11182_01,36_M6.pdf
1
2/12/59
19:20
2
KU BULLETIN 2016 edition
Royal Grace น้อมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศ รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ต่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นั้น ยิ่งใหญ่และลึกซึ้งเกินถ้อยค�ำใดจะเสมอเหมือน เริ่มตั้งแต่ครั้งยังทรงสถานะเป็นสมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช โดยได้เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในปี พ.ศ. 2489 ทอดพระเนตรกิจการมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ก่อตั้งได้เพียง 3 ปี เมือ่ พระองค์เสด็จขึน้ ครองราชย์กไ็ ด้เสด็จพระราชด�ำเนินมายังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการพิธีประสาทปริญญาและอนุปริญญาเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 จากนัน้ พระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตรเป็นประจ�ำอย่างต่อเนือ่ ง จนถึง
ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 แต่หลังจากนั้นพระองค์ยังทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เป็นผูแ้ ทนพระองค์ เสด็จฯ มาพระราชทานปริญญาบัตร มิได้ขาด เป็นเวลานับได้ถึง 66 ปี นอกจากนัน้ แล้วยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จมายังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ดว้ ย พระราชกิจและพระราชประสงค์ตา่ ง ๆ อีกหลายวาระ โดยเฉพาะทรงปลูกต้นนนทรีและทรงดนตรี ร่วมกับชาวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์หลายต่อหลายครัง้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ต่อชาวเกษตรศาสตร์
พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 โดยเสด็จฯ พร้อมพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทอดพระเนตรการท�ำนาทีอ่ ำ� เภอบางเขน และทอดพระเนตร กิจการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขณะด�ำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้า ภูมิพลอดุลยเดช • วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 เสด็จฯ ในการพิธีประสาทปริญญาและอนุปริญญา ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เป็นครั้งแรก พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ • วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2496 เสด็จฯ ทรงเปิดงานวันเกษตรหรืองานประจ�ำปีเกษตรกลาง บางเขน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เป็นครั้งแรก • วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงปล่อยปลาหมอเทศ ซึ่งโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จับจากบ่อเลี้ยงในบริเวณพระต�ำหนัก จิตรลดารโหฐาน ลงในบ่อเพาะเลี้ยงของแผนกทดลองและเพาะเลี้ยง กรมประมง ใกล้บริเวณ ที่ตั้งศาลาหกเหลี่ยม • วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 ทรงปลูกต้นยางนาร่วมกับ ศ. เทียม คมกฤส คณบดี คณะวนศาสตร์ และนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จ�ำนวน 140 คน ภายในสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ซึ่งได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2504 จนถึงปัจจุบัน • วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ทรงรับสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ • วันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ทรงปลูกต้นนนทรี ซึง่ เป็นต้นไม้สญ ั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำนวน 9 ต้น บริเวณหน้าหอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวันแห่งประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ทีจ่ ารึกไว้ในดวงจิตของชาวเกษตรศาสตร์อย่างมิมวี นั ลืม ในคราวเสด็จพระราชด�ำเนิน ครัง้ นัน้ มีพระมหากรุณาธิคณ ุ ทรงดนตรีทหี่ อประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นครัง้ แรกด้วย อันน�ำมาสูก่ ารเสด็จ ‘เยีย่ มต้นนนทรี’ ทีท่ รงปลูก และ ‘ทรงดนตรี’ สืบเนือ่ งอีกหลายครัง้ ในปีตอ่ ๆ มา
• วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2507 เสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงน�ำเจ้าชายอากิฮโิ ต มกุฎราชกุมารแห่งประเทศญีป่ นุ่ และเจ้าหญิงมิชโิ กะ พระชายา (สมเด็จ พระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินีองค์ปัจจุบัน) ทอดพระเนตรกิจการคณะประมง ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน • วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2509 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ ‘เกษตรศาสตร์’ ให้เป็นเพลงประจ�ำมหาวิทยาลัย ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต • พ.ศ. 2512 พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ จ�ำนวน 200,000 บาท เพื่อสนับสนุน การวิจยั และพัฒนาเกษตรบนทีส่ งู ในการจัดหาพืน้ ทีเ่ พิม่ เติมในการด�ำเนินการวิจยั ซึง่ ต่อมาเรียก พื้นที่ดังกล่าวว่า ‘สวนสองแสน’ อยู่ในความดูแลของสถานีวิจัยดอยปุย เป็นสถานีวิจัยแห่งแรก และแห่งเดียวของมหาวิทยาลัยทีไ่ ด้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานพืน้ ทีใ่ ห้สนองพระราชด�ำริ การด�ำเนินงานของมูลนิธิโครงการหลวง ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ด�ำเนินงานเพื่อสนอง พระราชด�ำริที่เกี่ยวข้องกับโครงการหลวงมาตั้งแต่เริ่มต้นและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันรวมแล้ว เป็นเวลากว่า 47 ปี • วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิด “สระสุวรรณชาด” (เป็นการส่วนพระองค์) ณ โรงพยาบาลสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วิดีทัศน์ ‘ชาวเกษตรศาสตร์ รำ�ลึกพระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้’
KNOWLEDGE OF THE LAND
3
กิจกรรมเพื่อน้อมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ นานัปการต่อสังคมไทย ทัง้ ยังทรงเป็นต้นแบบ แห่งประชาทั้งปวง เพื่อเป็นการส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงจัดกิจกรรมเพื่อน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ โดยเริ่มต้นจากคณะผู้บริหาร บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมพิธีถวายอาลัย กราบถวายบังคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2559 ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม และกิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องอีกหลากหลายประการ • กิจกรรมท�ำบุญตักบาตร เจริญภาวนา เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ในทุกวันพฤหัสบดี ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนจนถึงพิธบี ำ� เพ็ญพระราชกุศล สตมวาร (100 วัน) วันที่ 20 มกราคม 2560 ณ บริเวณหน้าอาคารสารนิเทศ 50 ปี • ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รว่ มใจจัดนิทรรศการเพือ่ ร�ำลึกถึงพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ‘นิทรรศการศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ โดยนิทรรศการจะมีการบอกเล่า ถึงพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 9 ที่สอดคล้องกับ ‘ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ ตามองค์ความรู้ต่าง ๆ ของแต่ละหน่วยงาน • ผลักดันแนวคิด ‘100 โครงการ สืบสานปณิธานตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาท ด้วยศาสตร์ แห่งแผ่นดิน’ โดยมอบนโยบายให้โครงการกิจกรรมต่าง ๆ ของนิสติ ทีด่ ำ� เนินการในช่วงปี 2559-2560 เป็นโครงการทีม่ ชี อื่ และวัตถุประสงค์เพือ่ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 และถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ท่าน
4
KU BULLETIN 2016 edition
• กิจกรรมเพือ่ น้อมน�ำพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ด้วยการเผยแพร่ศาสตร์แห่งพระราชาและศาสตร์แห่งแผ่นดิน ออกเผยแพร่ในสื่อ ประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ เพื่อออกสู่สังคม • จัดกิจกรรมพิเศษในรูปแบบ ‘ถนนตามรอยพ่อ’ ในพืน้ ทีม่ หาวิทยาลัย โดยทุกภาคส่วน ในมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมด�ำเนินการ เพื่อให้นิสิตและบุคลากรมีโอกาสเข้าถึงแนวทางหลักการ ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 และน้อมน�ำไปปฏิบัติ ตลอดจนเป็นการ เผยแพร่พระเกียรติคุณของรัชกาลที่ 9 ในหลากหลายศาสตร์ หลากหลายแขนง ในช่วงเวลาที่ผ่านมา นิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยังมีส่วนร่วม ในกิจกรรมจิตอาสาอีกหลากหลายรูปแบบเพือ่ ตอบแทนพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 อาทิ การอาสามอบอาหารและน�้ำดื่มแก่ประชาชนที่มาร่วมสักการะ พระบรมศพ ณ บริเวณพระบรมมหาราชวัง และการอาสาบรรจุขา้ วสารพระราชทาน ‘ข้าวพอเพียง’ ทั้งหมดด�ำเนินการภายใต้การอ�ำนวยความสะดวกของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เย็นศิระเพราะพระบริบาล พื้นที่ ‘หอประวัติแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์’ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ที่บรรจุความทรงจ�ำครั้งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จฯ พระราชทานปริญญาบัตรให้แก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ครั้งแรก เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 โดยห้องทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า บริเวณ ชั้น 2 ฝั่งปีกขวาของอาคารไม้ 2 ชั้นหลังนี้ คือห้องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เคยประทับและโปรดเกล้าฯพระราชทานปริญญาและอนุปริญญา ในหลายครั้ง ก่อนปัจจุบันจะได้กลายมาเป็นห้องจัดแสดงนิทรรศการที่ส�ำคัญที่สุดห้องหนึ่งของหอประวัติฯ ภายใต้ชื่อห้อง ‘เย็นศิระเพราะพระบริบาล’
กาลานุกรมรัชกาลที่ 9 กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ห้องเย็นศิระเพราะพระบริบาล เป็นห้องทีจ่ ดั แสดงนิทรรศการเกีย่ วกับพระบรมวงศานุวงศ์ทที่ รงมีคณ ุ ปู การต่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 โดยได้จัดแสดงตั้งแต่ภาพถ่ายครั้งเสด็จฯมายังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในหลากหลายพระราชกรณียกิจ จัดแสดง ฉลองพระองค์ครุยที่พระองค์เคยทรงในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ตลอดจนปริญญาบัตรที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทูลเกล้าฯ ถวาย การเข้ามาเยี่ยมชมนิทรรศการภายในหอประวัติฯ สามารถเข้ามาชมได้ในทุกวันจันทร์-ศุกร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยเปิดให้บริการตั้งแต่ 9.00 น. ถึง 16.00 น. ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเยี่ยมชม
หนังสือของพ่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ของพสกนิกรชาวไทย ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่มีหนังสือรวบรวมพระราชกรณียกิจ และบันทึกเรื่องราว
พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในด้านต่าง ๆ หลายต่อ หลายเล่ม แต่ละเล่มก็มีความส�ำคัญไม่ย่อหย่อนไปกว่ากัน ส�ำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงรวบรวมหนังสือ ทีบ่ อกเล่าเรือ่ งราวดังกล่าวทีอ่ ำ� นวยการจัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์และเครือข่ายสารสนเทศเกษตรไทย มาไว้ใน เครือข่ายสืบค้นออนไลน์ ภายใต้ชื่อ ‘หนังสือของพ่อ’ ที่สะดวก ต่อการเผยแพร่และสืบค้นในสมัยที่เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือส�ำคัญในแทบจะทุกครัวเรือน ระบบบริการ ‘หนังสือของพ่อ’ เป็นระบบบริการหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้บริการทุกคนสามารถเลือกอ่านได้ ในทุกสถานที่ ทุกเวลา เพียงแค่เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หน้าเว็บไซต์จะแสดงผล ‘หนังสือของพ่อ’ อยู่บนชั้นหนังสือ จ�ำลองให้ทุกคนได้เลือกอ่านทั้งสิ้น 59 เล่ม แต่ละเล่มก็จะมี เนือ้ หาสาระทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น หนังสือ ‘ค�ำพ่อสอน’ ทีร่ วบรวม พระราชบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง ท่านใดที่สนใจสามารถเข้าชมได้ที่ http://ebook.lib. ku.ac.th/king-rama9/index.php หรือที่ QR Code ที่ให้ไว้ ระบบบริการหนังสือของพ่อ
KNOWLEDGE OF THE LAND
5
สมเด็จพระเทพฯ เสด็จฯ เปิดอุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เปิดอุทยานบัว ณ อุทยานหนองหารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร และทอดพระเนตรภาพวาดบัว นิทรรศการบัว ส่วนแสดงพันธุ์บัว งานวิจัยการใช้ประโยชน์จากบัว และ ทรงปลูกบัวผัน บัวเผือ่ น ‘สุทธาสิโนบล’ หรือบัวม่วงกษัตริย์ โดยมี รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ นายกสภามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รศ.ดร.วิไลศักดิ์ กิง่ ค�ำ รักษาการ แทนรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร พร้อมด้วยนายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสกลนคร ข้าราชการ บุคลากร และนิสติ เฝ้ารับเสด็จฯ ณ อุทยานเฉลิมพระเกียรติหนองหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 6
