2
PHOTO LOCAL
Traveler’s Destination
Photographer: Kunanon Chumsuk :@Sangklaburi
3
Photographer
By : Kunanon Chumsuk ID 5121304835
4
5
คำ�ขวัญอำ�เภอสังขละบุรี แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์ นทีสามประสบ มรดกทุ่งใหญ่ ไทย กะเหรี่ยง รามัญ สารพันธรรมชาติ อภิวาท หลวงพ่อุตตมะ เมืองสังขละชายแดน สุดแคว้นตะวันตก
CONTENTS 4
16
แผนที่อาณาเขตอำ�เภอสังขละบุรี (6) การเดินทาง กรุงเทพฯ-อ.สังขละบุรี (7)
9 หลงเสน่ห์ไปกับสะพานมอญ (8) ท่องเที่ยวเรียนรู้ไปกับ วิถีชีวิตชาวอำ�เภอสังขละบุรี (17)
23
15
สีสันยามเช้าวิถีชีวิตเกับด็กน้อยเจ้าถิ่น (24) สังคมชนบทก็เริ่มเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัตน์
18
5
ท่องเที่ยวทำ�บุญ (32) เรียนรุ้คุณค่าร่วมอนุรักษ์สุ่รุ่นต่อไป
32 ประวัติศาสตร์ ที่หาชมได้ยาก (37) Unseen in Thailand เมืองบาดาร
34 51
หลงเสน่ห์ ความงดงามยามเย็น (43) สายน้ำ�แห่งวิถีชีวิต ด่านเจดีย์สามองค์ (52) สุดเขตแดนประเทศไทย
37 52 44
6
การเดินทาง สังขละบุรี
สังขละบุรีเป็นเมืองเล็กที่มีความสมบูรณ์ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของ3 เชื้อชาติ ทั้งไทย มอญ และกระเหรี่ยง ซึ่งมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมที่น่าสนใจมาที่นี่อาจจะไม่พบความศิวิไลซ์เหมือนเมือง อื่น แต่ถ้าได้มาเยือนแล้วขอบอกเลยว่าคุณจะได้พบกับความสุขชนิดที่เรียกได้ว่า “สุขจริงๆ”จากที่นี่กลับไป แน่นอน วิธีการเดินทาง รถยนต์ส่วนตัว จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม)ผ่าน จ.นครปฐม จากนั้นขับไป ตามทางหลวงหมายเลข 323 ถึงทางแยกก่อนเข้าตัว อ.ทองผาภูมิให้เลี้ยวขวา แล้วขับรถต่อไปอีก 74 ก.ม.ถึง อ.สังขละบุรี การขับรถไป อ.สังขละบุรี ผู้ขับจะต้องตรวจสอบสภาพรถให้ดีก่อนการเดินทางและควรขับรถ ด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเนื่องจากเส้นทางที่คดเคี้ยวและลาดชันโดยเฉพาะช่วงอ.ทองผาภูมิ มุ่งหน้า อ.สังขละบุรี รถบ.ข.ส สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต) เส้นทางกรุงเทพฯ-ด่านเจดีย์สามองค์ ของบริษัทขนส่งจำ�กัด เดินทางจากกรุงเทพฯ-อ.สังขละบุรีหรือนั่งจากสถานีขนส่งสายใต้ โดยสามารถนั่งรถปรับอากาศสายกรุงเทพฯกาญจนบุรี แล้วไปลงที่สถานีขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี จากนั้นนั่งรถสายกาญจนบุรี -ทองผาภูมิ - สังขละบุรี ใช้เวลาในการเดินทางจากตัวเมืองถึงสังขละบุรี ประมาณ 3-4 ชั่วโมงเช็คตารางเดินรถได้ www.transport. co.th. รถไฟ ขึ้นจากสถานีหัวลำ�โพง ปลายทางคือ สถานีนํ้าตก จากนั้นต้องนั่งรถต่อไปยัง สังขละบุรีโดยรถ โดยสารภายในจังหวัดกาญจนบุรีสอบถามรายละเอียดรถไฟเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.railway.co.th
7
8
สะพานมอญ
“สะพานไม้อุตตมานุสรณ์” หรือที่ เรียกกันว่า “สะพานมอญ”เป็นสะพานไม้ที่ยาวที่สุดในประเทศ มีความยาวประมาณ ๑ กม. หลวงพ่ออุตตมะเป็นผู้ดำ�เนินการสร้าง โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้คนไทย กะเหรี่ยงและมอญได สัญจร ไปมา หาสู่กันได้ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ของคนทั้งสามกลุ่ม
9
10
11
ชื่นชมกับวิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้าน อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี
12
รื่นรมย์ชมสะพานมอญ รับแสงสีทองของ พระอาทิตย์ขึ้นในยามเช้า
13
14
15
16
เพลิดเพลินกับการ ชมวิถีชีวิตชาวมอญ
17
ชื่นชมวิถีชีวิตชาวมอญ
ปัจจุบันชาวบ้านส่วนมาก มีสถานะเป็นผู้พลัดถิ่นสัญชาติ พม่าซึ่งไม่มี บัตรประชาชนไทย ชาวมอญที่นี่มีวิถีชีวิตที่ เรียบง่าย ส่วนใหญ่ เลี้ยงชีพด้วยเกษตรกรรม เช่น ปลูกพืช และทำ� ประมง ชายฝั่ง
