สถาบั น เกษตราธิ ก าร ได จั ด ทํ า รายงานประจํ า ป 2555 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เผยแพร ผลการดําเนินงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในชวงปงบประมาณ พ.ศ.2555 เนื้อหาประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม สวนที่ 2 ผลการใชจายงบประมาณ ประจําป และสวนที่ 3 สรุปผลการดําเนินงาน ในสวนของผลการดําเนินงาน สถาบันเกษตราธิการดําเนินการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ในรูปแบบ การจัดฝกอบรม/สัมมนา การสงเสริมใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองผานการ จัดการความรูหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ รวมทั้งดําเนินการดานการจัดสรรทุนเพื่อใหบุคลากรไดมีโอกาส ในการศึกษาตอทั้งภายในประเทศและตางประเทศ คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานตางๆ และผูที่สนใจตอไป
สถาบันเกษตราธิการ กรกฏาคม 2556
สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ
หนา 2
สวนที่ 2 ผลการใชจา ยงบประมาณ
6
สวนที่ 3 สรุปผลการดําเนินงาน
9
3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล
10
3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม
14
3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา 1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2) การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
16 18 29 40
3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน
48
3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง 1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1) การพัฒนาบุคลากรผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) 1.2) การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน 2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ
49 49
3.6 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 2) ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศ ที่ไดรับจัดสรร จากกระทรวงการตางประเทศ 3) โครงการใหทุนการศึกษาภาษาจีน มณฑลฮกเกี้ยน ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว สาธารณรัฐประชาชนจีน 4) การฝกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหวางประเทศ (English for International Communication) ประจําป 2555
58 58
ภาคผนวก
51 56
61 63 64 67
สวนที่
1
ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ
สวนที่
1
ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ สถาบันเกษตราธิการเปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีหนา ที่ เกี่ยวกับการศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบ และยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการของกระทรวง เกษตรและสหกรณ เป น องค ก รในการบริ ก ารทางด า นวิ ช าการและเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ พั ฒ นา ขาราชการและทรัพยากรบุคคลของกระทรวง รวมทั้งปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
1) วิ สั ย ทั ศ น พั น ธกิ จ ยุ ท ธศาสตร วิสัยทัศน เปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการอยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและทั่วถึง
พันธกิจ 1. กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. ส ง เสริ ม และประสานความร ว มมื อ ด า นการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของกระทรวงเกษตร และสหกรณ 4. ติดตามและประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามแผนกลยุทธการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
3
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ยุทธศาสตร 1. การสรางและบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแบบบูรณาการ 2. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3. การสงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันเกษตราธิการ
2) ข อ มู ล พื้ น ฐานของหน ว ยงาน โครงสร า งสถาบั น เกษตราธิ ก าร
อั ต รากํ า ลั ง ของสถาบั น เกษตราธิ ก าร จํ า นวน 39 คน
ขาราชการ 27 คน พนักงานราชการ 7 คน ลูกจางประจํา 5 คน
4
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
เพื่ อ ให ก ารบริ ห ารและการติ ด ตามการใช จ า ยงบประมาณมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สอดคล อ งกั บ ระบบ งบประมาณแบบมุ ง เน น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ผลสํ า เร็ จ ตามยุ ท ธศาสตร (Strategic Performance) และเพื่อใชประโยชนจากการรายงานที่เปนรูปธรรมชัดเจน จึงกําหนดตัวชี้วัด การดําเนินงาน ดังนี้
ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ จํานวนบุคลากรทีไ่ ดรับการพัฒนา เปาหมาย 1,271 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 1,245 ราย และ ทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย จํานวน 26 ราย ผลการดําเนินงาน 2,492 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,466 ราย และ ทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 26 ราย
กราฟแสดงจํานวนบุคลากรที่ไดรบั การพัฒนา ปงบประมาณ 2555
1,271
2,492
เปาหมาย
ผลการดําเนินงาน
ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ รอยละของระดับการนําความรูทไี่ ดรับจากการฝกอบรมไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน เปาหมาย รอยละ 80
ผลการดําเนินงาน รอยละ 81.2
สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการติดตามประเมินผลการฝกอบรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 กําหนดระยะเวลาในการติดตามประเมินผลอยางนอย 3 เดือนหลังจากจัดฝกอบรมเสร็จสิ้น โดยสอบถามจาก ผูเขารับการฝกอบรมทั้งหมดของหลักสูตรที่กําหนด เกี่ยวกับระดับประโยชนในการนําความรูที่ไดรับจากการ ฝกอบรมไปปรับใชในการปฏิบัติงาน ดวยแบบสอบถามแบบ 5 ระดับ (มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และ นอยที่สุด) ใหคะแนน 5, 4, 3, 2 และ 1 ตามลําดับ ผลการประเมิน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.06 หรือ รอยละ 81.2 มีรายละเอียด ดังนี้
สวนที่
2
ผลการใชจายงบประมาณ
2
สวนที่
ผลการใชจายงบประมาณ กรอบงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2555 สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สถาบันเกษตราธิการไดรับงบประมาณตามแผนงานสงเสริม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และสร า งมู ล ค า ภาคการเกษตร ผลผลิ ต อํ า นวยการและบริ ห ารจั ด การด า น การเกษตร กิจ กรรมการพั ฒ นาบุค ลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํา นวน 40,206,500 บาท และไดรบั โอนจากงบสํารองสวนกลางเพิม่ รวมเปน 40,798,710 บาท ใชจา ยไปทัง้ สิน้ 38,259,596.06 บาท คิ ด เป น ร อ ยละ 93.78 ในการใช จ า ยงบประมาณ ได แ ยกประเภทของรายจ า ยงบประมาณ ได แ ก งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบลงทุน และงบรายจายอื่นๆ รายละเอียดดังนี้ งบรายจาย
งบบุคลากร
งบดําเนินงาน
งบลงทุน
งบเงินอุดหนุน งบรายจายอื่นๆ
รวม
ไดรับ (บาท)
9,849,610.00 16,123,004.00
9,587,900.00
2,238,196.00
3,000,000.00
40,798,710.00
ผลเบิกจาย (บาท)
9,849,610.10 15,924,879.96
9,386,310.00
99,296.00
2,999,500.00
38,259,596.06
97.90
4.44
99.98
93.78
100
รอยละ
98.77
กราฟแสดงงบประมาณที่ ไ ด รั บ และผลการใช จ า ยงบประมาณ
100%
98.77%
97.90%
4.44%
99.98% : งบประมาณที่ไดรับ : ผลการใชจาย
งบบุคลากร
งบดําเนินงาน
งบอุดหนุน
งบลงทุน
งบรายจายอื่นๆ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
7
สถาบั น เกษตราธิ ก าร ได ดํา เนิ น การติ ด ตามประเมิ น ผลการนํา ความรู ที่ ไ ด รั บ จากการฝ ก อบรม ไปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน โดยการใช แ บบสอบถามแบบมาตราส ว นประเมิ น ค า (Rating Scale) 5 ระดั บ คํา ถามแบบเลื อ กตอบ 2 ตั ว เลื อ ก และคํา ถามปลายเป ด เก็ บ ข อ มู ล จากผู ผ า นการฝ ก อบรม จํานวน 1,043 คน ไดรับกลับจํานวน 818 คน คิดเปนรอยละ 78.43 สรุปผลการประเมินไดดังนี้ 1. ผูตอบแบบสอบถามไดรับความรู ความเขาใจ จากการฝกอบรมหลักสูตรตางๆ ระดับมาก ดวย คาเฉลี่ย 3.95 หรือรอยละ 79.00 2. ระดับประโยชนในการนําความรูที่ไดรับไปปรับใชในการปฏิบัติงาน ระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.06 หรือรอยละ 81.20 3. การบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ข องหลั ก สู ต ร ผู ต อบแบบสอบถามส ว นใหญ ร อ ยละ 99.28 แสดง ความเห็นวาบรรลุวัตถุประสงค 4. ความเหมาะสมของเนื้อหาหลักสูตร ผลการประเมินพบวา ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 93.53 แสดงความเห็นวาเหมาะสมแลว 5. ผลการปฏิ บั ติ ง านหลั ง นํา ความรู ที่ ไ ด รั บ จากการฝ ก อบรมไปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน พบว า ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 97.71 แสดงความเห็นวาปฏิบัติงานดีขึ้น 6. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญรอยละ 95.44 พยายามนําความรูที่ไดมาพัฒนาองคกร เชน การ เป น แบบอย า งที่ ดี การเสนอความคิ ด เห็ น ร อ ยละ 94.47 นํา ความรู ไ ปให ค วามช ว ยเหลื อ แนะนํ า ผูรวมงาน และ รอยละ 88.92 นําความรูจากการฝกอบรมมาเผยแพรตอคนในองคกร 7. ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ องค ก ร/กระทรวง/เกษตรกร หลั ง นํ า ความรู ไ ปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน หน ว ยงานสามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตรงตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ซึ่ ง จะส ง ผลดี ต อ เกษตรกร เป น ที่ ย อมรั บ ของเกษตรกร ทํา ให น โยบายประสบผลสํา เร็ จ ตาม วัตถุประสงค
สวนที่
3
สรุปผลการดําเนินงาน
สวนที่
3
สรุปผลการดําเนินงาน สถาบันเกษตราธิการ เปนหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ภายใตกรอบนโยบาย ยุทธศาสตรการพัฒนา แผนงาน โครงการ ที่จะตองสงเสริม สนับสนุน และผลักดันใหบุคลากรไดรับการพัฒนาขีดความสามารถ เปนผูปฏิบัติงานที่ทรงความรู ภายใต ระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม และการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทัน การเปลี่ ย นแปลง สามารถพั ฒ นางานในหน า ที่ อ ย า งสม่ํ า เสมอและต อ เนื่ อ ง มี ขี ด ความสามารถและ มาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล ไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรของกระทรวง เกษตรและสหกรณ มีผลการดําเนินงานที่สําคัญสรุปไดดังนี้ 3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล สป.กษ. 3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม 3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา 3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน 3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง 1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ 3.6 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) โครงการทุ นศึ ก ษาต อ ในประเทศ ระดับ ปริญ ญาโท ปริ ญ ญาเอก ณ สถาบัน เทคโนโลยี แหงเอเชีย 2) ทุ น ฝ ก อบรม สั ม มนา ดู ง าน ทั้ ง ในและต า งประเทศที่ ไ ด รั บ จั ด สรรจากกระทรวงการ ตางประเทศ 3) โครงการใหทุนการศึกษาภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว สาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
10
3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) จากการที่สํานักงาน ก.พ. ไดจัดทํายุทธศาสตร การพั ฒ นาข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ.2552-2556 ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาคุณภาพขาราชการในการ ปฏิบตั งิ านบนพืน้ ฐานสมรรถนะ กําหนดใหสว นราชการ จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการใหสอดคลอง กั บ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ.2552-2556 และใหสว นราชการจัดทําแผนพัฒนา รายบุคคลใหเชื่อมโยงกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน แผนทางกาวหนาในอาชีพ และแผนการสืบทอดตําแหนง สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของ สป.กษ. พ.ศ.2552-2556 กลยุทธที่ 2 พัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคล สป.กษ. กําหนดใหมี โครงการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อนําขอมูลความตองการพัฒนามาใชเปนแนวทางในการพัฒนา บุ ค ลากรให ส อดคล อ งกั บ ความจํ า เป น ของแต ล ะบุ ค คล กํ า หนดดํ า เนิ น การระหว า งป ง บประมาณ พ.ศ.2554-2556 สถาบันเกษตราธิการไดเริ่มดําเนินการโครงการ จั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล เมื่ อ ป ง บประมาณ พ.ศ.2554 โดยเริ่มจากการจัดฝกอบรมใหขาราชการ สป.กษ. จํานวน 172 คน เพื่อใหค วามรูค วามเขาใจ ในการทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล จากนั้ น ได แ จ ง ให ทุ ก หน ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา ร า ย บุ ค ค ล ต า ม แ บ บ ฟ อ ร ม ที่ กํ า ห น ด จํ า น ว น 91 หนวยงาน ประกอบดวย สํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 75 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี รวมขาราชการทุกระดับ จํานวน 1,167 คน (ไมรวมผูบริหารระดับสูง) เพื่อเปนแนวทางพัฒนาตนเองและใหผูบังคับบัญชาใชเปนแนวทาง พัฒ นาผู ใ ต บั งคั บบั ญ ชา แล วให ทุ กหนวยงานสรุ ปจํ า นวนคนและประเด็ นเนื้ อ หาวิช าที่ ต อ งการพั ฒ นา โดยการฝก อบรมสงสถาบั นเกษตราธิก าร เพื่อ ใชประกอบการจัด ทําแผนปฏิบัติก ารฝกอบรมประจํา ป งบประมาณ พ.ศ.2555
11
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
สํา หรับปงบประมาณ พ.ศ.2555 สถาบันเกษตราธิ ก ารได ดําเนินการโครงการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลตอเนื่องจากปกอน มี ก ารจั ด ฝ ก อบรมข า ราชการ สป.กษ. จํ า นวน 2 รุ น ๆ ละ 2 วั น ระหวางวันที่ 6-7 และ 11-12 มิถุนายน 2555 รวมผูเขารับการ ฝกอบรม 105 คน โดยขยายกลุมเปาหมายผูที่มีความรูความเขาใจ ในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลใหมากขึ้น มีการปรับปรุงและ พัฒนาแบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล และในชวงเดือน สิงหาคม 2555 ไดทําบันทึกสงสํานัก/กอง ใหดําเนินการดังนี้ 1. รายงานผลการพั ฒ นาตามแผนพั ฒ นารายบุ ค คล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 2. ใหหนวยงานจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลสําหรับใชพัฒนา บุคลากรในปงบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่อนําขอมูลไปใชประกอบการจัดทําแผนการฝกอบรม ประจําป งบประมาณ พ.ศ.2556 ผลการดําเนินการ จากการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลของขาราชการในสังกัด สป.กษ. 92 หนวยงาน (ประกอบดวย สํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 76 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี) ไดรับ ข อ มู ล ผลการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คลตอบกลั บ มาจํ า นวน 87 หน ว ยงาน คิ ด เป น ร อ ยละ 94.57 ขาราชการ 987 คน (จากขาราชการรวม 1,167 คน) คิดเปนรอยละ 84.58 ซึ่งประกอบดวย ขาราชการ จากสํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 71 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี 1. ผลการพัฒนาตามแผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 1.1 จํ านวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ 649 คน ไดรับการพัฒนาครบทุกหัวขอตามแผนฯ 240 คน คิดเปนรอยละ 36.98 1.2 จํานวนขาราชการที่มีชองวาง (Gap) สมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ 321 คน ไดรับการพัฒนาเพื่อปดชองวางไดครบทุกตัว 128 คน คิดเปนรอยละ 39.88 1.3 รายละเอียดผลการปดชองวาง (Gap) สมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะที่ใชในการ ปฏิบัติงาน สรุปไดดังนี้ ขาราชการสามารถปดชองวางความรูความสามารถที่ใชในการปฏิบัติงานไดมาก ที่สุด รอยละ 47.56 รองลงมาสามารถปดชองวางสมรรถนะทางการบริหารได คิดเปนรอยละ 42.86 สมรรถนะตามสายงาน ร อยละ 40.45 ความรูดา นกฎหมายและกฎระเบีย บราชการ รอ ยละ 40.28 สมรรถนะหลัก รอยละ 33.64 และทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน ปดชองวางไดนอยที่สุด รอยละ 29.88
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
12
2. ผลการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2556 2.1 จํ า นวนข า ราชการที่ จั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล มี ช อ งว า ง (Gap) สมรรถนะ ความรู ความสามารถและทักษะ รอยละ 29.18 โดยมีชองวางทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานมากที่สุด รอยละ 43.19 รองลงมาเปนความรูเรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ รอยละ 19.42 และสมรรถนะหลัก รอยละ 15.61 2.2 จํานวนขาราชการที่ตอ งการพัฒนาสมรรถนะ ความรูค วามสามารถและทักษะ ทุกวิธกี ารพัฒนา รอยละ 80.75 โดยตองการพัฒนาดวยวิธีการฝกอบรมมากที่สุด รอยละ 85.82 ของจํานวนขาราชการที่ ตองการพัฒนา รองลงมาเปนการเรียนรูดวยตนเอง การฝกอบรมในขณะทํางาน และการดูงานนอกสถานที่ 2.3 จํานวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ โดยวิธีการ ฝกอบรม พบวา ตองการพัฒนาทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานมากที่สุด รอยละ 27.45 รองลงมาเปน สมรรถนะหลัก รอยละ 26.35 และความรูเรื่องกฎหมายและกฎระเบียบ รอยละ 22.43 2.4 จํานวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะที่จําเปนสําหรับ การปฏิบัติงาน ดวยวิธีการฝกอบรม สรุปรายละเอียดไดดังนี้ สมรรถนะทางการบริ ห าร จํ า นวน 6 สมรรถนะ คื อ สภาวะผู นํ า วิ สั ย ทั ศ น การวางกลยุ ท ธ ภาครัฐ ศักยภาพเพื่อนําการปรับเปลี่ยน การควบคุมตนเอง การสอนงานและการมอบหมายงาน พบวา ตองการพัฒนาสมรรถนะสภาวะผูนํามากที่สุด รอยละ 92.86 รองลงมาสมรรถนะศักยภาพเพื่อนํา การ ปรับเปลี่ยน รอยละ 7.14 สมรรถนะหลั ก จํ า นวน 5 สมรรถนะ คื อ การมุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ การบริ ก ารที่ ดี การสั่ ง สมความ เชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม พบวา ตองการพัฒนาสมรรถนะการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพมากที่สุด รอยละ 32.03 รองลงมาเปน สมรรถนะการมุงผลสัมฤทธิ์ รอยละ 26.36 และสมรรถนะการทํางานเปนทีม รอยละ 18.66 สมรรถนะตามสายงาน จํานวน 12 สมรรถนะ คือ การคิดวิเคราะห การมองภาพองครวม การใส ใจและพั ฒ นาผู อื่ น การสื บ เสาะหาข อ มู ล ความเข า ใจผู อื่ น ความเข า ใจองค ก รและระบบราชการ การ ดําเนินการเชิงรุก การตรวจสอบความถูกตองตามกระบวนงาน ความยืดหยุนผอนปรน ศิลปะการสื่อสารจูงใจ สุนทรียภาพทางศิลปะ และความมั่นใจในตนเอง พบวา ตองการพัฒนาการคิดวิเคราะหมากที่สุด รอยละ 50.68 รองลงมาเปนความเขาใจผูอื่น รอยละ 34.25 และการดําเนินการเชิงรุก รอยละ 9.59 ความรู ค วามสามารถที่ ใ ช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน พบว า ต อ งการพั ฒ นาการวางแผนและบริ ห าร โครงการมากที่สุด รอยละ 10.81 รองลงมาเปนการประเมินผลโครงการและการติดตามผล รอยละ 10.27 และการจัดทําแผนยุทธศาสตร รอยละ 9.01
13
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ความรู ด า นกฎหมายและกฎระเบี ย บ พบว า ต อ งการพั ฒ นาความรู ด า นระเบี ย บสํ า นั ก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติมมากที่สุด รอยละ 18.37 รองลงมาเปน กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับการเงินการคลัง รอยละ 11.11 และกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการ จัดซื้อจัดจาง รอยละ 8.30 ทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน พบวา ตองการพัฒนาทักษะการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด รอยละ 52.91 รองลงมาทักษะการใชภาษาอังกฤษ รอยละ 47.09 โดยความตองการพัฒนาทักษะการใช คอมพิวเตอร ตองการพัฒนาโปรแกรม Microsoft Excel มากที่สุด รองลงมาโปรแกรม SPSS สวนทักษะ การใชภาษาอังกฤษ ตองการพัฒนาการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมากที่สุด รองลงมาเปนทักษะการใช ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน ปญหาในการดําเนินการ 1. บุคลากรสวนใหญยังไมเห็นความสําคัญของการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลและการพัฒนาตนเอง รวมทั้งไมสามารถดําเนินการตามแผนที่ กําหนดไดครบทุกหั วขอ ทําใหผลการติดตามการพัฒนาตาม แผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 มีผูที่สามารถพัฒนาไดครบตามแผนจํานวนนอย 2. บุค ลากรสว นใหญ ต อ งการพั ฒ นาโดยวิ ธีก ารฝ ก อบรม ซึ่ง สถาบัน เกษตราธิก ารไม ส ามารถ จัดหลักสูตรฝกอบรมไดครบทุกหลักสูตร เนื่องจากมีขอจํากัดเรื่องงบประมาณ สถาบันเกษตราธิการจึงเพิ่ม โอกาสใหบุคลากรไดพัฒนาตนเอง โดยการพัฒนาบุคลากรผานระบบอิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) และเผยแพรความรูใ นรูปแบบของสือ่ วีดที ศั นผานทางเว็บไซต www.kststation.com
รุนที่ 1
รุนที่ 2
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
14
3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม สถาบันเกษตราธิการในฐานะหนวยงานที่มีหนาที่ในการจัดฝกอบรม ไดดําเนินการจัดทําหลักเกณฑ การประกันคุณภาพการฝกอบรม ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อเปนการประกัน คุณภาพการฝกอบรม ยกระดับการฝกอบรมใหมีมาตรฐานสูง มีความคุมคาตอการลงทุน และสรางความ เชื่อมั่นแกผูเรียนวาการฝกอบรมนั้นมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) และเปนโครงการที่ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2552-2556 โดยไดเริ่มดําเนินการตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการทบทวนผลการดําเนินงานในแตละป และกําหนดหลักเกณฑการประกันคุณภาพการ ฝกอบรมเปนรายป โดยหลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม สป.กษ. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดรับ ความเห็นชอบจากปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ 2555 ประกอบดวย 6 ตัวบงชี้ ไดแก ตั ว บ ง ชี้ ที่ 1 หลั ก สู ต ร เกณฑ พิ จ ารณาประกอบด ว ย การกํ า หนดหลั ก สู ต รต อ งสอดคล อ งกั บ แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล/ความจําเปนในการพัฒนาหรือนโยบาย มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน กํ า หนดเนื้ อ หาหลั ก สู ต รสอดคล อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค มี ก ารประเมิ น และพั ฒ นาหลั ก สู ต รให ทั น ต อ การ เปลี่ยนแปลง ตัวบงชี้ที่ 2 คุณสมบัติของวิทยากร เกณฑพิจารณาประกอบดวย เปนผูมีความรู ความสามารถ ประสบการณหรือผลงานทางวิชาการที่ตรงกับหัวขอการสอน มีความสามารถในการถายทอดความรู ตั ว บ ง ชี้ ที่ 3 วิ ธี ก ารสอน เกณฑ พิ จ ารณาประกอบด ว ย กํ า หนดรู ป แบบ กิ จ กรรมการฝ ก อบรม เหมาะสมกับวัตถุประสงคและเนื้อหาวิชา หลักสูตรเนนฝกปฏิบัติ ใหมีการฝกปฏิบัติในสัดสวนไมนอยกวา 40 เมื่อเทียบกับการบรรยาย ตัวบงชี้ที่ 4 หองอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย ขนาดหองเรียน การจัดหองเรียนเหมาะสมกับ หัวขอการสอน ตัวบงชี้ที่ 5 ความเหมาะสมของผูเขารับการฝกอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย จํานวนผูเรียน และคุณสมบัติของผูเรียนสอดคลองกับหัวขอการเรียน และตรงกับกลุมเปาหมายที่โครงการกําหนด ตัวบงชี้ที่ 6 การวัดและประเมินผลการฝกอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย ทุกหลักสูตรจะตอง มีการประเมินผลการฝกอบรมอยางนอย 2 ระดับ จาก 3 ระดับ ไดแก 1) การประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม โดยผลการประเมินตองไดคาเฉลี่ย 3.5 ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 5
15
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2) การประเมินการเรียนรู โดยใชแบบทดสอบกอนและหลังการฝกอบรม ทดสอบความแตกตางของ คาเฉลีย่ กอนและหลังการฝกอบรมดวยสถิติ t-test 3) การติดตามประเมินผลการนําความรูที่ไดรับจากการฝกอบรมไปประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และมีการสรุปรายงานผลการประเมินการฝกอบรมเสนอผูบริหาร โดยกําหนดขอบเขตของการใชหลักเกณฑก ารประกันคุ ณ ภาพการฝก อบรม ใหใชกั บ หลักสู ต รที่ ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการฝกอบรมประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่มีระยะเวลาการจัดฝกอบรม ตั้งแต 2 วันขึ้นไป และเพื่อใหงายตอการปฏิบัติและสอดคลองกับขอกําหนดของเกณฑ จึงไดกําหนดแบบ ประเมินการฝกอบรมตามเกณฑ (แบบ Check list) แบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมที่มี ขอคําถามใชเปนหลักฐานอางอิงตามเกณฑฯ กําหนด และแบบติดตามประเมินผลการนําความรูที่ไดรับจาก การฝกอบรมไปปรับใชในการปฏิบัติงานขึ้น และประชาสัมพันธใหผูที่เกี่ยวของนําไปใช ผลการดําเนินงาน จากแผนปฏิบัติการฝกอบรมประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ของสถาบันเกษตราธิการ มีหลักสูตร ที่ ต อ งดํ า เนิ น การตามหลั ก เกณฑ ก ารประกั น คุ ณ ภาพการฝ ก อบรม จํ า นวน 23 หลั ก สู ต ร มี ห ลั ก สู ต ร ที่ดําเนินการไดตามหลักเกณฑฯ จํานวน 18 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 78.26
16
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 สถาบั นเกษตราธิการได ดําเนิ น การพั ฒนาบุ คลากรของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ดวยการฝกอบรม/สัมมนา จํ านวนรวม 25 หลักสูตร 35 รุน ผูไดรับการฝกอบรม รวม 2,466 คน จากเปาหมาย 1,245 คน ประกอบดวย 1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 4 หลักสูตร 890 คน 2) การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 13 หลักสูตร 1,083 คน 3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 8 หลักสูตร 493 คน
หลักสูตร 1. การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
จํานวน จํานวน รุน วัน
จํานวน คน
9 221.5
890
1.1) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ 57-58
2
80
193
1.2) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ 53-57
5
128.5
554
1.3) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับตน รุนที่ 13
1
12
88
1
1
55
16
112
1,083
2.1) ผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม
1
3
77
2.2) เทคนิคการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ
1
3
30
2.3) พระราชบัญญัติ 4 ฉบับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติราชการและ แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)
1
4
49
2.4) การเพิ่มประสิทธิภาพงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจาง
1
3
91
2.5) เทคนิคการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
1
2
47
2.6) โครงการฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษ หลักสูตร การอานและเขียนเชิงวิชาการ อยางมีประสิทธิภาพ
1
14
20
2.7) โครงการฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษ "เพื่อรับทุนศึกษา ฝกอบรมและดูงาน ตางประเทศ"
1
14
20
2.8) โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณตามสมรรถนะ ทักษะ และความรูที่จําเปนในงานดานคอมพิวเตอร ป 2555 (5 หลักสูตร)
5
25
200
2.9) การเปนขาราชการที่ดีสําหรับขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ
4
44
549
1.4) การบริหารจัดการดานการเกษตร 2. การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
17
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
จํานวน จํานวน จํานวน รุน วัน คน
หลักสูตร 3. การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
10
33
493
3.1) การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล
2
4
105
3.2) การคิดเชิงสังเคราะหสําหรับสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพและการเขาใจผูอื่น
1
3
50
3.3) การปรับปรุงการทํางานและการสรางทีมเพื่อมุงผลสัมฤทธิ์
1
3
52
3.4) การจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ
1
4
56
3.5) การพัฒนาระบบคิดและการทํางานเชิงรุก
1
3
59
3.6) เทคนิคการวิเคราะหขอมูลทางการเกษตรและการเขียนรายงาน
2
8
75
3.7) เทคนิคการเปนพี่เลี้ยงและสอนงานอยางมีประสิทธิภาพ
1
3
50
3.8) การเสริมสรางศักยภาพการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ สป.กษ.
1
5
46
35 366.5 2,466
รวม 25 หลักสูตร
สรุปผลการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา
บุคลากร สป.กษ. จํานวน 493 คน (19.99%)
นักบริหารของ กษ. จํานวน 890 คน (36.09%)
บุคลากร กษ. จํานวน 1,083 คน (43.92%)
รวม 25 หลักสูตร 35 รุน 366.5 วัน ผูเขารับการฝกอบรม/สัมมนาทั้งหมด 2,466 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
18
1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามกระแสการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐที่ผานมา กระทรวงเกษตรและสหกรณไดปรับโครงสราง ภารกิจ กําหนดกรอบความรับผิดชอบและยุทธศาสตรพัฒนาภาคการเกษตร ทําใหบทบาทของขาราชการเปลี่ยนแปลง แตกตางไปจากเดิม ขาราชการโดยเฉพาะนักบริหารระดับสูงตองมีความรู ความเขาใจ มองการณไกล บริหารงาน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุตามกรอบยุทธศาสตรที่กําหนดไว รวมทั้งสนองความตองการของ เกษตรกรเปนประการสําคัญ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดสงเสริมสนับสนุนและผลักดันใหมีการพัฒนาขาราชการ ภายใตยุทธศาสตร การพัฒนาขาราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และพัฒนาขีดความสามารถ (Capability) เพื่อให ขา ราชการเปน ผู ปฏิ บัติ ง านที่ท รงความรู (Knowledge Worker) สามารถปฏิ บัติ ง านภายใตก ารบริห ารกิ จการ บานเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถ พัฒนางานในหนาที่อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ โดยหลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรทุ ก ระดั บ (สู ง กลาง ต น ) จํ า เป น ต อ งเน น บทบาทของ นักบริหารในการเปนผูนําการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร สรางหรือนําการเปลี่ยนแปลงใหเกิดขึ้นในหนวยงาน ไดอยางจริงจัง เปนผูที่มีความรู ความสามารถและทักษะในดานการบริหารอยางถูกตอง เหมาะสมมีความสามารถ และความพรอมที่จะบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ ดวยวิสัยทัศนที่กวางไกล สามารถตอบสนองนโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม และนํานโยบายมาจัดทําเปนโครงการตางๆ ซึ่งเปนภาระหนาที่และความรับผิดชอบที่ตองอาศัย ประสบการณและความรอบรูดานการบริหารงานที่กวางขวาง รวมทั้งเพื่อเปนการเปดมุมมองใหม และเปดโอกาส ใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มุมมองที่แตกตางระหวางกัน อันจะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานของตนเอง และงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณในอนาคต ในการนําประเทศใหกาวสูการแขงขันระดับสากล ทั้งใน ปจจุบันและอนาคต สอดคลองกับสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มีขีดความสามารถและมาตรฐานการ ปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล
19
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
1.1) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ สู ง รุ น ที่ 57 - 58 วัตถุประสงค (1) เพื่อใหนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง มีวิสัยทัศน มีสมรรถนะและขีดความสามารถสูง สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง เปนกลไกของรัฐทีข่ บั เคลือ่ นและรองรับภารกิจหนาทีค่ วามรับผิดชอบทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในการบริหารราชการแผนดิน (2) เสริมสรางสภาวะผูน ําใหเกิดขึน้ สําหรับนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูงยุคใหม สามารถสรางหรือนําการเปลี่ยนแปลง และมีความพรอมดานบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนา องคการใหประสบความสําเร็จและเปนรูปธรรม (3) ปรับกระบวนทัศนทางความคิด เปดมุมมองของนักบริหารการ พัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง ใหกวางขวางมากยิง่ ขึน้ พัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันรองรับการ ปฏิบตั ริ าชการในเชิงรุกและรับ ทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล (4) เปนผูม คี ณ ุ ธรรมและจริยธรรม เปนตัวอยางทีด่ ี ของขาราชการโดยถือเปนแบบอยางทีด่ ี แกสาธารณชน (5) เขาใจและสามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพือ่ เพิม่ พลังการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ
กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีคุณสมบัติ (1) ดํารงตําแหนง ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ที่ปฏิบัติงานในตําแหนงผูอํานวยการสวน/โครงการ หรือชื่อตําแหนงอื่นซึ่งมีลักษณะ งานอยูในระดับ 8 เดิม หรือ (2) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ หรือ (3) ดํารงตําแหนงประเภท อํานวยการ หรือ (4) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ซึ่งสวนราชการพิจารณาเห็นวามี ความเหมาะสมที่ จะได รับ แต งตั้ ง ใหดํ า รงตํ าแหน ง ประเภทอํ านวยการ หรื อ (5) พนั กงานรัฐ วิส าหกิจที่ดํ า รง ตําแหนงระดับ 8/9 หรือเทียบเทา ทั้งนี้ ผูมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกํ าหนดตองไมเคยไดรับการฝกอบรม หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
เนื้อหาวิชา หลักสูตรการฝกอบรมกําหนดใหมี 10 หมวดวิชา แบงเปน 4 ชวง จํานวน 40 วันทําการ ประกอบดวย ชวงที่ 1 การปฐมนิเทศ กิจกรรมกลุมสัมพันธ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (4 วัน) หมวดวิชาที่ 1 การปฐมนิเทศกิจกรรมกลุมสัมพันธ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ภาคบังคับตางจังหวัด) ชวงที่ 2 การเพิม่ ศักยภาพนักบริหารระดับสูงองคกรยุคใหม (32 วัน) หมวดวิชาที่ 2 การพัฒนาภาคการเกษตรไทยทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงระดับสากล หมวดวิชาที่ 3 การพัฒนาภาคการเกษตรภายใตบริบทหลักของประเทศไทย หมวดวิชาที่ 4 การพัฒนากระบวนการทางความคิดของนักบริหารระดับสูง หมวดวิชาที่ 5 การพัฒนาภาวะผูนําเพื่อการพัฒนาองคกร หมวดวิชาที่ 6 การบริหารจัดการทรัพยากรองคกรอยางมีประสิทธิภาพ หมวดวิชาที่ 7 การบริหารจัดการภาคการเกษตรแนวใหม หมวดวิชาที่ 8 การขับเคลื่อนนโยบายสูภาคปฏิบัติ (ภาคบังคับ)
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
ภาพบรรยากาศในพิธีเปด
ศึกษาดูงานตางประเทศ
ศึกษาดูงานในประเทศ
20
21
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
วิทยากรผูทรงคุณวุฒิ
ชวงที่ 3 การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) (4 วัน) หมวดวิชาที่ 10 การศึกษาเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) รุนที่ 57 ครั้งที่ 1 จังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี ครั้งที่ 2 นครเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน รุนที่ 58 ครั้งที่ 1 จังหวัดเชียงราย ครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี ชวงที่ 4 หมวดวิชาที่ 9 การนําเสนอผลงาน การปจฉิมนิเทศ การสอบวัดความรูและประเมินความพึงพอใจตอโครงการ ฝกอบรม 1) นําเสนอรายงานการศึกษากลุมยอดเยี่ยม - การกําหนดประเด็นการศึกษา 6 ประเด็นที่สําคัญเรงดวนและถือเปนวาระแหงชาติ ดังนี้ (1) การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตจากธรรมชาติ (4) ระบบกลุมและเครือขายเกษตรกร (2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (5) เสถียรภาพรายไดของเกษตรกรไทย (3) ความมั่นคงดานอาหาร (6) พลังงานสีเขียว 2) การปจฉิมนิเทศ การสอบวัดความรู การประเมินภาพรวมของผลการศึกษากลุม การมอบรางวัล และ รับฟงขอเสนอแนะจากนักบริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ
ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 40 วัน ดําเนินการรุนที่ 1 ระหวางวันที่ 24 เม.ย.-21 มิ.ย.55 และ รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 17 ก.ค.-13 ก.ย.55 ณ โรงแรมในตางจังหวัด และโรงแรมรามาการเดน กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 193 คน : มีการนําความรูที่ไดรับไปใชใหเกิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานสามารถประสานงานทํางานรว มกับผู อื่นได เกิดทั กษะความคิ ด กล าพูด กลาตั ดสินใจ ทัก ษะการ นําเสนอเชื่อมั่นในความรอบรูที่ไดรัยไปพัฒนางานและถายทอดตอผูใตบังคับบัญชา สามารถปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศน ทัศนคติที่ริเริ่มสรางสรรค มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ ตั้งใจทํางาน การวางแผนงาน เปนผูนํา ที่มีความเปนผูนํามืออาชีพและเปนแบบอยางที่ดี เกิดทักษะในดานการบริหารอยางถูกตอง เหมาะสมสอดคลอง กับสภาวการณ ที่เปลี่ยนแปลงสามารถยกระดับคุณภาพงานและขับเคลื่อนการปฏิบัติงานขององคการใหเปนไป
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
22
จํานวนผูเข ารั บการฝกอบรม หลัก สูต ร นักบริ หารการพั ฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับ สูง ป 2555 ของแต ละหนวยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมชลประทาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ กรมประมง กรมปศุสัตว กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กรมการขาว กรมหมอนไหม สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง องคการสะพานปลา องคการตลาดเพื่อเกษตรกร องคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.)