KU BULLETIN 2016 edition
อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติฯ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2553 ตัง้ อยูใ่ นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งสิ้น 50 ไร่ รวบรวมพันธุ์ ‘ราชินี ไม้น�้ำ’ จากทั่วโลกกว่า 300 สายพันธุ์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ ส่วนรวบรวมพันธุ์บัว เป็นสระบัวพื้นที่ 10 ไร่ มีทางเดิน เข้าไปชม ซึ่งได้รวบรวมพันธุ์บัวทั้งในและต่างประเทศ มากกว่า 30 สายพันธุ์ ส่วนแสดงพันธุบ์ วั จัดแสดงพันธุบ์ ัว จ�ำนวน 74 สายพันธุ์ในกระถางกลางแจ้ง ส่วนนิทรรศการ ถาวรจัดแสดงเกี่ยวกับความรู้และประวัติของบัวสายพันธุ์ ต่าง ๆ เช่น การจ�ำแนกพันธุ์บัว ประวัติบัวในประเทศไทย การปลูก การดูแล การปรับปรุงพันธุ์บัว ฯลฯ ส่วนแสดง บัวธรรมชาติ จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ และปลูกบัว หลากหลายสายพัน ธุ์เ พื่อ ใช้ใ นการศึก ษาและวิจ ัย และส่วนนาบัวสลับนาข้าว ทีเ่ ป็นพืน้ ทีป่ ลูกบัวเพือ่ ส่งเสริม เศรษฐกิจและสร้างความสวยงามในการเพาะปลูกข้าว
อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติฯ นับเป็น อุทยานบัว ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่ 08.30-18.00 น. หรือหากไม่สะดวกไปเยีย่ มชมด้วยตัวเอง สามารถเข้ า ชม ‘พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ สมื อ น’ ได้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ http://museum.stkc.go.th/bau_ku/index.php พิพิธภัณฑ์เสมือนอุทยานบัว เฉลิมพระเกียรติ
พิธีพระราชทานปริญญาบัตร แก่บัณฑิตรุ่นสุดท้ายในรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ไปยังอาคาร จักรพันธ์เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก โท และตรี จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2558 เป็นบัณฑิตรุ่นสุดท้ายในรัชกาลที่ 9 ระหว่างวันที่ 24-28 ตุลาคม ที่ผ่านมา เมือ่ วันที่ 24 ตุลาคม 2559 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ได้ประทานพระโอวาทแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำวิชา การศึกษาไปใช้ในการประกอบอาชีพ โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 เป็นแบบอย่าง ซึ่งเนื้อความในพระโอวาททั้งหมดมีดังต่อไปนี้ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้า มาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อนจะมีเหตุอนั เป็นทีเ่ ศร้าเสียใจของคนไทยทัง้ หมด ขอแสดงความชื่นชมกับผู้ทรงคุณวุฒิ และบัณฑิตทุกคนที่ได้รับเกียรติและความส�ำเร็จ” ท่านทั้งหลาย ได้อุตสาหะแล้วเรียนจนส�ำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตแล้ว ย่อมปรารถนา จะ ออกไปประกอบอาชีพการงาน เพื่อสร้างความส�ำเร็จ และความเจริญมั่นคง ยิ่งขึ้นในภายหน้า การจะท�ำให้ได้ดงั ทีก่ ล่าว แต่ละคนจะต้องปฏิบตั กิ จิ การงานโดยอาศัยความรูท้ ถี่ กู ต้อง แน่นหนา และแม่นย�ำช�ำนาญ ทั้งในด้านลึก และด้านกว้าง ความรู้ด้านลึกคือความรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ ที่บัณฑิตเล่าเรียนมา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือส�ำคัญ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ส่วนความรู้ด้านกว้างคือ ความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ รวมทั้งความรู้รอบตัว เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและข่าวสาร ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญ ที่จะเกื้อหนุนให้บุคคลมีความคิดที่กว้างขวางและทันสมัย สามารถพัฒนางานให้เจริญก้าวหน้า เท่าทันกับวิทยาการและความเปลี่ยนแปลงของโลกได้ จึงขอให้บัณฑิตทุกคน หมั่นขวนขวายศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ให้มีความรู้ที่ครบถ้วน สมบูรณ์ ทั้งในด้านลึกและด้านกว้าง แต่ละคน จะได้น�ำความรู้ที่มีอยู่ ไปใช้ปฏิบัติกิจการงาน สร้างสรรค์ความส�ำเร็จ และความรุ่งเรืองมั่นคง ได้แท้จริงสมดังที่หวัง
ณ ที่นี้ ข้าพเจ้าขอยกตัวอย่าง ผู้ที่ท�ำงาน และประสบความส�ำเร็จ คือ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นผู้ที่มีความรู้ทั้งด้านกว้างและด้านลึก ในวิชาเกษตรกรรมและวิชาชลประทาน ท�ำให้ทรงสามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบ ๆ ตัวพระองค์ท่าน และจึงได้สามารถน�ำความเจริญมาสู่เมืองไทย ทุกท่านในทีนี้ อาจเกิดช้าไป ไม่ทันได้เห็นประเทศไทยเมื่อ 40 กว่าปีมาแล้ว ในขณะนั้นประเทศไทยวุ่นวาย มีผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ มีการรบพุ่งต่อสู้กันในประเทศชาติ ซึ่งข้าพเจ้าได้รับใช้เบื้องพระยุคลบาท มาตั้งแต่ข้าพเจ้าอายุ 14 ได้ออกไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ ให้ความช่วยเหลือแก่ชาวบ้าน ทั้งสุขภาพพลานามัย และทั้งด้านการประกอบอาชีพ และได้เห็นวิธีที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯทรงปฏิบัติตน ทรงไม่เคยนึกถึงพระองค์เองเลย ทรงนึกถึงแต่ประชาชน ทุกอย่างก็ประชาชนทั้งสิ้น ทรัพย์สมบัติอะไรก็ตาม ก็ไม่ใช่ที่ปรารถนาของพระองค์ท่าน ความปรารถนาอย่างเดียวของพระองค์ท่านคืออยากให้คนไทยมีความสุข มีความเจริญ และก้าวหน้าเท่าเทียมกับอารยประเทศ ถ้าบัณฑิตทัง้ หลายด�ำเนินตามรอยพระยุคลบาท ช่วย กันพัฒนาประเทศไทยให้เจริญยิง่ ๆ ขึน้ กว่านี้ โดยบัณฑิตทัง้ หลายคงจะหาข้อมูลเกีย่ วกับพระราช กรณียกิจทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯทรงได้ทำ� ไว้ และอาจจะน�ำความรูเ้ หล่านัน้ มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสถานการณ์ปัจจุบัน สุดท้ายนี้ ขอพระบารมีแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้คุ้มครองรักษาบัณฑิตทุกคน และทุกท่านที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ ให้มีความผาสุกสวัสดี จงทั่วกัน” วิดีทัศน์ ในงานพิธี พระราชทานปริญญาบัตร 24 ต.ค. 2559
KNOWLEDGE OF THE LAND
7
Message from THE CHAIRMAN OF KU COUNCIL “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก้าวสู่ทศวรรษที่ 8 มาได้ ระยะหนึง่ แล้ว ความเปลีย่ นแปลงทีเ่ ห็นได้ชดั ในขณะนีค้ อื การ มีสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ การเข้ามาท�ำงาน ในสถานการณ์แบบนีถ้ อื ว่ายากและมีความท้าทายเป็นอย่างมาก หน้าที่ของผู้รับผิดชอบดูแลมหาวิทยาลัยเลยต้องท�ำงานกัน แบบสอดรับสอดประสานอย่างมีระบบ จึงถือก�ำเนิดเป็น แนวคิด KU++ หรือ KU Super Plus ขึ้น ที่เป็นการรวม ความร่วมมือของสภามหาวิทยาลัยและบรรดาผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย ให้เป็นหนึ่ง บทบาทหลัก ๆ ของ KU++ คือการสร้างความเปลีย่ นแปลง ทางการศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และหนึ่งในนโยบาย ทีเ่ ป็นฟันเฟืองสูก่ ารบรรลุเป้าหมายคือ นโยบาย 6Us นโยบาย ทีจ่ ะเปลีย่ นโฉมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้อยูภ่ ายในกรอบ แนวทางหลัก 6 ประการ คือ การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว, มหาวิทยาลัยดิจทิ ลั , มหาวิทยาลัยวิจยั , มหาวิทยาลัยระดับโลก, มหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สงั คม และมหาวิทยาลัยแห่งความสุข ซึ่งทั้งหมดจะถูกตีความและสร้างสรรค์ภายใต้แนวคิด ‘ศาสตร์แห่งแผ่นดิน’ ที่ถือเป็นหัวใจของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เนื่องจากศาสตร์แห่งแผ่นดินคือการรวม เอาศาสตร์ทงั้ 3 ซึง่ ก็คอื ศาสตร์พระราชา ศาสตร์ชุมชน และ ศาสตร์สากล มาไว้ด้วยกัน
ศาสตร์สากล ก็คอื ศาสตร์วชิ าการแขนงต่าง ๆ ทีเ่ ราศึกษา เป็นศาสตร์ทถี่ กู ยอมรับและได้รบั การเผยแพร่ในระดับโลก ขณะที่ ศาสตร์ชมุ ชน คือศาสตร์แห่งภูมปิ ญ ั ญาของชาวไทย ทีถ่ กู ประดิษฐ์ คิดค้นโดยการบ่มเพาะประสบการณ์และการเรียนรู้มาอย่าง เนิน่ นาน สุดท้ายคือศาสตร์พระราชา ศาสตร์แห่งพระมหากษัตริย์ นักพัฒนา ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตระหนักถึงคุณค่า และน้อมน�ำหลักคิดต่าง ๆ มาปรับประยุกต์ใช้ดว้ ยความส�ำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณ ในฐานะสถาบันการศึกษาซึง่ เป็นหนึง่ ในสถาบันทีพ่ ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงให้ ความส�ำคัญมาโดยตลอด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตั้งใจ ทบทวนหลักทรงงานที่จารึกอยู่บนแผ่นดินเกษตรศาสตร์ และจักสืบสานปณิธานถวายแด่ ธ ผู้เป็นพลังแห่งแผ่นดิน”
(รศ.ดร. วิโรจ อิ่มพิทักษ์) นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Contents
10
16,20,26
28
12
18
30
KU 4.0 มิติใหม่ มหาวิทยาลัยยุค 4.0
KNOWLEDGE OF THE LAND วิชาใหม่ที่เชื่อในพลังนิสิต
13
KU RANKING เกษตรศาสตร์ ในสายตาชาวโลก
14
CORPORATE IDENTITY DESIGN SYSTEM ภารกิจหลักระดับเวิลด์คลาส 8
KU BULLETIN 2016 edition
SOME OTHER STORIES 30 เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
NEW MASTER PLAN FOR GREEN UNIVERSITY ผังแม่บทสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
22
ROAD TO DIGITAL UNIVERSITY เส้นทางใหม่สู่เป้าหมายมหาวิทยาลัยดิจิทัล
SAVE THE BEST URBAN OASIS OF ASIA คุ้งบางกะเจ้ากับภารกิจตอบแทนธรรมชาติ
32
TOO FAST TO SLEEP @KU เรียนและเล่นอย่างแฮปปี้ 24 ชั่วโมงในรั้วนนทรี
การจัดท�ำร่างประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับ เพื่อรองรับการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย
THE VERY FIRST STEP TO NEW ERA ก้าวแรกก้าวใหม่สู่ศาสตร์แห่งแผ่นดิน
24/7 KU สุขครบครัน ทุกวัน ทุกเวลา
24
34
Message from President of KU “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็นต้นแบบในหลาย ๆ ด้าน ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทีเ่ ปีย่ มไปด้วยทศพิธราชธรรม และอย่างทีท่ ราบกันดีวา่ พระองค์ ทรงมีพ ระมหากรุณ าธิคุณ ต่อ มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ในหลากหลายเรื่องราว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ ชาวเกษตรศาสตร์ทุกคนรู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ อย่างหาทีส่ ดุ ไม่ได้ และตัง้ ใจจะน้อมน�ำหลักค�ำสอนของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 พร้อมทัง้ พระราชปณิธาน มาเป็นหลักการในการด�ำเนินชีวติ และตอบแทนประเทศไทย บ้านหลังใหญ่ทมี่ ี ‘พ่อหลวง’ เป็นศูนย์รวมจิตใจของพวกเราทุกคน เช่นเดียวกัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กเ็ ปรียบเสมือน บ้านของชาวเกษตรศาสตร์ทกุ คน การบริหารงานภายใต้ผบู้ ริหาร ชุดนีจ้ งึ ให้ความส�ำคัญกับ ‘คน’ มาเป็นอันดับแรก ซึง่ ก็คอื บุคลากร และนิสติ ทุกคน หน้าทีข่ องทีมบริหารชุดนีค้ อื ท�ำอย่างไรให้คนรัก บ้านหลังนี้ ท�ำให้ทกุ คนมีความสุขทีอ่ ยูภ่ ายในบ้านหลังนี้ เพราะ ความรักมันเป็นจุดเริม่ ต้นของทุก ๆ สิง่ หากเราทุกคนมีความรัก ในบ้าน เราก็จะช่วยกันท�ำงานเพือ่ พัฒนาบ้านของเรา ‘งาน’ ของเราตอนนีก้ ค็ อื การยกระดับไปสูส่ ากลโดยใช้ ทรัพยากรของเรา องค์ความรูข้ องเรา ศักยภาพของเรา เพือ่ สร้าง เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมให้ยงั่ ยืน โดยน�ำเอาศาสตร์ แห่งแผ่นดินมาปรับใช้ เพราะค�ำว่าศาสตร์แห่งแผ่นดินนี้ กินความหมายกว้าง มีความหมายถึงศาสตร์แห่งวิถีชีวิต ของคนไทยทัง้ หมด
การจะไปถึงเป้าหมายทีเ่ ราตัง้ ไว้กต็ อ้ งมาจากการพัฒนา คนของเรา นิสิตที่เรารับไม่จ�ำเป็นต้องเก่ง ขอแค่เป็นคนไทย ธรรมดา ๆ แต่ระหว่างทางทีเ่ ขาเค้ามาเรียนทีน่ ี่ เราต้องสอนให้ เขากล้าคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ เริม่ จากหลักสูตรทีย่ ดื หยุน่ สร้างเด็กให้เป็นนักคิด เน้นไปที่ Problem-Based Learning และ Project-Based Learning เพือ่ ให้เห็นปัญหา และรูจ้ กั ศาสตร์ ทางกว้าง เพราะการสร้างนวัตกรรมแค่เรียนรูท้ างลึกอย่างเดียว ไม่พอ ขณะทีก่ ารวิจยั ก็ตอ้ งเอาความต้องการของประเทศไทย ของโลก เป็นทีต่ งั้ ต้องประเมินแนวโน้มของสังคมว่าจะมุง่ หน้า ไปในทิศทางไหน เพราะปัจจุบนั เทคโนโลยีมนั เร็วมาก อาจารย์ นักวิจยั ต้องตามให้ทนั ต้องชีน้ ำ� สังคม ต้องช่วยเหลือเศรษฐกิจ และพัฒนาประเทศชาติได้ ทัง้ หมดเราจะต้องเอาทัง้ งานวิจยั การเรียนการสอน และการบริการสังคม มาปรับประยุกต์ ให้กลายเป็นเรือ่ งเดียวกันให้ได้ ล�ำ พัง แค่ค ิด หรือ พูด มัน เป็น ได้แ ค่เ พีย งจุด เริ่ม ต้น ของทุกสิง่ หากไม่ลงมือท�ำมันก็ไม่สำ� เร็จ การด�ำเนินนโยบาย ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผนจึงไม่ใช่แค่หน้าทีข่ องทีมบริหาร บุคลากร และนิสิต ทุก คนก็ต ้อ งช่ว ยผลัก ดัน ให้บ ้า นหลัง นี้ข องเรา กลายเป็นบ้านแห่งความฝันของทุก ๆ คน ซึง่ ผมเชือ่ ว่าหากเรา ช่วยกันต้องท�ำได้แน่นอน” (ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์) รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