18
19
20
21
บีนทึกเรื่องราวผ่านภาพถ่ายวิถีชีวิตของชาวไทยมอญ อ. สังขละบุรี
22
รูปแบบการใช้ชีวิตในปัจจุบันความเป็นสังคมชนบทที่ สวยงามก็เริ่มเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัตน์
23
24
สีสันยามเช้ากับวิถีชีวิตเด็กน้อยเจ้าถิ่น
สะพานไม้ยามเช้า และเด็กน้อยเจ้าถิ่นจะมาคอยรถไปโรงเรียนและหาอาหารกินก่อนไปเรียน พร้อมกับรอยยิ้มสยามเพื่อมาต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือนสะพานไม้มอญแห่งนี้
25
26
27
สังขละบุรีเป็นเมืองขนาดเล็กมีผู้คนที่อาศัยอยู่
ในเมืองแห่งนี้ส่วนใหญ่ผสมผสานจากคนต่างเผ่าพันธุ์
28
ท่องเที่ยวสัมผัสเรียนรู้วิถีชีวิตชาวมอญดังเดิม
29
เอกลักษณ์ของคนสังขละบุรี
ผู้ชายจะใส่เสื้อและโสร่ง ส่วนผู้หญิงจะใส่เสื้อกับผ้านุ่ง และมีผ้าคาดบ่า นอกจากนี้ แล้วจะเห็นชาวมอญประแป้งขาวใส่ผ้านุ่งเดินเทินของไว้บนศีรษะข้ามผ่านสะพาน ไป-มาอย่างคึกคัก
30
31
32
ท่องเที่ยวทำ�บุญ รุ้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์ สุ่รุ่นต่อไป
33
หลงเสน่ห์ไปกับวิถีชาวมอญตื่นแต่เช้ามาเตรียมข้าวเจ้าเพื่อใส่บาตร ในชุดเต็มยศ ด้วยพลังศรัทธา ในพุธทศาสนา
ชุมชนชาวมอญเปี่ยมล้น ไป
34
มาตักบาตรทำ�บุญ ร่วมกันกับชาวไทยมอญตอนเช้าๆบริเวณสะพานไม้มอญ อ.สังขละบุรี
35
36
37
ย้อนรอยประวัติศาสตร์ที่หาชมใด้ยาก
เมื่อมาถึงสังขละฯ เราเริ่มต้นด้วยการล่องเรือชม “เมืองบาดาล” ที่วัดวังก์วิเวการาม เมืองบาดาลแห่งนี้ ตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียก ว่า“สามประสบ” ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำ�สามสายคือ แม่น้ำ�ซองกาเลีย บีคลี่ และรันตี ไหลมาบรรจบกันจนเป็นแม่น้ำ�แควน้อย ในสมัย ก่อนเมืองบาดาลเคยเป็นชุมชนชาวมอญ แต่ปัจจุบัหลือเพียงซากของวัดวังก์วิเวการามเดิมหรือ “วัดเก่า” หรือ “วัดใต้น้ำ�” อันเป็น หนึ่งในตำ�นานของ “หลวงพ่ออุตตมะ”
38
Unseen in Thailand เมืองบาดาร ทุกวันนี้ยังคงเหลือซากอารยธรรมของวัดวังก์วิเวการามเดิมให้เห็น ซึ่งจะถูกน้ำ�ท่วมจน
เหลือแต่ยอดหอระฆังในฤดูน้ำ�หลากและจะโผล่ให้ได้ยลโฉมกันเฉพาะในช่วงหน้าแล้งเท่านั้น
39
40
41
42
หลงเสน่ห์ ความงดงามยามเย็น
43
สายน้ำ�แห่งวิถีชีวิต
แม่น้ำ�สามประสบเป็นสายน้ำ�สายใยแห่งความผูกพันธ์ ที่หล่อเลี้ยงชาว อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี
44
เ พ ลิ ด เ พ ลิ น กั บ ก า ร เ รี ย น รู้ คุ ณ ค่ า ร่ ว ม อ นุ รั ก ษ์ เมืองแห่ง สายน้ำ� ขุนเขา และ ผืนป่าอันอุดม ส ม บู ร ณ ที่ ค อ ย นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ม า สั ม ผั ส
45
46
47
สีสันของสายน้ำ�
สามประสบ คือบริเวณที่ลำ�น้ำ�สามสาย ไหลมาบรรจบกันเป็นของ แม่น้ำ�แคว
48
49
50
51
52
เพลิดเพลินกับ ด่านเจดีย์สามองค์ ด่านเจดีย์สามองค์ สุดเขตแดนประเทศไทย ชายแดน ไทย พม่า
53
บันทึกเก็บภาพความประทับใจ ด่านเจดีย์สามองค์สุดเขตแดนประเทศไทย
54
55
56
57
58
เดินชมสินค้าตามชายแดน ไทย-พม่า
เมื่ อ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเดิ น ชมกั บ ร้ า นค้ า ในด่ า นเจดี ย์ ส ามองค์ เราจะเจอ แม่ ชี สี ช มพู ที่ ถื อ ร่ ม และขั น ทองใบใหญ่ ม าบิ ณ ฑบาตรกั บ ผู้ มี จิ ต ศัรธาจึ่งทำ�ให้ต้องหยุดชักภาพเป็นที่ระลึกทุกคนที่พบเจอ
59
60
Travel Destination @ Sangklaburi
บันทึกภาพวิถีชีวิต
ชาวพม่ากับร้านค้าที่สะดุดตาสินค้ายอดฮิตติดลมบน มีขายทุกทึ่ ทุกเวลา ก็คือหมากพลู พร้อมอุปกรณ์ เสริม ซื้อปุ๊บเข้าปากเคี้ยวได้ทันที เป็นวัฒนธรรมที่ นิยมปฏิบัติ กันมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน
61
62
63
Local Lifestyle & Culture @ Sangklaburi