จํ านวนรวม 193 คน
23
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ภาพบรรยากาศในพิธีเปด
1.2) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ กลาง รุ น ที่ 53 - 57 วัตถุประสงค เพื่อใหสามารถถายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสูระดับปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบไดอยางถูกตอง ไดรับความรู ความเขาใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศนที่จะสามารถเปนผูนําบริหารการเปลี่ยนแปลง และ บริหารงานไดอยางมืออาชีพเพิ่มพูนทักษะในการสรางแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองคการได เข า ใจกระบวนการสร า งเครื อ ข า ย (Network) และระบบพั น ธมิ ต ร (Partner) เพื่ อ เพิ่ ม พลั ง การทํ า งานให มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและมีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนแบบอยางที่ดีสําหรับผูปฏิบัติงานที่
กลุมเปาหมาย ขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีคุณสมบัติ (1) ดํารงตําแหนง ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส หรือ (2) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ มาแลวไมนอยกวา 3 ป (เริ่มนับตั้งแตวันที่ 11 ธันวาคม 2551) หรือ (3) พนักงานรัฐวิสาหกิจที่ดํารงตําแหนงระดับ 7 หรือเทียบเทา ทั้ ง นี้ ผู มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ห ลั ก สู ต รกํ า หนดต อ งไม เ คยผ า นหลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารระดั บ กลางกระทรวงเกษตร และสหกรณมากอน และสามารถเขารับการฝกอบรมไดตลอดทั้งหลักสูตร
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
24
เนื้อหาวิชา หลักสูตรการฝกอบรมกําหนดเปน 5 ชวง จํานวน 26 วันทําการ ประกอบดวย ชวงที่ 1 การปฐมนิเทศ กิจกรรมกลุมสัมพันธและการทํางานเปนทีม (3 วัน) ชวงที่ 2 การเพิ่มสมรรถนะนักระดับกลาง (17 วัน) ประกอบดวย 1) บทนํา (Introduction) 2) การพัฒนาตนเอง (Leading/Change Self) 3) การพัฒนาความรูเฉพาะทาง (Functional Competency) 4) การพัฒนาทีมงาน (Leading/Change Team) 5) การพัฒนาองคกร (Leading/Change Organization) 6) การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน (Leading/Change Process) ชวงที่ 3 การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) (3 วัน) รุนที่ 53 - 55 จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รุนที่ 56 จังหวัดนนทบุรี นครปฐม และเพชรบุรี รุนที่ 57 จังหวัดสระบุรีและลพบุรี ชวงที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรมสําหรับนักบริหาร (3 วัน) ณ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา ชวงที่ 5 ชวงปจฉิมนิเทศ เพื่อทบทวนเนื้อหา ความรู การนําเสนอแผนกลยุทธ การสรุปภาพรวมของการฝกอบรม (1 วัน)
ผลการดําเนินงาน จํานวน 5 รุน ระยะเวลารุนละ 26 วัน ดําเนินการระหวางเดือนมกราคม – สิงหาคม 2555 ณ โรงแรมในเขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ผู ผ า นการฝ ก อบรมจํ า นวน 546 คน : มี ค วามพร อ มสํ า หรั บ ก า วสู ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง มี ภ าวะผู นํ า มีความรู ความสามารถ และทักษะในดานการบริหาร มีการทํางานในลักษณะเชิงรุกสามารถสรางกระบวนทัศน และบริหารการเปลี่ยนแปลงในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความเชี่ยวชาญในงานทั้งทางกวางและลึก พรอมสําหรับการกาวสูการเปนผูบริหารในระดับนโยบาย อีกทั้งยังเปนกลไกหลักที่สําคัญในการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร เพื่อพัฒนาระบบราชการไทยใหมีความทันสมัยกาวสูสากล มีขีดความสามารถในการกาวสูการแขงขัน ในระดั บ เวที โ ลก สร า งหรื อ นํ า การเปลี่ ย นแปลงให เ กิ ด ขึ้ น ในหน ว ยงานได อ ย า งจริ ง จั ง ยกระดั บ องค ก รให มี ขีดสมรรถนะดานการจัดการสูง มี ความเชี่ยวชาญทั้งศาสตรและศิล ปทางการบริห ารจัดการ พรอมสรางการ เปลี่ยนแปลงดวยนวัตกรรมใหมใหองคกรและบุคลากรในองคกร กระตุนใหเกิดการพัฒนาศักยภาพขององคกร เพื่อเปนกลไกพื้นฐานที่สําคัญตอการผลักดันระบบบริหารราชการใหมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได รวมทั้ง มีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม เปนแบบอยางที่ดีสําหรับผูอื่นที่เกี่ยวของ
25
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
จํานวนผูเขารับการฝกอบรม หลัก สูต ร นักบริ หารการพั ฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง ป 2555 ของแต ละหนวยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมชลประทาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ กรมประมง กรมปศุสัตว กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ กรมการขาว กรมหมอนไหม สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ องคการสะพานปลา องคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง องคการตลาดเพื่อเกษตรกร
จํานวนรวม 546 คน
ภาพกิจกรรมการศึกษาดูงาน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
26
1.3) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ ต น รุ น ที่ 13 วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของ ผูบังคับบัญชาระดับตนที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได มีทัศนคติที่ดีในการ ทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานในลักษณะทีมงานไดอยางเหมาะสม สามารถวิเคราะหพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ของตนเองและเพื่อนรวมงาน และนําไปปรับใชในการสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ ได แลกเปลี่ ย นความรู ประสบการณ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านระหว า งกั น และเพิ่ ม พู น สั ม พั น ธภาพเพื่ อ การติ ด ต อ ประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต
กลุมเปาหมาย ขาราชการดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ไมนอยกวา 2 ป และประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ไมนอยกวา 3 ป
เนื้อหาวิชา ภาคกิจกรรม : กาวสูการเปนสมาชิกของทีมงานที่เต็มศักยภาพ (3 วัน) ณ โรงแรมเดอะเลกาซี ริเวอรแคว รีสอรท จังหวัดกาญจนบุรี ศึกษาดูงาน ณ ศูนยเรียนรู ไรคุณมน จังหวัดกาญจนบุรี (1 วัน) : เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมได รั บ ประสบการณ โ ดยการศึ ก ษาจากกรณี ตั ว อย า งผู ที่ ป ระสบ ความสํ า เร็ จ ในการพั ฒ นาด า นต า งๆ เช น การบริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตร อุ ต สาหกรรมเกาตร การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพระราชดําริ องคกรที่ประสงความสําเร็จและเปนที่ยอมรับ ฯลฯ และสามารถนําไป ปรับใชในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม
27
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ภาคบรรยายและฝกปฏิบัติ : ณ โรงแรม เค ยู โฮม เกษตรกลาง บางเขน กรุงเทพฯ (7 วัน) - บทบาทหนาที่ของผูบังคับบัญชายุคใหม - จริยธรรมในการทํางานและการบริหารคน - การคิดอยางเปนระบบและการคิดเชิงนวัตกรรม - การบริหารการเงินและพัสดุ - การเสริมสรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน - เทคนิคการพูดและการนําเสนอ - ผูนํากับการขจัดความขัดแยงในการทํางาน - การประชาสัมพันธและการสรางภาพลักษณขององคกร - การเสริมสรางบุคลิกภาพสํารับนักบริหาร - แผนงานและการทํางานอยางเปนระบบ - การปรับปรุงงานและการสอนงาน - การแกปญหาและการตัดสินใจอยางเปนระบบและมีกลยุทธ - สรุปเชื่อมโยงการเรียนรูสูการเปลี่ยนแปลง/พัฒนางานและทีมงาน
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 12 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 5-20 มิ.ย.55 ผูผานการฝกอบรมจํานวน 88 คน : มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของ ผูบังคับบัญชาระดับตนที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได และมีภาวะผูนําในยุค แหงการเปลี่ยนแปลง มีความรู ความสามารถ และทักษะในดานการบริหารจัดการในระดับหัวหนางาน นําไปปรับ ใชในการสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ
ภาพกิจกรรมและการศึกษาดูงาน
มอบประกาศนียบัตรในพิธีปด
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
28
1.4) หลั ก สู ต ร การบริหารจัดการดานการเกษตร ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อ วันที่ 20 มิถุนายน 2554 เห็นชอบใหทุกสวนราชการจัดทําแผนดําเนินงาน และถือเปนนโยบายทุกสวนราชการจะตองมีแผนเตรียมความพรอมขาราชการเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน และไดเห็นถึงความจําเปนที่จะตองพัฒนาขาราชการพลเรือนสามัญใหมีความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ดังนั้นนักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งเปรียบเสมือนเปน Change Agent ขององคกร เปนผูรับ นโยบายมาแปลงเปนแผนสูการปฏิบัติและผลักดันใหเกิดผลในทางปฏิบัติใหบรรลุเปาประสงคขององคกร ดวยเหตุนี้ นักบริหาร จึงจําเปนจะตองพรอมรับและตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในทุกสถานการณ อันจะสงผลให องคการเกิดการขับเคลื่อนอยูตลอดเวลา กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงเตรียมความพรอมนักบริหาร เพื่อรองรับ การขับเคลื่อนภาคการเกษตรเขาสูประชาคมอาเซียนตอไป
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจในเรื่องการบริหารจัดการดานการเกษตรตาม กรอบนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เกิดทักษะทางแนวคิด หลักการของ การเปนนักบริหารจัดการดานการเกษตร เพื่อพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน สามารถนําองคความรูไปประยุกตใช ในการจัดทํานโยบาย/แผนงานเพื่อเตรียมความพรอมองคกรเขาสูประชาคมอาเซียนตอไป
กลุมเปาหมาย ขาราชการระดับชํานาญการพิเศษ, ผูอํานวยการระดับตน/สูงขึ้นไป เนื้อหาวิชา ภาคการเกษตรไทยในบริบทนานาชาติ ดานการเตรียมความพรอมของไทยจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการพัฒนาธุรกิจการเกษตร 2. การบริหารจัดการภาคการเกษตรแนวใหม เกี่ยวกับการขับเคลื่อนภาคการเกษตรเขาสูประชาคมอาเซียน
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 1 วัน ดําเนินการวันที่ 18 ก.ย. 55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 55 คน
29
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2) การพัฒนาบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2.1) หลั ก สู ต ร ผู นํ า การเปลี่ ย นแปลงยุ ค ใหม ในยุ ค ป จ จุ บั น เป น ยุ ค ที่ ก ล า วกั น ว า เป น ยุ ค แห ง การเปลี่ ย นแปลง ทุ ก ๆองค ก รต อ งเผชิ ญ กั บ สภาวะการ เปลี่ยนแปลง ทั้งในดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม คานิยม ขอมูลขาวสาร เทคโนโลยีและ อื่นๆ ดังนั้นภาวะผูนําของผูบริหารหรือผูบังคับบัญชาและภาวะผูนําของบุคลากรทุกๆคน จึงมีความสําคัญอยางยิ่ง ในการพัฒนาผูนําในภาคราชการเพื่อใหเปนกลไกหลักสําคัญที่จะนําการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร ชาติเพื่อใหเกิดผลในทางปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาระบบราชการไทยใหมีความทันสมัยกาวสูสากล มีขีดความสามารถ ในการกาวสูการแขงขันในระดับเวทีโลก โดยการปรับโครงสรางภาคราชการ แนวทางการทํางาน และวัฒนธรรมของ การทํางานแบบเกาซึ่งมีขอจํากัดปรับเปลี่ยนไดยาก ไปสูการทํางานของขาราชการยุคใหม ที่ตองมีความยืดหยุน คลองตัวกวา มีการพิจารณาสิ่งตาง ๆ ดวยความลึกซึ้งในหลากหลายมิติ มีการทํางานในลักษณะเชิงรุก โดยการ พัฒนาผูนําภาคราชการใหมีความพรอมภาวะผูนํา เขาใจบทบาทตนเอง สามารถสรางกระบวนทัศน และการบริหาร การเปลี่ยนแปลงในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมสรางการเปลี่ยนแปลงดวยนวัตกรรมใหมใหแกองคกร และบุคลากรในองคกรได
วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจ ในเรื่องการ เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม เกิด ทักษะทางแนวคิด หลักการของการเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม รวมทั้งแนวทางการพัฒนาตนเองและองคกร ตอไป และสามารถนําความรูไปใชในการพัฒนาองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กลุมเปาหมาย ขาราชการประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป เนื้อหาวิชา 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับผูนําและการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2. การพัฒนาภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง 5. การกระตุนทางปญญา 3. การมีอิทธิพลอยางมีอุดมการณ 6. การคํานึงถึงปจเจกบุคคล 4.การสรางแรงบันดาลใจ
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 25-27 เม.ย.55 ณ โรงแรม เค ยู โฮม กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 77 คน : มีความรู ความเขาใจในเรื่องภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง และสามารถนํา ความรูที่ไดไปปรับใชในการพัฒนาตัวเองและพัฒนาองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
30
2.2) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเจรจาต อ รองการค า สิ น ค า เกษตรระหว า งประเทศ ประเทศไทยเปนประเทศสมาชิกขององคกรความรวมมือระหวางประเทศในหลากหลายองคการ เชน องคการ การคาโลก (WTO) เอเปค (APEC) อาเซียน (ASEAN) อาฟตา (AFTA) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และ องคกรอื่นๆ ซึ่งมีความรวมมือทางวิชาการในหลายๆ ดาน ตลอดจนการรักษาเสถียรภาพความมั่นคงของสิทธิ ประโยชนดานการเกษตรของชาติ ประชาชนและเกษตรกร การประสานความรวมมือดังกลาวจะประสบผลดีไดนั้น ยอมขึ้นอยูกับกระบวนการเจรจาตอรอง ซึ่งทางกระทรวงเกษตรและสหกรณจะตองเขาไปมีสวนรวมในการเจรจา ความรวมมือทางดานการคาสินคาเกษตรในเวทีองคกรการคาโลก ดานวิชาการ และประสานงานการเจรจาตอรอง เพื่อนํามาซึ่งความรวมมือ ในการคาสินคาเกษตรกับประเทศเพื่อนบาน การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีดานการเกษตร รวมทั้งการใหความรวมมือสนับสนุนกับหนวยงานอื่นๆ เชน กระทรวงพาณิชย กระทรวงการตางประเทศ เปนตน ในการเจรจาตอรองทางดานการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ รวมถึง การเจรจาเปดตลาดสินคาเกษตรกับ ประเทศคูคาเดิม และคูคาใหม ยุทธศาสตรการเกษตรตางประเทศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ป พ.ศ. 2555 - 2559 ไดกําหนด ยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพกระบวนการเจรจา การนําเสนอ และแกปญหาภาคเกษตรกับตางประเทศ ประกอบดวย การเตรียมพรอมสําหรับการเจรจาเกี่ยวกับมาตรการกีดกันการคาที่ไมใชภาษี การพัฒนากลไกตอบสนองเพื่อ แกปญหาอยางรวดเร็วกรณีที่ผลิตผลทางการเกษตรและอาหารไทยมีปญหาดานคุณภาพในตลาดปลายทาง และการ สงเสริมการประชาสัมพันธดานคุณภาพและมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารของไทยใหเปนที่รูจักในตางประเทศ
วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของบุคลากรผูปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการเจรจาตอรองและการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศใหมีความรู ความเขาใจ และทักษะในดานการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรและ ประสานความรวมมือทางวิชาการเกษตรระหวางประเทศใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กลุมเปาหมาย ขาราชการระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการของ กษ. ที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการประชุมและ การคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ
เนื้อหาวิชา 1. ประเทศไทยกับการเจรจาการคาพหุภาคีของ GATT และWTO 2. การเจรจาการคาสินคาเกษตรระดับภูมิภาค (AFTA, AEC) 3. การเจรจาดานการคาสินคา และการเจรจาสินคาเกษตรภายใตเขตการคาเสรี 4. การเจรจาดานมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช 5. เทคนิคการเจรจาตอรองการคาระหวางประเทศอยางไรใหประสบความสําเร็จ