About KU Bulletin เมือ่ รูปแบบของการสือ่ สารแบบเดิมไม่ตอบสนองพฤติกรรม แห่งยุคสมัยของคนอ่าน ก็ถงึ คราวเปลีย่ นผ่านสูจ่ ดหมายข่าว หน้าตาใหม่ ๆ KU BULLETIN ถูกออกแบบให้มคี วามน่าสนใจมากขึน้ กว่าจดหมายข่าวทัว่ ไป ด้วยการเพิม่ ส่วน Lifestyle ให้ดคู ล้าย กับ Free Copy หลายส�ำนักทีค่ นุ้ ตา เพิม่ การเชือ่ มโยงให้เนือ้ หา ในเล่มกลายเป็น Interactive Content โดยสามารถเข้าถึงข้อมูล เพิม่ เติมในเรือ่ งต่าง ๆ ได้ เพียงแค่เอาโทรศัพท์มอื ถือมาส่องกับ QR Code และอนาคตก็จะมี KU BULLETIN ในแพล็ตฟอร์ม อืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือจากเวอร์ชนั่ กระดาษ เพือ่ ให้เนือ้ หาข้างในเล่ม สามารถสือ่ สารกับคนอ่านได้เข้ายุคเข้าสมัย ในเล่มที่ 1 นี้ เป็นเล่มพิเศษทีน่ อ้ มร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชฯ โดยได้ อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ทรงฉลองพระองค์ครุยทีม่ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ทูลเกล้าฯถวาย เป็นฉลองพระองค์ครุยประจ�ำ วิทยฐานะเกษตรศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ พร้อมกันนี้ ใน คอลัมน์ ‘Royal Grace’ ก็จะสอดแทรกพระมหากรุณาธิคณ ุ ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทีม่ ตี อ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขณะที่ เนื้อหาส่วนอื่น ๆ ภายในเล่มจะพูดถึงการเปลี่ยนแปลงของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์หลังจากกลายเป็นมหาวิทยาลัย ในก�ำกับรัฐ โดยเราได้รวบรวมข่าวสารต่าง ๆ รอบรัว้ มหาวิทยาลัย ทัง้ 4 วิทยาเขต ผลงานบริหารของทีมผูบ้ ริหารชุดปัจจุบนั ทีไ่ ด้รบั มอบหมายมาจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรือ่ งราวที่ เกี่ยวข้องกับประชาคมเกษตรศาสตร์ ฯลฯ โดยเราหยิบยก เอาเรือ่ งนโยบายเชิงรุก 6Us มาเป็นเรือ่ งหลัก นโยบาย 6Us คือนโยบายที่มุ่งพัฒนามหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ให้กา้ วขึน้ มาเป็น 1 ในมหาวิทยาลัยชัน้ แนวหน้า ใน 6 ด้าน อันได้แก่ Green University หรือมหาวิทยาลัยสีเขียว, Digital University หรือมหาวิทยาลัยดิจทิ ลั , Research University หรือมหาวิทยาลัยวิจัย, World Class University หรือ มหาวิทยาลัยระดับโลก, Social Responsibility University หรือ มหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สงั คม, และ Happiness University หรือ มหาวิทยาลัยแห่งความสุข ทัง้ หมดเพือ่ ตอกย�ำ้ ถึงความจริงจังที่ เราก�ำลังก้าวไปสูย่ คุ ใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุดเริม่ ต้นของนโยบาย 6Us มาจากสภาพแวดล้อมและ สภาพสังคมที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในปัจจุบัน ทั้ง ปัญหาสภาวะโลกร้อน การก้าวเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ หรือจะเป็นการ พลิกโฉมโลกโดยวิทยาการล�ำ้ ยุค สิง่ เหล่านีท้ ำ� ให้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ตอ้ งการน�ำศาสตร์แห่งแผ่นดิน ทีห่ ลอมรวม 3 ศาสตร์สำ� คัญ คือ ศาสตร์แห่งพระราชา ศาสตร์ชมุ ชน และศาสตร์ สากล มาปรับใช้เพือ่ พิชติ ภารกิจส�ำคัญ 4 ภารกิจ คือ ภารกิจ ด้านการศึกษา ภารกิจด้านการวิจยั ภารกิจด้านการบริการวิชาการ และภารกิจท�ำนุบำ� รุงศิลปะวัฒนธรรม เพราะในทีส่ ดุ แล้วพวกเรา ‘ชาวสายเลือดสีเขียว’ มุง่ สร้าง ศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพือ่ ความกินดีอยูด่ ขี องคนในชาติ เฉกเช่น ปณิธานทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มงุ่ หมายในทีส่ ดุ
GU
= Green University
DU
= Digital University
RU
= Research University
WU = World Class University
(ผศ.รัชด ชมภูนชิ ) รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และสือ่ สารองค์กร
SRU = Social Responsibility University HU
= Happiness University KNOWLEDGE OF THE LAND
9
KU 4.0 มิติใหม่ มหาวิทยาลัยยุค 4.0 ค�ำศัพท์ใหม่อย่าง Thailand 4.0 คงคุ้นหูหลายคนในช่วงนี้ ค�ำสั้น ๆ ค�ำนี้ก�ำลังวาดฝันให้คนไทยสู่อนาคตของการเป็น ประเทศที่พัฒนาแล้ว หลังจากประเทศไทย หยุดชะงักกับค�ำว่าประเทศก�ำลังพัฒนามาหลายสิบปี พื้นเพของประเทศเราพึ่งพาเกษตรกรรมเป็นรากฐาน ก่อนก้าวเข้าสู่ยุคที่ 2 ด้วยการใช้อุตสาหกรรมเบาเป็นตัวชูโรง และปัจจุบันในยุคที่ 3 กับการใช้นโยบายส่งเสริม เศรษฐกิจด้วยอุตสาหกรรมหนักและการส่งออก ทว่า 3 ยุคที่ผ่านมายังไม่สามารถตอบโจทย์สู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วได้อย่างเป็นรูปธรรม นโยบาย Thailand 4.0 จึงเลือกที่จะพัฒนาโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศสู่การเป็น ประเทศที่เศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม หรือ Value-Based Economy ซึ่งการปรับเปลี่ยน โมเดลพัฒนาประเทศครั้งนี้จะส่งผลให้ทุกภาคส่วนต่างต้องสานรับกับนโยบายเพื่อมุ่งหน้าสู่ทิศทางเดียวกัน และแน่นอนว่าต้องเริ่มจากสถานศึกษา ซึ่งถือเป็นรากฐานของ การพัฒนาคนในชาติ
10 KU BULLETIN 2016 edition
เชือ่ มต่อกับวิถชี วี ติ ทีเ่ ทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวติ มากขึน้ เพราะอุปกรณ์ดังกล่าวนี้สามารถเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน ผ่านแอปพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะ รวมไปถึง โครงการต่าง ๆ อีกมากมายที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้ความช่วยเหลือกับชุมชน เช่น โครงการข้าวคุณธรรม ที่ส่งเสริมให้สหกรณ์ชาวนาปลูกข้าวอินทรีย์ ที่ปลอดภัยและ ขายได้ราคาดี ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งภารกิจที่ตั้งใจจะ ลดความ เหลือ่ มล�ำ้ ของสังคม ด้วยพลังแห่งการสนับสนุนจากงานวิจยั
การมุง่ สูเ่ ป้าหมาย KU 4.0 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ การวางรากฐานด้านเครือข่ายทัง้ ภายในประเทศและระดับ นานาชาติ เพือ่ เรียนรูแ้ ละถ่ายทอด Know-How จากผูร้ ใู้ นแต่ละ วิทยาการ การน�ำหลักการเรือ่ ง Socio-Economics เข้ามาปรับใช้ กับการวิจัย เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำ รวมไปถึงการพยายาม ท�ำงานร่วมกับเอกชนในระดับ SMEs มากขึ้น เพื่อยกระดับ การพัฒนานวัตกรรมจากภาคธุรกิจเพื่อให้ส่งผลต่อสังคม ในวงกว้าง
หัวใจส�ำคัญที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เดินหน้าสู่ เป้าหมาย KU 4.0 ไม่เพียงแต่ต้องการผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศ แต่ยังหวังที่จะ สร้างสังคมแห่งการกินดีอยูด่ ี ตามเจตจ�ำนงหลักของมหาวิทยาลัย และท้ายที่สุดสังคมไทยจะต้องมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันจากทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบัน การศึกษา และประชาชนคนไทยทุกคน
ตัวอย่างงานวิจยั ทีถ่ กู ต่อยอดเป็นนวัตกรรมทีเ่ กษตรศาสตร์ ยกให้เป็น 1 ในแนวทางการพัฒนานวัตกรรมคือ เครือ่ งหย่อน กล้าข้าวแบบประณีต ที่ท�ำร่วมกับมูลนิธิเพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ซึ่งไม่เพียงตอบโจทย์การท�ำกสิกรรมแบบใหม่ แต่ยังสามารถ
RU
WU SRU
“
KU 4.0 มุ่งสร้างสรรค์ นวัตกรรมจากการ ผสมผสานเทคโนโลยี และความคิด สร้างสรรค์ เข้าไว้ด้วยกัน
“
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ถือเป็นต้นต�ำรับของ การใช้ศาสตร์แห่งแผ่นดินจึงเลือกที่จะรุดหน้าสู่เป้าหมาย KU 4.0 ที่ มุ่งสร้างสรรค์นวัตกรรมจากการผสมผสาน เทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์ เข้าไว้ดว้ ยกัน ด้วยจุดเด่น ทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เชีย่ วชาญคือเรือ่ งของการเกษตร และเรือ่ งของความกินดีอยูด่ ี สอดประสานกับการใช้วทิ ยาศาสตร์ และศิลปะจากศาสตร์แขนงต่าง ๆ เพื่อแปรรูปออกมาเป็น นวัตกรรมที่โดนใจทุกคน
KNOWLEDGE OF THE LAND
11
Knowledge of the Land วิชาใหม่ที่เชื่อในพลังนิสิต เกษตรศาสตร์ มีทมี่ าจากค�ำว่า “เกษตร” ทีแ่ ปลว่า แผ่นดิน และ “ศาสตร์” ทีห่ มายถึง ความรู้ ดังนั้นเกษตรศาสตร์จึงมีความหมายตามตัวว่า ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ซึ่งไม่ได้กินความเฉพาะ การท�ำเกษตรกรรม แต่ยังหมายรวมถึงแขนงวิชาต่าง ๆ ที่ล้วนประกอบสร้างให้แผ่นดินแห่งนี้ เจริญงอกงาม
ให้ไปอยู่ในพื้นที่สาธารณะที่ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาเหล่านั้นได้ด้วยตัวเอง หรือ Self-Study เช่น การใช้ระบบการเรียนรูอ้ อนไลน์เข้ามาช่วย นอกจากนัน้ วิชานีย้ งั ได้นำ� เทคโนโลยี eduFarm เข้ามาร่วมใช้ เพื่อพัฒนาขีดจ�ำกัดของการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่าน Online Feature ที่สามารถเรียนรู้บทเรียนใหม่หรือท�ำกิจกรรม เพื่อเก็บคะแนนได้ทันที
และในปีการศึกษา 2558 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้บรรจุวิชาใหม่แกะกล่อง ซึ่งก็คือ วิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน วิชาทีว่ า่ ด้วยการพัฒนาหลักการกินดีอยูด่ ี ซึง่ เป็นหลักการทีม่ หาวิทยาลัย มุง่ เน้น ผนวกกับการปลูกจิตส�ำนึกของนิสติ ให้สะท้อน อัตลักษณ์ IDKU ส�ำนึกดี มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ สามัคคี ที่น�ำเสนอการสอนผ่าน การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Activity Based Learning) เช่น การมอบหมายโครงงานให้นิสิตได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ด้วยตัวเอง เพื่อขบคิดถึงปัญหาและ วิธกี ารแก้ปญ ั หา ทีส่ ามารถน�ำมาพัฒนามหาวิทยาลัยต่อได้ โดยคณะกรรมการรายวิชาจะจัดวาง ต�ำแหน่งของผู้สอนให้อยู่ในฐานะ อาจารย์พี่เลี้ยง (Facilitator) ที่มีหน้าที่อ�ำนวยความสะดวก การเรียนรู้และการท�ำกิจกรรมของนิสิต
ความสัมฤทธิผ์ ลของการทดลองเปิดสอนรายวิชาใน 2 ภาคการศึกษาของปี 2558 น�ำมาซึง่ การต่อยอดบรรจุรายวิชานีอ้ ยูใ่ นหลักสูตรของ 31 หลักสูตรในระดับปริญญาตรีทวั่ ทัง้ มหาวิทยาลัย และตั้งเป้าครบทุกหลักสูตรปริญญาตรีในปี 2560
วิชาศาสตร์แห่งแผ่นดินได้ใช้ หลักการห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) ทีค่ ดิ ค้น โดย ผศ.ดร.ชนินทร์ ตรงจิตภักดี หนึง่ ในผูพ้ ฒ ั นาวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน ซึง่ เป็นหลักการทีเ่ ชือ่ ในการพัฒนาทักษะของผู้เรียนมากกว่าความถูกต้องแม่นย�ำของเนื้อหา และสร้างห้องเรียน ให้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่เทคโนโลยีไม่สามารถท�ำได้ ขณะเดียวกันก็ผลักความรู้ในต�ำรา
สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่รายวิชานี้ได้มอบให้นิสิตที่ได้เข้ามาเรียนคือความภาคภูมิใจในสถาบัน และความภาคภูมิใจในตัวเองที่สามารถต่อยอดความรู้และกิจกรรมต่าง ๆ ให้พัฒนามาเป็น โครงงานทีส่ ามารถแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ ภายในมหาวิทยาลัยได้ และท้ายทีส่ ดุ ก็จะสามารถน�ำความรู้ ที่ได้ไปพัฒนาความกินดีอยู่ดีของคนในชาติ สมดังปณิธานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ มุง่ สร้างศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพือ่ ความกินดีอยูด่ ขี องชาติ
“
สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่รายวิชานี้ได้มอบให้นิสิตที่ได้เข้ามาเรียน
“
คือความภาคภูมิใจ ในสถาบันและความภาคภูมิใจในตัวเอง ที่สามารถต่อยอดความรู้และกิจกรรมต่าง ๆ 12 KU BULLETIN 2016 EDITION
GU
DU
HU
Facebook ศาสตร์แห่งแผ่นดิน
v1.1
QS World University Rankings by Subject 2016
KASETSART UNIVERSITY
KASETSART UNIVERSITY
Below is the institution's detailed performance by indicator and overall across the 42 subjects currently featured in the QS World University Rankings by Subject. It is very unusual for an institution to qualify for consideration in all 42 subjects. The table also includes rankings for the past two years where available, please note that 12 new subjects have been added across the past two years. Also please note that different numbers of institutions feature in the published tables in different subjects - the "Ranked / Scored" column denotes the number of institutions published vs the number considered in our analysis.
■ Arts & Humanities ■ Engineering & Technology ■ Life Sciences & Medicine ■ Natural Sciences ■ Social Sciences & Management ■ Top Scoring Subject
Subject
2016 Scores Academic
Archaeology Architecture / Built Environment
ENGINEERING & TECHNOLOGY LIFE SCIENCES & MEDICINE NATURAL SCIENCES SUBJECTS
RANKED IN
3
SUBJECTS
TOP 50 FOR
1
SUBJECT
For details of the methodology used to arrive at these results, please visit bit.ly/qssubjectmethod
Subject Rankings - 8 June How is dataMasterclass transforming universities?
