชีวิตให้ ข้ าพเจ้ าเก็บกลับบ้ านไปคิดเสมอ และข้ าพเจ้ ายังคิดอีกว่า การที่ข้าพเจ้ าตัดสินใจมาเรี ยนเป็ นครูสอนโยคะนันถู ้ กต้ องแล้ ว เพราะไม่เพียงแต่ ข้ าพเจ้ าจะได้ รับความรู้ด้านโยคะจากคุณครู ทกุ ท่านแล้ ว
ข้ าพเจ้ ายังได้ รับความรู้ทางธรรมและมุมมองชีวิตจากทัง้
คุณครูและกัลยาณมิตรกลุม่ นี ้อีกด้ วย
117
http://www.facebook.com/video/video.php?v=1706942790033
Figure 1 ชีวต ิ กับโยคะ โดย ครู เหมียว
http://www.facebook.com/video/video.php?v=1744566330598
118
โยคะและการเรียนรู้ ด้านใน กรนัท สุรพัฒน์ (Jay) หลักสูตรอบรมครูสอนโยคะ รุน่ ที่ 10/53 สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน พฤศจิกายน 2553
ครัง้ แรกกับโยคะ ผมรูจ้ กั โยคะครัง้ แรกเมือ่ สมัยทีผ่ มยังเป็ นทิดเพิง่ สึกใหม่ๆตอนอายุ 25 ปี ไปเข้าคอร์สอบรมอานาปานสติ ภาวนา ทีส่ วนโมกข์นานาชาติ อ. ไชยา จ. สุราษฎร์ธานี นับจากปจั จุบนั ก็เกือบจะ 5 ปีได้แล้ว ครัง้ นัน้ ถือว่าเป็น การปฏิบตั ธิ รรมครัง้ แรกในชีวติ และรูส้ กึ ประทับใจมากครับ โดยเฉพาะในทุกช่วงเช้า ทีห่ ลังจากต้องตื่น แต่ตี 4 ครึง่ มาสวดมนต์ทาวัตรเช้า เราจะได้ฝึกโยคะทีผ่ มรูส้ กึ เหมือนกับเป็ นการปฏิบตั ธิ รรมอีกแบบหนึ่ง ซึง่ ครูผนู้ าฝึกโยคะจะ พยายามบอกให้เรามีสติตามรูท้ ุกการเคลื่อนไหวของร่างกายและรับรูท้ ุกอารมณ์ทเ่ี กิดขึน้ จนสัมผัสได้ถงึ การเป็น ส่วนเดียวกันของชีวติ ทัง้ กายและจิต ช่วงนัน้ เองทีผ่ มได้ลองฝึกอาสนะท่าพืน้ ฐาน และฝึกตามลมหายใจเข้าและ ออกผ่านการเคลื่อนไหว จนพอเราได้ฝึกปฏิบตั ทิ าสมาธิต่อก็มผี ลทาให้เรานิ่งสงบขึน้ และตัง้ สมาธิได้งา่ ย และจาก การปฏิบตั ธิ รรมในช่วงนัน้ เอง ทาให้ผมได้ใคร่ครวญกับชีวติ และตัง้ ปณิธานอย่างมุง่ มันว่ ่ าจะใช้ ชวี ติ ทีไ่ ด้ดแู ลกาย ใจ และพัฒนาจิตวิญญาณของเราและคนรอบข้างขึน้ เรื่อยๆ เวลานัน้ ก็เรายังไม่รแู้ น่ชดั ว่าจะมีสายงายไหนทีจ่ ะทา ได้เช่นนัน้ ทว่าความประทับใจจากการเรียนรูโ้ ยคะครัง้ นัน้ ทาให้ผมเริม่ อยากจะฝึกโยคะ ขึน้ มา ซึง่ ตอนนัน้ คิดเพียงไว้ว่าอย่างน้อยก็ทาให้เราได้ฝึกให้หายใจช้าลง และสงบนิ่ง บ้าง เลยซือ้ หนังสือ “โยคะในชีวติ ประจาวัน” กลับบ้านและพยายามใช้เป็ นแนวทางฝึก อยูร่ ะยะนึง โดยไม่รวู้ ่าจะเป็ นคัมภีรส์ าคัญทีเ่ ป็นพืน้ ฐานการใช้วถิ ชี วี ติ อย่างเป็นองค์รวม ของเรา และโดยไม่รวู้ ่าเราจะได้มาเรียนอีกครัง้ แบบตัวต่อตัวกับอาจารย์ผเู้ ขียนหนังสือ เล่มนี้ ซึง่ ได้แก่ ครูฮโิ รชิ และฮิเดโกะ ไอคะตะ และครูกวี คงภักดีพงษ์
119
โยคะในรูปแบบการออกกาลังกาย การฝึกโยคะเพียงลาพังนับว่าเป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทายทีเดียว เพราะจะมีตวั ขีเ้ กียจคอยดึงเราไม่ให้ลุกออกจาเตียงแต่เช้า เสมอ และด้วยภารกิจทีเ่ ข้ามาในชีวติ แต่ละวัน ก็ทาให้เรา หลงลืมการฝึกโยคะนี้ไปโดยสิน้ เชิง จนวันหนึ่งทีผ่ มได้สมัคร เป็นสมาชิกกับศูนย์ฝึกออกกาลังกายชื่อดังแห่งหนึ่ง ก็ทาให้ผม ได้โอกาสกลับมาลองฝึกโยคะอีกครัง้ อย่างเป็นเรือ่ งเป็นราว เพราะว่าเราสามารถบังคับตัวเองให้ไปฝึกตามตารางทีเ่ ขามีได้ โดยสะดวก และสถานทีก่ ย็ งั ใกล้บา้ นมาก แต่ครัง้ นี้ไม่เหมือน โยคะทีเ่ ราได้ลองครัง้ แรก เนื่องจากเป็นโยคะทีจ่ ดั อยูใ่ นห้องปรับอากาศทีร่ อ้ นและมีไอน้าพ่นมาเป็ นระยะๆ เป็น คลาสเรียนทีม่ คี นเรียนเยอะ บางครัง้ ก็เกือบเป็ นร้อยคน ครูผฝู้ ึกสอนพูดเป็นภาษาอังกฤษซะส่วนใหญ่ แถมทีส่ าคัญ ทุกอย่างก็ดเู ป็ นไปอย่างรีบเร่งเพื่อให้ทนั คลาสทีจ่ ดั ในแต่ละครัง้ ซึง่ ตอนนัน้ เองผมก็ไม่ได้รสู้ กึ ผิดแปลกอะไรเท่าไหร่ มันเป็ นวิถขี องคนเมืองเราทีม่ เี วลาอันน้อยนิดและอยากใช้ประโยชน์ให้คุม้ ค่ากับทุกสิง่ อันรอบตัว การเข้าฝึกโยคะ ในช่วงเวลาจากัดและให้ได้ประสิทธิผลเยอะๆนี่ กลับทาให้เรารูส้ กึ ชอบด้วยซ้า เพราะเราสามารถออกกาลังกายให้ ร่างกายแข็งแรง ยืดหยุ่น ทนทาน พร้อมๆกับการฝึกลมหายใจให้ลกึ และช้าลง มีสมาธิ จนทาให้เราได้นิ่งสงบได้ ตลอดในท่าอาสนะทีเ่ ราฝึก และเพื่อเลีย่ งความวุ่นวาย ผมเลยพยายามเข้าคลาสทีม่ คี นน้อยๆแทน พอตัวเองมีเ วลา มากขึน้ ก็เริม่ ไปลองเข้าคลาสโยคะในรูปแบบต่างๆกันทีท่ างศูนย์ฯเขามีจดั ไว้ ทาให้ผมเห็นว่าการฝึกโยคะก็ม ี หลากหลายแนวและระดับทีแ่ ตกต่างเหมือนกัน ซึง่ ผมเองก็คดิ เพียงแค่ทาให้ตวั เราได้สมั ผัสประสบการณ์ของโยคะ และค่อยๆให้การฝึกมันอยูใ่ นวิถชี วี ติ มากขึน้ ก็เพียงพอ
จิ ตตปัญญาศึกษา: การเรียนรู้ด้วยใจทีใ่ คร่ครวญ จากปณิธานที่ได้ตงั ้ ไว้ในคอร์สภาวนาทีส่ วนโมกข์ครัง้ นัน้ ทาให้ผมเริม่ หันเหความสนใจมาใช้ชวี ติ ที่ได้เข้า มาดูแลกาย ใจ และพัฒนาจิตวิญญาณของเรามากขึน้ และเปลีย่ นสายอาชีพจากแวดวงธุรกิจมาสายสังคมอย่างเต็ม ตัว และเริ่มเรีย นรู้สู่ว ิถีชีว ิต ที่ได้ส มดุล กับการพัฒนาชีว ิต อย่างเป็นองค์รวม ทัง้ กาย ใจ และจิต วิญญาณ จนตัดสินใจ ั ญาศึก ษา ศึก ษาต่ อ ระดับปริญ ญาโท ในหลัก สู ต รจิต ตป ญ และการเรียนรูส้ ่กู ารเปลีย่ นแปลง ทีม่ หาวิยาลัยมหิดล
120
“จิตตปญั ญาศึกษา หมายถึง การรูจ้ ติ ของตัวเอง แล้วเกิดปญั ญา ซึง่ ปญั ญานัน้ หมายถึง การเข้าถึงความจริงสูงสุด หรือบางทีกพ็ ูดว่า เข้าถึงความจริง ความดี ความงาม” (ประเวศ
วะสี, 2550)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้กล่าวถึงจุดมุง่ หมายของจิตตปญั ญาศึกษาว่า เป็ นไปเพื่อการ เปลีย่ นแปลงขัน้ พืน้ ฐานในตนเอง เปลีย่ นแปลงความรูส้ กึ นึกคิดใหม่ มุมมองเกีย่ วกับเพื่อนมนุษย์และธรรมชาติใหม่ เปลีย่ นแปลงวิธคี ดิ ใหม่โดยสิน้ เชิง เพื่อนาไปสู่การเปลีย่ นแปลงในระดับทีใ่ หญ่ขน้ึ คือการเปลีย่ นแปลงขัน้ พืน้ ฐานใน องค์กรและสังคม เพื่อให้หลุดจากความติดขัดใหญ่ หรือวิกฤติการณ์ของมนุ ษชาติในปจั จุบนั อันเป็นปณิธานทีผ่ ม เองก็ตงั ้ ใจทีจ่ ะปฏิบตั จิ ริงในชีวติ ให้ได้ หลังจากที่ได้เรียนรู้ในชัน้ เรียนและออกไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์เพิม่ จากการเข้าคอร์สอบรมแนวจิตต ปญั ญาศึกษา ผมจึงตัดสินใจออกจากงานภาคสังคม แล้วเริม่ จริงจังกับการฝึ กการจัดกระบวนการเรียนรูแ้ นวจิตต ปญั ญาศึกษาอย่างเต็มตัว เพราะเชื่อว่าด้วยการทางานโดยตรงกับจัดกระบวนการเรียนรูแ้ บบนี้ จะช่วยให้เราได้ พัฒนาชีวติ เราอย่างเป็ นองค์รวมได้โดยง่าย และทัง้ ยังทาให้ปณิธานที่จะเอื้อให้ผอู้ ่นื ได้พฒ ั นาและเปลี่ยนแปลงขัน้ พืน้ ฐานในตนเองสามารถเกิดขึน้ ได้สะดวก และโดยตรงด้วย ทัง้ นี้ผชู้ ่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ธนา นิลชัยโกวิทย์ วิทยากรจัดกระบวนการและนักวิชาการด้านจิตตปญั ญาศึกษา ได้สรุปปรัชญาพื้นฐาน 2 ประการของการเรียนรู้ เพื่อการเปลีย่ นแปลงแนวจิตตปญั ญาศึกษาในประเทศไทย ซึง่ ก็คอื (1) ความเชือ่ มันในความเป็ ่ นมนุ ษย์ และ (2) กระบวนทัศน์แบบองค์รวม ซึง่ มีความสัมพันธ์กนั อย่างแน่ นแฟ้นและเป็ นเหตุเป็ นผลต่อกันโดยตัง้ อยู่บนพืน้ ฐานของ การเข้าถึงความจริงสูงสุด คือ ความจริง ความดี ความงาม แล้วนาไปสู่การลงมือปฏิบตั เิ พื่อเปลีย่ นแปลงสังคมและ โลก เพราะถ้าเข้าถึงความจริงสูงสุดจริงๆแล้ว ย่อมไม่สามารถเพิกเฉยต่อปญั หาต่างๆของโลกและสังคมได้ เพราะ จะเกิดความรักความเมตตาต่ อสิง่ ต่างๆอย่างลึกซึ้ง และมองเห็นความเชื่อมโยงของสรรพสิง่ ว่า ปญั หาของผู้อ่ นื ปญั หาของโลก ก็คอื ปญั หาของเรา หลังจากที่ผมได้เริม่ มีประสบการณ์ทางาน ั ญา ด้า นการจัด กระบวนการเรีย นรู้แ นวจิต ตป ญ ศึก ษาได้ซ ัก ระยะหนึ่ ง ผมก็ม ีค วามสนใจที่จะหา เครื่องไม้เครื่องมือที่จะเป็ นส่วนช่วยในการเรียนรู้ ด้านในของเราและคนอื่นให้ลกึ ซึ้งขึน้ และสามารถ ช่วยพัฒนาศักยภาพเราได้อย่างเป็ นองค์รวมมาก ขึ้นด้ว ย ทัง้ กาย ความคิดจิต ใจ และจิต วิญ ญาณ 121
โดยเฉพาะศาสตร์ทจ่ี ะช่วยในเรื่องของฐานกาย ผมเลยลองไปฝึ กศาสตร์รามวยจี นกับท่านปรมาจารย์ท่านหนึ่งอยู่ พักใหญ่ๆ และเริม่ เรียนรูก้ ารสมดุลพลังชีวติ ทีเ่ รียกว่า “ชี”่ หรือ “ปราณ” และเห็นการเชื่อมสัมพันธ์ของพลังชีวติ นี้ อย่างชัดเจนผ่านร่างกาย ทาให้เข้าใจว่ากายและใจเป็นผลสะท้อนซึง่ กันและกันอย่างเลีย่ งไม่ได้ และเมื่อเราสามารถ เปลีย่ นพลังกาย เป็ นพลังใจ พลังใจก็จะสามารถเปลีย่ นเป็ นพลังปญั ญา ซึง่ เป็ นพลังทางจิตวิญาณให้เราเห็นความ จริงในชีวติ เราได้
สู่วิถีแห่งโยคะ น่ าแปลกใจที่การฝึ กรามวยจีน หรือ ไท่จฉี๋ วน (หรือ หลายคนเรียกกันว่า ไท่เก็ก ) นัน้ ก็มอี งค์ประกอบการ เรีย นรู้ท่ที าให้เ ราเข้าใจชิว ิต ได้ ม ากมาย แต่ ผ มเอง กลับรูส้ กึ ว่าศาสตร์ทเ่ี รียนรูผ้ ่านฐานกายอย่าง “โยคะ” มันมีเ สน่ ห์บางอย่างที่ทาให้ผ มอยากค้นคว้าค้นหา และนามาสู่วถิ ีชวี ติ มากกว่า อาจจะเป็ นเพราะได้ยนิ ใครหลายๆคนในแวดวงจิตตปญั ญาศึกษาพูด ถึงว่ า โยคะก็เป็ นหนทางที่ดใี นการฝึ กขัดเกลาร่างกายและ จิต ใจ จนน าไปสู่ ก ารเข้า ถึง ความจริง สู ง สุ ด ได้ และผมก็เ ริ่ม เห็น รุ่ น พี่บ างคนน ามาผสมผสานกัน ในการจัด กระบวนการเรียนรูแ้ นวจิตตปญั ญาศึกษาบ้าง ก็พอเข้าใจทางความคิดได้ว่าโยคะนัน้ ช่วยเอื้อให้เกิดความสัมพันธ์ และความสมดุลอย่างเป็นองค์รวม ทัง้ กาย ใจ และจิต แต่ตวั เองก็ยงั ไม่ได้เข้าใจอย่างลึกซึง้ ว่าโยคะและจิตตปญั ญา ศึกษาจะมีส่วนเอื้อกันได้อย่างชัดเจนอย่างไร จนวันหนึ่งผมก็ได้รบั ข้อความประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคอร์สครูสอน โยคะระยะยาวจากสถาบันโยคะวิชาการทีจ่ ะเปิดเพียงปีละครัง้ ด้วยเนื้อหาการเรียนและปรัชญาโยคะแบบดัง้ เดิมที่ สอดคล้องกับจิตตปญั ญาศึกษาทีผ่ มคุน้ เคย ผมจึงตัดสินใจสมัครเรียนในทันที
โยคะกับการสมดุลชีวิตองค์รวม การตัดสินใจเรียนเป็ นครูโยคะนี้นับว่าเป็ นช่วงพอเหมาะพอดีกบั ที่ตวั เองเริม่ ตก ผลึกการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรูแนวจิตตปญั ญาตลอดช่วง 2-3 ปีทผ่ี ่านมา ทาให้เราเริม่ เชื่อมโยงศาสตร์ความรูท้ งั ้ หมดทีเ่ คยศึกษามา เช่น การผ่อน คลายอย่างสมบูรณ์ (Deep Relaxation) ทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานสาคัญของการฝึกในคลาสเรียน ครูโยคะนับตัง้ แต่ชวโมงแรก ั่ ที่ครูฮโิ รชิให้เรานอนราบกับพื้นและพยายามให้พร่าบอกว่า “Relax (ผ่อนคลาย)” อยู่ตลอดช่วงทีฝ่ ึก แต่ผมก็รู้สกึ คุน้ เคยเป็ นอย่างดีกบั คานี้เพราะเป็ น 122
ประสบการณ์ทเ่ี คยสัมผัสและนาไปใช้ในกระบวนการเรียนรูแ้ นวจิตตปญั ญาศึกษามาโดยตลอด การผ่อนคลายนี้สามารถเรียกได้ว่า เป็ นการทาให้ชวี ติ เรากลับมาสู่โหมดปกติ ทีเ่ ราจะรูส้ กึ เป็ นอิสระ และ เข้าถึงศักยภาพสูงสุดเราได้โดยง่าย ซึง่ บรูซ ลิปตัน (Bruce Lipton) นักชีววิทยาชาวอมเริกนั ท่านหนึ่งได้ศกึ ษาและ ค้นพบว่าในทุกระดับ ตัง้ แต่ชวี ติ เซลล์เดียวจนถึงชีวติ ระดับพันล้านเซลล์อย่างมนุ ษย์เราล้วนมีชวี ติ อยู่ใน 2 โหมด เท่ า นัน้ คือ โหมดปกติ (Normal) และ โหมดปกป้ อง (Defensive Mode) โดย “โหมดปกป้อง” นัน้ จะหมายถึงภาวะ ทีช่ วี ติ ถูกคุกคาม มีความตื่นภัย มีความกลัว ความวิตกกัลวล รูส้ กึ บีบคัน้ และไม่เป็ นอิสระ ซึง่ ตรงข้ามกับ “โหมดปกติ” ทีไ่ ด้ กล่าวไปบ้างว่าเราจะรู้สกึ ถึงอิสรภาพในชีวติ และผ่อนคลาย