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 20 - 22 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 30 คน : มีความรูความเขาใจ ทักษะในการเจรจาตอรองมากขึ้น และนําความรูไปปรับใชใน การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
31
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2.3) หลั ก สู ต ร พระราชบัญญัติ 4 ฉบับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติราชการและแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) การปฏิ บั ติ ร าชการต อ งอาศั ย กฎหมายหรื อ ระเบี ย บบั ง คั บ โดยเฉพาะ และพระราชบั ญ ญั ติ 4 ฉบั บ ที่ มี ความสําคัญและจําเปนที่ขาราชการตองเรียนรูและนําไปปฏิบัติใหถูกตอง อนึ่ง มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2552 เห็นชอบและประกาศใชแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) การนําไปปฏิบัติดวยการ แปลงแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติไปสูแผนบริหารราชการแผนดิน ในการนี้ กระทรวงยุติธรรม ประสานความรวมมือ ดานองคความรูมายังกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยใหสอดแทรกในหลักสูตรพัฒนาบุคลากรในสังกัด
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูและสามารถปฏิบัติราชการไดถูกตองตามแนวทางแหง พระราชบัญญัติทั้ง 4 ฉบับ และแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)
กลุมเปาหมาย ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระดับหัวหนากลุม/ฝาย และผูเกี่ยวของ เนื้อหาวิชา 1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 2. พระราชบัญญัติความผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 3. พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 4. พระราชบัญญัติวาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ.2542 5. แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 4 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 15 - 18 พ.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 49 คน : สามารถปฏิบัติราชการตามแนวทางแหงพระราชบัญญัติทั้ง 4 ฉบับและ ความรูเกี่ยวกับแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) อยางถูกตอง เปนประโยชนตอการนําไป ปฏิบัติราชการและสามารถชีแ้ จงผูรวมงานได
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
32
2.4) หลั ก สู ต ร การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานพั ส ดุ แ ละการจั ด ซื้ อ จั ด จ า ง งานพัสดุและการจัดซือ้ จัดจางเปนภารกิจสําคัญประการหนึง่ ทีจ่ ะสงเสริมและสนับสนุนในการบริหารงานภาครัฐ เป น ไปอยา งมีป ระสิ ท ธิภ าพและบรรลุต ามวั ต ถุป ระสงคแ ละแนวนโยบายที่กํ า หนด การที่ ห นว ยงานภาครัฐ จะ สามารถบริหารจัดการและดําเนินการดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น เจาหนาที่หรือ บุคลากรที่เกี่ยวของจะตองมีทักษะ มีความรู ความเขาใจและสามารถนํากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวของกับงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจาง ไปใชในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองและ มีประสิทธิภาพ รวมทั้งจะตองศึกษาและติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาและการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ระบบ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธี
วัตถุประสงค
(1) เพือ่ ใหผเู ขารับการอบรมไดมคี วามรู ความเขาใจในระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางที่ถูกตองและสามารถนําไป ปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเสริมสรางทักษะใหผูเขารับการอบรม ใหดําเนินการดาน งานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางของหนวยงานใหเปนไปตามระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส กอใหเกิด ความคุมคา ความรัดกุม ชอบธรรมในหลักการใชอํานาจ และการใชจายเงินงบประมาณอยางประหยัด ใหเกิด ประโยชนสูงสุด
กลุมเปาหมาย ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับงานพัสดุสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื้อหาวิชา 1. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2549 3. กระบวนการ ปญหา และแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจางดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส 4. ระบบการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ ดวยอิเล็กทรอนิกส e - Government Procurement (e-GP)
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 1 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 9 – 11 ก.ค.55 ณ โรงแรม เค ยู โฮม กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 91 คน : มีความรู ความเขาใจในระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางที่ถูกตองและสามารถนําไปปรับ ใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
33
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2.5) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ปจจุบันการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการใหมุงเปนการบริหารทรัพยากร บุคคลเชิงกลยุทธ เนนการใชสมรรถนะและการบริหารผลการปฏิบัติงาน โดยสํานักงาน ก.พ. ซึ่งเปนหนวยงานกลาง ดานการบริหารทรัพยากรบุคคลไดสงเสริมสนับสนุน และผลักดันใหสวนราชการเห็นในความสําคัญของการพัฒนา ขาราชการตามกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือนที่มุงเนนพัฒนาขาราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และพั ฒ นาขี ด ความสามารถ (Capability) เพื่ อ ให ข า ราชการเป น ผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ ท รงความรู (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใตการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐ แนวใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนางานในหนาที่อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ เพื่อใหภาคราชการมีขีดความสามารถและมาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล
วัตถุประสงค
เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมได เ พิ่ ม พู น ความรู ความเข า ใจในการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล แนวใหม สามารถประยุกตใชความรูการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแนวใหมในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับกรม ไดอยางมีประสิทธิภาพ และเสริมสรางความรวมมือและประสานงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ
กลุมเปาหมาย นักทรัพยากรบุคคล (ดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล) ของ กษ. และผูที่เกี่ยวของ เนื้อหาวิชา 1. สภาพแวดลอมและแรงผลักดันในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในปจจุบัน 2. แนวคิดและขอบเขตการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ 3. ทิศทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในอนาคต การปรับตัวและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคต 4. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลดวย HRD 3.0 5. กระบวนการการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 2 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 28-29 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 47 คน : มีความเขาใจและสามารถนําความรูจากการพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวใหม ไปประยุกตใชในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับกรมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงเปนการเสริมสราง ความรวมมือและประสานงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
34
2.6) โครงการฝ ก อบรมทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ หลั ก สู ต ร การอ า นและเขี ย นเชิ ง วิ ช าการอย า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การเสริม สรา งทัก ษะภาษาอั ง กฤษหลักสู ตร การอ านและเขีย นเชิงวิ ชาการอย างมี ประสิท ธิภ าพ ถือ เป น แนวทางหนึ่ ง ที่ จ ะช ว ยให กระทรวงเกษตรและสหกรณ มี บุ ค ลากรที่ มี ขี ด ความสามารถการใช ภ าษาอั ง กฤษ เพื่อการปฏิบัติงาน ศึกษาหาความรู ทักษะ และประสบการณใหมๆ ที่มีความกาวหนาทันตอการเปลี่ยนแปลง สามารถติ ด ตามสถานการณ ข องโลก วิ เ คราะห แ ละแยกแยะป ญ หา ตลอดจนสามารถประสานความร ว มมื อ ดานวิชาการตางๆ เพื่อเตรียมความพรอมใหกับกระทรวงฯ ในการรองรับและแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นได
วัตถุประสงค
เพื่ อ ใหผู เ ข า รับ การฝ ก อบรมได เรี ย นรู และฝ กฝนวิ ธี การอ านข อ ความภาษาอั ง กฤษไดเ ข า ใจ สามารถจั บ ใจความสํ า คั ญ ของเรื่ อ งที่ อ า นได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ โครงสร า งประโยค ภาษาอังกฤษ การเขียนประโยคภาษาอังกฤษในรูปแบบตางๆ และการเขียนในลักษณะเชิงซอน รวมทั้งไดฝกฝน ทักษะการเขียนเชิงวิชาการ สามารถคิดรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการเขียนอยางมีระบบ
กลุมเปาหมาย
ผูที่ไดรับทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณ ณ สถาบัน AIT ประจําป 2555 และบุคลากรของ กษ. ผูที่ปฏิบัติงานดานตางประเทศ
เนื้อหาวิชา 1. การอาน (Reading) เปนการสอนหลักการอาน สํานวนภาษา มี่มักพบในบทอาน วิเคราะหคําศัพท เทคนิคการเดาความหมาย การอางอิง การจับใจความสําคัญของเรื่อง และการตีความ 2. การเขียน (Writing) เนนสอนโครงสรางประโยค การเขียนประโยคแสดงใจความสําคัญ ประโยค สนับสนุนและประโยคสรุปความ โครงสรางการเขียนรูปแบบตางๆ ตลอดจนการวางโครงเรื่องในการเขียน ความเรียงเพื่อนําเสนอความคิดและภาษาอังกฤษไดอยางถูกตองตามหลักไวยากรณ รวมทั้งพัฒนาทักษะการ เขียนเปนรูปแบบตางๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 14 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 23 เม.ย. –11 พ.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 20 คน
35
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2.7) โครงการฝ ก อบรมทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ "เพื่ อ รั บ ทุ น ศึ ก ษา ฝ ก อบรมและดู ง าน ต า งประเทศ" จากการสํารวจขอมูลขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณพบวา จะมีขาราชการที่มีคุณวุฒิระดับปริญญา โท - ปริญญาเอก เกษียณอายุราชการอยางตอเนื่อง ซึ่งอาจจะสงผลในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตทําใหกระทรวง เกษตรและสหกรณ ข าดบุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะภาษาอั ง กฤษระดั บ ดี ม ารองรั บ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ ตางประเทศ จึงจําเปนตองเตรียมบุคลากรเพื่อทดแทนสายงานหลัก และสายงานสนับสนุน ดังนั้นจะเห็นไดวาการ พั ฒ นาทั ก ษะการใช ภ าษาอั ง กฤษให กั บ บุ ค ลากรที่ จ ะเข า สอบแข ง ขั น เพื่ อ รั บ ทุ น ศึ ก ษา ฝ ก อบรม และดู ง านของ กระทรวงการตางประเทศ ไดมีโอกาสในการรับทุนมากขึ้นจึงมีความจําเปน และการพัฒนาบุคลากรดวยวิธีดังกลาว ถือเปนทางเลือกหนึ่งสําหรับการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการเกษียณอายุราชการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
วัตถุประสงค
เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดา นทักษะภาษาอังกฤษทัง้ 4 ทักษะ ไดแกการฟง พูด อาน และเขียน ใหพรอมทีจ่ ะสอบแขงขันเพือ่ รับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงานทัง้ ในประเทศและ ตางประเทศ ของสํานักงานความรวมมือเพือ่ การพัฒนาระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ และเพิม่ ประสิทธิภาพ การปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของกับการใชทกั ษะภาษาอังกฤษ
กลุมเปาหมาย
ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ (ผูผานการทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ)หรือเปนผูที่ สวนราชการคัดเลือก
เนื้อหาวิชา เนนการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฏี เพื่อวางพื้นฐานความรูใหแนนและแมนยํา กอนการเรียนรูและฝกฝน เทคนิค และทักษะในการทําโจทยเพื่อใหสามารถทําขอสอบไดอยางถูกตองภายในเวลาที่กําหนด โดยเนื้อหาในการ เรียนจะประกอบดวย Grammar, Structure, Reading, Listening
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 14 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 19 มี.ค. - 5 เม.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 20 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
36
2.8) โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ต ามสมรรถนะ ทั ก ษะและความรู ที่ จํ า เป น ในงานด า นคอมพิ ว เตอร ป 2 555 การพัฒนาบุคลากร ใหมีความรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีความคลองแคลว ในการใชเทคโนโลยีจึงเปนความจําเปน เปนยุทธศาสตรสําคัญในการเพิ่มคุณภาพ และสมรรถภาพที่จะสามารถสราง คุณคาหรือมูลคาเพิม่ ใหแกคน กลุม คน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ทุกวันนีใ้ นทุกภาคสวนของภาครัฐไดดําเนินการ ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูปการทํางาน สงเสริมการเรียนรูคอมพิวเตอรเพื่อการทํางานอยางมีคุณภาพมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริม กระตุนขาราชการ บุคลากร ในวงราชการทั่วประเทศใหสืบสานภารกิจฟนฟูและพัฒนาประเทศได โดยหวังใหบุคลากรมีความรู ความสามารถในการทํางาน และลดชองวางทางดิจิตอล ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ ไดเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการ ปฎิรูปการทํางาน เพื่อฝกฝนขาราชการ บุคลากรในสังกัด ใหมีทักษะในการใชเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร และเครือขายทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการแกไขปญหา คุณภาพงาน และพัฒนาการเรียนรูอยางมีระบบไดอยางคลองแคลวเปนปกติวิสัย เพราะเทคโนโลยีดังกลาวเปน เครื่องมือสําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ชวยใหกิจกรรมตาง ๆ บรรลุความสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว อยางสมบูรณ
วัตถุประสงค
(1) เพื่อใหผูรับการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ หลักการเหตุผล เนื้อหาวิชา การใชงาน คอมพิ ว เตอร เ ครื่ อ งมื อ และโปรแกรมที่ จํ า เป น เพื่ อ ประยุ ก ต ใ ช ต ามบทบาท ภารกิ จ และการปฏิ บั ติ ง านของ สวนราชการ (2) เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหขาราชการไดพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และ สามารถนําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อใหผูรับการฝกอบรม ไดแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และประสบการณระหวางกัน (4) เพื่อสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและ พัฒนาใหแตละหนวยงาน (5) เพื่อลดปญหาการใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ
หลักสูตรและกลุมเปาหมาย หลักสูตร 1. การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห ขอมูลทางสถิติ 2. การประยุกตใชโปรแกรม MS Excel 2007 ในการจัดการขอมูลขั้นสูง 3.การใชโปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) กับการเกษตรและสหกรณ 4.การประยุกตใชโปรแกรม Adode Indesign ในการพัฒนาสื่อสิ่งพิมพและเผยแพร 5. การประยุกตใชโปรแกรม Ms Office 2007
กลุมเปาหมาย ผูปฏิบัติงานดานวิเคราะหประมวลผลขอมูลทางสถิติ ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานดานศูนยขอมูล จ.การเงินและบัญชี จ.วิเคราะหผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ผูปฏิบัติงานดานการบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศ ในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานดานเผยแพรประชาสัมพันธ ธุรการ ผูรับผิดชอบ km ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานที่ตองใชคอมพิวเตอรสําหรับการปฏิบัติงานใน สังกัด กษ.
