W7 principle of design

Page 1

ข้อมูลจาก :@design หลักการออกแบบศิลปะ Principles of Design. ศักดิ ์ชัย เกียรตินาคินทร์


Principles of design

การจัดองค์ประกอบศิลป์

(Principles of design)

หมายถึง การจัดองค์ ประกอบของงานศิลปะทัง้ รู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อให้ เกิดการรั บรู้ ท่ สี มบูรณ์ สวยงามบนพืน้ ฐานของการสร้ างสรรค์ concept design

meaning

structure


Principles of design คุณค่าทางด้านรูปทรง

: นําเสนอเนื้อหาเรือ่ งราวผ่าน การจัดองค์ประกอบทางศิลปะ (Art Composition) เ กิ ด จ า ก ก า ร นํ า เ อ า องค์ประกอบต่างๆ ของศิลปะ อัน ได้ แ ก่ เส้ น สี แสงและ เงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ฯ ลฯมาจัดเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิด ความงาม

รูปลักษณะทีเ่ กิดจากการจัด องค์ประกอบทางศิลปะถ้า องค์ประกอบทีจ่ ดั ขึน้

นํ า เ ส น อ ผ่ า น เทคนิคต่ างๆอย่าง สัมพันธ์กนั เพื่อการ สื่ อ ความหมายที่ สมบูรณ์ สวบงาม

คุณค่าทางด้านเรื่องราว

: สิง่ ทีศ่ ลิ ปิ นต้องการสือ่ ให้ผชู้ ม ได้รบั รู้


Principles of design หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ประกอบด้วยหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 . สั ด ส่ ว น ( PROPERTY) คื อ ความสัมพันธ์กนั อย่างเหมาะสมระหว่างขนาดของ องค์ประกอบทีแ่ ตกต่างกัน ทัง้ ขนาดทีอ่ ยู่ในรูปทรง เ ดี ย ว กั น ห รื อ ร ะ ห ว่ า ง รู ป ท ร ง แ ล ะ ร ว ม ถึ ง ความสัม พัน ธ์ ก ลมกลื น ระหว่ า งองค์ ป ระกอบ ทัง้ หลายด้วย ซึ่งเป็ นความพอเหมาะพอดี ไม่มาก ไม่ น้ อ ย ขององค์ ป ระกอบทัง้ หลายที่ นํ า มาจัด รวมกัน ความเหมาะสมของสัดส่วนอาจ พิจารณา จากคุณลักษณะดังต่อไปนี้


Principles of design 1.1 สั ด ส่ ว นที่ เ ป็ นมาตรฐาน จาก รูปลักษณะตามธรรมชาต ของ คน สัตว์ พืช ซึ่งโดยทัวไป ่ ถือ ว่ า สัด ส่ว นตามธรรมชาติ จะมีค วามงามที่เ หมาะสม ที่สุด หรือจากรูป ลัก ษณะที่เป็ นการ สร้างสรรค์ของมนุ ษย์ เช่น Gold section เป็ นกฎในการสร้างสรรค์รปู ทรงของกรีก ซึ่งถือว่า "ส่วนเล็ก สัม พันธ์ก บั ส่วนที่ใ หญ่ กว่า ส่วนที่ใหญ่ กว่ า สัม พัน ธ์ ก ับ ส่ ว นรวม" ทํ า ให้ ส ิ่ง ต่ า ง ๆ ที่ส ร้ า งขึ้น มี สัดส่วนทีส่ มั พันธ์กบั ทุกสิง่ อย่างลงตัว


Principles of design 1.2 สัดส่วนจากความรู้สึก โดยที่ ศิล ปะนัน้ ไม่ ไ ด้ส ร้า งขึ้น เพื่อ ความงามของรูป ทรงเพีย ง อย่ า งเดีย ว แต่ ย ัง สร้า งขึ้น เพื่อ แสดงออกถึ ง เนื้ อ หา เรื่อ งราว ความรู้ส ึก ด้ว ย สัด ส่ว นจะช่ ว ย เน้ น อารมณ์ ความรูส้ กึ ให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ และเรื่องราวทีศ่ ลิ ปิ น ต้องการ ลักษณะเช่น นี้ ทําให้งานศิลปะของชนชาติต่าง ๆ มี ล ั ก ษ ณ ะ แ ต ก ต่ า ง กั น เ นื่ อ ง จ า ก มี เ รื่ อ ง ร า ว อารมณ์ และ ความรูส้ กึ ที่ต้องการแสดงออกต่าง ๆ กันไป เช่น กรีก นิยมในความ งามตามธรรมชาติเป็ น อุดมคติ เน้ นความงามที่เกิดจากการประสานกลมกลืนของ รูปทรง จึงแสดงถึงความเหมือน จริงตามธรรมชาติ ส่วนศิลปะแอฟริกนั ดัง้ เดิม เน้น ทีค่ วามรูส้ กึ ทางวิญญานทีน่ ่ากลัว ดังนัน้ รูปลักษณะจึงมีสดั ส่วนทีผ่ ดิ แผกแตกต่าง ไปจากธรรมชาติทวไป ั่