Overall
2014 Rank
2015 Rank
2016 Rank
Ranked / Scored
Score Percentile
Rank in Country
100 / 360 100 / 518 100 / 1273
English Language & Literature
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
300 / 520
History
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Linguistics
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Modern Languages
48.7
60.9
200 / 530 200 / 664
52.4
300 / 1219
NO ACADE MIC RE S PONS E S
5
100 / 974
Philosophy
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Computer Science & Info Systems
45.2
62.7
53.9
38.4
50.7
Engineering - Chemical
37.5
51.5
57.3
57.8
47.7
Engineering - Civil & Structural
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Engineering - Electrical
38.4
56.2
52.0
54.2
48.2
300 / 909
6
Engineering - Mechanical
32.2
50.3
57.9
57.6
45.3
300 / 794
6=
Engineering - Mineral & Mining
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Agriculture & Forestry
77.2
82.7
69.4
59.4
72.6
Biological Sciences
58.5
64.9
45.3
27.4
48.1
Dentistry Medicine
200 / 567
401-450
48.4
49.3
36.7
60%
5
200 / 713
3
200 / 532
100 / 403 48
39
47
301-350
200 / 749
93%
1
400 / 999
NO ACADE MIC RE S PONS E S
Nursing
500 / 1075
3
50 / 314
19.4
38.3
400 / 861
NO ACADE MIC RE S PONS E S
7
100 / 396
Pharmacy & Pharmacology
19.6
Psychology
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Veterinary Science
66.3
47.2
54.1
46.2
54.7
50 / 341
3
Chemistry
43.0
61.6
59.2
47.7
50.9
400 / 981
3
Earth & Marine Sciences
50.5
58.2
34.7
25.2
41.0
200 / 732
Geography
44.2
30.3
21.4
25.2
200 / 557
10
200 / 657
NO ACADE MIC RE S PONS E S
3
200 / 544
251-300
Environmental Sciences
53.8
72.4
70.4
56.0
60.4
Materials Science
31.3
50.0
59.6
49.5
44.8
200 / 834
6
Mathematics
41.3
52.2
42.6
36.7
42.8
400 / 997
6
Physics & Astronomy
21.2
53.3
44.0
28.7
33.7
400 / 997
8
Accounting & Finance
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
300 / 983
72%
3
200 / 530
NO ACADE MIC RE S PONS E S
100 / 344
Business & Management Studies
47.4
Communication & Media Studies
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
200 / 596
Development Studies
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
100 / 424
Education
50.4
62.9
64.4
53.5
55.1
300 / 783
1
Economics & Econometrics
37.7
57.0
45.9
40.7
43.8
300 / 803
6
Law
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Politics & International Studies
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Social Policy & Administration
20.0
Sociology
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
200 / 602
Statistics & Operational Research
INS U FFIC IE N T PAPE R S PU BLISHE D
200 / 582
63.1
63.8
64.4
66.5
0.0
55.7
200 / 957
5
200 / 644 200 / 540
26.8
100 / 1299
10
NOTES: There are a different reasons why an institution may not have results in any given subject.
EduData Summit - 8-10 June 2016
June 8-10, London LONDON
www.edudatasummit.com www.edudatasummit.com
H
NO AC ADE M IC R E S PONS E S
Anthropology * The maximum possible score in any subject is 100 but the scale here is dynamically set to highlight the differences between disciplines at the given university
SOCIAL SCIENCES & MANAGEMENT
20
SCORED IN
Citations
INSUFFICIEN T PAPERS PUBLISHED
Performing Arts
CHEMICAL ENGINEERING
Employer
NO ACADE MIC RE S PONS E S
Art & Design ARTS & HUMANITIES
Overall Scores by Subject
ANTHROPOLOGY
v1.1
QS World University Rankings by Subject 2016
1. It may not offer a program 2. It may not have published a sufficient number of papers 3. It may not have attracted a minimum level of recognition through our surveys.
Organised by
RECENTLY ADDED SUBJECTS: 2015: Architecture / Built Environment; Art & Design; Business & Management Studies; Dentistry; Development Studies; Veterinary Science 2016: Anthropology; Archaeology; Engineering - Mineral & Mining; Nursing; Performing Arts; Social Policy & Administration
Copyright © 2011-2016 QS Intelligence Unit (a division of QS Quacquarelli Symonds Ltd)
Copyright © 2011-2016 QS Intelligence Unit (a division of QS Quacquarelli Symonds Ltd)
KU Ranking มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในสายตาชาวโลก ศักยภาพของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในมุมมองระดับนานาชาติถอื ว่าอยูใ่ นอันดับต้น ๆ ของประเทศไทยมาโดยตลอด ตอกย�ำ้ ด้วยผลการจัดอันดับในปีลา่ สุดทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขึ้นแท่นติดโผของหลากหลายส�ำนัก ทั้ง QS, Webometrics, 4icu.org และ UI GreenMetric Quacquarelli Symonds World University Ranking หรือทีร่ จู้ กั กันในชือ่ QS WU Ranking คือ หนึง่ ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับโลก ซึง่ ในปี 2559 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ที่ 129 ของเอเชีย ดีขึ้นกว่าปีก่อนที่ได้รับการจัดอันดับ ให้อยู่ที่ 171 ของเอเชีย ขณะที่ในระดับโลกอยู่ในอันดับที่ 701 ขณะที่หากมองเฉพาะรายวิชาที่จัดสอน หรือที่เรียกว่า QS WU Ranking by Subject รายวิชาด้านเกษตรศาสตร์และวนศาสตร์ติดอันดับ 47 ของโลก ซึ่งถือว่าเป็นอันดับที่สูงที่สุด จากการจัดอันดับนับเฉพาะมหาวิทยาลัยในไทย 4 ปีซ้อน นอกจากนี้ในรายวิชาด้านปรัชญา ด้ า นภาษาสมั ย ใหม่ ด้ า นวิ ศ วกรรมเคมี ด้ า นวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ ด้ า นชี ว วิ ท ยา ด้านสัตวแพทยศาสตร์ ด้านเคมี ด้านวิทยาศาสตร์พื้นพิภพและทะเล ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านบริหารธุรกิจ และด้านนิเทศศาสตร์ ยังติด Top 5 ของประเทศไทยอีกด้วย อี ก หนึ่ ง สถาบั น จั ด อั น ดั บ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เ ข้ า วิ น มาหลายสมั ย คื อ Webometrics Ranking Web of University ที่จัดอันดับคุณภาพของเว็บไซต์มหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งในปี 2559 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ที่ 2 ของ ประเทศไทย อันดับที่ 4 ในภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์ อันดับที่ 52 ในทวีปเอเชีย และอันดับที่ 347 ของโลก
ในส่วนของ 4icu.org นัน้ เป็นสถาบันจัดอันดับทีว่ ดั ความนิยมของเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ทั่วโลกกว่า 11,000 แห่ง ซึ่งจะประกาศผลปีละ 2 ครั้ง และส�ำหรับในครึ่งปีแรกของ พ.ศ. 2559 เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ถกู จัดอันดับให้อยูท่ ี่ 1 ของประเทศไทย และอันดับที่ 351 ของโลก และส�ำหรับสถาบันจัดอันดับสุดท้ายทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ตดิ โผคือ การจัดอันดับ มหาวิทยาลัยสีเขียวโลกของ University of Indonesia หรือ UI GreenMetric World University Ranking ประจ�ำปี 2558 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ถกู จัดอันดับให้อยูท่ ี่ 54 ของโลก และอันดับที่ 3 ของประเทศไทย ขยับขึน้ มาจากปี 2557 ทีอ่ ยูใ่ นอันดับที่ 79 ของโลก และอันดับที่ 5 ของประเทศไทย ขณะที่การประกาศผลการจัดอันดับในปีปัจจุบันยังไม่มีการประกาศผล ทั้งนี้การประกาศผลการจัดอันดับทั้งหมดด้านบนเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งที่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เข้าร่วมการจัดอันดับ ยังมีสถาบันจัดอันดับอีกส่วนหนึ่งที่ยังไม่ได้ประกาศผล แต่ทงั้ นีก้ ถ็ อื เป็นการพิสจู น์ได้ในระดับหนึง่ ว่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยงั คงเป็นมหาวิทยาลัย ชัน้ น�ำของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยทีอ่ ยูใ่ นสายตาของคนทัง้ โลกในหลากหลายแง่มมุ
WU
KNOWLEDGE OF THE LAND
13
Corporate Identity Design System ออกแบบระบบเอกลักษณ์ ภารกิจหลักระดับเวิลด์คลาส ภาพแทนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีด้วยกันหลายต่อหลายอย่าง ทั้งสีเขียวใบไม้ พระพิรณ ุ ทรงนาค และต้นนนทรี รวมไปถึงตราประจ�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทใี่ ช้มาต่อเนือ่ ง ยาวนานตัง้ แต่ครัง้ ก่อตัง้ มหาวิทยาลัย แต่อย่างไรก็ตาม หลังการปรับเปลีย่ นสถานะเป็นมหาวิทยาลัย ในก�ำกับของรัฐ รวมทั้งเป้าหมายเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายมหาวิทยาลัยระดับโลก การออกแบบการ ปรับปรุงระบบเอกลักษณ์จงึ เป็นหมุดหมายทีด่ ใี นการเริม่ ศักราชใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ออกแบบอื่น ๆ ได้ โดยไม่มีปัญหาทางเทคนิค ขณะที่ตัวอักษรบนตราสัญลักษณ์นั้นเราท�ำการ ออกแบบขึ้นมาใหม่ให้สอดคล้องกับตัวตนของม.เกษตรฯ ซึ่งก็คือความหนักแน่นของแผ่นดิน แต่ก็ยังคงความเรียบง่ายในการสื่อสาร อีกหนึ่งส่วนที่เราปรับเปลี่ยนคือตัวกรอบนอก ที่ต้องการ ให้เบาลง เพื่อสื่อถึงความพอดี พอเพียง”
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มอบหมายให้ G49 บริษัทที่เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ เอกลักษณ์องค์กร หรือ Corporate Identity น�ำทีมโดยคุณกฤษณะ ธนะธนิต กรรมการผู้จัดการ ของ G49 มาออกแบบระบบเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ขึ้นใหม่ เพื่อให้ทั้ง มหาวิทยาลัยมีสัญลักษณ์ที่สามารถสื่อสารในระดับสากลได้อย่างภาคภูมิ
ไม่เพียงแค่ตราสัญลักษณ์เท่านั้นที่ทางบริษัท G49 ได้ปรับโฉมให้ แต่ยังหมายรวมถึง การออกแบบ Sub Logo และกราฟฟิกส�ำหรับนามบัตรบุคลากร เอกสารทางธุรการ ออกแบบระบบ การน�ำใช้สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ออกแบบระบบน�ำใช้สื่อดิจิทัล และออกแบบคู่มือมาตรฐาน การใช้งานงานระบบเอกลักษณ์ เพือ่ ให้ทกุ ภาคส่วนในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นำ� รูปแบบของ งานออกแบบไปปรับใช้ในทิศทางเดียวกัน
“การปรับปรุงตราสัญลักษณ์ประจ�ำมหาวิทยาลัย เราท�ำบนแนวคิด ‘สากล ร่วมสมัย ผสาน กับมรดกภูมิปัญญาดั้งเดิม’ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเรารักษาสัญลักษณ์พระพิรุณทรงนาคไว้ โดยการท�ำ Vector ขึ้นมาใหม่ให้ได้ลายเส้นที่คมชัด อ่อนช้อย เรียบง่าย และสามารถน�ำเอาไปใช้ในการ
แนวคิดทีต่ อ้ งการจะเปลีย่ นแปลงระบบเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในครัง้ นี้ นอกจากจะต้องการสร้างความเป็นเอกภาพในมหาวิทยาลัยแล้ว ยังหวังให้มหาวิทยาลัยมุ่งหน้า สูค่ วามเป็นสากล เพราะสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ นัน้ ไม่เฉพาะหมายถึงตัวมหาวิทยาลัยเพียงอย่างเดียว
14 KU BULLETIN 2016 edition
รายละเอียดการพิมพ สีที่ใช พิมพ 3 สี
ขนาด
เทียบตามสีมาตรฐาน PANTONE SOLID COATED
กระดาษ บร�ษัทกระดาษ
PANTONE 329 C
PANTONE 383 C
เทคนิคพิมพ พิเศษ พิมพ Hot Stamp สีเข�ยวบนตราสัญลักษณ รหัสฟอยล : Foil no. SV 047 บร�ษัท ส.ว�นิตศิลป (2537)
PANTONE 431 C
ผศ. รัชด ชมภูนชิ
รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝายพัฒนาเชิงยุทธศาสตร และสือ่ สารองคกร
ratchot@gmail.com +668 1207 4843 Asst. Prof. RATCHOT CHOMPUNICH Acting Vice President for Strategic development & Organizational Communication
50 Ngamwongwan Rd.,Latyao Chatuchak Bangkok 10900 T +66 (0) 2942 8191 F +66 (0) 2942 8127 press 0 www.ku.ac.th
ด านหน า
ส�ำหรับอีกหนึ่งภารกิจที่มหาวิทยาลัยมอบหมายให้ G49 ดูแล คือการออกแบบมาตรฐาน ระบบป้ายและสัญลักษณ์ที่จะน�ำไปใช้เพื่อการอ�ำนวยความสะดวกในการสัญจรและเพื่อให้การ ออกแบบระบบป้ายและสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทัดเทียม กับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลก การเปลีย่ นแปลงคราวนีต้ อ้ งอาศัยพลังของประชาคมเกษตรศาสตร์ในการให้ความร่วมมือ ปรับใช้รปู แบบเอกลักษณ์และระบบป้ายสัญลักษณ์ใหม่ ซึง่ ทุกคนย่อมหวังอยากเห็นมหาวิทยาลัย มีภาพลักษณ์สวยงาม ร่วมสมัย และมีความเป็นสากล
“
การปรับปรุงตราสัญลักษณ์ ประจ�ำมหาวิทยาลัย เราท�ำ บนแนวคิดสากลร่วมสมัย ผสานกับมรดกภูมิปัญญาดั้งเดิม ซึ่งจะเห็นได้ว่าเรารักษาสัญลักษณ์
“
แต่ยงั รวมไปถึงมาตรฐานทางวิชาการอืน่ ๆ ทีส่ ะท้อนภาพลักษณ์ทางวิชาการและความน่าเชือ่ ถือ ในระดับโลก อีกทัง้ ยังเป็นการเพิม่ มูลค่าทางการตลาด และถือเป็นการสร้างแบรนด์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ให้เข้ายุคเข้าสมัยมากยิ่งขึ้น และแน่นอนว่าการปรับในครั้งนี้ย่อมเป็นประโยชน์ ต่อการร่วมมือกับเอกชนในการน�ำผลงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สามารถน�ำมาใช้พัฒนาเชิงธุรกิจในแง่มุมต่าง ๆ ได้อีกด้วย
ด านหลัง
พระพิรุณทรงนาคไว้
WU
KNOWLEDGE OF THE LAND
15
30
Some Other Stories
เรื่องราวรอบรั้วนนทรี
01
Green Learning Space ห้องเรียนกลุม่ แบบขีดเขียนได้ นวัตกรรมใหม่ ของส�ำนักหอสมุด ทีน่ ำ� เอากระดานไวท์บอร์ดมาบุผนังห้อง ท�ำให้การเรียนรู้ หรือการ Brainstorm ต่อ ๆ ไปท�ำได้ง่ายขึ้น ทั้งสะดวกและรักษ์โลกแบบนี้ พบได้ที่ชั้น 3 อาคารเทพรัตน์วิทยโชติเท่านั้น gU HU
Digital Learning & Teaching
02
Digital Learning & Teaching โครงการที่ถ่ายทอดความรู้ และบทเรียนต่าง ๆ ลงในแพล็ตฟอร์มดิจทิ ลั เช่นการบันทึกเทปการเรียน การสอนและน�ำไปอัปโหลดไว้ในอินเทอร์เน็ต เพือ่ ให้ทกุ คนสามารถเรียนรู้ ได้ตลอด 24 ชั่วโมงแบบไม่มีขีดจ�ำกัดทางด้านเวลาและสถานที่ dU wU HU
โครงการลูกชาวนา ได้เวลามาช่วยพ่อ
03
โครงการลูกชาวนา ได้เวลามาช่วยพ่อ โครงการที่มุ่งมั่นแก้ปัญหาราคาข้าว ตกต�่ำทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยระยะแรกเน้นการผลักดันให้นิสิตลูกชาวนา เพิ่มมูลค่าให้กับข้าวที่ถึงฤดูเก็บเกี่ยว ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนการสร้างแบรนด์ หรือการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้คา้ ขายข้าวได้อย่างอิสระ ขณะทีก่ ารแก้ปญ ั หาในระยะยาวก็เน้นไปที่ การลงพื้นที่ให้ความรู้แก่เกษตรกรในการแปรรูปข้าว ปลูกพืชหมุนเวียน ตลอดจน การรักษาคุณภาพของข้าว gU srU HU
16 KU BULLETIN 2016 EDITION
eduFarm ระบบทีท่ ำ� ให้นสิ ติ และ อาจารย์ของเกษตรศาสตร์สามารถเรียนรู้ และจัดการการเรียนการสอนได้ทกุ เวลา มีฟเี จอร์ทที่ ำ� นิสติ เรียนรูบ้ ทเรียนใหม่ ๆ ได้ลว่ งหน้า และอาจารย์สามารถท�ำการ เก็บคะแนนหรือมอบหมายงานออนไลน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดทัง้ เวลา และกระดาษ
04 gU
dU wU HU
05
Prove You Graduated From KU!