37
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ผลการดําเนินงาน ดําเนินการระหวางเดือนกุมภาพันธ – มีนาคม 2555 จํานวน 5 วันทําการทุกหลักสูตร ณ ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น 3 สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 203 คน : มีความรู ความเขาใจ หลักการเหตุผล เนื้อหาวิชา ไดพัฒนาทักษะการ ใชงานคอมพิวเตอร เครื่องมือ โปรแกรมที่จําเปน และเทคโนโลยีสารสนเทศใหมๆ สามารถประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวนราชการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเครือขายการเรียนรู ไดแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และประสบการณระหวางกัน สงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยูอยางคุมคา ตลอดจนสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและพัฒนาใหแตละหนวยงาน และลดปญหาการ ใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
38
2.9) การเป น ข า ราชการที่ ดี สํ า หรั บ ข า ราชการที่ อ ยู ร ะหว า งทดลองปฏิ บั ติ ห น า ที่ ร าชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 59 บัญญัติวา ผูไดรับบรรจุแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตามมาตรา 53 วรรค ห นึ่ ง ห รื อ ม า ต ร า 5 5 แ ล ะ ข า ร า ช ก า ร ห รื อ พ นั ก ง า น สวนทองถิ่น ซึ่งโอนมาบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญ ตามมาตรา 64 ในระหวางที่ยังทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ใหทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ และใหไดรับการพัฒนาเพื่อใหรูระเบียบแบบแผนของทางราชการและการ เปนขาราชการที่ดีดวยกระบวนการปฐมนิเทศ การเรียนรูดวยตนเองและ การอบรมสัมมนารวมกันซึ่งกําหนดใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือ สวนราชการที่กระทรวงมอบหมายใหดําเนินการแทนกระทรวงดําเนินการ พัฒนาและประเมินผลการพัฒนาขาราชการพลเรือนที่อยูระหวางทดลอง ปฏิบัติหนาที่ราชการ
วัตถุประสงค
เพื่อปลูกฝงปรัชญาการเปนขาราชการที่ดีเสริมสรางสมรรถนะและทักษะที่จําเปนสําหรับการ ปฏิบัติงานราชการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมการทํางานเปนทีม พัฒนาเครือขายในการทํางานและ เพื่อเปน การสรางสายสัมพันธที่ดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยเนนการเรียนรูจากประสบการณและการลงมือ ปฏิบัติจริง
กลุมเปาหมาย
ข า ราชการที่ อ ยู ร ะหว า งทดลองปฏิ บั ติ ห น า ที่ ร าชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค
เนื้อหาวิชา กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2
: การสรางวินัย การสรางทีม และความสามัคคี/จรรยาขาราชการ (3 วัน) : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจิตสํานึกราชการ (3 วัน) เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถนําไปประยุกตใช ในการปฏิบัติงาน และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม คานิยม ในการดําเนินงาน และมีความตระหนักและ มีทัศนคติที่ดี ปฏิบัติตนเปนขาราชการยุคใหมที่มีคุณธรรม จริยธรรม มุงมั่นปฏิบัติหนาที่ดวยความสุจริต ยุติธรรม มีจิตสํานึกราชการใสสะอาด และเรียนรูตามรอยพระยุคลบาท : การพัฒนาสังคมและประเทศชาติ (3 วัน) เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีทัศนคติที่ดีตอการทํางานเพื่อประชาชน และการใหบริการประชาชน ไดรั บความรู ความเขา ใจสภาพเศรษฐกิจและสัง คมชนบทของประเทศไทย และสามารถเชื่ อมโยงแนวคิดเรื่อ ง เศรษฐกิจพอพียง ไปสูการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ชนบท หรือการดําเนินชีวิตไดอยางดี กิจกรรมที่ 3 : ปรัชญาของการเปนขาราชการ ประโยชนของแผนดิน และบทบาทหนาทีข่ องการเปนขาราชการ และจริยธรรม จรรยาขาราชการ ภาคบรรยายและฝกปฏิบัติ (5 วัน)
39
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ผลการดําเนินงาน จํานวน 4 รุน ระยะเวลารุนละ 11 วัน ดําเนินการระหวางเดือน มกราคม – สิงหาคม 2555 รุนที่ 5 ระหวางวันที่ 17 - 27 ม.ค.55 รุนที่ 6 ระหวางวันที่ 31 ม.ค. - 10 ก.พ. 55 รุนที่ 7 ระหวางวันที่ 8 - 18 พ.ค.55 รุนที่ 8 ระหวางวันที่ 14 - 24 ส.ค.55 กิจกรรมที่ 1 ณ โรงแรมบรุคไซค วัลเลย รีสอรท อ.เมือง จ.ระยอง กิจกรรมที่ 2 รุนที่ 5 - 6 ณ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา รุนที่ 7 - 8 ณ ศูนยกสิกรรมธรรมชาติสองสลึง อ.แกลง จ.ระยอง กิจกรรมที่ 3 ณ โรงแรมเอเชียแอรพอรต ถ.พหลโยธิน อ. ลําลูกกา จ.ปทุมธานี ผูผานการฝกอบรมจํานวน 549 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
40
3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3.1) หลั ก สู ต ร การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล สํานักงาน ก.พ. ไดจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552-2556 ใหสวนราชการ ใช เป น แนวทางในการพัฒ นาข า ราชการ โดยยุท ธศาสตรที่ 1 การพั ฒ นาคุณ ภาพขา ราชการในการปฏิบั ติง าน บนพื้นฐานของสมรรถนะ มีเปาหมายใหขาราชการในสวนราชการไดรับการพัฒนาใหมีคุณภาพในการปฏิบัติงาน ตามสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจํากลุมงานตามความจําเปนและคุมคา ตามที่สํานักงาน ก.พ. กําหนดและ สวนราชการตองมีการบริหารผลการปฏิบัติงาน โดยผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดเปาหมาย ระดับความสําเร็จของงานและตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลที่สอดคลองกับ ปญหาและผลการประเมิน
วัตถุประสงค
เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม มี ค วามรู ค วามเข า ใจแนวทางการประเมิ น สมรรถนะ ความรู ความสามารถ ทักษะและการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล สามารถประเมินสมรรถนะ ความรู ความสามารถ ทักษะ และการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชแผนพัฒนารายบุคคลเปนกรอบแนวทาง ในการพัฒนาผูใตบังคับบัญชาหรือพัฒนาตนเอง
กลุมเปาหมาย
ผูอํานวยการสํานัก/กอง เกษตรและสหกรณจังหวัด หัวหนากลุม/ฝายและผูปฏิบัติ
เนื้อหาวิชา 1. หลักการและแนวคิดในการพัฒนาบุคลากรแนวใหม 2. กรอบแนวคิดและความสําคัญของแผนพัฒนารายบุคคล 3. แนวทางการประเมินสมรรถนะ ความรูความสามารถ ทักษะ และกระบวนการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 4. เครื่องมือและบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาบุคลากร 5. ฝกปฏิบัติการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล
ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 2 วัน ดําเนินการ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 6-7 มิ.ย.55 รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 11-12 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 105 คน : สามารถนําความรูไ ปประเมินสมรรถนะ ความรูค วามสามารถ ทักษะ และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลไดอยางถูกตอง สามารถใชแผนพัฒนารายบุคคลเปนกรอบแนวทางในการพัฒนา ผูใตบังคับบัญชาหรือพัฒนาตนเอง
41
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3.2) หลั ก สู ต ร การคิ ด เชิ ง สั ง เคราะห สํ า หรั บ สั่ ง สมความเชี่ ย วชาญในงานอาชี พ และ การเข า ใจผู อื่ น ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 72 ไดบัญญัติใหสวนราชการมีหนาที่ ดําเนินการใหมีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหขาราชการฯ มี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญ และกําลังใจ ในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของ รัฐ และหลักการของสํ านักงาน ก.พ. เรื่องมาตรฐานและแนวทางการกํ าหนดความรูความสามารถ ทักษะ และ สมรรถนะที่จํ าเปนสํ าหรับตํ าแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ กํ าหนดคํ าจํ ากัดความของสมรรถนะหลัก วาเปน คุณลักษณะรวมกันของขาราชการพลเรือนทัง้ ระบบ เพือ่ เปนการหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงครว มกัน โดยมีองคประกอบ 5 ตัว คือ การมุงผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความ ถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม ดังนั้น เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาขาราชการตามสมรรถนะหลักซึ่งเปนคุณลักษณะรวมกันของ ข า ราชการพลเรื อ นทั้ ง ระบบและนํ า แนวทางการคิ ด เชิ ง สั ง เคราะห มาใช ใ นการพั ฒ นาสมรรถนะหลั ก ที่ 3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการพัฒนามีกรอบความคิดเรื่องการคิดเชิงสังเคราะห สามารถนําแนวคิดไป ประยุกตใชในการทํางานเขาใจแนวคิด หลักการ เขาใจผูอื่น และอุปสรรคสําคัญตางๆ รวมทั้งแนวทางการพัฒนา ผูอื่นพัฒนาคุณภาพการบริการและเพื่อเปนการพัฒนาสมรรถนะหลักของสํานักงาน ก.พ. ดานการสั่งสมความ เชี่ยวชาญในงานอาชีพและการบริการที่ดี
กลุมเปาหมาย บุคลากรในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกระดับ เนื้อหาวิชา 1. ความหมาย ความสําคัญของการคิดวิเคราะห 2. เครื่องมือในการคิดเชิงสังเคราะห 3. กรอบแนวคิดของกระบวนการคิดเชิงสังเคราะห 4. การนําการคิดเชิงสังเคราะหมาใชในการทํางาน 5. บทบาทการคิดเชิงพัฒนา
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 22-24 ก.พ.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
42
3.3) หลั ก สู ต ร การปรั บ ปรุ ง การทํ า งานและการสร า งที ม เพื่ อ มุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ มาตรา 72 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ไดบัญญัติใหสวนราชการมีหนาที่ ดําเนินการใหมีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหขาราชการฯ มี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญ และกําลังใจ ในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของ รัฐ ทั้งนี้ สํานักงาน ก.พ. ยังไดกําหนดคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของตําแหนงเพื่อหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่ พึงประสงครวมกันใหเปนวัฒนธรรมองคกร จํานวน 5 สมรรถนะ ไดแก การมุงผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสม ความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการไดตระหนักถึงความสําคัญและความ จําเปนในการนําระบบสมรรถนะมาประยุกตใชใหสอดคลองกับองคกร ซึ่งปจจุบันองคกรตาง ๆ ตองประกอบไปดวย บุคลากรที่มีความหลากหลายอันมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณ ที่แตกตางกันไปตามลักษณะของงาน ส ว นสํ า คั ญ ต อ ผลสํ า เร็ จ ในการบริ ห ารงานเป น ป จจั ย สํ า คั ญที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารงานบรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิ่งขึ้น คือการประสานงานของทีมงาน หรือ การทํางานเปนทีม เปนเงื่อนไขแหง ความสําเร็จของการทํางานที่ไดรับมอบหมายที่ตองการใหงานนั้นบรรลุเปาหมายได แตการบรรลุถึงเปาหมายดวย ความราบรื่นของทีมงานไมไดขึ้นอยูกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ หากองคประกอบของการทํางาน คือการ ทํางานเปนทีมที่ตองมีการกําหนดเปาหมาย หนาที่ บทบาทของสมาชิก และผูนําที่รอบรูที่จะนําไปสูทิศทางที่ถูกตอง และตรงตามจุดมุงหมายเดียวกัน สิ่งที่สําคัญของการมีสวนรวมของสมาชิกในทีม เชน ความไววางใจ การสื่อสาร ฯลฯ สิ่งตางๆเหลานี้ลวนประกอบใหเกิดการทํางานเปนทีม
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการพัฒนาเขาถึงกระบวนการในการปรับปรุงระบบการทํางาน และการสราง ทีมงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยนําหลักการทํางานแบบมุงผลสัมฤทธิ์ไปปรับปรุงการทํางาน มีการพัฒนาทักษะการ ทํางานเปนทีม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สรางเครือขายขาราชการยุคใหมในการทํางาน อยางบูรณาการและสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนกับหนวยงาน และเปนการพัฒนาสมรรถนะหลักของ สํานักงาน ก.พ. ดานการมุงผลสัมฤทธิ์และการทํางานเปนทีม
กลุมเปาหมาย ขาราชการสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกระดับ
เนื้อหาวิชา 1. การปรับปรุงการทํางานดวยการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 2. ความสําคัญของการตั้งเปาหมาย ตัวชี้วัด 3. กระบวนการบริหารจัดการเพื่อผลสัมฤทธิ์ 4. ความสําเร็จของการทํางาน และการประสานงาน รวมถึงการทํางานเปนทีม 5. การลดความขัดแยงในทีมงาน
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 14 - 16 มี.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน : มีความรูความเขาใจและทักษะในการปรับปรุงการทํางานมากขึ้น รวมทั้ง มีการสราเครือขายในการทํางาน เกิดการทํางานเปนทีม และสามารถนําความรูไปใชในการพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพงาน
43
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3.4) หลั ก สู ต ร การจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร พั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ตามอํานาจหนาที่ของสํานักงานกระทรวงเกษตรและสหกรณจังหวัดในการเปนผูแทนกระทรวงเษตรและ สหกรณในเขตพื้นที่จังหวัด ตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงฯ ตองรับผิดชอบการบูรณาการบริหารจัดการแผนงาน โครงการ งบประมาณ และทรัพยากรของสวนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่อยูในเขตพื้นที่จังหวัด มีภารกิจในการกํากับ ดูแล ควบคุมและประสานงานปฏิบัติราชการของสวนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของใหเกิดผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาดานการเกษตรเพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตร พัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัดที่กําหนดไวโดยไมใหเกิดความซ้ําซอนในการดําเนินการ ซึ่งสํานักงาน เกษตรและสหกรณจังหวัดจะตองดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัด แผนปฏิบัติ การและแผนบูรณาการใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนากลุมจังหวัด/จังหวัด และเชื่อมโยงกับนโยบายกระทรวง เกษตรฯ และยุทธศาสตรชาติ ดังนั้นเกษตรและสหกรณจังหวัดจําเปนจะตองมีความรู ความเขาใจในเทคนิค วิธีการ วางแผนยุทธศาสตร สามารถใหคําแนะนําในการจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ มีทักษะ ในการกําหนดตัวชี้วัดผลการดําเนินงานขององคการ สามารถกําหนดแผนงาน/โครงการ เขาใจถึงกระบวนการ ปรั บ ปรุ ง การทํ า งาน การสร า งที ม งาน และสามารถนํ า ความรู ไ ปปรั บ ใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน กั บ หน ว ยงานอย า ง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม มีความรู ความเขาใจ ถึงเทคนิคและวิธีการวางแผลยุทธศาสตร และสามารถรวมในการจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณได มีทักษะความสามารถในการกําหนด ตั ว ชี้ วั ด ผลการดํ า เนิ น งานขององค ก ร และการกํ า หนดแผนงาน/โครงการ และมี ค วามรู ใ นการประเมิ น ผล แผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ
กลุมเปาหมาย
ผูรับผิดชอบงานดานการวางแผนยุทธศาสตรของหนวยงาน
เนื้อหาวิชา 1. คุณสมบัติและองคประกอบแผน 2. ขอมูล/องคความรูในการวางแผน 3. การวิเคราะห สถานการณองคกร 4. กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคและยุทธศาสตรขององคการ 5. วิธีการกําหนดหรือเลือกเปาหมายขององคกร 6. วิธีการจัดทําแผนกลยุทธการเกษตรและสหกรณ 7. แบงกลุมระดมสมองจัดทําแผนยุทธศาสตร 8. การติดตามประเมินผลแผนกลยุทธ
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 4 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 31 พ.ค. – 3 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 56 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
44
3.5) หลั ก สู ต ร การพั ฒ นาระบบคิ ด และการทํ า งานเชิ ง รุ ก ศักยภาพของบุคคลนั้นมีองคประกอบที่สําคัญสองประการ คือ การคิด (thinking) และการแสดงออกในทาง ปฏิบัติ (execution) ซึ่งทั้งสองประการดังกลาวมี สมอง เปนกลไกที่สําคัญที่สุด และวิธีคิดที่เปนปจจัยสําคัญตอการ ทํางานเชิงรุก จะตองเปนการคิดที่มีเปาหมายสูอนาคต โดยกรอบของการคิดจะเนนการทํางานอยางรวดเร็ว คุมคา และมีคุณภาพจะตองอาศัยขอมูลขาวสาร ประสบการณผนวกกับวิสัยทัศนที่กวางไกล จะชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ที่ทันยุคทันสมัยและพัฒนากาวหนาไปสูสิ่งที่ดีกวาภายใตการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่ไมหยุดยั้ง สถานการณ ในปจจุบันนี้พบวา ทรัพยากรมนุษยมีความสําคัญยิ่งตอการสรางและพัฒนาผลงานตามเปาประสงคที่องคกรวางไว ซึ่งหากองคกรมีบุคลากรที่มากความสามารถ สามารถปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางจุดยืนที่แข็งแกรง ในการทํางาน พัฒนาการทํางานดวยการคิดเชิงรุกไปขางหนา มองเห็นโอกาสภายใตวิกฤต ปองกันปญหาในอนาคต ไดกอนที่จะเกิดขึ้น เขาใจในวิธีการคิดก็จะชวยใหเกิดการปรับปรุงแกไขปญหาในการทํางาน และเกิดการคิดตัดสินใจ ในการเผชิญสถานการณตางๆ ไดบังเกิดผลดียิ่งขึ้น การพัฒนาระบบคิดและการทํางานเชิงรุก เพื่อเปนการพัฒนาบุคลากรที่มีสมรรถนะประจําสายงาน ดานการ คิ ด วิ เ คราะห (Analytical Thinking) การทํ า งานเชิ ง รุ ก (Proactiveness) และการมองภาพองค ร วม (Conceptual Thinking) ดวยเทคนิคพัฒนาระบบคิดใหบุคลากรเกิดความคิดอยางเปนระบบ และมีแนวคิดในการทํางานเชิงรุก พรอมทั้งจัดการเชิงรุกกับปญหาตลอดจนการคิดริเริ่มสรางสรรคมาประยุกตใชในการปฎิบัติงาน ใหเกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพสูงสุดแกองคการ
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดรับความรู ความเขาใจในหลักการ ความคิดอยางเปนระบบ การคิด ในเชิงวิเคราะหและการทํางานเชิงรุกพัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะหและสงเสริมใหเกิดการพัฒนาความคิดอยาง เปนระบบและสามารถประยุกตเทคนิคการคิดเชิงระบบ การคิดในเชิงวิเคราะห และสามารถนําไปปรับใชในการ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
กลุมเปาหมาย
บุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีสมรรถนะประจําสายงานดานการ คิดวิเคราะห การดําเนินงานเชิงรุก และการมองภาพองครวม
เนื้อหาวิชา 1. การพัฒนาระบบคิดและความคิดเชิงวิเคราะห 2. การพัฒนาประสิทธิภาพความจํา 3. การเสริมสรางวิสัยทัศนและพลังแหงจินตนาการ 4. การเสริมสรางความคิดใหเกิดการทํางานเชิงรุก
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 25 – 27 มิ.ย. 2555 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 59 คน : ไดรับความรู เขาใจ และเกิดทัศนคติที่ถูกตองตอหลักการคิดและการ ทํางานเชิงรุก สามารถพัฒนาระบบการคิด เกิดทักษะเชิงรุกในการทํางาน และนําแนวคิดและการทํางานเชิงรุกไป ประยุกตใชในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
45
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3.6) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การวิ เ คราะห ข อ มู ล ทางการเกษตรและการเขี ย นรายงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด มีบทบาทหนาที่ที่สําคัญประการหนึ่ง คือ เปนศูนยขอมูลการเกษตรและ สหกรณระดับจังหวัด ซึ่งกลุมสารสนเทศการเกษตร รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน เพื่อประสานขอมูลดานการเกษตร และสหกรณระดับจังหวัดกับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ และในทุกๆ ปจะมีการปรับปรุงพัฒนาขอมูลใหถูกตองเปน ปจจุบันเพื่อนําเสนอขอมูลในรูปของตารางขอมูล กราฟ คาสถิติ แผนที่ และการสนับสนุนขอมูลเพื่อการจัดทํา ยุทธศาสตรการเกษตร การจัดทําแผนงานโครงการพัฒนาการเกษตร ของภาครัฐ ภาคเอกชน งานการศึกษาวิจัยของ สถาบันการศึกษา รวมถึงการใหบริการขอมูลและเผยแพรขอมูลสารสนเทศแกผูสนใจทั่วไป
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรู ทักษะในการวางแผนจัดเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูลทาง การเกษตรที่สอดคลองกับภารกิจของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด สามารถเขียนรายงานผลการวิเคราะห ขอมูลใหนาสนใจและเขาใจงาย
กลุมเปาหมาย
ผูปฏิบัติงานในกลุมสารสนเทศการเกษตรของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด
เนื้อหาวิชา 1. กระบวนการจัดการขอมูลทางการเกษตร 2. การวางแผนจัดเก็บขอมูลทางการเกษตร 3. การวิเคราะหขอมูลทางการเกษตร 4. การสรุปเขียนรายงานผลการวิเคราะหขอมูล ทางการเกษตร
ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 4 วัน ดําเนินการ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 17-20 ก.ค.55 รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 23-26 ก.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 75 คน : สามารถวิเคราะหขอมูลทางการเกษตรใหสอดคลองกับภารกิจของ หนวยงาน และสามารถเขียนรายงานผลเสนอผูบังคับบัญชาไดอยางถูกตองและนาสนใจ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
46
3.7) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเป น พี่ เ ลี้ ย งและสอนงานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มาตรา 76 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กําหนดใหผูบังคับบัญชามีหนาที่ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผูอยูใตบังคับบัญชาเพื่อประกอบการพิจารณาแตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือน จาก บทบาทหน า ที่ ข องผู ป ระเมิ น ที่ ถู ก กํ า หนดไว ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ. 2551 ทํ า ให ผู บั ง คั บ บั ญ ชาเป น ผู มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการของส ว นราชการ โดยพิ จ ารณาจาก ผลสัมฤทธิ์ของงาน พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ของผูใตบังคับบัญชา ซึ่งการจะทําใหผูใตบังคับบัญชา มีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี มีผลสัมฤทธิ์ของงานและทํางานอยางมีประสิทธิภาพไดนั้น ผูบังคับบัญชาระดับตน หรือหัวหนางานจะตองมีความรู ความสามารถ และทักษะเกี่ยวกับการเปนพี่เลี้ยงและการสอนงาน รวมทั้งสามารถ แสดงบทบาทของผูใหคําปรึกษา แนะนําในการปรับปรุงแกไขงาน ใหขอคิดเห็นเพื่อพัฒนางานแกผูใตบังคับบัญชาได เพราะวิธีการเหลานี้จะมุงพัฒนาผูใตบังคับบัญชาใหมีความรู ทักษะ และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดขึ้น
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการอบรมในระดับหัวหนางาน ไดเรียนรูระบบ ขั้นตอน และกลยุทธการสอนงาน ใหกับผูใตบังคับบัญชาไดเพิ่มพูนความรูความชํานาญตามที่องคกรตองการ และใหโอกาสไดแสดงความสามารถตาม ศักยภาพที่แตละคนมีอยู เพื่อทํางานในหนาที่ของตนใหเกิดผลสําเร็จอยางมีคุณภาพ
กลุมเปาหมาย
ขาราชการตัง้ แตระดับหัวหนาสวน/ฝาย/งาน ทีเ่ ปนผูบ งั คับบัญชาระดับตน หรือมีผใู ตบงั คับบัญชา หรือ ผูที่ไดรับมอบหมายใหเปนพี่เลี้ยงในสังกัดสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด สป.กษ.
เนื้อหาวิชา 1. บทบาทหัวหนากับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองคกร 2. ความสําคัญของการสอนงาน 3. ทัศนคติในการสอนงาน 4. คุณลักษณะและบทบาทของผูสอนงาน 5. เทคนิคการสรางแรงจูงใจและการสื่อสารเชิงบวก 6. กลยุทธ ขั้นตอนและวิธีการสอนงาน
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 15—17 ส.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน : มีความรูความเขาใจและทักษะในการเปนพี่เลี้ยงและสอนงานอยาง มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการวางแผนการสอนงานใหกับผูบังคับบัญชาและ
47
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3.8) หลั ก สู ต ร การเสริ ม สร า งศั ก ยภาพการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งานราชการ สป.กษ. สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการ ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ให เ ป น ทั้ ง คนดี แ ละคนเก ง เพราะความสํ า เร็ จ ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ แ ละ กระทรวงเกษตรและสหกรณขึ้นอยูกั บศักยภาพของบุคลากร หากบุคลากร มีความสามารถสูง มีคุณธรรม จริยธรรม ยอมสามารถนําพาไปสูความสําเร็จ ตามวิ สั ย ทั ศ น พั น ธกิ จ กลยุ ท ธ แ ละเป า หมายที่ ต อ งการได ในการทํ า งาน ทุกคนตองมุงไปที่เปาหมายเดียวกันและรวมกันผลักดันเปาหมายขององคกรใหบรรลุผลสําเร็จ พนักงานราชการ เปนบุคลากรที่มีสวนสําคัญในการผลักดันเปาหมายของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณใหบรรลุผลสําเร็จ จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาพนักงานราชการใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางและ วิธีการปฏิบัติราชการ มีการพัฒนาทักษะที่จําเปนในการปฏิบัตริ าชการและปลูกจิตสํานึกที่ดี ใหมคี วามซื่อสัตยสุจริต และศรัทธาในอาชีพ พรอมทั้งปรับกระบวนทัศนใหมใหสามารถปฏิบัติราชการไดอยางเหมาะสมและสอดคลองกับ สภาวการณที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีสามารถพัฒนาความรู ทักษะและสมรรถนะเบื้องตนของการเปน พนักงานราชการ สรางความตระหนักถึงบทบาทหนาที่ในการพัฒนาตนเอง พัฒนางานและพัฒนาการทํางานรวมกับ ผูอื่นใหพรอมที่จะปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถจัดการงานในหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหเกิด ประโยชนสูงสุด
กลุมเปาหมาย
พนักงานราชการของสํานัก/กอง สป.กษ.
เนื้อหาวิชา 1. การสรางทีมและพัฒนาความคิดสัมพันธ 2. คาตอบแทนและสิทธิประโยชนสําหรับพนักงานราชการ 3. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4. ระเบียบงานสารบรรณ การเขียนหนังสือราชการ และเทคนิค การจัดทํารายงานการประชุม 5. การปรับปรุงการทํางานเพือ่ มุงผลสัมฤทธิ์
ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 5 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 27-31 ส.ค.55 ณ โรงแรมภูเขางามรีสอรท จ.นครนายก (3 วัน) และ สถาบันเกษตราธิการ (2 วัน) ผูผานการฝกอบรมจํานวน 48 คน : มีศักยภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการทํางานเปนทีมและ มีเครือขายในการประสานราชการ มีการพัฒนาตนเองและพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเกิดความสัมพันธ อันดีระหวางผูปฏิบัติงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
48
3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 อาเซี ย น หรื อ สมาคมประชาชาติ แ ห ง เอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต จ ะก า วเข า สู ก ารเป น ประชาคม อาเซียน ซึ่งจะสงผลกระทบตอประเทศไทยโดยรวม สําหรับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของอาเซียน และมีความพรอมสําหรับการปฏิบัติราชการตามยุทธศาสตร การเข าสู ประชาคมอาเซีย น 2558 สถาบันเกษตราธิก าร ไดมีการดําเนินการ ดังนี้ 1) จัดฝกอบรมหลั กสูต ร การบริหารจัดการดานการเกษตร โดยเชิญ วิทยากรที่มีความรอบรู ในดานตางประเทศ ร.ต.อ. ดร.นิติภูมิ นวรัตน มาใหความรู ถายทอดประสบการณในหัวขอ ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ยนกั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ การเกษตรเพื่อ เตรีย มความพรอมของไทย และผูต รวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ (นางจิราวรรณ แยมประยูร) มาใหความรูเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวของ กับประชาคมอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน และการดําเนินการดานตาง ๆ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณในการขับเคลื่อนภาคการเกษตรสูประชาคมอาเซียน จํานวน 55 คน 2) จั ด ฝ ก อบรมหลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเจรจาต อ รองระหว า งประเทศ กลุ ม เป า หมายได แ ก ขาราชการระดับปฏิบัติการและระดับชํานาญการของกระทรวงฯ ที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการประชุมและ การคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ จํานวน 30 คน 3) จัดฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษหลักสูตร การอานและเขียนเชิงวิชาการอยางมีประสิทธิภาพ และโครงการฝก อบรมทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อ รับ ทุนศึกษา ฝ กอบรมและดูง าน ณ ต างประเทศ กลุมเปาหมายไดแก ขาราชการของกระทรวงฯ จํานวน 40 คน 4) กําหนดหัวขอวิชาและเนื้อหาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนไวในหลักสูตรฝกอบรมที่สถาบันเกษ ตราธิการดําเนินการ จํานวน 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ทั้ง ระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง และหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดีสําหรับขาราชการที่อยูระหวาง ทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ จํานวน 599 คน
49
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง สถาบันเกษตราธิการ มีแนวทางในการสงเสริมการเรียนรูดวยตนเองใน 3 ชองทาง ไดแก การพัฒนา โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรูของ สป.กษ. และการใหบริการหองสมุด ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้
1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1) การพัฒนาบุคลากรผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) สถาบันเกษตราธิการ มุงมั่นในการปฏิบัติงานดวยวิสัยทัศนการเปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการอยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใช เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมัย และทั่ ว ถึ ง เล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ และความจํ า เป น ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร ด ว ยรู ป แบบการเรี ย นการสอน การถ า ยทอดเนื้ อ หาวิ ช าและองค ค วามรู ผ า นทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส บนเครือขายอินเตอรเน็ต ซึ่งเปนรูปแบบการเรียนออนไลน (Online learning) ที่สามารถใชสื่อการเรียนรู แบบผสมผสานไดหลากหลาย มาใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับที่ปฏิบัติงานอยูทุกพื้นที่ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค ตั้งแตป พ.ศ.2549 โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและ สหกรณอยางเปนระบบดวยกระบวนการที่ตอเนื่อง (on going process) อยางทั่วถึง เสมอภาค โดยอาศัย ชุดวิชาการเรียนรูดวยตนเองเปนสื่อหลัก เพื่อสรางกระบวนการพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับกระแส การพั ฒนาบุ คลากรดวยการเรียนรูดวยตนเอง ที่กา วทันความกาวหน าของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยเฉพาะการเรียนรูผานสื่อผสม (Multimedia) อยางเชน การนําระบบ e-Learning มาใชดวย เหตุผลของความยืดหยุนในการเรียน สะดวก และประหยัด สามารถลดขอจํากัดของการอบรมในหองเรียน ไดเปนอยางดี ปจจุบันสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรดวยระบบ e-Learning มาอยางตอเนื่อง เพื่อใหบุคลากรสามารถเขาถึงและเรียนรูองคความรูใหม องคความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน มีความรู ความเข า ใจหลั ก การและเหตุ ผ ลเนื้ อ หาวิ ช า พั ฒ นาความรู ทั ก ษะ และสร า งความคุ น เคยกั บ การใช เทคโนโลยีเปนฐานการเรียนรู ประหยัดงบประมาณ คาใชจาย ลดขอจํากัดดานเวลา สถานที่ จํานวนผูเรียน และสะดวกในการพั ฒ นาบุ ค ลากรทั้ ง ส ว นกลางและส ว นภู มิ ภ าค และขยายโอกาส เพิ่ ม ทางเลื อ ก การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู และกิ จ กรรมร ว มบนเครื อ ข า ยการเรี ย นรู สู ทุ ก พื้ น ที่ ที่ ส ามารถเชื่ อ มต อ ระบบ อินเตอรเน็ตได โดยในปงบประมาณ 2555 เปดดําเนินการอบรมใน 4 วิชา ประกอบดวย (1.) วิชาการบริหารแบบ บูรณาการ (2.) วิชาการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (3.) การพัฒนาบุคลากรตาม สมรรถนะหลักขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ และ (4.) วิชาภาษาอังกฤษสําหรับการสื่อสาร รวม มีผูสมัครเขาอบรม จํานวน 487 คน ผานการอบรม จํานวน 184 คน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
50
1.2) การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน สถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน โดยการรวบรวมความรู ที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน จากแผนปฏิบัติงานฝกอบรมของสถาบันเกษตราธิการ เพื่อนําไปเผยแพรใหแก บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณไดศึกษาเรียนรูและพัฒนาตนเอง ทั้งนี้เพื่อเปนการขยายโอกาส การศึกษาเรียนรู โดยผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกหนทุกแหง ทําใหประหยัดเวลา คาใชจายและสามารถ เลือกเรียนเนื้อหาไดตามสะดวก โดยปจจุบันสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการเผยแพรและใหบริการ ความรูผานสื่อในชองทางตางๆ ไดแก การเผยแพรความรูผานเครือขายอินเตอรเน็ต เป น การเผยแพร ค วามรู ผ า นเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต ทางเว็ ป ไซต www.kststation.com โดยสามารถเลื อ กเรี ย น ไดหลากหลายรูปแบบ ไดแก ถ า ยทอดสดการบรรยาย เป น การถ า ยทอดสดการ บรรยายของวิทยากรในหลักสูตรตางๆ ที่สถาบันฯ ดําเนินการ โดยไดประชาสัมพันธใหหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับทราบปฏิทินการถายทอดสด ในแตละเดือน ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดดําเนินการถายทอดสดการบรรยาย รวม จํานวน 18 ครั้ง คลังวีดีทัศนความรู ไดดําเนินการรวบรวมสื่อวีดีทัศนความรูที่นาสนใจและเปนประโยชนตอการ ปฏิ บัติ ง านจากการบรรยายของวิ ท ยากรในหลักสู ต รตา งๆ จากแผนปฏิบั ติ งานฝก อบรมของสถาบัน ฯ ปจจุบันมีเนื้อหาวิชาตางๆ จํานวน 50 เรื่อง โดยสามารถเลือกเรียนเนื้อหาไดตามสะดวก หนังสืออิเล็ คทรอนิ กส ไดรวบรวมเอกสารประกอบการบรรยายในหลักสูตรตางๆและความรู ที่นาสนใจมาจัดทําเปนหนังสืออิเล็คทรอนิกสที่ทันสมัย ทําใหผูเขามาเรียนรูเกิดความแปลกใหมและไม เบื่อหนาย ปจจุบันมีจํานวน 25 เรื่อง ใหบริการสื่ออิเล็คทรอนิกส เป น การเผยแพร ค วามรู แ ละให บ ริ ก ารสื่ อ การเรี ย นการสอนในรู ป แบบของสื่ อ อิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส เชน เทคนิค การเขี ยนตั ว ชี้ วัด แบบสากล ทิศ ทางการพัฒ นาการเกษตรจากมิ ติก ระทรวงเกษตรฯ การ ประยุกตใชโปรแกรม adobe indesign การปรับปรุงการทํางานและการมุงผลสัมฤทธิ์ ลงบนแผน CD, DVD รวมจํ า นวน 33 เรื่ อ ง โดยได ม อบให แ ก ห อ งสมุ ด ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ห อ งสมุ ด สถาบั น เกษตราธิการ และหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหผูสนใจศึกษา เรียนรูและพัฒนาตนเองตอไป
