โดย
นางสมหมาย บุญสมทบ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3
คำนำ การจั ด ท าเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรี ย นรู้ ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นบ้ า นเนิ นพลั บหวาน ผู้รายงานได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้และฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง ในกรณีที่ไม่เข้าใจทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ ได้แก่ ความรู้ ทั่วไปและพื้นฐานของการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักผักและผลไม้เป็นดอกไม้รูปแบบ ต่างๆ รวมถึงการประดับตกแต่ง การจัดวาง และการจัดแสดงผลงาน เป็นต้น ซึ่งมีจานวนทั้งหมด 10 เล่ม เอกสารแต่ละเล่มจะประกอบไปด้วยรายละเอียดต่างๆ ได้แก่ คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน และนักเรียน แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบฝึกหัด การจั ด ทาเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายประทีป ศรีรักษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ คาแนะนา ตรวจความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขจนสาเร็จเป็นรูปเล่มด้วยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สมหมาย บุญสมทบ
คำชี้แจง เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ได้ จั ดทาขึ้นเพื่อ ใช้เป็นสื่ อประกอบกระบวนการจั ดการเรี ยนรู้ รายวิชา ง 21202 งานประดิษฐ์ 2 (การแกะสลักผักและผลไม้ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน บ้านเนินพลับหวาน เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้มีทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4
เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้ พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักแครอทเป็นดอกข่า การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่
เล่มที่ 5 เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น เล่มที่ 6 เล่มที่ 7 เล่มที่ 8 เล่มที่ 9 เล่มที่ 10
เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง
การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกกุหลาบ การแกะสลักมันแกวเป็นดอกแคทลียา การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ การจัดนิทรรศการแสดงผลงานการแกะสลักผักและผลไม้
เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1 เล่มใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน โดยเป็น การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น กระบวนการแบบกลุ่ ม ร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ เอกสารชุ ด นี้ จ ะส่ ง ผลให้ กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน โดยครูผู้สอน มีหน้าที่แนะนาเมื่อนักเรียนมีปัญหาเวลาปฏิบัติงาน
สมหมาย บุญสมทบ
สำรบัญ เรื่อง คานา คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู คาแนะนาสาหรับผู้เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น ฟักทอง วิธีการเลือกและดูแลรักษาฟักทอง การแกะสลักดอกบานชื่น วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น ขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น การดูแลรักษาดอกบานชื่นแกะสลัก การใช้งานดอกบานชื่นแกะสลัก ข้อเสนอแนะ ใบงาน เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น รายงานผลปฏิบัติงานกลุ่ม แบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน บรรณานุกรม