Prove You Graduated From KU หนังสือที่ระลึก งานรับปริญญาของบัณฑิตรุน่ ปีการศึกษา 2559 มอบให้บณ ั ฑิต ใหม่ในวันซ้อมใหญ่ ระหว่างวันที่ 17-21 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ที่มาในรูปโฉมใหม่เอาใจบัณฑิตยุคปัจจุบัน ถูกออกแบบภายใต้ แนวคิดต้องการร่วมเป็นเครือ่ งมือพิสจู น์ความเป็น ‘เกษตรศาสตร์’ ผ่านเนือ้ หาทีเ่ ข้าถึงง่าย อีกทัง้ ยังมีความโดดเด่นอีกหลายประการ เช่น 2 ปก 2 สไตล์ ในเล่มเดียว HU
KU Night Eat & Read
07
06
Deep Learning CCTV
KU Night Eat & Read ก้าวเข้าสู่ปีที่ 2 ส�ำหรับโครงการดี ๆ ที่เปิดพื้นที่ให้นิสิตได้อ่าน หนังสือเตรียมสอบ 24 ชัว่ โมงแบบเข้ากับไลฟ์สไตล์ เด็กรุ่นใหม่ ‘กินไป อ่านไป’ โดยให้บริการด้วยกัน ทัง้ สิน้ 3 จุด ได้แก่ ส�ำนักหอสมุด โรงอาหารกลาง 1 (บาร์ ใหม่) และโถงชั้นล่างอาคารจักรพันธ์ เพ็ญศิริ
Deep Learning CCTV ระบบกล้องวงจรปิด ปัญญาประดิษฐ์ที่สามารถเรียนรู้และวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real Time ในการแยกแยะและบันทึกรายละเอียดยานพาหนะ รวมถึงคนที่เดินผ่านกล้อง เพื่อป้องกันเหตุด่วนเหตุร้าย ที่เกิดขึ้นภายในมหาวิทยาลัย พัฒนาโดย KU Robot & Innovation และอยู่ระหว่างขอทุนวิจัยเพิ่มเติม dU wU HU
HU
0809
#ทีมรากแก้ว เกษตรศาสตร์
See Thru KU แอปพลิเคชั่น ที่เชื่อมโยงการรู้ระหว่างสมาร์ตโฟน และสถานทีจ่ ริงผ่านการน�ำเสนอด้วย เทคโนโลยี AR และ VR อีกทั้งยังมี การสอดแทรกเนือ้ หาด้านไลฟ์สไตล์ และบริการสืบค้นข้อมูลด้านคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย เพื่อเติมเต็มไลฟ์สไตล์ยุคดิจิทัล ของคนเกษตรศาสตร์ dU HU
#ทีมรากแก้วเกษตรศาสตร์ โครงการ ทีน่ ำ� เอาศาสตร์แห่งแผ่นดินมาใช้ขบั เคลือ่ น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยพลังของ นิสิตเกษตรฯ ต่อยอดจากความส�ำเร็จ ของโครงการรากแก้วที่สนับสนุนให้ อุดมศึกษาท�ำงานรับใช้สงั คม ทีมรากแก้ว เกษตรศาสตร์เลยถือก�ำเนิดขึ้นในวัน เลขสวย 9 เดือน 9 พ.ศ. 2559 SRU
10
KU Student Market ตลาดนัด สินค้าจากนิสติ โครงการสร้างรายได้เสริม เพื่อแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายและเป็นเงิน สนับสนุนการท�ำกิจกรรม เริ่มขายวันแรก 16 พฤศจิกายน 2559 โดยจะเปิดพื้นที่ ค้าขายในทุกวันพุธ เวลา 17.00 – 20.00 น. ณ Green Square ข้างบาร์ ใหม่ HU KNOWLEDGE OF THE LAND
17
New Master Plan for Green University ผังแม่บทสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว สืบเนื่องจาก การจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก หรือ UI GreenMetric World University Ranking ประจ�ำปี 2558 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในล�ำดับที่ 54 ของโลก และล�ำดับที่ 3 ของประเทศไทย ขยับขึ้นมาจากปี 2557 ที่อยู่ในล�ำดับที่ 79 ของโลก ล�ำดับที่ 5 ของประเทศไทย แต่เป้าหมายต้องไม่ใช่เท่านี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วางแผนสู่ การก้าวขึ้นไปเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างเต็มตัว และแน่นอนต้องเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อันดับ 1 ของประเทศไทยเหมือนที่เคยท�ำได้ในปี 2554 โครงการศึกษาเพื่อจัดท�ำผังแม่บทมหาวิทยาลัยสีเขียว โดย รศ.พาสินี สุนากร และคณะ คือโครงการงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คาดหวังให้เป็นตัวขับเคลื่อนในการก้าวไปสู่ การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวตามนโยบายเชิงรุก 6Us ซึ่งตัวโครงการประกอบไปด้วยโครงการ ย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว ด้านการจัดการการสัญจร ด้านการจัดการ พลังงาน ด้านการจัดการของเสีย และด้านการจัดการทรัพยากรน�้ำ
การจัดการพืน้ ทีส่ เี ขียว ของผังแม่บทฉบับนี้ มุง่ เน้นรักษาพืน้ ทีส่ เี ขียวทีเ่ หลืออยูเ่ พียง 30% ของพื้นที่ทั้งหมด และสร้างพื้นที่สีเขียวทดแทน ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่เข้ากับยุคสมัย คือ Urban Forest และ Urban Agriculture โดยมีการน�ำร่องทีส่ ำ� นักส่งเสริมและฝึกอบรม ในการแปรเปลีย่ น พืน้ ทีด่ าดฟ้าให้กลายเป็นสวนผักและสมุนไพร รวมไปถึงทีห่ อพักภายในของมหาวิทยาลัยในซอย พหลโยธิน 45 ที่เพิ่มสวนแนวตั้งเข้าไปในการออกแบบ และในอนาคตจะมีการปรับปรุงพื้นที่ บางส่วนให้กลายสภาพเป็นปอดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้แนวคิด Central Park หรือ พื้นที่สีเขียวใจกลางมหาวิทยาลัย การจัดการการสัญจร ที่ส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยานเพื่อลดมลภาวะส่วนเกิน ในพืน้ ทีม่ หาวิทยาลัย และเพือ่ เชือ่ มต่อไปยังสถานีรถไฟฟ้า 2 สาย คือ สายสีแดงทางฝัง่ วิภาวดีรงั สิต และสายสีเขียวเข้มทางฝั่งพหลโยธินโดยการจัดท�ำ Coverway หรือทางเท้าคลุมไม้เลื้อยเพื่อให้ ร่มเงา และขยายทางจักรยาน หรือ Bike Lane เพือ่ ให้ครอบคลุมพืน้ ทีส่ ญ ั จรภายในมหาวิทยาลัย และเชื่อมต่อไปยังพื้นที่สัญจรภายนอก ซึ่งการจัดการการสัญจรทั้งหมดท�ำภายใต้แนวคิด ‘เชื่อมโยง-ปลอดภัย-สะดวกสบาย’
gU
พื้นที่กระทรวงเกษตรฯ
พื้นที่กระทรวงเกษตรฯ
18 KU BULLETIN 2016 edition
RU
WU
hU
การจัดการของเสีย ที่ชูนโยบาย Zero Waste หรือลดขยะให้เท่ากับศูนย์ มาใช้ ไม่ว่าจะ เป็นการปรับปรุงวิธีบริหารจัดการขยะแบบใหม่ การจัดพื้นที่ทิ้ง-รับขยะภายในมหาวิทยาลัย การหาวิธีเพิ่มมูลค่าให้กับขยะเหลือใช้ต่าง ๆ อย่างครุภัณฑ์เก่า ให้กลับมาสร้างประโยชน์ได้อีก ครั้งในรูปแบบที่เปลี่ยนไป เช่น การท�ำ Street Furniture รวมไปถึงการใช้หลัก Reduce/Reuse/ Recycle ในการจัดการกับทรัพยากรขยะ สุดท้าย การจัดการทรัพยากรน�ำ้ ทีม่ งุ่ เน้นศึกษาและพัฒนาแหล่งเก็บน�ำ้ ภายในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการน�ำทรัพยากรน�้ำที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งการหมุนเวียนน�้ำน�ำไปใช้ ในกิจกรรมต่าง ๆ และการบ�ำบัดน�้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผังแม่บทมหาวิทยาลัยสีเขียว ณ ขณะนีย้ งั อยูใ่ นขัน้ ตอนสรุปผลการศึกษา แต่ในระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยก็ได้มอบหมายนโยบายเชิงรุกสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวให้หน่วยงานต่าง ๆ น�ำ ไปปรับใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมและกายภาพของตนเองเป็นเบือ้ งต้น และด้วยพลังแห่งความร่วมมือของทุกภาคส่วนในครัง้ นี้ เกษตรศาสตร์จะก้าวขึน้ เป็นมหาวิทยาลัย สีเขียวอย่างสร้างสรรค์สู่ความยั่งยืนอย่างแน่นอน
“
การจัดการพลังงาน ทีต่ งั้ เป้าหมายระยะยาวในการพึง่ พาพลังงานทดแทน โดยตัวโครงการ จะน�ำเสนอให้ปรับเปลี่ยนหลอดไฟภายในมหาวิทยาลัยให้เป็นหลอด LED และจัดท�ำ Solar Rooftop หรือฟาร์มพลังงานแสงอาทิตย์บริเวณดาดฟ้าอาคารต่าง ๆ ซึง่ มีพนื้ ทีร่ วมกันกว่า 200,000 ตร.ม. และสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ราว 16.5 เมกะวัตต์ คิดเป็น 30% ของพลังงานไฟฟ้า ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัย
“
การจัดการพื้นที่สีเขียว ของผังแม่บทฉบับนี้ มุ่งเน้น รักษาพื้นที่สีเขียวที่เหลืออยู่ 30% ของพื้นที่ทั้งหมด และสร้างพื้นที่สีเขียวทดแทน ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่เข้ากับ ยุคสมัย คือ Urban Forest และ Urban Agriculture
KNOWLEDGE OF THE LAND
19
11
Environmental Signage System
Environmental Signage System โครงการออกแบบ ปรับปรุงระบบป้ายสัญลักษณ์เพือ่ ส่งเสริมสิง่ แวดล้อมเพือ่ เอา ไปใช้ในการปรับปรุงระบบป้ายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุกวิทยาเขต ประกอบไปด้วยระบบป้ายภายนอกส�ำหรับทาง สัญจร และระบบป้ายภายในอาคาร gU wU HU
นิสิตเกษตรคว้าอันดับ 1 U-League ตัวแทนจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ทีม KU Sotus ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการ แข่งขันอิเล็กทรอนิกส์ระดับมหาวิทยาลัย หรือ U-League ประจ�ำปี 2559 ที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ในวันที่ 19 พ.ย. ที่ผ่านมา ขณะที่รองชนะเลิศอันดับ ที่ 1 คือทีมจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และรองชนะเลิศอันดับ 2 คือทีม จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
13
dU wU
12
ECO KU
Eco KU จากความส�ำเร็จของโครงการปฏิเสธการใช้โฟมในพื้นที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2557 ท�ำให้ ได้รับรางวัล ‘องค์กรปลอดโฟม 100%’ ทีม่ อบโดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ ในขัน้ ต่อไปกับการ ‘ลด-ละ-เลิก’ การใช้ถงุ พลาสติกในร้านค้าและร้านสะดวกซือ้ ภายในมหาวิทยาลัย
สวนวรุณาวัน
14
สวนวรุณาวัน พืน้ ทีส่ เี ขียวบริเวณส�ำนักพิพธิ ภัณฑ์และวัฒนธรรม เกษตร ถูกปรับปรุงให้กลายเป็นปอดแห่งใหม่ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เป็นพืน้ ทีแ่ ห่งการเรียนรูแ้ ละพักผ่อนหย่อนใจ ทีร่ วบรวม พรรณไม้ประจ�ำจังหวัดของทั้ง 77 จังหวัดเอาไว้ ให้ทั้งร่มเงาและ ยังเป็นสถานที่ฟอกอากาศที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของเกษตรฯอีกด้วย gU srU HU
20 KU BULLETIN 2016 EDITION
gU srU HU
15
Food Innopolis เมืองนวัตกรรมอาหาร โครงการทีต่ งั้ เป้า ผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางของการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ สร้างนวัตกรรมสูว่ งการอุตสาหกรรมอาหาร ถือเป็นการผนึกก�ำลัง ครั้งประวัติศาสตร์ของ 9 หน่วยงานรัฐ 13 บริษัทเอกชน 12 มหาวิทยาลัย และ 1 สมาคม โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็น 1 ในฟันเฟืองส�ำคัญของคณะท�ำงาน rU wU srU
16
17
Feed the Future Asia Innovative Farmers Activity
Feed the Future Asia Innovative Farmers Activity โครงการที่ได้รบั การสนับสนุนจาก USAID (United States Agency for International Development) ให้ดำ� เนินการจัดตัง้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นศูนย์กลางด้านนวัตกรรมการเกษตรของภูมภิ าค ภายใต้ความร่วมมือ กับ Winrock International เพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการเกษตร ป่าไม้ และประมง ในภูมภิ าค ASEAN และเอเชียใต้ rU wU sru
Double Degree Program Double Degree Program โครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกียวโตของญีป่ นุ่ เพือ่ สร้างหลักสูตรทีท่ ำ� ให้ผเู้ รียนได้รบั วุฒกิ ารศึกษา ของทัง้ 2 มหาวิทยาลัย โดยปัจจุบนั มีการรับนิสติ เข้าศึกษาในโครงการนีแ้ ล้วในคณะเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร และคณะวนศาสตร์ และคาดว่าจะขยายโครงการนีเ้ พิม่ เติม ออกไปในอีก 4 คณะ wU
20
18
โครงการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ ร่วมกับ GiSTDA ทีท่ ง้ั สองฝ่ายจะร่วมมือกันส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีรูปแบบดังกล่าวเพื่อน�ำประโยชน์ มาประยุกต์ใช้จดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทัง้ ด้านการเกษตรและด้านทะเลและชายฝัง่ เพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพ มากทีส่ ดุ gU
rU srU
19
พัฒนาศักยภาพสถานีวจิ ยั ทัว่ ประเทศ เพราะ ทัง้ 21 สถานีวจิ ยั เปรียบเสมือนฮับ (Hub) ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทีม่ หี น้าทีใ่ ห้บริการแก่ ประชาชนทีต่ อ้ งการความรูใ้ นแขนงนัน้ ๆ ความส�ำคัญ ของทุก ๆ สถานีวิจัยจึงต้องถูกยกระดับและ พัฒนาศักยภาพให้พร้อมรองรับความต้องการของ ประชาชนได้ RU srU
แก้ ไขและพัฒนา กระบวนการทางการเงิน
แก้ ไขและพัฒนากระบวนการทางการเงิน มหาวิทยาลัยได้เล็งเห็นถึงปัญหาทางการเงิน จึงได้จดั การแก้ปญ ั หาทางการเงินอย่างเร่งด่วน ทัง้ การลดขัน้ ตอนการเบิกจ่าย การสร้างระบบ i-Cash จนท�ำให้เกษตรศาสตร์ ได้รบั การประกาศเกียรติคณ ุ ด้านการเบิกจ่ายดีเด่น รางวัลองค์กร ทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการการเงินการคลัง ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม 2559 wU KNOWLEDGE OF THE LAND
21
Too Fast To Sleep @KU เรียนและเล่นอย่างแฮปปี้ 24 ชั่วโมงในรั้วนนทรี ใครจะเชือ่ ว่าระยะเวลาแค่ 1 เดือนกับอีก 1 วันจะสามารถรังสรรค์พนื้ ที่ 600 ตร.ม. ให้กลายเป็น แหล่งชุมนุมทางปัญญาแห่งแรกที่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมงในรั้วมหาวิทยาลัยได้ Too Fast to Sleep @ KU ที่เป็นมากกว่าร้านกาแฟแห่งนี้ เกิดขึ้นจากแนวคิดที่ต้องการ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของวัยรุน่ ทีช่ อบใช้บริการ Public Space ในการท�ำงาน เรียนรู้ และเพลิดเพลิน ไปกับการกินดื่มท่ามกลางบรรยากาศสบาย ๆ ไม่จ�ำกัดช่วงเวลา โดยต่อยอดมาจากความส�ำเร็จ ของ โครงการ KU Night Eat & Read ที่ค�ำนึงถึงความต้องการใช้พื้นที่อ่านหนังสือของนิสิต แม้จะอยู่ในช่วงเวลากลางคืน พื้นที่เรียนและเล่นอย่างมีความสุขแห่งนี้ตั้งอยู่ ณ อาคาร KU Ville ซอยพหลโยธิน 45 ใกล้กับหอพักนิสิตและหอพักบุคลากร ซึ่งอาคารแห่งนี้และพื้นที่โดยรอบได้รับการออกแบบด้วย การค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อม โดย ผศ.ดร.ภัทรนันท์ ทักขนนท์ อาจารย์ประจ�ำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่มีแนวคิดเคารพแสงแดดและสายลมจากธรรมชาติ (Passive Design) ท�ำให้พื้นที่โดยรอบ ไม่ร้อนในเวลากลางวัน และขณะที่ในเวลากลางคืนก็จะได้รับอานิสงส์จากพันธุ์ไม้บางชนิด ช่วยลดการรบกวนของยุงและแมลงต่าง ๆ การเนรมิตโครงการนี้ด้วยความรวดเร็วและจริงใจสะท้อนความตั้งใจของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ที่ต้องการก้าวไปสู่การเป็น มหาวิทยาลัยแห่งความสุข (Happiness University) ผ่านการร่วมมือกับผูป้ ระกอบการเอกชนอย่าง คุณเอนก จงเสถียร ผูก้ อ่ ตัง้ ร้าน Too Fast to Sleep ที่มาร่วมแรงผลักดันภารกิจนี้ ภายใต้ค�ำจ�ำกัดความที่ต้องการเป็นธุรกิจที่ตอบแทนสู่สังคม (Social Enterprise) “ผมยินดีมากที่ได้มาท�ำร้านนี้ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งทุกคนทราบกันดีว่า Too Fast to Sleep ของเราเป็นแหล่งแลกเปลีย่ นความรูท้ มี่ นี สิ ติ นักศึกษาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก การเข้ามาท�ำตรงนี้ นอกจากจะเป็นการช่วยกันพัฒนาและผลักดันคนรุ่นใหม่แล้ว ยังเป็นการเพิ่ม ความสะดวกสบายและเพิ่มบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้เข้ากับยุคสมัย ซึ่งร้านของเราได้มีการ จัดเตรียมอินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงไว้คอยให้บริการ และยังมีการบริการอาหาร-เครื่องดื่ม ในราคาย่อมเยาที่โซน Too Fast Food ที่อนาคตจะรองรับการให้บริการแบบ 24 ชั่วโมง” “ส�ำหรับเฟสที่ 2 ภายในสิ้นเดือนพฤศจิกายนนี้ Too Fast to Sleep @KU จะเปิดให้บริการ อย่างเต็มรูปแบบบนพื้นที่กว่า 2,000 ตร.ม. ซึ่งจะมีทั้ง Co-Working Space ภายใต้ชื่อ Wisdom Zone และร้านผลิตภัณฑ์งานวิจัย ‘นนทรี 95’ ไว้คอยให้บริการเพิ่มเติม” จ�ำนวนผูเ้ ข้ามาใช้บริการในแต่ละวันก็เป็นเครือ่ งยืนยันถึงความส�ำเร็จก้าวแรกของโครงการนี้ เพราะถ้าหากใครมีโอกาสได้ไปเยือนร้าน Too Fast to Sleep @KU ก็จะทราบดีว่า จะมีผู้เข้ามา ใช้บริการตลอดทั้งวันอย่างไม่ขาดสาย และส่วนมากจะเป็นนิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดจนน้อง ๆ นักเรียนโรงเรียนสาธิตเกษตรฯ พืน้ ทีแ่ ห่งความสุขนี้ ไม่เฉพาะเข้ามาเติมเต็มความต้องการของคนในรั้วนนทรีเท่านั้น แต่ยงั สร้างรอยยิ้มที่กว้างขึ้นกว่าเดิมเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความสุข ตามสโลแกนของ การให้บริการของร้าน Too Fast To Sleep @ KU ที่ว่า From Green To Happiness
HU 22 KU BULLETIN 2016 EDITION
KNOWLEDGE OF THE LAND
23
The Very First Step to New Era ก้าวแรกก้าวใหม่สู่ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ในทุก ๆ ปี นิสิตชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมมากมาย หลายอย่างเพือ่ หล่อหลอมสายเลือดสีเขียวให้เข้มข้นก่อนเข้าสูส่ ถานะลูกเกษตรเต็มตัว ไม่วา่ จะเป็น งานสู่อ้อมกอดนนทรี งานปฐมนิเทศคณะ หรือแม้กระทั่งงานก้าวแรกสู่บัณฑิตยุคใหม่ที่จัด ขึ้นมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แต่ทว่าในปีนี้งานก้าวแรกฯที่หลายคนคุ้นเคยถูกพัฒนาและ ปรับโฉมขึ้นมาใหม่ เพื่อให้เหมาะกับลักษณะนิสัยของเด็กยุคปัจจุบัน หรือ เด็ก Gen Z น�ำมาซึ่ง การสร้างสรรค์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแบบผสมผสาน สร้างองค์ความรูแ้ ละยังสร้างความประทับใจ ให้เหล่าบรรดาน้องใหม่ในครัง้ แรกทีไ่ ด้รจู้ กั มหาวิทยาลัยทีต่ นต้องศึกษาเล่าเรียนไปอีกหลายปี งานก้าวแรกสู่ศาสตร์แห่งแผ่นดิน คือชื่ออย่างเป็นทางการส�ำหรับงานปฐมนิเทศนิสิตใหม่ รุ่น KU76 ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21-24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ในวิทยาเขตบางเขน, วันที่ 25-27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ในวิทยาเขตก�ำแพงแสน, วันที่ 28-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ในวิทยาเขต
24 KU BULLETIN 2016 edition
ศรีราชา และวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ในวิทยาเขตเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ภายในงานจะประกอบไปด้วยการจัดกิจกรรมแบบ interactive ต่าง ๆ มากมาย ฉีกภาพลักษณ์ ของงานก้าวแรกฯ แบบเดิม ๆ ทีห่ ลายคนเคยรูจ้ กั เริม่ กันทีก่ ารลงทะเบียนเข้างานทีน่ ำ� ระบบดิจทิ ลั มาใช้อำ� นวยความสะดวก การจัดผังทีน่ งั่ ใหม่ทเี่ อือ้ ต่อการท�ำกิจกรรมภายในงาน การน�ำเทคโนโลยี ต่าง ๆ มาสร้างความสนุกสนานและสอดแทรกเกร็ดความรูใ้ ห้นอ้ ง ๆ KU76 ได้มสี ว่ นร่วมและเกิด ความภาคภูมิใจในสถาบัน เช่น การแบ่งกลุ่มเล่นเกมตอบค�ำถามความรู้มหาวิทยาลัยจาก VTR ที่เปิดในงานด้วยการใช้งานผ่านแอปพลิเคชั่นในสมาร์ตโฟนประจ�ำกลุ่ม การให้นิสิตใหม่ได้ร่วม ออกแบบโลโก้ประจ�ำแฟนเพจอย่างเป็นทางการของกิจกรรม เพจ ‘ก้าวแรก KU76’ เป็นต้น
“
ต้นกล้า ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้บ่มเพาะในวันนี้ ก็จะเติบโตเป็นไม้รุ่นใหม่ ที่มีหัวใจใกล้ชิดผืนแผ่นดิน ขณะเดียวกันก็ยังคงความ ก้าวทันโลก นั่นเป็นเพราะ พวกเขามีก้าวแรกที่ดี
“
บรรยากาศในงานปีนี้เลยคราคร�่ำไปด้วยรอยยิ้มและเสียงหัวเราะจากบรรดานิสิตใหม่ที่ เข้าร่วมงาน จากอดีตที่เคยมีภาพลักษณ์เป็นกิจกรรมบังคับที่น่าเบื่อ ขาดการมีส่วนร่วม นับว่า เป็นการเปลี่ยนผ่านไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งความสุขที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น แถมยังได้สอดแทรก องค์ความรู้ด้านศาสตร์แห่งแผ่นดิน ซึ่งเป็นหัวใจหลักของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มุ่งสร้าง ความกินดีอยู่ดีให้กับคนในชาติ เรียกได้ว่าได้ทั้งความรู้ ได้ทั้งความสนุก ได้ท้ังความภาคภูมิใจ ถือเป็นหมุดหมายใหม่ทมี่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สร้างสรรค์ให้นสิ ติ แบบเข้าใจยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลง ในอนาคต ต้นกล้าทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้บม่ เพาะในวันนีก้ จ็ ะเติบโตเป็นไม้รนุ่ ใหม่ ที่มีหัวใจใกล้ชิดผืนแผ่นดิน ขณะเดียวกันก็ยังคงความก้าวทันโลก นั่นเป็นเพราะพวกเขามี ก้าวแรกที่ดี ก้าวต่อ ๆ ไปของพวกเขาเลยสดใส และพร้อมคืนความรู้สู่การพัฒนาประเทศไทย อย่างยั่งยืน
GU
DU
HU
KNOWLEDGE OF THE LAND
25
21
วางผังโครงการ สถาบันเทคโนโลยี ำปงสปื วางผังโครงการสถาบันเทคโนโลยีกก� ำ� ปงสปื อ เมือ่ วันที่ 23อกุมภาพันธ์ พ.ศ.
2559 ภารกิจพิเศษทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เข้ารับสนองพระราชด�ำริของ สมเด็จพระเทพฯ ในการวางผังโครงการการจัดตัง้ สถาบันเทคโนโลยีขนึ้ ในราชอาณาจักร กัมพูชา ด้วยความร่วมมือระหว่างกองบัญชาการกองทัพไทย และกระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และกีฬา แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา
22
ปลูกข้าววันแม่
เก็บเกี่ยววันพ่อ
wU srU
Kasetsart FC
Kasetsart FC เลือ่ นชัน้ ! ขุนผลนาคามรกตไม่ทำ� ให้แฟน ๆ ผิดหวัง คว้าตัว๋ ไปเล่นศึกดิวิชั่น 1 ในฤดูกาล 2017 หลังจบฤดูกาลนี้ด้วยการคว้าแชมป์ลีก ภูมิภาคดิวิชั่น 2 โซนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันรอบ Champions League และเป็น 1 ใน 3 ทีมที่สมหวังได้เลื่อนชั้น นับเป็น ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของสโมสร HU
23
ปลูกข้าววันแม่ เก็บเกีย่ ววันพ่อ เนือ่ งในวโกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และวโรกาสมหามงคลเสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 70 ปี ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2559 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เลยจัดกิจกรรมพิเศษขึน้ เพื่อส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ณ ทุ่งนาไพร วิทยาเขต ก�ำแพงแสน gU srU
Riceberry Valley โครงการข้าวไรซ์เบอร์รอี่ นิ ทรีย์ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมกันระหว่างศูนย์วทิ ยาศาสตร์ ข้าว มก. วิทยาเขตก�ำแพงแสน มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย และกระทรวง พาณิชย์ ด้วยการสร้างมาตรฐานข้าวอินทรีย์ ‘ธัญโอสถ’ ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้ขา้ วได้สงู สุด จากมือเกษตรกร
24 26 KU BULLETIN 2016 EDITION
gU
rU srU
Riceberry Valley
ภาคีเครือข่ายผลิตก๊าซหุงต้มจากผักตบชวา ด้วยจุลนิ ทรียธ์ รรมชาติ ศักยภาพสูง ศูนย์ทรัพยากรจุลินทรีย์ เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) – ศวท. ภายใต้ ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน และ มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สร้างพลังงานทดแทนจากผักตบชวา ต่อยอดจากงานวิจัย สามารถช่วยลดปริมาณผักตบชวาในแม่น�้ำท่าจีน ได้อย่างเป็นรูปธรรม
25 gU
rU srU
26
โครงการปลูกต้นยางนา 9,999 ต้น เฉลิมพระเกียรติฯ
โครงการปลูกต้นยางนา 9,999 ต้น เฉลิมพระเกียรติฯ เมือ่ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559 โครงการทีค่ นื พืน้ ที่ สีเขียวและเป็นแหล่งเรียนรูท้ างด้านป่าไม้กว่า 74 ไร่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และฟ้าหญิงจุฬาภรณฯ ถือเป็นการได้ห้องเรียนที่มีชีวิตและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ ในพื้นที่ วิทยาเขตก�ำแพงแสน gU
27
28
โครงการ ดาวล้ อ มเดื อ น โครงการดาวล้อมเดือน โครงการพัฒนาด้านอาชีพและ
โครงการบริการวิชาการแก่ชมุ ชน วิทยาเขตศรีราชา ถือเป็นโครงการที่ท�ำเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่องในทุกปี โดย ในปีนมี้ โี ครงการพัฒนาชุมชนไปแล้วทัง้ สิน้ 5 โครงการ เช่น โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยการ ประเมิน Water Footprint โครงการพัฒนาชุมชนอย่าง ยัง่ ยืน ชุมชนต้นแบบ ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เป็นต้น
ความเป็นอยู่ของเกษตรกรและชุมชนในพื้นที่โดยรอบวิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2552 โดยเปรี ย บชาวบ้ า นที่ อ ยู ่ ร ายรอบมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ดาว และตัวมหาวิทยาลัยเป็นดั่งเดือน
srU
29
srU
โครงการลุ่มน�้ำก�่ำที่มีชีวิต อีกหนึ่งโครงการที่วิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จัดท�ำขึ้นเพื่อสร้างคุณภาพชีวิต และความเป็นอยูท่ ดี่ แี บบพอเพียงของชาวบ้านในพืน้ ที่ 2 ฝัง่ แม่นำ�้ ก�ำ่ ต่อยอดจากแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ต้องการแก้ปัญหาการจัดการทรัพยากรน�้ำในพื้นที่ srU
30
Talent Mobility Network Best Performance 2016 ส�ำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงาน ดีเด่นที่ได้รับรางวัล TM Network Best Performance 2016 ภายใต้กจิ กรรม Talent Mobility Fair 2016 โดยสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานเลขาธิการคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ซึง่ จัดขึน้ เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์ wU KNOWLEDGE OF THE LAND
27
28 KU BULLETIN 2016 EDITION
Road to Digital University เส้นทางใหม่สู่เป้าหมายมหาวิทยาลัยดิจิทัล “หลงทางในเกษตรไม่ใช่เรื่องแปลก” คนเกษตรฯ ที่เคยได้ยินค�ำกล่าวนี้คงไม่รู้สึก แปลกใจแต่อย่างใด ด้วยความทีม่ หาวิทยาลัยของเรา มีพื้นที่กว่า 846 ไร่ นิสิตและบุคลากรส่วนใหญ่ จึงเคยผ่านประสบการณ์การหลงทางมาแล้วแทบทัง้ สิน้ ยิ่งกับบุคคลภายนอกที่จ�ำเป็นต้องเข้ามาติดต่อกับ มหาวิทยาลัยยิ่งไม่ต้องพูดถึง แต่ปัญหาที่กล่าวมานี้ก�ำลังจะกลายเป็นอดีต ไปเสียแล้ว เพราะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เข้าใจ ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจึงได้ประสานขอความร่วมมือจาก Google Inc. ผู้พัฒนา Google Maps ที่ให้บริการ แผนทีอ่ เิ ล็กทรอนิกส์ มาท�ำการถ่ายภาพบันทึกข้อมูล เส้นทางสายต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยอย่างละเอียด ผ่านฟีเจอร์ Google Street View เพื่อให้ผู้ใช้ที่ไม่ว่า จะเป็นใครก็ตามสามารถเข้าถึงสถานทีน่ นั้ ๆ ได้เสมือน อยู่ท่ีนั้นจริง ๆ ผ่านการแสดงผลของเทคโนโลยี แสดงภาพแบบ 360 องศา ซึ่งแน่นอนว่าใครที่ก�ำลัง จะเดินทางมายังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะสามารถ ศึกษาเส้นทางจริงแบบล่วงหน้าได้ก่อน และในที่สุด ปัญหาการหลงทางก็จะลดลงผ่านการเข้ามาช่วยเหลือ ของเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล การอาศัยเทคโนโลยีในการเข้ามาช่วยให้ เรือ่ งต่าง ๆ นัน้ ง่ายขึน้ เป็นอีกหนึง่ ความปรารถนาของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผ่านกลยุทธ์เพื่อมุ่งหน้า สู ่ ก ารเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ดิ จิ ทั ล ด้ ว ยแนวคิ ด KU ROCK & ROLL ทีเ่ ปรียบมหาวิทยาลัยเป็น ROCK ซึง่ แสดงถึงความเข้มแข็ง หนักแน่น และก�ำลังจะ ROLL
หรือหมุนไปให้เข้ากับยุคสมัยด้วยการวางรากฐาน ความเป็นดิจิทัลใน 4 ด้านส�ำคัญ ที่ประกอบกันมา จากตัวอักษรตัวหน้าของแต่ละด้าน ซึง่ ก็คอื Research การวิจัย Operation การปฏิบัติงาน Learning การเรียนรู้ และ Lifestyle วิถชี วี ติ ยุคใหม่ของประชาคม เกษตรศาสตร์ ด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยเตรียมน�ำ DataIntensive Science หรือระบบทีป่ รับเปลีย่ นข้อมูลดิบ จากงานวิจยั ทีเ่ ป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ให้กลายสภาพ เป็นแนวคิดวิธีปฎิบัติและแนวนโยบายที่สามารถ น�ำมาด�ำเนินการได้ทันที มาใช้งานภายใน 1-2 ปี ข้างหน้า ด้านการปฎิบัติงาน มีการผลักดันระบบ Single Super Data หรือระบบบูรณาการข้อมูล ในระดับมหาวิทยาลัยเพื่อเข้ามาแก้ปัญหาการ แลกเปลี่ยนข้อมูลระบบงานระหว่างกัน อีกทั้งยัง ผลักดันให้นสิ ติ และบุคลากรของมหาวิทยาลัยสามารถ ใช้งาน Office 365 ของ Microsoft บนระบบ Cloud ได้ฟรี เพื่อลดปัญหาเรื่องการใช้ซอฟท์แวร์เถื่อนและ ลดภาระค่าใช้จ่าย ด้านการเรียนรู้ ได้มีการริเริ่มแนวคิด Digital Learning & Teaching ทีป่ รับเปลีย่ นรูปแบบการเรียน การสอนโดยใช้วิธีคิดแบบดิจิทัลเข้ามาช่วย เช่น การบันทึกวิดีโอการสอนและอัปโหลดขึ้นไปในระบบ eduFarm ท�ำให้นิสิตสามารถเรียนรู้บทเรียนนั้น ๆ นอกเวลาเรียนได้
“
และสุดท้าย ด้านไลฟ์สไตล์ ทีน่ อกจากอ�ำนวย ความสะดวกเรื่องการวางแผนการเดินทางผ่าน Google Street View แล้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ยังตั้งใจที่จะพัฒนาแอปพลิเคชั่นเพื่อนิสิตจากการ ผสมผสานแอปพลิเคชั่นที่มีอยู่เดิมทั้ง Nisit KU และ Insight KU โดยน�ำมาควบรวมกับเนื้อหาด้าน ไลฟ์สไตล์ และจะออกมาเป็นแอปพลิเคชั่นที่ผูกพัน กับชีวิตนิสิตตั้งแต่ตื่นเช้าไปจนถึงนอนหลับ ส�ำหรับ ไอเดียคร่าว ๆ ของแอปพลิเคชัน่ ดังกล่าวก็จะมีฟงั ก์ชนั่ ที่ดึงข้อมูลตารางเรียนของนิสิตมาใช้ เพื่อตั้งปลุก ให้ตนื่ ไปเรียนให้ทนั หรือแจ้งเตือนสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับวิชานั้น ๆ อีกทั้งยังจะมีการพัฒนาฟีเจอร์รีวิว ร้านอาหารโดยรอบมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการตัดสินใจและบอกต่อข้อมูลต่าง ๆ ของร้านอาหาร นั้น ๆ สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของเด็กรุ่นใหม่ ในอนาคตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะปรับโฉม ให้กลายเป็นมหาวิทยาลัยดิจทิ ลั เต็มรูปแบบ ทีซ่ งึ่ นิสติ และบุคลากรในมหาวิทยาลัยจะสามารถใช้บตั รประจ�ำตัว แทนระบบเงินตราในการเข้าถึงบริการและสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกต่าง ๆ มีต�ำราเรียนแบบดิจิทัล ลดการ ใช้กระดาษ และลดภาระค่าใช้จ่าย และสิ่งที่จะ ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยให้ไปอยู่ในจุด ๆ นั้นได้คือ คนเกษตรศาสตร์ทุก ๆ คน
GU
DU
WU
HU
Google Maps
เพื่อมุ่งหน้าสู่การเป็น มหาวิทยาลัยดิจิทัล ด้วยแนวคิดKU ROCK & ROLL ที่เปรียบมหาวิทยาลัยเป็น ROCK ซึ่งแสดงถึงความเข้มแข็ง หนักแน่น และก�ำลังจะ ROLL หรือหมุนไปให้เข้ากับยุคสมัยด้วยการวางรากฐานความเป็นดิจิทัล
“
KNOWLEDGE OF THE LAND
29
Save the Best Urban Oasis of Asia คุ้งบางกะเจ้ากับภารกิจตอบแทนธรรมชาติ พื้นที่สีเขียวลักษณะคล้ายกระเพาะหมูที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของกรุงเทพมหานครเป็นที่ รู้จักกันดีในชื่อ บางกะเจ้า ปอดของคนเมืองหลวง กินพื้นที่ 11,819 ไร่ ใน 6 ต�ำบลของอ�ำเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พื้นที่คุ้งบางกะเจ้านับว่าเป็นพื้นที่สีเขียวที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งทั้งในแง่ของเป็นพื้นที่ อนุรกั ษ์เกษตรกรรมดัง้ เดิมของราบลุม่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา มีระบบนิเวศทีม่ คี วามหลากหลาย เนือ่ งจาก ได้รับอิทธิพลทั้งจากน�้ำจืดจากแม่น�้ำเจ้าพระยาและน�้ำเค็มจากอ่าวไทย ท�ำให้พื้นที่บริเวณนี้ ได้รับสมญานามว่าเป็นพื้นที่ ป่าสามน�้ำ คือ ระบบนิเวศป่าน�้ำจืด ระบบนิเวศป่าน�้ำกร่อย และ ระบบนิเวศป่าน�้ำเค็ม โดยกรมป่าไม้ เคยรายงานไว้ว่า มีพืชพรรณที่สำ� รวจได้ในบางกะเจ้ากว่า 110 ชนิด อีกทั้งบริเวณพืน้ ทีส่ ีเขียวของบางกะเจ้ายังสามารถช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้เฉลี่ยปีละประมาณ 6,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ และผลิตออกซิเจนได้ถึง 6 ล้านตันต่อวัน ด้วยเหตุนี้บริเวณพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าจึงมีสถานะเป็น พื้นที่สีเขียวในเมืองที่ดีที่สุดของเอเชีย (The Best Urban Oasis of Asia) จากการจัดอันดับของนิตยสาร TIME ฉบับ Best of Asia ในปี 2549 แต่การก้าวขึ้นสู่บัลลังก์ของพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าย่อมมาพร้อมกับความท้าทาย 30 KU BULLETIN 2016 edition
ในการรักษาความเป็นทีส่ ดุ เอาไว้ และนัน่ น�ำมาซึง่ ความร่วมมือของหลากหลายภาคส่วนทีต่ อ้ งการ ให้พื้นที่สีเขียวที่ทรงศักยภาพแห่งนี้อยู่คู่กับคนไทยไปช้านาน ความร่วมมือ โครงการฟื้นฟูป่าเพื่อการเรียนรู้เชิงนิเวศสวนศรีนครเขื่อนขันธ์ (บางกะเจ้า) ตามแนวพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ถือก�ำเนิดขึ้นในปี 2556 ภายใต้ความร่วมมือของทั้งภาครัฐและเอกชน อันประกอบไปด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมป่าไม้ และปตท.สผ. โดยมีระยะเวลาความร่วมมือทั้งสิ้น 8 ปี ในการฟืน้ ฟูปา่ เชิงนิเวศสวนศรีนครเขือ่ นขันธ์ ตามแนวพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จ�ำนวน 40 ไร่ รวมไปถึงการปรับปรุงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ป้ายสือ่ ความหมาย ธรรมชาติ และนิทรรศการกลางแจ้งในแหล่งเรียนรู้เชิงนิเวศสวนศรีนครเขื่อนขันธ์ การปรับปรุง สะพานและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในสวนสาธารณะสวนศรีนครเขื่อนขันธ์ ความยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร ตลอดจนการพัฒนารูปแบบ กิจกรรม และการจัดการเรียนรู้เชิงนิเวศสวนศรีนครเขื่อนขันธ์ให้เชื่อมโยงกับการเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมชุมชนนครเขื่อนขันธ์ โดยการมีส่วนร่วม ของชุมชน
ส�ำหรับแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระเทพฯ ต่อการ อนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่บางกะเจ้านั้นมีด้วยกันหลายประการ เช่น การขอความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่ให้อนุรักษ์พื้นที่ สีเขียว การส่งเสริมเกษตรกรให้มีการปลูกพืชเกษตรและป่าไม้ แบบผสมผสาน การส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า ให้กลายเป็นพืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงนิเวศ (Eco Tourism) การเสริมสร้าง แหล่งเรียนรูใ้ นลักษณะการเป็นห้องเรียนธรรมชาติและห้องเรียน วิถชี มุ ชน การส่งเสริมการใช้ยานพาหนะไร้มลภาวะอย่างจักรยาน ในพื้นที่ ฯลฯ ภารกิจครั้งนี้ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก�ำลัง เดินหน้าไปได้สวยด้วยความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย สามารถร่วมผลักดัน โครงการวิจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลเชิงบวกให้กับพื้นที่บางกะเจ้า สร้าง ความส�ำคัญของพืน้ ทีส่ เี ขียวแห่งนี้ และยังสามารถรักษาวิถชี วี ติ และสถานภาพป่ากลางเมืองไว้ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ ทั้งหมด เกิดขึ้นจากการเล็งเห็นความส�ำคัญของธรรมชาติ การท�ำงาน เพื่อตอบแทนสังคม ตอบแทนประเทศชาติ จึงเป็นภารกิจ ทีค่ งความส�ำคัญล�ำดับต้น ๆ เสมอส�ำหรับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
GU
RU
SRU
“
รักษาวิถีชีวิตและ สถานภาพป่ากลางเมือง คือภารกิจส�ำคัญ ล�ำดับต้น ๆ ของ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
“
KNOWLEDGE OF THE LAND
31
การจัดทำ�ร่างประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับ เพื่อรองรับการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558
มีนาคม
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพ ลูกจ้างประจ�ำเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 (28 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารเลือกกรรมการ สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเภทผู้บริหาร ซึ่งเลือกจากผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองอธิการบดี พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงาน มหาวิทยาลัยทีเ่ ปลีย่ นสถานภาพมาจากลูกจ้างประจ�ำ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (28 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ เลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ซึ่งเลือกจากคณาจารย์ประจ�ำ พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยสิทธิและสวัสดิการของพนักงาน มหาวิทยาลัยที่เปลี่ยนสถานภาพมาจากลูกจ้างประจ�ำ พ.ศ. 2559 (28 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ สรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ สรรหานายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ เลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเภทผู้บริหาร ซึ่งเลือกจาก ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี ผู้อ�ำนวยการ หรือหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ วิทยาลัย สถาบัน หรือส�ำนัก พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม)
เมษายน
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการ เลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเภทผู้บริหาร ซึ่งเลือกจาก พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหาอธิการบดี พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยสภาพนักงาน พ.ศ. 2559 (19 เมษายน) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการก�ำหนดค่าบัญชีคา่ จ้างพนักงาน มหาวิทยาลัยประเภทผู้บริหารที่มาจากบุคคลภายนอกหรือเกษียณอายุ ก่อนครบวาระ พ.ศ. 2559 (19 เมษายน)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการก�ำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการแต่งตั้ง และถอดถอนผู้อ�ำนวยการและรองผู้อ�ำนวยการ พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการก�ำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการแต่งตั้ง และถอดถอนคณบดี และรองคณบดี พ.ศ. 2559 (31 มีนาคม)
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับโครงสร้างและการสรรหาผู้บริหาร 32 KU BULLETIN 2016 edition
ประกาศ ระเบียบ
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยคณะกรรมการอุทธรณ์ และร้องทุกข์ประจ�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการบริหารโครงการพิเศษ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559
- ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ ประจ�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พฤศจิกายน
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการอุทธรณ์ และการพิจารณาการอุทธรณ์ พ.ศ. 2559 - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการร้องทุกข์ และพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. 2559
ตุลาคม
- ประกาศหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ เลือ่ นค่าจ้างพนักงาน มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 (12 กันยายน) - ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนค่าจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 (12 กันยายน)
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยกรณีความผิดทีป่ รากฏ ชัดแจ้งส�ำหรับพนักงานและข้าราชการในสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการสอบสวนพิจารณาทางวินัย พ.ศ. 2559
กันยายน
- ข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (3 มิถุนายน) - ข้อบังคับว่าด้วยครุยประจ�ำต�ำแหน่งของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (3 มิถุนายน) - ข้อบังคับว่าด้วยว่าด้วยการให้ปริญญากิตติมศักดิ์ พ.ศ. 2559 (3 มิถุนายน)
มิถุนายน
- ข้ อ บั ง คั บ ว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม สถานศึ ก ษา หรื อ สถาบั น สมทบ ในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (3 มิถุนายน) - ข้อบังคับว่าด้วยการรับเข้าเป็นสถาบันสมทบในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (3 มิถุนายน) - ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการก�ำหนดเครือ่ งแต่งกายนิสติ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 (3 มิถุนายน)
พฤษภาคม
พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
- ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง ชื่อปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อ ส�ำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจ�ำต�ำแหน่ง พ.ศ. 2559 (10 พฤษภาคม)
ข้อบังคับ เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับการศึกษา KNOWLEDGE OF THE LAND
33
24/7 KU สุขครบครัน ทุกวัน ทุกเวลา ความสุขครบครันของเกษตรศาสตร์สามารถเติมความสุข ให้ทกุ คนได้เรือ่ ย ๆ เริม่ ตัง้ แต่ตนื่ นอนตอนเช้า หาของกินเติมพลัง สูก้ บั วันใหม่ สาย ๆ หน่อยก็ดมื่ ดำ�่ กับกาแฟแก้วโปรดทีร่ า้ นกาแฟ เจ้าประจ�ำ หรือนมเกษตรหลากหลายรสทีม่ ีให้เลือกสรรทัว่ ทัง้ มอ พอพระอาทิตย์สาดแสงตั้งฉากกับศีรษะก็ถึงเวลาข้าวเที่ยง ที่โรงอาหารและร้านอาหารใกล้ตัว ตกเย็นก็แฮงเอาท์ ณ สเปซ สุดโปรด หรือจะเดินสาย Healthy ออกก�ำลังกาย เรียกเหงื่อ ก็ไม่ผดิ กติกา ช่วงค�ำ่ ก็ถงึ เวลาฝากท้องมือ้ สุดท้ายกับสตรีตฟูด้ รสเลิศทีบ่ าร์ ใหม่และบาร์ ใหม่กว่า ก่อนจะจบวันด้วยการเอนกาย ลงบนฟูกแสนนุ่ม ณ บ้านแสนรัก ที่ KU Living Place และ KU Dormitory เรียกได้ว่าสุขครบรสทั้ง 7 วัน ๆ ละ 24 ชั่วโมง รอบรั้วเคยูแห่งนี้
8am - 6pm Learning is everywhere! เมื่อยามต้องการหาความรู้นอกเหนือจากในห้องเรียน ที่เกษตรฯ นี้เหมาะเหม็งเป็นที่สุด ไหนจะส�ำนักหอสมุดที่เอาใจเด็กเนิร์ด เด็กฮิป เด็กติดหนัง ให้บริการตัง้ แต่ยมื คืนหนังสือท�ำธีสสิ ไปจนถึงฉายหนังเด็ด ซีรี่ส์ดัง เรียกได้ว่าครบรสจบในที่เดียว ใครชอบสายพิพิธภัณฑ์ก็มี หอประวัติ มก. ที่ก�ำลังจะน�ำเทคโนโลยี AR/VR มาท�ำให้การเที่ยวเล่น หาความรู้ไม่น่าเบื่อ และพิพิธภัณฑ์อีกมากมายในหลากหลายคณะ เช่น พิพธิ ภัณฑ์สตั ววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ หรือใครทีจ่ ะหอบลูกจูงหลาน มาหาความรูใ้ นรัว้ นนทรี ก็มใี ห้เลือกทัง้ โรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์ และโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรียกได้ว่าเกษตร เรานี้สอนตั้งแต่อนุบาลยันด๊อกเตอร์เลยทีเดียว! (14-17)
6am - 8am Green places the best to relax! สวนสวย ๆ บรรยากาศดี ๆ ก็เป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่ควรค่าแก่การไป ทอดกายปล่อยใจให้เพลิดเพลิน และยิ่งในปัจจุบันที่หาอากาศบริสุทธิ์ ได้ยากยิ่งในเมืองหลวงแห่งนี้ ม.เกษตรฯ เลยจัดให้! ทั้ง สวนวรุณาวัน แถวส�ำนักพิพธิ ฯ สวนรวมพันธุไ์ ม้เกียรติประวัตไิ ทย ให้ได้เพลิดเพลิน กับพันธุ์ไม้แห่งความภาคภูมิใจและได้ถ่ายรูปสวย ๆ กับสะพานขาว สุดคลาสสิก หรือจะเป็นบริเวณ สระขจี ใกล้หอชายและอาคารระพี สาคริก แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของนิสิตเกษตร ที่จะถ่ายรูปก็ได้หรือจะให้ อาหารปลาก็เพลินอีกแบบ เลยไปอีกนิดที่ลานหน้าอาคารระพีฯ ที่ทุก ๆ หน้าหนาวจะเปลี่ยนสภาพเป็นลานชมพูพันธุ์ทิพย์ ชมพูสะพรั่ง จนเด็กเกษตรอดเรียกที่แห่งนี้ว่าเป็น ‘ม.เกษตรฯ วิทยาเขตเกียวโต’ ไม่ได้ (18-20) 34 KU BULLETIN 2016 edition
4pm - 9pm Sweat Time, Sweet Time ช่วงเวลาเรียกเหงื่อคือช่วงเวลาแห่งความสุข! การออกก�ำลังกายในรั้วมหาวิทยาลัยเลยมีให้เลือกมากมายตั้งแต่วิ่งเบิร์น แคลอรี่ที่ลู่วิ่งรอบ สนามอินทรีจันทรสถิตย์ หรือจะไปเข้าฟิตเนส แอร์เย็นฉ�่ำที่ ส�ำนักการกีฬา และไฮไลต์ที่พลาดไม่ได้ ส�ำหรับคนรักการออกก�ำลังกาย คือการไปแกว่งแขนจ�้ำน�้ำบริหารปอดที่ สระว่ายน�้ำจุฬาภรณวลัยลักษณ์ (21-22)
8pm - 6am Home Sweet Home บ้านแสนรักในรั้วมหา’ลัยมีด้วยกันหลายที่ ทั้งบริเวณหอในเก่า ณ ใจกลางมหา’ลัย ที่เดินทางไปมาสะดวก และหอพักนิสิต โฉมใหม่บริเวณซอยพหลโยธิน 45 นอกจากนีย้ งั มีคอนโดมิเนียม บุคลากรหน้าตากิ๊บเก๋ ในชื่อที่เก๋ยิ่งกว่าว่า KU Living Place I และ KU Living Place II ทีอ่ ยูใ่ กล้กบั Café Library เจ้าดัง เรียกได้วา่ บ้านแสนรักของคนเกษตรนัน้ ตอบโจทย์การใช้ชวี ติ ทุกวันทุกเวลา แบบสุด ๆ (1-2)
9am - 7pm Modern Space สถานที่ที่เข้าใจไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ในม.เกษตรฯ มีด้วยกัน หลายที่ ทั้ง KU Avenue ประตูงามฯ 3 ที่รวบรวมร้านอาหาร เด็ดๆ ปังๆ ไว้หลากหลาย หรือจะที่ อาคารจอดรถงามวงศ์วาน ทั้ง 2 อาคารมีร้านกาแฟดีๆ คาเฟ่โดนๆ ไว้ให้บริการ แต่ที่พลาด ไม่ได้คือที่ KU Ville สถานที่ตั้งของ Too Fast to Sleep @KU ที่อนาคตจะขยายเฟส 2 มาให้โดนใจกันเพิ่มเติม (10-13)
7am - 8pm Deliciousness! ความอร่อยหลากรสบวกกับความสดใหม่ของวัตถุดบิ มีให้เลือกสรร หลายร้ อ ยร้ า นทั่ ว มหา’ลั ย ทั้ ง กลางวั น และกลางคื น ที่ โรงอาหารกลาง ทั้ง 2 แห่ง หรือจะถูกใจเด็กแต่ละคณะกับ โรงอาหารประจ�ำคณะ ทีก่ ระจายตัวอยูแ่ ทบทุกคณะ และทีเด็ด ที่ ห้องอาหารสหโภชน์ ไอเท็มลับความอร่อยทีต่ กึ สถาบันค้นคว้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ใกล้ตึกสารนิเทศ 50 ปี (3-9)
Where to go!
ถนนงามวงศ์วาน emergency
hour
!
Well-Being University องค์ประกอบสุดท้ายที่ท�ำให้ม.เกษตรฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่สุขล้นเต็มเปี่ยมทุกวันทุกเวลา คือการดูแลสุขภาพของทั้งคนและสัตว์ เรามี สถานพยาบาล หรือ Infirmary of KU ทีบ่ ริการแก้ปญ ั หาสุขภาพของนิสติ และบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ดว้ ยใจ รวมไปถึง โรงพยาบาลสัตว์ฯ ที่เป็นหนึ่งในตัวเลือกล�ำดับต้น ๆ ยามที่สัตว์เลี้ยงแสนรักของทุกคนเจ็บป่วย (23-24)
1. KU Living Place I และ KU Living Place II 2. KU Dormitory 3. โรงอาหารกลาง 1 (บาร์ ใหม่) KU Night Foo (บาร์มืด) และ KU Mini Shop 4. โรงอาหารกลาง 2 KU Night Food (บาร์มืด) 5. โรงอาหารคณะวิศวกรรมศาสตร์ 6. โรงอาหารคณะวิทยาศาสตร์ 7. โรงอาหารคณะสัตวแพทยศาสตร์ 8. ร้านอาหารคณะเศรษฐศาสตร์ 9. ห้องอาหารสหโภชน์ 10. KU Avenue 11. อาคารจอดรถงามวงศ์วาน 1 และ 2 12. KU Ville (Too Fast To Sleep @ KU) 13. True Lab and Nearby Space 14. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 15. โรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์ 16. ส�ำนักหอสมุด มก. 17. หอประวัติ มก. 18. สวนรวมพันธุ์ ไม้เกียรติประวัติไทย 19. สวนวรุณาวัน 20. สระขจี 21. สนามอินทรีจันทรสถิตย์ 22. สระว่ายน�้ำจุฬาภรณวลัยลักษณ์ 23. สถานพยาบาล มก. 24. โรงพยาบาลสัตว์ มก. KNOWLEDGE OF THE LAND
35
11182_01,36_M6.pdf
2
2/12/59
19:20