51
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณมีการดําเนินการบริหารจัดการความรูมาอยางตอเนื่อง ในรูปแบบ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู โดยมีรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ไดรับ มอบหมายใหกํ ากั บดู แลสถาบันเกษตราธิการเปนประธาน ซึ่ งทํ า หนาที่เปนผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer : CKO) และมี ผู อํ า นวยการสํ า นั ก /กอง เป น กรรมการ มีผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ และคณะทํางาน จัดการความรู สป.กษ. ซึ่งมีผูอํานวยการ สถาบันเกษตราธิการเปน ประธานคณะทํางาน และมีผูแทนจากสํานัก/กอง เปนคณะทํางาน มีผูแทนจากสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ก ารพั ฒ นาความรู ้ใ น สป.กษ. มี ลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อยางสม่ําเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผล ความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสม ต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องสงเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถนําองค์ความรู้ที่ จําเป็นมาใช้ในการปฏิบัติราชการ โดยมีสถาบันเกษตราธิการเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก และเปนการ ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2552-2556 กลยุทธที่ 3 พัฒนาสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมองคกรเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู ที่หลากหลาย แนวทางการจัดการความรูของ สป.กษ. ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2555 สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ มี ก ารจั ด การความรู ในทุกสํานัก/กอง โดยมีแนวทาง/วิธีการสงเสริมกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้ 1. กิจกรรมชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practices : CoP) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ หรือ CoP เปนกิจกรรมรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู ตามแผนการจัดการความรู กลาวคือ กลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและ สรางองคความรูใหมๆ เพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น มีการดําเนินงานใน 2 ระดับ ดังนี้ CoP ระดับ สป.กษ. เปนกิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของผูบริหาร ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ. มีมติใหดําเนินกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) สป.กษ. จํานวน 2 ครั้ง ดังนี้
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
52
ครั้งที่ 1 เรื่อง การปรับปรุงการจัดทําแผน การติดตาม และ ประเมิ น ผลของ สป.กษ. โดย สํ า นั ก แผนงานและโครงการ พิเศษ เมื่อวันที่ 15 มิ.ย.55
ครั้งที่ 2 เรื่ อง หลักเกณฑและวิธีก ารประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของขาราชการพลเรือนสามัญ โดย กองการเจาหนาที่ เมื่อวันที่ 10 ก.ย.55
นอกจากนั้ น ยั ง มี ห น ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. ได จั ด กิ จ กรรมชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ (CoP) สป.กษ. เพิ่มเติมจากที่กําหนดไว โดยเชิญบุคลากรในสังกัด สป.กษ. เขารวมกิจกรรมดวย ดังนี้ ครั้งที่ 3 เรื่อง ระเบียบวิธีวิจัย โดย กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน เมื่อวันที่ 16 ก.พ.55 ครั้งที่ 4 เรื่อง เอกสารประกอบการเบิกคาใชจายกรณีตางๆ ของกองคลัง สป.กษ. โดย กองคลัง เมื่อวันที่ 24 ก.ค.55 ครั้งที่ 5 เรื่อง ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส โดย กองกลาง เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 55 CoP ระดับสํานัก/กอง โดยคณะทํางานจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดดําเนินกิจกรรม CoP ระดับสํานัก/กอง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแกไขปญหาภายในของแตละหนวยงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 มีหัวขอเรื่อง ดังนี้ 1) การวิ เคราะหวั ฒนธรรมองคก าร การเสริ มสรา งวั ฒนธรรมองค การ (สํ านั กพั ฒนาระบบ บริหาร) 2) ขั้นตอนการเสนอขอเครื่องราชอิสริยภรณสําหรับขาราชการการเมือง ขั้นตอนการเสนอเรื่อง เขาคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 3) เอกสารประกอบการเบิกคาใชจายกรณีตางๆ ของกองคลัง สป.กษ. (กองคลัง) 4) เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ผงละเอี ย ดสารฝนหลวง วิ วั ฒ นาการเครื่ อ งบดสารฝนหลวงสู ต ร 4 (ยูเรีย) ระเบียบการบินกระทรวงเกษตรและสหกรณ และสถานภาพปจจุบันของการดัดแปรสภาพอากาศใน ตางประเทศ (สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร) 5) ระเบียบวิธีวิจัย (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน)
53
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
6) การถายทอดตัวชี้วัดระดับสํานัก/กอง สูการปฏิบัติระดับบุคคลและการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการในระบบ DPIS (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 7) การถายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ (กองเกษตรสารนิเทศ) 8) การบริหารโครงการฝกอบรมและการหาความจําเปนในการฝกอบรม (สถาบันเกษตราธิการ) 9) การจัดทําคําสั่งทางปกครอง การแจงคําสั่งทางปกครองและผลของคําสั่งทางปกครอง (สํานัก กฎหมาย) 10) การใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ความรูระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 11) ปญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงานหลังจาก พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 (สํานักตรวจสอบภายใน) 12) ระบบการรายงานผลและการดําเนินการตามผลการตรวจราชการและระบบการติดตามและ ประเมินผลการตรวจราชการ (สํานักตรวจราชการ) 13) การปรับปรุงการจัดทําแผน การติดตามและประเมินผลของ สป.กษ. (สํานักแผนงานและ โครงการพิเศษ) 2. การเขียนบทความการจัดการความรูในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ หน ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. (ส ว นกลาง) ได ร ว มเขี ย น บทความในมุม KM ของจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพือ่ เผยแพรความรูต า งๆ ให กั บ ผู ที่ ส นใจ ทั้ ง นี้ สถาบั น เกษตราธิ ก ารได ร วบรวม บทความ KM ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 เปนรูปเลม เผยแพรประชาสัมพันธความรูไปยังสํานัก/กอง ในสังกัด สป.กษ. (สวนกลาง) และยังไดเผยแพรบทความดังกลาวในรูปแบบ e-book ลงในเว็บไซตการจัดการความรู ของ สป.กษ. (http://km.opsmoac.go.th) อีกชองทางหนึง่ ดวย ซึง่ มีหวั ขอ ดังนี้ 1) ยอนรอยกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กองกลาง) 2) วัฒนธรรมองคการ (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 3) การพัฒนาระบบการตรวจราชการ (สํานักตรวจราชการ) 4) เงื่อนไขการฟองคดีปกครอง (สํานักกฎหมาย) 5) การประเมินผลพืน้ ทีท่ ไี่ ดรบั ประโยชนจากการปฏิบตั กิ ารฝนหลวง (สํานักฝนหลวงและการบิน เกษตร) 6) การจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (สถาบันเกษตราธิการ) 7) ขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับกระทูถาม (สํานักงานรัฐมนตรี) 8) เทคโนโลยี Social Media (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
54
9) งานเปดตัวเว็บไซตสงเสริมการคาผลไมไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีน (สํานักการเกษตร ตางประเทศ) 10) สกร.เรงฟนฟูเกษตรกร ปลูกถั่วลิสงพันธุไทนาน 9 เพื่อปลดเปลื้องหนี้สิน (สํานักบริหาร กองทุนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องรองเรียน) 11) ความรูเกี่ยวกับภัยธรรมชาติในประเทศไทย (สํานักแผนงานและโครงการพิเศษ) 12) องคความรูสมุนไพรไลแมลง (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร) 3. การจัดทําบอรด KM ของสํานัก/กอง ไดเพิ่มชองทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู และเผยแพรความรู โดยกําหนดใหทุกสํานัก/กอง จัดทํา บอรดการจัดการความรูภายในของแตละหนวยงานตามองคความรูที่ระบุไวในแผนการจัดการความรูของ หนวยงาน รวมทั้งความรูตางๆ ที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติราชการ ตามภารกิจของหนวยงาน
บอรด KM กองกลาง
บอรด KM สํานักพัฒนาระบบบริหาร
บอรด KM สถาบันเกษตราธิการ
ตัวอยางบอรด KM
55
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ทั้งนี้ องคความรูตางๆ ที่ไดดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู จะมีการจัดเก็บไวในเว็บไซต การจัดการความรูของ สป.กษ. (km.opsmoac.go.th)
รูปภาพ : เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ.
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
56
3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ ให บ ริ ก ารข อ มู ล ความรู ด า นการบริ ห ารและการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของหน ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ รวบรวมหนั ง สื อ และสื่ อ สารสนเทศเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารและการพั ฒ นา ทรัพยากรบุคคลในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ เอกสาร หนังสือ วารสาร นิตยสาร สื่อมัลติมีเดียที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล บริการยืม-คืนหนังสือ มุมอินเตอรเน็ต มุมกาแฟ พรอมทั้งปรับปรุงขอมูลในระบบ หองสมุดอิเล็กทรอนิกสที่ใหบริการผานทางเว็บไซต www.kst.go.th เพื่อความสะดวกในการคนหาขอมูล ความรูแกผูมาใชบริการใหเกิดประโยชนมากที่สุด ผลการดําเนินงาน 1) การจัดซื้อหนังสือที่นาสนใจและเปนประโยชนกับบุคลากรเพิ่มเติม จํานวน 127 เรื่อง แบงเปน ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (42 เรื่อง) ดานวรรณกรรม (77 เรื่อง) และดานการใชภาษาตางประเทศ (8 เรื่อง) 2) การจัดสื่อประชาสัมพันธภายในหองสมุด - ความรูเกี่ยวกับเทศกาลหรือวันสําคัญตางๆ เชน วันพืชมงคล วันแมแหงชาติ - แนะนํ า หนั ง สื อ ใหม ที่ น า สนใจ เช น หนั ง สื อ Competency Based HR Manual and Forms ฉลาดถามเปนตอทุกสถานการณ 101 วิธีพัฒนาสมอง เปนตน 3) ปรับปรุงขอมูลในระบบหองสมุดอิเล็กทรอนิกสที่ใหบริการผานทางเว็บไซต www.kst.go.th โดย การเพิ่มเติมเนื้อหาในหัวขอหนังสือแนะนําและหนังสือใหม เพื่อประชาสัมพันธใหกับผูเขาใชบริการได รับทราบ
57
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
4) มุมความรูเกี่ย วกั บประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner) ในการเตรีย มความพรอมสูประชาคม อาเซียนในป 2558 นั้น หองสมุดสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการจัดทํามุมสงเสริมความรู จัดหาหนังสือ เอกสาร สื่อความรูเกี่ยวกับอาเซียน ความรูเกี่ยวกับประเทศและภาษาในอาเซียน และอื่นๆ มาเผยแพร ประชาสัมพันธใหแกผูที่สนใจศึกษาขอมูล 5) บุคลากรของกระทรงเกษตรและสหกรณและบุคคลทั่วไป ใหความสนใจเขามาใชบริการหองสมุด จํ า นวน 2,127 คน ในการยื ม หนั ง สื อ วารสาร นิ ต ยสาร สื่ อ ความรู และใช บ ริ ก ารระบบอิ น เตอร เ น็ ต เพื่อคนหาขอมูลความรูตางๆ 6) การสํารวจความพึงพอใจผูร บั บริการหองสมุด ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอการใชบริการ หองสมุดในภาพรวม อยูใ นระดับ มาก ในดานสภาพแวดลอมมีความเหมาะสม หนังสือมีความทันสมัย ตรงตอ ความตองการ และการจัดเรียงหนังสือสะดวกตอการคนหา รวมทั้งการใหบริการอินเตอรเน็ตและเครื่องดื่ม
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
58
3.6 ทุนศึกษาตอ ปริญญาโท ปริญญาเอก และทุนศึกษา ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) ทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) เปนการพัฒนาบุคลากรดวยการเพิ่มวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิชา ทีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณขาดแคลนและจําเปน เพือ่ ทดแทนกําลังคนทีเ่ กษียณอายุราชการและเพิม่ บุคลากร วิจยั ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยดําเนินการมาตัง้ แตปง บประมาณ พ.ศ.2546 การคัดเลือกผูรับทุนการศึกษา โดยคณะอนุกรรมการดําเนินการคัดเลือกและพิจารณากลั่นกรองผูสมัครสอบที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เปนผูรับทุน เพื่อรับทุนรัฐบาลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบัน เทคโนโลยีแหงอเวีย คระอนุกรรมการประกอบดวย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ไดรับมอบหมาย ใหดูแลสถาบันเกษตราธิการ เปนประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากสถาบัน เทคโนโลยีแหงเอเวีย ผูทรงคุณวุฒิที่ไดรับการแตงตั้งจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูอํานวยการสํานัก การเกษตรตางประเทศและผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการเปนอนุกรรมการและเลขานุการ หัวหนากลุม สงเสริมการศึกษาและเทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันเกษตราธิการเปนผูชวยเลขานุการ
59
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
ผลการดําเนินงานในภาพรวม โครงการระยะที่ 1 (ป 2546-2550) ไดรับงบประมาณสําหรับผูรับทุน จํานวน 44 ราย (ปริญญา โท 22 ราย ปริญญาเอก 22 ราย) สําเร็จการศึกษาแลว จํานวน 11 ราย (ปริญญาโท 22 ราย ปริญญาเอก 11 ราย) อยูระหวางการศึกษา จํานวน 9 ราย (ปริญญาเอก) โครงการระยะที่ 2 (ป 2551-2555) ไดรับงบประมาณสําหรับผูรับทุน จํานวน 32 ราย (ปริญญา โท 11 ราย ปริญญาเอก 21 ราย) สําเร็จการศึกษาแลว จํานวน 7 ราย (ปริญญาโท 6 ราย ปริญญาเอก 1 ราย) อยูระหวางการศึกษา จํานวน 25 ราย (ปริญญาโท 5 ราย ปริญญาเอก 20 ราย) ในป ง บประมาณ 2555 ได ดํ า เนิ น การจั ด สรรทุ น ใหม จํ า นวน 10 ราย (ปริ ญ ญาเอก 5 ราย ปริญญาโท 5 ราย) รายละเอียด ดังนี้ ผูรับทุนระดับปริญญาโท จํานวน 5 ราย ดังนี้ 1. สาขาวิชา Regional and Rural Development Planning 1) นางสาวชลธิดา วงคคําจันทร สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 2) นางสาวพิลาพันธ โคกสีอํานวย สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 2. สาขาวิชา Agri-business Management 1) นางสาวขวัญหทัย ทองปลาด สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 2) นางสาวยุพาวรรณ หนันลา สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
3. สาขาวิชา Human Resources Management 1) นางสาวกรวรรณ มั่นคง
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ผูรับทุนระดับปริญญาเอก จํานวน 5 ราย ดังนี้ 1. สาขาวิชา Regional and Rural Development Planning 1) นายพงษปกรณ ปยวัฒนปภาดา กรมสงเสริมสหกรณ 2) นายกิจษารธ อนเงินทยากร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2. สาขาวิชา Agri-business Management 1) นางสาวภีสพรรณ เลาสุทแสน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2) นางเสาวลักษณ โกศัลวิตร กรมตรวจบัญชีสหกรณ
3. สาขาวิชา Natural Resources Management 1) นางสาวศันสนีย อรัญวาสน
กรมพัฒนาที่ดิน
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
60
ในปงบประมาณ พ.ศ.2555 มีผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระดับปริญญาเอก ทั้งหมด จากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 จํานวน 4 ราย ประกอบดวย ผูสําเร็จการศึกษาจาก AIT ระยะที่ 1 ลําดับ
ชื่อ-นามสกุลผูรับทุน