หน้ำ
1 2 3 4 7 7 8 8 9 10 14 14 15 16 17 19 20 23 24 25 27
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 1
คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อ นใช้ เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ แต่ ล ะเล่ม ก่อนนาไปใช้
ครู ผู้ ส อนควรศึก ษาให้ล ะเอี ย ด
2. ครูผู้สอนต้องเตรียมสื่อที่เกี่ยวข้องให้พร้อม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะศึกษา และปฏิบัติตาม 3. ครูผู้สอนควรประเมินผลนักเรียน ทั้งก่อนเรียน และหลังเรียนเมื่อศึกษาเอกสาร จบแต่ละเล่ม 4. หากนักเรียนมีข้อสงสัย ไม่เข้าใจ ให้อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 2
คำแนะนำสำหรับผู้เรียน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ผู้เรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อนศึกษา ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนและเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ หลังเรียน 2. ผู้เรียนต้องอ่านทาความเข้าใจให้ละเอียดทุกเรื่อง 3. ผู้เรียนศึกษาจบเล่มแล้ว ควรประเมินผลสัมฤทธิ์ของตนเองจากกิจกรรมท้ายเล่ม และทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า 4. หากผู้เรียนมีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจถ้อยคาหรือเนื้อหาใดๆในเล่ม จะต้องสอบถาม ข้อมูลให้ละเอียดเพิ่มเติมจากครูผู้สอนหรือผู้รู้ทันที
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 3
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน
ด้ำนทักษะกระบวนกำร 3. นักเรียนฝึกแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นได้ถูกต้องตามขั้นตอน
ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 4
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. การเลือกฟักทองมาใช้ในงานแกะสลักควรเลือกอย่างไร ก. ผลใหญ่เนื้อหนา ข. ผลใหญ่เนื้อบาง ค. ผลเล็กเนื้อหนา ง. ผลเล็กเนื้อบาง 2. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นคือข้อใด ก. ปาดฐานล่าง ข. ปาดเนื้อใต้กลีบออก ค. เกลาฟักทองเป็นรูปหลังเต่า ง. เจาะเกสรตรงกลางเป็นวงกลม 3. วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักดอกบานชื่นคือข้อใด ก. ฟักทอง ข. มีดบาง ค. มีดแกะสลัก ง. ถูกทุกข้อ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 5
4. ปลายกลีบของดอกบานชื่นมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายกลีบโค้งมน ข. ปลายกลีบแหลม ค. ปลายกลีบกลม ง. ปลายกลีบหยัก 5. การแกะสลักกลีบดอกบานชื่น ควรคว้านรอบนอกเกสรให้เป็นรูปตัวอักษรใด ก. V ข. U ค. W ง. O 6. ดอกบานชื่นที่แกะสลักเสร็จแล้วแต่ยังไม่ได้ใช้งานทันทีจะมีวิธีการเก็บอย่างไรให้ใช้ได้นานที่สุด ก. แช่น้าไว้ ข. ห่อใบตอง ค. ห่อผ้าขาวบาง ง. ล้างน้า ใส่ถุง และแช่เย็น 7. ข้อใดคือวิธีการเก็บรักษาดอกบานชื่นที่ไม่ถูกต้อง ก. แช่ตู้เย็น ข. แช่น้าเย็น ค. ล้างน้าเย็น ง. คลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดหมาด 8. ถ้าต้องการดอกบานชื่นสีอื่นๆ สามารถใช้ผักผลไม้ชนิดใดแทนได้ ก. สีส้ม – แครอท ข. สีขาว – แตงกวา ค. สีเขียว – มะละกอ ง. สีแดง – มะเขือเทศ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 6
9. การแกะสลักดอกบานชื่นมีความคล้ายคลึงกับดอกรักเร่ยกเว้นข้อใด ก. การดูแลรักษาชิ้นงาน ข. ลักษณะกลีบ ค. จานวนกลีบ ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ดอกบานชื่นที่แกะสลักแล้ว นาไปใช้ประโยชน์ตามข้อใด ก. นาไปจัดตกแต่งจานอาหาร ข. นาไปทาเป็นฟักทองเชื่อม ค. นาไปจัดแจกัน ง. ถูกทุกข้อ
ตั้งใจทำนะครับ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 7
ใบควำมรู้ เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชืน่ ฟักทอง
ที่มำของภำพ : http://www.the-than.com และ http://www.myveget.com
ฟักทอง เป็นผักที่มีสีสวย มีหลายขนาด เป็นอาหารได้ทั้งคาวและหวาน และเป็นผักที่เหมาะ กับการแกะสลัก เนื่องจากเนื้อฟักทองนั้นเหนียวแน่น เนื้อไม่แข็งมาก แกะสลักแล้วอยู่ทรงได้นาน ที่ ส าคั ญ มี สี เ หลื อ งทองที่ ส วยสด และยั ง มี ร าคาที่ ไ ม่ แ พงมากนั ก จึ ง เหมาะส าหรั บ น ามาฝึ ก หั ด การแกะสลักอยู่เสมอ การเลือกฟักทองควรเลือกผลหนักๆ เนื้อสีเหลือง มีอมเขียวใกล้เปลือกเล็กน้อย ยิ่งถ้ามีมันเป็นจุดๆเกาะตรงสีเขียวใกล้เปลือก แสดงว่าเป็นฟักทองแก่ ฟักทองผลเล็กนิยมนามาแกะ เป็นภาชนะใส่อาหาร หรือแจกันทรงเตี้ย ผลใหญ่เนื้อหนา หั่นเป็นเสี้ยวเล็กใหญ่ตามต้องการนามา แกะเป็นดอกไม้ ใบไม้ ตัวสัตว์ ตามต้องการ นอกจากนี้ข้อแนะนาอีกประการในการเลือกฟักทอง คื อ ไม่ ค วรน าฟั ก ทองที่ ผ ลยั ง อ่ อ นอยู่ ห รื อ ฟั ก ทองลู ก เล็ ก ที่ มี น้ าหนั ก เบา เนื้ อ บางมาแกะสลั ก เพราะผลงานจะอยู่ได้ไม่ทน และกลีบดอกมีความหนาน้อย ทาให้ผลงานไม่สวยงาม
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 8
วิธีกำรเลือกและดูแลรักษำฟักทอง 1. เลือกฟักทองผลที่แก่จัด เนื้อหนา ผิวเปลือกขรุขระ สีเหลืองอมเขียว จะได้ฟักทองเนื้อเหนียว 2. เลือกฟักทองให้สด เวลาแกะสลักเนื้อจะได้แน่น 3. ก่ อ นจะน าไปใช้ ล้ า งน้ าให้ ห มดยาง ไม่ ค วรแช่ น้ าเพราะฟั ก ทองจะเปื่ อ ย ท าให้ ป ลาย กลีบดอกขาว
กำรแกะสลักดอกบำนชื่น การแกะสลั ก ดอกบานชื่ น เป็ น การแกะสลั ก ที่ มี ล วดลายซั บ ซ้ อ นและเป็ น การแกะสลั ก ที่เลียนแบบธรรมชาติ ลักษณะกลีบของดอกบานชื่นจะมีลักษณะกลีบโค้งมน มีร่องกลีบทั้งกลีบโค้งมน หรือโค้งหยักเป็นลายเส้น ลักษณะดอกมีหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่มีกลีบซ้อน 2-3 ชั้น และแบบที่มี กลีบมากซ้อนสับระหว่างหลายชั้นหนาแน่น การแกะสลักดอกบานชื่นอาจดัดแปลงรูปแบบเพิ่มเติม จากธรรมชาติได้อีกหลายรูปแบบ
ที่มำของภำพ : http://www.singtip.com และ http://thaicarvingclub.com
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 9
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น 1.มีดต่างๆ ได้แก่ มีดแกะสลัก มีดปลายแหลม และมีดปอก
2.เขียง
3.กะละมัง
4.ฟักทอง เตรียมวัสดุพร้อม แล้ว… ลงมือทากันเลย
ที่มำของภำพที่ 1-4 : สมหมำย บุญสมทบ (2554)
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 10
ขั้นตอนกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น 1. ตัดฟักทองให้เป็นสี่เหลี่ยมตามขนาดที่ต้องการ และใช้มีดบางเกลาฟักทองให้เป็นรูปหลังเต่า 1
2. เจาะเกสรตรงกลางเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 1 นิ้ว แบ่งเป็น 8 ช่อง 2
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 11
3. ตั้งมีดกรีดเป็นรูปตัวยู (U) และปาดใต้กลีบ 3
4. เกลาให้กลม ทาสับหว่างเช่นเดิมจนหมด 4
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 12
5.