Principles of design 2 . ค ว า ม ส ม ดุ ล ห รื อ ดุ ล ย ภ า พ ( BALANCE) ห ม า ย ถึ ง นํ้ า ห นั ก ที่ เ ท่ า กั น ข อ ง องค์ป ระกอบ ไม่ เ อนเอีย งไปข้า งใดข้า งหนึ่ ง ในทาง ศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะ พอดีข อง ส่ ว นต่ า ง ๆ ในรู ป ทรงหนึ่ ง หรือ งานศิล ปะ ชิ้น หนึ่ ง การจัด วางองค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ลงในงาน ศิลปกรรมนัน้ จะต้องคํานึงถึงจุดศูนย์ถ่วง ในธรรมชาติ นัน้ ทุ ก สิ่ง สิ่ง ที่ท รงตัว อยู่ไ ด้โ ดยไม่ล้ม เพราะมีน้ํ า หนั ก เฉลี่ย เท่ า กัน ทุ ก ด้า น ฉะนัน้ ในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรูส้ กึ ว่าบางส่วนหนักไป แน่นไป หรือ เบา บางไป ก็จะทําให้ภาพนัน้ ดูเอนเอียง และเกิดความ รู้สกึ ไม่สมดุล เป็ นการบกพร่องทาง ความงาม ดุลยภาพในงานศิลปะ มี 2 ลักษณะ คือ


Principles of design 2.1 ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้ายขวาเหมือนกัน คือ การวางรูปทัง้ สองข้างของแกนสมดุล เป็ นการ สมดุลแบบธรรมชาติลกั ษณะแบบนี้ใน ทางศิลปะมีใช้ น้ อ ย ส่ ว นมากจะใช้ ใ นลวดลายตกแต่ ง ในงาน สถาปตั ยกรรมบางแบบ หรือ ในงานทีต่ อ้ งการ ดุลยภาพทีน่ ิ่งและมันคงจริ ่ งๆ


Principles of design 2 . 2 ดุ ล ย ภ า พ แ บ บ อ ส ม ม า ต ร (Asymmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซ้าย ขวาไม่เหมือนกันมักเป็ นการสมดุลทีเ่ กิดจาการจัดใหม่ ของมนุ ษย์ ซึ่ ง มี ล ั ก ษณะที่ ท างซ้ า ยและขวาไม่ เหมือนกัน ใช้องค์ประกอบที่ไม่เหมือนกันแต่มคี วาม สมดุ ล กัน อาจเป็ น ความสมดุ ล ด้ว ย นํ้ า หนั ก ของ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห รื อ ส ม ดุ ล ด้ ว ย ค ว า ม รู้ สึ ก ก็ไ ด้ การจัด องค์ป ระกอบให้เ กิด ความ สมดุ ล แบบ อสมมาตรอาจทําได้โดย เลื่อนแกนสมดุลไปทางด้าน ที่มนี ้ํ าหนักมากว่า หรือ เลื่อนรูปที่มนี ้ํ าหนักมากว่า เข้าหาแกน จะทําให้เกิดความสมดุลขึน้ หรือใช้หน่วย ที่ม ีข นาดเล็ก แต่ ม ีรูป ลัก ษณะที่น่ า สนใจถ่ ว งดุ ล กับ รู ป ลั ก ษณะที่ ม ี ข นาดใหญ่ แ ต่ ม ี รู ป แบบธรรมดา


Principles of design 3 . จั ง ห ว ะ ลี ล า ( Rhythm) ห ม า ย ถึ ง การเคลื่อนไหวที่เกิดจาการซํ้ากันขององค์ประกอบ เป็ นการซํ้า ที่เป็ น ระเบีย บ จากระเบียบธรรมดาที่ม ี ช่วงห่างเท่าๆ กัน มาเป็ นระเบียบทีส่ งู ขึน้ ซับซ้อนขึน้ จนถึงขัน้ เกิดเป็ นรูปลักษณะของศิลปะ โดยเกิดจาก การซํ้ า ของหน่ ว ย หรือ การสลับ กัน ของหน่ ว ยกับ ช่องไฟหรือเกิดจาก การเลื่อนไหลต่อเนื่องกันของ เส้น สี รูป ทรงหรือ นํ้ า หนัก ด้วยการเว้นช่ว ง หรือ สลับช่วง ก็จะเกิดลวดลาย ทีแ่ ตกต่างกันออกไป จั ง ห ว ะ ที่ น่ า ส น ใ จ แ ล ะ มี ชี วิ ต ไ ด้ แ ก่ การเคลื่ อ นไหวของ คน สัต ว์ การเติ บ โตของ พืช การเต้นรํา เป็ นการเคลื่อนไหวของโครงสร้างที่ ให้ความบันดาลใจในการสร้างรูปทรงที่มคี วามหมาย


Principles of design 4 . ก า ร เ น้ น ( Emphasis) ห ม า ย ถึ ง การกระทํา ให้เ ด่น เป็ น พิเ ศษกว่า ธรรมดา ในงานศิล ปะ จะต้ อ งมี ส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง หรื อ จุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง ที่ ม ี ความสํา คัญ กว่ า ส่ว นอื่น ๆ งานที่ไ ม่ ม ีจุ ด สนใจ หรือ จุดเน้น จะทําให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกับลวดลายทีถ่ ูกจัดวาง ซํ้ากันโดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ดัง นั ้น ส่ ว นนั ้น จึ ง ต้ อ งถู ก เน้ น ให้ เ ห็ น เด่ น ชัด ขึ้น มา เป็ นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ ซึ่งจะทําให้ผลงานมีความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และน่าสนใจมากขึน้ การเน้นจุดสนใจ สามารถทําได้ 3 วิธี คือ


Principles of design 4.1 การเน้ นด้วยการใช้องค์ประกอบที่ ตัดกัน (Emphasis by Contrast) สิง่ ทีแ่ ปลก แตกต่างไปจากส่วนอื่นๆ ของงาน จะเป็ นจุดสนใจ ดัง นัน้ การใช้อ งค์ป ระกอบที่ม ีล ัก ษณะ แตกต่ า ง หรือขัดแย้ง กับส่วนอื่น ก็จะทําให้เกิดจุดสนใจขึน้ ใน ผลงานได้ 4.2 การเน้ นด้ ว ยการด้ ว ยการอยู่ โดดเดี่ยว (Emphasis by Isolation) เมื่อสิง่ หนึ่ง ถูกแยกออกไปจากส่วนอื่น ๆ ของภาพ หรือกลุ่ม ข อ ง มั น สิ่ ง นั ้ น ก็ จ ะ เ ป็ น จุ ด ส น ใ จ แ ล ะ เ กิ ด ความสําคัญขึน้ มา


Principles of design 4.3 การเน้ น ด้ ว ยการจัด วางตํา แหน่ ง (Emphasis by Placement) เมื่อองค์ประกอบอื่น ๆ ชีน้ ํามายังจุดใด ๆ จุดนัน้ ก็จะเป็ นจุดสนใจที่ถูกเน้น ขึน้ มา


Principles of design 5. เอกภาพ(Unity) หมายถึง ความ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์ประกอบศิลป์ทงั ้ ด้า นรูป ลัก ษณะ และด้า นเนื้ อหาเรื่อ งราว เป็ น การประสานหรือจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆให้เกิด ความเป็ น หนึ่ ง เดี ย ว เพื่ อ ผลรวมอัน ไม่ อ าจ แบ่ง แยกส่ว นใดส่วนหนึ่ งออกไป การสร้า งงาน ศิ ล ปะ คื อ การสร้ า งเอกภาพขึ้ น จากความ สับสน ความยุ่งเหยิง เป็ นการจัดระเบียบ และ ดุลยภาพ ให้แก่สงิ่ ที่ขดั แย้งกันเพื่อให้รวมตัวกัน ได้ โดยการเชื่อ มโยงส่ว นต่ า ง ๆให้ส มั พัน ธ์ก ัน เอกภาพของงานศิล ปะ มีอ ยู่ 2 ประการ คือ


Principles of design 5.1 เอกภาพของการแสดงออก หมายถึง การแสดงออกที่มจี ุดมุ่งหมาย เดียว แน่ นอน และมีความเรียบง่าย งานชิ้นเดียวจะแสดงออกหลายความคิด หลาย อารมณ์ไม่ได้ จะทําให้สบั สน ขาดเอกภาพ และการแสดงออกด้วยลักษณะเฉพาตัวของ ศิลปิ นแต่ละคน ก็สามารถทําให้ เกิดเอกภาพแก่ผลงานได้