ระยะที่ 1 1 นายปริญญา กมลสินธุ ผูเชี่ยวชาญดาน วิศวกรรมชลประทานเชี่ยวชาญ (9 ชช.) สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน 2 นายจักรพงษ แตวิจิตร วิศวกรโยธาปฏิบัติการ สํานักออกแบบวิศวกรรมและ สถาปตยกรรม กรมชลประทาน 3 นางสาวปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร วิศวกรการเกษตรชํานาญการ สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร ระยะที่ 2 1 นางสาวณมาพร อัตถวิโรจน นักวิชาการ มาตรฐานชํานาญการ สํานักกําหนด มาตรฐาน สํานักงานมาตรฐานสินคา เกษตรและอาหารแหงชาติ
สาขาวิชา
ผลงานวิชาการ
Agricultural System and Development of an Aquatic Weed Engineering Harvester for Cleaning Irrigation Channels in Thailand Agricultural System and Development of a Decision Engineering Support System for integrated Agriculture with farm Ponds Using Multiple criteria Decision Making (MCDM) and GIS Food Engineering and Quality Grading of Mangosteens bioprocess Technology Using Ultrasonic Specific Gravity Sensor- Based Control System
Food Engineering and bioprocess Technology
Development of Models for Thai Rough Rice Quality Inspection and Classification via Near Infrared Spectroscopy
61
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
2) ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวง การตางประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับการจัดสรรทุนจากกระทรวงการตางประเทศ เปนทุนที่รัฐบาล ตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือนิติบุคคลตางประเทศ จัดสรรใหสวนราชการตางๆ ตามภารกิจของ ส ว นราชการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ผู รั บ ทุ น ได เ พิ่ ม พู น ความรู ประสบการณ และวิ สั ย ทั ศ น ในสาขาวิชาความรูที่เกี่ยวของ อาทิเชน สาขาวิชาที่เกี่ยวกับพืช ประมง ปศุสัตว วิศวกรรมที่เกี่ยวกับน้ําและ การชลประทาน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การวิเคราะหโครงการ ความยั่งยืนทางดานอาชีพ เกษตรกรรม อาหารที่ปลอดภัยไดมาตรฐาน เปนตน ความรูตางๆ ที่ไดรับจะไดนํากลับมาปรับพัฒนาและ ใชในองคกร เพื่อผลประโยชนของเกษตรกรและผูเกี่ยวของภายในประเทศตลอดจนการประสานความ รวมมือระหวางประเทศ ผลการดําเนินงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดรับการจัดสรรทุนจากกระทรวงการตางประเทศ ทั้งในดานการ บริหารจัดการ ดานพัฒนาการผลิตดานบริหารจัดการทรัพยากรดานการผลิต และดานสงเสริมและพัฒนา เกษตรกรและระบบสหกรณ รวมทั้งหมด 64 หลักสูตร สถาบันเกษตราธิการ ดําเนินการจัดสรรทุนใหกับ สวนราชการ จํานวน 12 หนวยงาน ไดรบั การพิจารณาตอบรับจากแหลงทุน จํานวน 31 ราย ซึ่งสรุปตาม ตารางไดดังนี้ ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2555 จํานวน หลักสูตร
กษ.เสนอชื่อ ผูขอรับทุน
ผานการทดสอบ อังกฤษ
ไดรับทุน
ไทย
9
18
6
5
ญี่ปุน
22
40
17
14
จีน
8
14
3
4
อิสราเอล
6
3
2
2
อียิปต
14
34
11
5
อินเดีย
1
2
0
0
ทุนโคลัมโบ
4
7
1
1
64
118
40
31
แหลงทุน
รวมทั้งหมด
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
62
สวนราชการที่ไดรับการจัดสรรทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศของกระทรวง การตางประเทศ ประจําป 2555 สวนราชการที่ไดรับการจัดสรรทุนฝกอบรม สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมปศุสัตว สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมการขาว กรมประมง กรมสงเสริมสหกรณ กรมชลประทาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ รวมทั้งหมด
จํานวนผูไดรับ การเสนอชื่อ 7 27 15 11 7 15 1 3 13 9 9 2 118
ไดรับทุน 1 7 4 1 4 4 1 2 4 2 1 31
63
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
3) โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรัฐประชาชนจีน ภาษาจี น เป น ภาษาสากลที่ มี ผู ใ ช ม ากกว า 1,300 ล า นคน ไม ร วมที่ แ พร ก ระจายอยู ทั่ ว โลก ในปจจุบันประเทศจีนมีขนาดทางเศรษฐกิจใหญที่สุดในเอเชีย และเปนอันดับ 2 ของโลก ไดเขารวมเปน สมาชิกของกลุม ASEAN+3 ในเรื่องเศรษฐกิจและการคา ดังนั้น ภาษาจีนจึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการ สื่อสาร ซึ่งทวีความสําคัญขึ้นในระดับสากล มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณฑลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น แก ขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ไปศึกษาอบรมภาษาจีนแกสวนราชการระดับกระทรวงของประเทศไทย กวา 40 ทุนตอป กระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับการจัดสรรทุนปละ 2 ทุน เปนทุนการศึกษาแบบ ใหเปลา ไมมีขอผูกพัน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณไดตั้งงบประมาณ สนับสนุนผูไดรับทุนการศึกษาดังกลาว ทุนละ 127,950 บาท รวม 2 ทุน เปนเงิน 255,900 บาท ผลการดําเนินงาน การคั ด เลื อ กผู มี สิ ท ธิ์ ไ ด รั บ ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น คั ด เลื อ กโดย คณะกรรมการคั ด เลื อ กผู รั บ ทุ น ฝ ก อบรมหบั ก สู ต รเสริ ม สร า งทั ก ษะ ภาษาจี น ประกอบด ว ย รองปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ ไ ด รั บ มอบหมายให ดู แ ลสถาบั น เกษตราธิ ก ารเป น ประธานกรรมการ ผู อํ า นวยการสถาบั น เกษตราธิ ก าร ผู อํ า นวยการกองการเจ า หน า ที่ ผูอํานวยการสํานักการเกษตรตางประเทศเปนกรรมการ และหัวหนากลุม สงเสริมการศึกษาและเทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล เปนกรรมการ และเลขานุการ ในปงบประมาณ 2555 กระทรวงเกษตรและสหกรณดําเนินการคัดเลือกผูมีสิทธิไดรับทุนการศึกษา ภาษาจีน จากสวนราชการในสังกัดเขารับทุนการศึกษาอบรม รายละเอียดดังนี้ ลําดับที่ 1 2
ชื่อ-นามสกุลผูรับทุน นางสาวสุรียพร บัวอาจ นางสาวอุบลวรรณ พัฒนลาภ
ตําแหนง นักวิชาการโรคพืชปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณชํานาญการ
หนวยงาน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ
ผลที่ไดรับ ผูผานการฝกอบรมสามารถเปนตัวแทนขององคกรในการสื่อสารกับผูใชภาษาจีนที่มาติดตอราชการ และการที่ไดรับการศึกษาอบรมภาษาจีนในประเทศจีนแลว ยังไดศึกษาถึงประเพณีนิยม ขนบธรรมเนียม สังคม สังคมจิตวิทยา และพฤติกรรมของประชาชนในประเทศเจาของภาษา กอใหเกิดประโยชนในการ ประสานงานอีกดวย
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
64
4) การฝ ก อบรมภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารระหว า งประเทศ (English for International Communication) ประจําป 2555 ป จ จุ บั น หน ว ยงานต า งๆ มี ก ารติ ด ต อ ประสานงานกั บ หน ว ยงานต า งประเทศอยู ต ลอดเวลา ซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ ทักษะ ในขีดความสามารถที่สูง ในการใช ภ าษาต า งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ จึง เป นสิ่ งจํา เป น เพื่อ ให บุค ลากรใช ภ าษานั้น ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน การติดตอประสานงาน การเจรจาตอรอง และเปนประโยชนในการ พัฒนาประเทศ สถาบั น เกษตราธิ ก าร จึ ง ได เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ โดยให ก ารสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม ให มี ก ารพั ฒ นา บุคลากรดานนี้เพิ่มมากขึ้น โดยจัดสงเขาฝกอบรมในสถาบันฯ หนวยงานภายนอกอื่นๆ เชน 1. หลักสูตร ภาษาอังกฤษสําหรับการใชในการปฏิบตั ิงาน Intensive Language Course (ILC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรู ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษใหแกขาราชการ และ พนักงานรัฐวิสาหกิจใหอยูในระดับที่จะปฏิบัติงานในหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม 1. ผูใชภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงาน 2. ผู ที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ให เ ป น ผู ข อรั บ ทุ น ภายใต โ ครงการที่ ผ า นการดํ า เนิ น งาน ของสถาบั น การตางประเทศเทวะวงศวโรปการ 3. ตองผานการทดสอบภาษาอังกฤษ (Entry Test) ของสถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ และมีผลคะแนนสอบอยูในเกณฑที่กําหนด 4. ขาราชการ ระดับปฏิบัติงานขึ้นไป ไมเคยเขารับการฝกอบรมหลักสูตรนี้มากอน ขอกําหนด และคําแนะนํา เกี่ยวกับการสอบภาษาอังกฤษ ผูสมัครเขารับการฝกอบรมในหลักสูตร จะตองผานการสอบวัดความรูความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษ Entry Test เพื่อจะใชคดั เลือกผูเขารับการฝกอบรมที่มคี วามรูด านภาษาอังกฤษในระดับที่ เหมาะสมกับหลักสูตรดังกลาว รวมทั้งใชเปนแนวทางในการจัดชั้นเรียนใหเหมาะสมกับความรู ความสามารถของผูเขารับการฝกอบรม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจัดสงขาราชการเขารวม 2 รุน ดังนี้ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 13 ธันวาคม 2554 – 20 มกราคม 2555 ณ สถาบันการตางประเทศ เทวะวงศวโรปการ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปเขารวมการฝกอบรม ภาคปฏิบัตินอกสถานที่ ณ ตางจังหวัด ระหวางวันที่ 16 – 18 มกราคม 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายมุทิตะ ชลามาตย นายสัตวแพทยชํานาญการ กรมปศุสัตว 2. นางสาวรดาชญา นาวานิมิตกุล นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑปฏิบัติการ กรมหมอนไหม
65
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 5 มีนาคม – 12 เมษายน 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปเขารวมการฝกอบรม ภาคปฏิบัตินอกสถานที่ ณ ตางจังหวัด ระหวางวันที่ 9 – 11 เมษายน 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 8 ราย ดังนี้ 1. นายวนาณัฏฐ สีนิน นักวิเทศสัมพันธปฏิบัติการ กรมชลประทาน 2. นายวรุฒ พจนศิลปชัย วิศวกรโยธาปฏิบัติการ กรมชลประทาน 3. นายพีรพัฒน พจนสมพงษ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กรมพัฒนาที่ดิน 4. นางยอดหญิง สอนสุภาพ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ กรมวิชาการเกษตร 5. นางสาวเสานีย แกวพระเกษ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ กรมสงเสริมการเกษตร 6. นางสาวพิลาพันธ โคกสีอํานวย นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 7. นางสาวพรชาตา บุสสุวัณโณ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 8. นางสาวชุติมา ศรสําราญ นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 2. หลักสูตร การเสนอผลงานและการพูดเพือ่ การประชุม Oral Communication Coures (OCC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรที่มีการติดตอประสานงานกับ หนวยงานตางประเทศ ในการเสนอผลงาน การอภิปราย และการนําเสนอแนวความคิดในที่ประชุมขั้น พื้นฐาน คุณสมบัติผูเขารับการฝกอบรม 1. เปนขาราชการ ระดับชํานาญการขึ้นไป หรือเทียบเทา ณ วันที่เสนอชื่อสอบ 2. ผู ที่ มี โ อกาสนํ า เสนอผลงานในที่ ป ระชุ ม ซึ่ ง ใช ภ าษาอั ง กฤษ หรื อ เข า ร ว มการประชุ ม ในระดั บ นานาชาติ 3. ตองผานการทดสอบภาษาอังกฤษ (Entry Test) ของสถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ และมีผลคะแนนสอบอยูในเกณฑที่กําหนด
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
66
ขอกําหนด และคําแนะนํา เกี่ยวกับการสอบภาษาอังกฤษ ผู ส มั ค รเข า รั บ การฝ ก อบรมในหลั ก สู ต ร จะต อ งผ า นการสอบวั ด ความรู ค วามสามารถในการใช ภาษาอังกฤษ Entry Test เพื่อจะใชคัดเลือกผูเขารับการฝกอบรมที่มีความรูดานภาษาอังกฤษในระดับที่ เหมาะสมกั บ หลั ก สู ต รดั ง กล า ว รวมทั้ ง ใช เ ป น แนวทางในการจั ด ชั้ น เรี ย นให เ หมาะสมกั บ ความรู ความสามารถของผู เข า รั บ การฝ ก อบรม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ได จั ด ส ง ข า ราชการเข า รั บ การฝกอบรม 3 รุน ดังนี้ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 1 – 16 ธันวาคม 2554 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ ศูนย ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปฝกอบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 12 – 16 ธันวาคม 2554 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 1 ราย คือ นางสาวสุนันทา พวงเสมา นักวิชาการเกษตรชํานาญการ กรมหมอนไหม รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 23 เมษายน – 18 พฤษภาคม 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศู น ย ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษาฯ และกํ า หนดเดิ น ทางไปฝ ก อบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 3 ราย ดังนี้ 1. นายวัฒนา พัฒนถาวร นักสํารวจดินชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน 2. นางสุภัทรา เลิศวัฒนาเกียรติ นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ กรมวิชาการเกษตร 3. นางสาวฉวี ลอมเล็ก นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ กรมวิชาการเกษตร รุนที่ 3 ระหวางวันที่ 20 สิงหาคม – 14 กันยายน 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศู น ย ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษาฯ และกํ า หนดเดิ น ทางไปฝ ก อบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 9 – 13 กันยายน 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายปราโมทย ศรีสังข นายสัตวแพทยชาํ นาญการ กรมปศุสัตว 2. นางสาวนิรมล แกวกัลยา นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ สํานักงานการปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม
———————————————————————
ภาคผนวก
69
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
สถาบันเกษตราธิการ อาคารหลังอนุสาวรียสามบูรพาจารย ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (เกษตรกลาง บางเขน) ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท (หมายเลขกลาง) ผูอํานวยการ หนาหองผูอํานวยการ ฝายบริหารทั่วไป (ฝบท.) - หัวหนาฝาย - งานบริหารทั่วไป - งานการเงินและบัญชี - งานเผยแพรและประชาสัมพันธ - หองควบคุมเสียงชั้น 2 - ตึกพัสดุ
0-2940-5593 / 0-2940-5629 0-2940-5592 (สายตรง, Fax) ภายใน 100 ภายใน 101
0-2940-5595 (สายตรง, Fax) 0-2940-5594 (สายตรง, Fax) 0-2940-5630 (สายตรง, Fax)
ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
110 111 112 113 123 160, 161
กลุมยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (กยพ.) - หัวหนาฝาย 0-2940-5587 (สายตรง) - เจาหนาที่ 0-2940-5586 (สายตรง, Fax)
ภายใน 120 ภายใน 121, 122
กลุมวิชาการและหลักสูตร (กวส.) - หัวหนาฝาย - เจาหนาที่
ภายใน 130 ภายใน 131, 150
0-2940-5596 0-2579-1355 (สายตรง, Fax)
กลุมสงเสริมการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี (กศท.) - หัวหนาฝาย 0-2940-5597 (สายตรง, Fax) - Computer/Server - เจาหนาที่ (ทุนศึกษาตอ) (งานฐานขอมูล) - หองสมุด
ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
142 140 114, 143 141 115
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
เว็บไซตสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th
คณะผูบริหาร
นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
นายชลิต ดํารงศักดิ์ นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล นายฉลอง เทพวิทักษกิจ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
นางประคองศรี หาญตระการพงษ ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ
นายโอฬาร พิทักษ
70
71
Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute
เว็บไซต www.kststation.com : สถานีเพื่อการเรียนรู
รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ
แผนที่สถาบันเกษตราธิการ
72
คณะผูจัดทํา ประธานคณะทํางาน นางประคองศรี หาญตระการพงษ ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ คณะทํางาน นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน
นางวลีพร นนทิการ
หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษาและ เทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หัวหนากลุมยุทธศาสตร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
พ.อ.อ. คํานึง ใจเพียร
นายจเด็ด กลิ่นชื่น
รักษาการในตําแหนงหัวหนากลุม วิชาการและหลักสูตร
หัวหนาฝายบริหารทั่วไป
นางวรรณภัสสร ศรีจันทร
นายวันปยะ วาทิน
นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ
นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ
นายยุทธภูมิ ประสมทรัพย
นายชัยรัตน ไชยยศ
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ นายรังสรรค นฤมิตญาณ นักวิชาการเผยแพรชาํ นาญการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ นางนันทภรณ อินทุประภา
นางสาวสุพัตรา กิ้มเสง
นางสาวณัฐนันท เจริญศรี
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล