เส้นทางจากสังขละบุรี ประเทศไทย ผ่านด่านพระเจดีย์สามองค์ สู่ประเทศพม่า
MYANMAR IN MEMORIES
หนังสือภาพที่เป็นเหมือนเพื่อนนักเดินทางในการเดินทางท่องเที่ยว ข้ามเขตแดน ณ ด่านเจดีย์สามองค์ ที่ไม่ใช่แค่เป็นการก้าวผ่านเขตกั้นพรมแดนเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นการก้าวข้ามในเรื่องของ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และภาษาในการสื่อสารอีกด้วย
Kulachok Thongdonmai
-4-
หากได้เดินทางมาถึงสังขละบุรีแล้ว คงไม่พลาดที่จะต้องเดินทางต่อเพื่อไปเที่ยวยัง “ด่านเจดีย์สามองค์” ที่อยู่ห่าง จากอำ�เภอสังขละบุรีเพียงแค่ 14 กิโลเมตร ซึ่งจุดนี้เป็นเขตสิ้นสุดชายแดนไทยฝั่งตะวันตก ซึ่งตั้งอยู่ที่ ต.หนองลู ที่นอกจากเราจะได้สักการะพระเจดีย์ 3 องค์แล้ว ที่นี่ยังเป็นแหล่งช้อปปิ้งซื้อสินค้า และของฝากจากประเทศพม่า ที่มาเปิดขายอยู่ที่ฝั่งประเทศไทยหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นพลอยสี ผ้าไหม หิน หยก พลอยพม่า ทับทิมแดง ไม้ กะสลัก แป้งทานาคา ที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ เราสามารถข้ามด่านไปซื้อสินค้าที่ตลาดพญาตองซู ณ ฝั่งประเทศ พม่าได้อย่างไม่ยากเย็น เพียงแค่จ่ายค่าผ่านทางคนละ 25 บาท และรถคันละ 50 บาทเท่านั้น เมื่อข้ามด่านมา จะพบว่า สภาพความเป็นอยู่ของฝั่งพม่ายังล้าหลังกว่าไทยมากนัก ถนนหนทางยังคงเป็นเส้นทางเลนเดียว เป็น หลุมเป็นบ่อ แต่ผู้คนกลับค่อนข้างคึกคัก ที่เมืองพญาตองซูแห่งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมะละแหม่ง ประเทศ พม่า ซึ่งเมืองนี้จะมีคนไทยเข้ามาทำ�ธุรกิจประเภทโรงงานมากมาย เนื่องจากราคาค่าแรงงานถูกมาก เพียงวันละ ประมาณ 70 บาทเท่านั้น ที่นี่ผู้คนส่วนใหญ่มักประกอบอาชีพ ทำ�สวน ทำ�นา ป่าไม้ โดยใช้เงินบาทั้งหมด ที่นี่ไม่มี แหล่งบันเทิง จะมีเพียงโต๊ะสนุ๊กเกอร์ที่เห็นอยู่ทั่วเมือง มีตลาดหลักคือ ตลาดพญาตองซู ตลาดแห่งนี้นอกจากจะ ขายสินค้าหลากหลายประเภทของประเทศพม่าแล้ว ถ้าสังเกตุให้ดีจะพบว่ามีสินค้าหลายอย่างที่เป็นสินค้าไทย โดย เฉพาะสินค้าอุปโภค จำ�พวกของใช้ในชีวิตประจำ�วัน ไม่ว่าจะเป็นสบู่ แป้ง ยาสีฟันฯลฯ คนไทยที่ข้ามฝั่งมาเที่ยว ตลาดพญาตองซู ส่วนใหญ่แล้วจะไม่พลาดที่จะไปเที่ยววัดเสาร้อยต้น ซึ่งเป็นวันที่มีโบสถ์สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่เสา ที่นำ�มาสร้างโบสถ์นั่นเอง และสิ่งสำ�คัญอีกอย่างสำ�หรับผู้ที่ได้มาเยือนตลาดแห่งนี้ ก็คือต้องหาอะไรอร่อยๆลงท้อง โดยเฉพาะอาหารพื้นบ้านที่หารับประทานได้ที่นี่เท่านั้น โดยเฉพาะร้านสาวพม่า ตาคม ผมยาว ที่ชวนให้สะดุดตา ซึ่งเธอกำ�ลังง่วนอยู่กับหม้อน้ำ�ซุปขนาดใหญ่ ด้านบนจะเป็นไม้เสียบเนื้อหมู และไส้หมู ดูน่าทานยิ่งนัก สอบถามได้ ความว่าเป็นอาหารยอดนิยม เรียกว่าหมูจุ่มทรงเครื่อง ซึ่งจานนราคาี้อยู่ที่ 10 บาท ช่างถูกดีแท้...ถ้าจะให้ดี ต้อง ลองเปิดกับข้าวเหมือนสาวๆพม่าสักครั้ง เพราะช่างดูน่าจะอร่อย และน่าจะได้รสชาติไปอีกแบบเลยทีเดียว...
-5-
พระเจดีย์สามองค์ 9
วัดเสาร้อยต้น 15
-6-
ตลาดพญาตองซู 37
-7-
-8-
พระเจดียส์ ามองค์ ตำ�บลพระเจดียส์ ามองค์แห่งนี้ ถูกเรียกว่าพระเจดียส์ ามองค์ มาแต่เมือ่ ใด นัน้ ไม่ปรากฏ แต่ตามทีป่ รากฏเป็นรูปพระเจดียอ์ ยูใ่ นขณะนีน้ น้ั มีเรือ่ งราว ว่าเมือ่ พ.ศ. ๒๔๓๒ พระศรีสวุ รรณคีรี (ทะเจียงโปรย เสตะพันธ์) นาย อำ�เภอสังขละบุรพี ร้อมด้วยราษฎร มีใจศรัทธา คิดจะสร้างพระเจดียใ์ ห้เป็น รูปงดงามขึ้น และเพื่อได้เป็นสิ่งถาวรต่อไป จึงได้บอกความประสงค์ ไปยังเนียงเจอ ชนชาติกะเหรีย่ ง ซึง่ เป็นหัวหน้าชาวบ้านอยูใ่ นเขตแดน พม่าทีต่ ดิ ต่อกับประเทศไทย เนียงเจอก็มคี วามเห็นชอบพ้องด้วย จึงได้ชว่ ย กันสร้างแต่ในปีนน้ั เป็นต้นมา พระเจดีย์แห่งนี้ตั้งเรียงกันอยู่สามองค์ จากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวัน ตก ซึ่งองค์พระเจดีย์ทางทิศตะวันตกจะอยูใ่ นเขตประเทศพม่า องค์ กลางจะอยูต่ รงสันเขตทีป่ นั แดนระหว่างไทยกับพม่า ส่วนองค์พระเจดีย์ ทางทิศตะวันออกอยูใ่ นเขตแดนประเทศไทย ซึง่ พระเจดียท์ ง้ั 3 องค์จะมี ระยะห่างกันองค์ละ ๘ เมตร ส่วนสูงเพียงคอระฆังประมาณเท่ากับส่วน กว้างของฐาน แต่ตกยอดนภศูลขึน้ ไปอีกราว ๔ เมตร เป็นรูปเจดียพ์ ม่า ๒ องค์ขา้ งๆ ซึง่ เล็กกว่าองค์กลางเล็กน้อย
-9-
- 10 -
- 11 -
- 12 -
- 13 -
- 14 -
วัอยูด่ห่างจากชายแดนไทย-พม่ เสาร้อยต้นา
ด่านเจดีย์สามองค์ ประมาณ 5 กม.