รอบนอกแบ่งเป็น 10 กลีบ เอียงมีด คว้านเป็นรูปตัวยู (U) 5
6. ตั้งมีดกรีดเป็นรูปตัวยู (U) และปาดใต้กลีบ 6
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 13
7. ชั้นที่ 2 คว้านเป็นรูปตัวยู (U) ระหว่างกลีบ ตั้งมีดกรีดเป็นรูปตัวยู (U) และปาดใต้กลีบ ทาเช่นเดิมต่ออีก 2 ชั้น 7
8. ชิ้นงานสาเร็จ 8
ที่มำของภำพที่ 1-8 : สมหมำย บุญสมทบ (2554)
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 14
กำรดูแลรักษำดอกบำนชื่นแกะสลัก เมื่อแกะสลักเสร็จแล้วล้างน้าเย็นจัด รีบนาขึ้นคลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดให้หมาด หรือใส่กล่องพลาสติกปิดฝา แช่ตู้เย็นชั้นผัก เก็บได้นานประมาณ 2-3 วัน
กำรใช้งำนดอกบำนชื่นแกะสลัก สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายลักษณะดังนี้ (ควรคานึงถึงขนาดของการนาไปใช้ด้วย) 1. การจัดผักเครื่องจิ้ม 2. การจัดจานอาหาร 3. การจัดทดแทนดอกไม้สด 4. การเชื่อม เพื่อการตกแต่ง
ทีม่ ำของภำพ : http://pakareke.blogspot.com และ : http://www. thaigoodview.com
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 15
ข้อเสนอแนะ 1.
นักเรียนสามารถใช้ผักผลไม้ชนิดอื่นแทนฟักทองได้ เช่น แครอท หัวผักกาด เผือก บีทรูท มันแกว เป็นต้น
2.
เมื่อนักเรียนฝึกจนชานาญแล้ว สามารถนาทักษะการแกะสลักดอกบานชื่นไปแกะลงบน ผลไม้ที่มีขนาดใหญ่ได้ เช่น แตงโม มะละกอ หรือแคนตาลูป เป็นต้น โดยสามารถแกะเป็น ดอกเดี่ยวหรือซ้อนดอกก็ได้
การแกะสลักดอกบานชื่นบนแตงโม (ดอกเดี่ยว)
การแกะสลักดอกบานชื่นบนมะละกอ (ซ้อนดอก)
ที่มาของภาพ : สมหมาย บุญสมทบ (2554) และ ณภัทร (2552)
การดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ เมื่อเราปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว เราต้องเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นที่ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสามารถนามาใช้ครั้งต่อไปได้สะดวก โดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ 1. หลังจากใช้วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักแล้วควรเก็บทุกครั้ง 2. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิดต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ 3. เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้ว เก็บใส่ซอง ใส่กล่อง และเก็บในตู้ให้เป็นระเบียบ 4.
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 16
ใบงำน เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงค์ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน 3. นักเรียนฝึกแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นได้ถูกต้องตามขั้นตอน 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงานด้วยความ เพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย วัสดุอุปกรณ์ 1. ฟักทอง 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ มีดบาง มีดแกะสลัก เขียง กะละมัง ถาด เป็นต้น 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน 1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 คน 2. สมาชิกกลุ่มร่วมกันศึกษาวิธีการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น ตามขั้นตอนในเอกสาร ประกอบการเรียนรู้ เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น หน้า 10-13 3. นักเรียนแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น คนละ 1 ดอก 4. สมาชิกกลุ่มร่วมกันบันทึกข้อมูลลงในรายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 5. เลือกผลงานที่ดีที่สุดในกลุ่ม และส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงาน ข้อควรระวัง ขณะปฏิบัติงานควรมีสมาธิ ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน และควรระมัดระวังใน การใช้อุปกรณ์ที่มีคม เช่น มีดบาง มีดแกะสลัก เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายได้ เมื่อแกะสลักฟักทองเสร็จแล้วไม่ควรแช่น้านาน เพราะจะทาให้กลีบดอกขาว และเน่า ให้ล้างน้าเย็นผ่านๆแล้วใส่กล่องพลาสติกปิดฝา แช่ตู้เย็นชั้นผัก
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 17
รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนกลุ่ม เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น กลุ่มที.่ ........................ชั้น.......................... รำยชื่อสมำชิก ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... .........................................................................................................................................