Principles of design 5.2 เอกภาพของรู ป ทรง คื อ การ รวมตัว กัน อย่า งมีดุ ล ยภาพ และมีร ะเบีย บของ องค์ประกอบ ทางศิลปะ เพื่อให้เกิดเป็ นรูป ทรง หนึ่ ง ที่ส ามารถแสดงความคิด เห็น หรืออารมณ์ ของศิล ปิ น ออกได้อ ย่ า งชัด เจน เอกภาพของ รู ป ทรง เป็ น สิ่ง ที่สํ า คัญ ที่สุ ด ต่ อ ความงามของ ผลงานศิลปะ เพราะเป็ นสิง่ ที่ศลิ ปิ นใช้เป็ นสื่อใน การแสดงออกถึงเรื่องราว ความคิด และอารมณ์


Principles of design กฎเกณฑ์ในการสร้างเอกภาพในงานศิลปะเป็ น กฎเกณฑ์ เ ดีย วกัน กับ ธรรมชาติ ซึ่ง มีอ ยู่ 2 หัว ข้อ คือ 1. กฎเกณฑ์ของการขัดแย้ง (Opposition) มีอยู่ 4 ลักษณะ คือ 1.1 การขัดแย้งขององค์ประกอบทางศิลปะแต่ละ ชนิด และรวมถึงการขัดแย้งกันขององค์ประกอบต่างชนิด กันด้วย 1.2 การขัดแย้งของขนาด 1.3 การขัดแย้งของทิศทาง 1.4 การขัดแย้งของทีว่ า่ งหรือ จังหวะ ง่ายทีส่ ดุ แต่ก็ ทําให้ดจู ดื ชืด น่าเบือ่ ทีส่ ดุ


Principles of design 2. กฎเกณฑ์ของการประสาน (Transition) คือ การทําให้เกิดความกลมกลืน ให้สงิ่ ต่าง ๆ เข้ากันด้อย่างสนิท เป็ นการสร้างเอกภาพจากการวมตัว ของสิง่ ทีเ่ หมือนกันเข้าด้วยกันการประสาน มีอยู่ 2 วิธ ี คือ 2.1 การเป็ นตัวกลาง (Transition) คือ การทํา สิง่ ทีข่ ดั แย้งกันให้กลมกลืนกัน ด้วยการ ใช้ตวั กลางเข้าไป ประสาน เช่น สีขาว กับสีดาํ ซึง่ มีความแตกต่าง ขัดแย้ง กันสามารถทําให้อยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีเอกภาพ ด้วยการใช้ สีเทาเข้าไปประสาน ทําให้เกิดความกลมกลืนกันมากขึน้ 2.2 การซํา้ (Repetition) คือ การจัดวางหน่วยที่ เหมือนกันตัง้ แต่ 2 หน่วยขึน้ ไป เป็ นการสร้างเอกภาพที่ ง่ายแต่จะดูน่าเบือ่


Principles of design 1. ความเป็ นเด่น (Dominance) ซึง่ มี 2

ลักษณะ คือ 1.1 ความเป็ นเด่นทีเ่ กิดจากการขัดแย้ง ด้วยการเพิม่ หรือลดความสําคัญ ความน่าสนใจในหน่วยใดหน่วยหนึ่ง ของคูท่ ข่ี ดั แย้งกัน 1.2 ความเป็ นเด่นทีเ่ กิดจากการประสาน 2. การเปลี่ยนแปร (Variation) คือ การเพิม่ ความขัดแย้งลงในหน่วยทีซ่ ้าํ กัน เพือ่ ป้องกัน ความจืดชืด น่าเบือ่ ซึง่ จะช่วยให้มคี วามน่าสนใจมากขึน้ การเปลีย่ นแปร มี 4 ลักษณะ คือ 2.1 การปลีย่ นแปรของรูปลักษณะ 2.2 การปลีย่ นแปรของขนาด 2.3 การปลีย่ นแปรของทิศทาง 2.4 การปลีย่ นแปรของจังหวะ การเปลีย่ นแปรรูปลักษณะจะต้องรักษาคุณลักษณะของการซํ้าไว้ ถ้ารูปมีการเปลีย่ น แปรไปมาก การซํ้าก็จะหมดไป กลายเป็ นการขัดแย้งเข้ามาแทน


อ้างอิง ศักดิ ์ชัย เกียรตินาคินทร์. 2553. @design หลักการออกแบบศิลปะ Principles of Design. สํานักพิมพ์ไว้ลาย. พิมพ์ท่ี พิมพ์ด.ี กรุงเทพ. หลักการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ Principles of Composition. [cited 23 ม.ค. 2555]. Available from: http://www.prc.ac.th/newart/webart/composition01.html


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.