วัดเสาร้อยต้น อยู่ห่างจากชายแดนไทย-พม่า ณ ด่านเจดีย์สาม องค์ เพียงแค่ 5 กม. ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตหมู่บา้ นของประเทศพม่า ซึ่งเอกลักษณ์ของวัดเสาร้อนต้นแห่งนี้ คือ การสร้างวัดโดยใช้เสาใหญ่ จำ�นวนมาก และเป็นวัดที่โดดเด่นในเรื่องของสถาปัตยกรรมอันสวยงาม ซึ่งด้วยเอกลักษณ์เหล่านี้ที่ทำ�ให้นักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านเขตชายแดน ไทย-พม่า ณ ด่านเจดีย์สามองค์ พลาดไม่ได้ที่จะมาแวะมาเยี่ยมชม และสักการะบูชา รายละเอียด : วัดเสาร้อยต้น สร้างขึน้ โดยหลวงพ่ออุตตมะ ซึง่ ท่านเคย มาจำ�พรรษาอยูท่ ว่ี ดี แห่งนี้ เป็นวัดทีอ่ ยูใ่ นเขตของประเทศพม่า มีดว้ ยกัน ทัง้ หมด 3 ชัน้ ซึง่ วัดเสาร้อยต้นแห่งนีม้ เี อกลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นคือ การใช้เสา จากไม้แดงจำ�นวนกว่าร้อยต้นในสร้างวัด จึงเป็นทีม่ าของชือ่ วัด ซึง่ เป็น สถาปัตยกรรมสวยงาม
- 15 -
- 16 -
- 17 -
- 18 -
- 19 -
- 20 -
- 21 -
- 22 -
ณ วัดเสาร้อยต้นแห่งนี้ ยังเป็นทีป่ ระดิษฐานของรูปปัน้ องค์พระประทับนัง่ ในมืออุ้มบาตร พร้อมด้วยพระพักต์แจ่มใส ซึ่งเป็นอิริยาบถที่แปลกตา อันเป็นที่เคารพสักการะบูชาแห่งพุทธศาสนิกชน และนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทย และชาวพม่าอีกด้วย
- 23 -
- 24 -
- 25 -
- 26 -
- 27 -
- 28 -
สำ�หรับการเดินทางในครั้งนี้ เรายังได้สัมผัสกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ของชาวพม่า ซึ่งนับว่าคล้ายคลึงกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสังคม ไทยในต่ า งจั ง หวั ด อยู ่ บ ้ า ง เพราะเป็ น ลั ก ษณะความเป็ น อยู ่ แ บบ พึ่งพาอาศัยกัน เรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติ และจากการสังเกตุ พบว่า ผู้คนส่วนใหญ่ มักสร้างที่อยู่อาศัยด้วยไม้ และวัสดุอื่นๆที่ได้จาก ธรรมชาติ มีส่วนน้อยที่จะสร้างที่อยู่อาศัยด้วยปูน แต่ก็ยังคงมีไม้ มาเป็นส่วนประกอบเพิ่มเติม เพื่อเน้นให้กลมกลืนไปธรรมชาติ
- 29 -
- 30 -
- 31 -
- 32 -
- 33 -
- 34 -
- 35 -
- 36 -
ตลาดพญาตองซู หากได้มีโอกาสข้ามชายแดน ณ ด่านเจดีย์สามองค์มายังฝั่งพม่าแล้ว พลาดไม่ได้ทจ่ี ะแวะเยีย่ มชม รวมไปถึงจับจ่ายซือ้ ของที่ “ตลาดพญาตอง ซู” แห่งนี้ ไม่วา่ จะเป็นสินค้าพืน้ เมืองของพม่า และของกินแปลกๆทีห่ ากิน ได้ยาก อย่างเช่น หมูพะโล้เสียบไม้ หรือภาษาพม่าจะเรียกกัว้ ต่าดูท้ ู ทีฟ่ งั แค่ชอ่ื อาจจะรูส้ กึ ว่าไม่เห็นจะแปลกตรงไหน แต่ทแ่ี ปลกคือ นอกจากเนือ้ หมูพะโล้แล้ว เรายังสามารถกินได้ทกุ ส่วนของหมูเลยทีเดียว ไม่วา่ จะเป็น ปอด ไส้ เนือ้ หู ตับ มัน หรือจมูก ซึง่ เจ้าของร้านจะใช้กรรไกรคีบ แล้ว เสียบไม้วางไว้ในหม้อให้เลือก ซึง่ ดูแล้วท่าทางจะรสชาติอร่อย เนือ่ งจากมี ทัง้ คนพม่า และคนไทยแวะมากินกันอย่างไม่ขาดสาย สนนราคาอยูท่ ไ่ี ม้ละ 1 บาท กิน 10 ไม้แถม 1 ไม้ โดยจะกินกับซอสมะเขือเทศ หรือน้�ำ จิม้ สุกร้ี ส ชาติเปรีย้ วๆ ก็อร่อยดี เวลาไปกินจะมีถว้ ย 1 ใบ เอาไว้ให้ใส่น�ำ้ พะโล้ไว้ซด ร้อนๆ แต่นอกเหนือไปจากสินค้าพืน้ เมืองทีว่ างขายทีต่ ลาดพญาตองซูแห่ง นีแ้ ล้ว เรายังได้เห็นสินค้าทีค่ นุ้ หน้าคุน้ ตาของไทย วางขายอยูท่ ต่ี ลาดแห่งนี้ อีกด้วย
- 37 -
- 38 -
- 39 -
- 40 -
- 41 -
- 42 -
- 43 -
- 44 -
- 45 -
- 46 -
- 47 -
- 50 -