1. วัสดุอุปกรณ์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ขั้นตอนกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. ประโยชน์กำรใช้สอย ............................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ........................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 18
4. ปัญหำและอุปสรรคในกำรทำงำน ........................................................................................................................................................................... ... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. กำรแก้ไขปัญหำ ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. กำรเปรียบเทียบผลงำนกับกลุ่มอื่น ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนในครั้งต่อไป ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
สู้ๆนะจ๊ะเด็กๆ ลงชื่อ....................................................หัวหน้ำกลุ่ม (...................................................)
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 19
แบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที
คำชี้แจง ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมาย หน้าข้อความที่กล่าวถูกต้องและทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่กล่าวไม่ถูกต้อง
______ 1. ฟักทองที่นามาแกะสลักผลต้องหนักๆ เนื้อสีเหลือง มีอมเขียวใกล้เปลือกเล็กน้อย ______ 2. ไม่ควรนาฟักทองที่ผลแก่หรือฟักทองลูกใหญ่ที่มีน้าหนักเบามากมาแกะสลัก เพราะ ผลงานจะอยู่ได้ไม่ทน ทาให้ผลงานไม่สวยงาม ______ 3. ก่อนจะนาฟักทองไปใช้ ต้องล้างน้าให้หมดยาง ไม่ควรแช่น้าเพราะฟักทองจะเปื่อย ______ 4. ขั้นตอนแรกในการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นจะต้องเจาะเกสรตรงกลางเป็น วงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 1 นิ้ว แบ่งเป็น 8 ช่อง ______ 5. การแกะสลักกลีบดอกบานชื่นต้องตั้งมีดกรีดเป็นรูปตัวยู (V) และปาดใต้กลีบ ______ 6. เมื่อแกะสลักเสร็จแล้วล้างด้วยน้าอุ่น จากนั้นรีบนาขึ้นคลุมด้วยผ้าขาวบางที่ชุบน้า และบิดหมาด ______ 7. เมื่อนักเรียนฝึกจนชานาญแล้วสามารถนาการแกะสลักดอกบานชื่นไปแกะบนผล มะละกอ มะนาว และแตงกวาได้ ______ 8. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิด ต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ ______ 9. นักเรียนสามารถนาผลงานแกะสลักดอกบานชื่นมาจัดเป็นแจกันดอกไม้สดได้ ______ 10. การฝึกฝนการแกะสลักทาให้ผู้ฝึกฝนใจเย็นและมีสมาธิมากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็น การฝึกความคิดสร้างสรรค์อีกด้วย
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 20
แบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักดอกบานชื่นคือข้อใด ก. ฟักทอง ข. มีดบาง ค. มีดแกะสลัก ง. ถูกทุกข้อ 2. การเลือกฟักทองมาใช้ในงานแกะสลักควรเลือกอย่างไร ก. ผลเล็กเนื้อบาง ข. ผลเล็กเนื้อหนา ค. ผลใหญ่เนื้อบาง ง. ผลใหญ่เนื้อหนา 3. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นคือข้อใด ก. ปาดฐานล่าง ข. ปาดเนื้อใต้กลีบออก ค. เกลาฟักทองเป็นรูปหลังเต่า ง. เจาะเกสรตรงกลางเป็นวงกลม
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 21
4. การแกะสลักกลีบดอกบานชื่น ควรคว้านรอบนอกเกสรให้เป็นรูปตัวอักษรใด ก. V ข. U ค. W ง. O 5. ปลายกลีบของดอกบานชื่นมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายกลีบโค้งมน ข. ปลายกลีบแหลม ค. ปลายกลีบกลม ง. ปลายกลีบหยัก 6. ดอกบานชื่นที่แกะสลักเสร็จแล้วแต่ยังไม่ได้ใช้งานทันทีจะมีวิธีการเก็บอย่างไรให้ใช้ได้นานที่สุด ก. แช่น้าไว้ ข. ห่อใบตอง ค. ห่อผ้าขาวบาง ง. ล้างน้า ใส่ถุง และแช่เย็น 7. ข้อใดคือวิธีการเก็บรักษาดอกบานชื่นที่ไม่ถูกต้อง ก. แช่ตู้เย็น ข. แช่น้าเย็น ค. ล้างน้าเย็น ง. คลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดหมาด 8. ถ้าต้องการดอกบานชื่นสีอื่นๆ สามารถใช้ผักผลไม้ชนิดใดแทนได้ ก. สีส้ม – แครอท ข. สีขาว – แตงกวา ค. สีเขียว – มะละกอ ง. สีแดง – มะเขือเทศ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 22