อันจะทาให้เราได้ 1) เจริญเติบโต 2) เยียวยาซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ 3) คืนพลังและความสดชื่น และ 4) เปิ ดตัวเองรับสิง่ ใหม่ เรียนรู้อยู่ต ลอดเวลา แต่ ถ้าเราใช้ชวี ิตในโหมดปกป้อ ง ทุกอย่างทีค่ วรจะเป็ นในชีวติ ปกติจะกลับกลายเป็ นขัว้ ตรงข้ามไปเสียหมด เพราะต้องใช้พลังชีวติ ไปปกป้องตนเอง ทัง้ จะหยุดการเติบโต หยุดการเยียวยา หยุดการคืนพลังและสร้า งความสดชื่น อ่อนล้าขาดแรงบันดาลใจ และหยุด การเรียนรู้ ปิดรับข้อมูลและสิง่ ใหม่เข้าสู่ชวี ติ การผ่อนคลายทีเ่ ราได้ฝึกปฏิบตั ใิ นวิถแี ห่งโยคะ จึงเป็ นเรือ่ งสาคัญอย่างยิง่ และเมือ่ เราได้ให้ชวี ติ ได้สมั ผัส ภาวะแห่งความผ่อนคลายบ่อยขึน้ ๆ จนเซลล์ในร่างกายเราสามารถกลับสู่โหมดปกติของชีวติ ได้โดยง่าย เราก็จะ สามารถเข้าถึงศักยภาพสูงสุดของมนุ ษย์เราได้โดยง่าย นันคื ่ อ ความรักและความเมตตา และเกิดปญั ญาเข้าสู่ความ จริง หลุดพ้นกรอบแห่งการแยกส่วนของตนเอง เชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกับสรรพชีวติ หลุดพ้นจากความทุกข์ทว่ี ง เวียนในชีวติ เราได้
การประยุกต์โยคะกับการเรียนรู้ด้านใน ความเข้าใจการสอดคล้องของกายและจิตโดยผ่านการอธิบายทางปรัชญาอินเดียดัง้ เดิม ข้อมูลทีพ่ สิ ูจน์ทาง วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ผ่านกายวิภาคศาสตร์ จากทีไ่ ด้เรียนในการอบรมครูโยคะนี้ ทาให้ผมนาไปผสมผสานกับ ศาสตร์ทเ่ี คยได้ศกึ ษาอื่นๆ และนาไปปรับใช้กบั การทางานจัดกระบวนการเรียนรูแ้ นวจิตตปญั ญาศึกษาได้เป็ นอย่าง มาก เช่น การใช้อาสนะอาสนะทีช่ ่วยให้ศูนย์รวมของพลังงานภายในร่างกายของมนุษย์ หรือ “จักระ” สมดุล โดยเฉพาะจักระทีม่ สี ่วนสาคัญกับเรือ่ งจิตใจ ความรักและความสัมพันธ์ นัน่ คือ จักระใจ (Heart Chakra) จุดพลัง ชีวติ หรือ จุดจักระที่ 4 ทีอ่ ยูช่ ่วงบริเวรณกลางอกของร่างกาย ตามตาราตันตระโยคะซึง่ เชื่อว่าจักระทีส่ าคัญของ มนุษย์เรานัน้ มีอยูด่ ว้ ยกัน 7 ตาแหน่ง จักระในแต่ละตาแหน่งจะดูแลและควบคุมการทางานของอวัยวะส่วนต่างๆ 123
ภายในร่างกาย และลักษณะต่างๆของชีวติ คนเราให้ทางานสมดุลเป็นปกติ และจุดจักระใจนี้จะดูแลระบบการหายใจ และการไหลเวียนของอวัยวะและระบบต่างๆในร่างกาย โดยเฉพาะหัวใจและปอด ให้เกิดประสิทธิภาพของระบบ การไหลเวียนโลหิตของหัวใจและระบบไหลเวียนอากาศ ระบบหายใจของปอดได้ดขี น้ึ ซึง่ อันจะสัมพันธ์กบั คุณลักษณะภายในและศักยภาพของมนุษย์ทส่ี าคัญ นัน่ คือ ความรัก ความเมตตาและการให้อภัย ผมได้ทดลองนาท่าอาสนะของโยคะทีจ่ ะช่วยเปิดจักระใจ เช่น ท่าอุชตราอาสนะ (ท่าอูฐ) แบบครึง่ ตัวและ เต็มตัว ท่ามัสยา (ท่าปลา) ท่าภุชงค์อาสนะ (ท่างู) ท่าวัชรอาสนะ (ท่าเพชร) หัสตะอุตตานาสนะ (ท่ากังหันลม) ธนู อาสนะ (ท่าธนู) รวมทัง้ ท่าขยับร่างกายให้เปิดหน้าอกด้วยการแกว่งแขนขึน้ ลงและไปด้านข้าง เป็ นต้น ผมนาท่า ต่างๆเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมฐานกายในการจัดกระบวนการเรียนรูแ้ นวจิตตปญั ญาทีไ่ ด้จดั ให้กบั หน่วยงานต่างๆในช่วง 2 เดือนทีผ่ ่านมา โดยเฉพาะนาไปฝึกก่อนทีเ่ รา จะเริม่ วงสนทนากัน หรือกิจกรรมทีท่ าให้ผเู้ ข้าร่วมกระบวนการได้เปิดเผย ความในใจกันมากขึน้ มีความอ่อนโยนและมีความเมตตาในการรับฟงั อย่าง ลึกซึง้ จากผูอ้ ่นื ซึง่ จากการปฏิบตั ทิ ดลอง นัน้ ส่งเห็นผลชัดเจนจากการที่ ผูเ้ ข้าร่วมโดยรวมในวงสนทนาได้ “เปิดใจ” กันเร็วขึน้ บางคนทีด่ ไู ม่เปิดรับ และมีท่าทีทเ่ี งียบในระยะแรก ก็ได้ส่อื สารความในใจออกมา แต่ทว่ามีโอกาส นาไปทดลองเพียงไม่กค่ี รัง้ ซึง่ ผมมีความตัง้ ใจว่าจะนาไปทดลองบ่อยครัง้ ขึน้ และจะปฏิบตั ติ ่อไปเรือ่ ยๆ เพราะการเรียนรูน้ นั ้ ยังไม่สน้ิ สุด ยังมีสงิ่ เติมเต็มให้ เราได้อกี มากมาย
“นิ ่ง สบาย ใช้แรงแต่น้อย มีสติ ” เป็นถ้อยคาสรุปการเรียนรูข้ องผมจากคอร์สครูโยคะทีส่ นั ้ ๆง่ายๆ แต่ได้ใจความลึกซึง้ ยิง่ นัก เพราะเมือ่ ร่างกายเรา ได้ผ่อนคลาย นิ่งสงบ จิตใจเราก็เปิดรับ การเรียนรูจ้ งึ พรังพรู ่ และนาไปสู่ความเข้าใจอย่างถ่องแท้กบั ความจริงใน ชีวติ และหลุดพ้นจากความทุกข์ทงั ้ ปวงได้
โยคะนัน้ จึงเป็ นไปเพือ่ การดับปรุงแต่งของจิต Yoga Citta Vritti Nirodhah योग शहर वत्तृ ि निरोध
กรนัท สุรพัฒน์ (Jay) หลักสูตรอบรมครูสอนโยคะ รุน่ ที่ 10/53 สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน พฤศจิกายน 2553 124
กรุณาคลิ๊ก งานวิจยั Corporate Yoga โดยครูหนึง่
125