9. ดอกบานชื่นที่แกะสลักแล้ว นาไปใช้ประโยชน์ตามข้อใด ก. นาไปจัดตกแต่งจานอาหาร ข. นาไปทาเป็นฟักทองเชื่อม ค. นาไปจัดแจกัน ง. ถูกทุกข้อ 10. การแกะสลักดอกบานชื่นมีความคล้ายคลึงกับดอกรักเร่ยกเว้นข้อใด ก. การดูแลรักษาชิ้นงาน ข. ลักษณะกลีบ ค. จานวนกลีบ ง. ไม่มีข้อใดถูก
ง่ำยนิดเดียวเอง ใช่ไหมครับ
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 23
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น
แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ก 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข 6. ง 7. ข 8. ก 9. ข 10. ง
เก่งมำกเลยจ้ำ
แบบทดสอบหลังเรียน 1. ง 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ง 8. ก 9. ง 10. ข
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 24
เฉลยแบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที
คำชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่กล่าวถูกต้องและทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่กล่าวไม่ถูกต้อง
1. ฟักทองที่นามาแกะสลักผลต้องหนักๆ เนื้อสีเหลือง มีอมเขียวใกล้เปลือกเล็กน้อย 2. ไม่ควรนาฟักทองที่ผลแก่หรือฟักทองลูกใหญ่ที่มีน้าหนักเบามากมาแกะสลัก เพราะผลงานจะอยู่ได้ไม่ทน ทาให้ผลงานไม่สวยงาม 3. ก่อนจะนาฟักทองไปใช้ ต้องล้างน้าให้หมดยาง ไม่ควรแช่น้าเพราะฟักทองจะเปื่อย 4. ขั้นตอนแรกในการแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่นจะต้องเจาะเกสรตรงกลางเป็น วงกลมเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 1 นิ้ว แบ่งเป็น 8 ช่อง 5. การแกะสลักกลีบดอกบานชื่นต้องตั้งมีดกรีดเป็นรูปตัวยู (V) และปาดใต้กลีบ 6. เมื่อแกะสลักเสร็จแล้วล้างด้วยน้าอุ่น จากนั้นรีบนาขึ้นคลุมด้วยผ้าขาวบางที่ชุบน้า และบิดหมาด 7. เมื่อนักเรียนฝึกจนชานาญแล้วสามารถนาการแกะสลักดอกบานชื่นไปแกะบนผล มะละกอ มะนาว และแตงกวาได้ 8. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิดต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ 9. นักเรียนสามารถนาผลงานแกะสลักดอกบานชื่นมาจัดเป็นแจกันดอกไม้สดได้ 10. การฝึกฝนการแกะสลักทาให้ผู้ฝึกฝนใจเย็นและมีสมาธิมากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็น การฝึกความคิดสร้างสรรค์อีกด้วย
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 25
กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น
ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........
ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม
คะแนน
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 26
กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกบำนชื่น
ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........
ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม
คะแนน
เล่มที่ 5 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น 27
บรรณำนุกรม ณภัทร ทองแย้ม. แกะผักสลักผลไม้ลำยประยุกต์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2552. ____________. แกะผักสลักลำย. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2551. ดารงศักดิ์ นิรันดร์. ศิลปะกำรแกะสลักผลไม้. กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส ชอฟ์เทค, 2550. วันดี ณ สงขลา. แกะผัก สลักผลไม้. กรุงเทพฯ : โรงเรียนครัววันดี, 2551 ศรราม ดีรอด. กำรแกะสลักผลไม้เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2549. ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ. กำรแกะสลักดอกไม้จำกผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2552