รายงานฝึกงาน

Page 1

การตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก

โดย นางสาวเมณา เส็ งกิ่ง

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต(การบัญชีบริ หาร) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา พ.ศ. 2555



วันที่ 30 กรกฎาคม 2555

เรื่ อง

ขอส่ งรายงานฝึ กงาน

เรี ยน

อาจารย์ที่ปรึ กษา สาขาการบัญชีบริ หาร อาจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ ตามที่ขา้ พเจ้า นางสาวเมณา เส็ งกิ่ง นิสิตสาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ได้เข้ารับการฝึ กงาน ระหว่างวันที่ วันที่ 19 มีนาคม ถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ในตาแหน่ง ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี ณ บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษี อากร จากัด

จังหวัด กรุ งเทพมหานคร

และได้รับมอบหมายให้ศึกษาและทารายงานเรื่ อง การ

ตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก นั้น บัดนี้ การฝึ กงานดังกล่าวได้สิ้นสุ ดลง ข้าพเจ้าขอส่ งรายงานดังกล่าวมาพร้อมกันนี้ จานวน 1 เล่ม เพื่อขอรับคาปรึ กษาต่อไป จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นางสาวเมณา เส็ งกิ่ง)


บช.1

ชื่อ น.ส. เมณา

นามสกุล เส็งกิ่ง

ชื่ อเล่ น กวาง

E-mail: hero_cawaii@hotmail.com โทรศัพท์ : 087-7419899 สถานที่ประกอบการ: บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด ตาแหน่ งงาน: ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี ข้ อคิดหรือข้ อแนะนาสาหรับน้ องๆ การฝึ กงานที่นี่ ได้ประสบการณ์เยอะมากๆ พี่ๆที่ทางานดีมากๆทุกๆคน คอยบอกคอยสอน ตอนแรกที่จะ ไปก็กงั วลว่าพี่ๆเค้าจะดุไหม แต่พี่ๆใจดีทุกคน ถึงแม้ว่างานจะเยอะ กลับดึกบ้าง แต่ได้ความรู ้มากมาย ได้ ลงมือทา ตรวจเกือบทุกวงจร แต่ที่นี่ช่วงเดือนพ.ค.จะไม่ได้หยุดเลย เพราะงานจะเยอะมาก ได้ ค่าแรงวันละ 150 บาท/วัน เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ

 ไม่ เหมาะสมให้ น้องฝึ กงานต่ อ



(1)

กิตติกรรมประกาศ การฝึ กงานในช่ วงปิ ดภาคเรี ยน ระหว่างวันที่ 19 มีนาคม ถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ตาม หลักสู ตรการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา เป็ น การฝึ กงานในสถานประกอบการจริ ง ถือเป็ นการเสริ มสร้างองค์ความรู ้ นาความรู ้ที่ได้ศึกษาเล่าเรี ยน มาปรั บ ใช้ใ นการท างาน ได้ฝึกลงมื อ ปฏิ บตั ิ จ ริ ง ได้ท ราบขั้นตอนการสอบบัญ ชี ก่ อ นอื่ น ต้อ ง ขอขอบคุณ บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด ผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริ หารองค์กร ที่ ให้โอกาสในการฝึ กปฏิบตั ิงานที่บริ ษทั นี้ ตามข้อบังคับหลักสู ตรของทางมหาวิทยาลัย ขอบคุณพี่ๆ ผูช้ ่วยสอบบัญชี ที่ให้การดูแล ฝึ กฝน ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องการทางาน หรื อการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ทาให้ สามารถเข้าใจงานต่างๆได้ง่าย เป็ นประโยชน์อย่างมากในการนาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ ปฏิบตั ิใช้ ต่อไปในอนาคต จากการฝึ กปฏิ บตั ิ งานและการศึ กษาค้นคว้า ทาให้ทราบเกี่ ยวกับขั้นตอนการตรวจสอบ บัญชี ในวงจรต่างๆของบริ ษทั นั้นๆอีกทั้งในขณะที่ได้ศึกษา ทางทฤษฎีวิชาการสอบบัญชี ในภาค เรี ยนที่ผา่ นมายังไม่มีความชัดเจนและไม่มีความเข้าใจใน กระบวนการตรวจสอบบัญชี มากนัก แต่ เมื่อได้มาฝึ กหัดงาน จึงได้ปฏิบตั ิงานจริ ง ซึ่ งทาให้ทราบถึ ง ขั้นตอนกระบวนการปฏิ บตั ิงานสอบ บัญชี โดยเฉพาะเรื่ องรายได้จากการส่ งออก มีสิ่งที่สาคัญที่สุดคือการรับรู้รายได้ การแปลงอัตราค่า เงิ นตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม การเข้าทาการสอบบัญชี ในบริ ษทั ลูกค้าก็แตกต่างกันในแต่ละ บริ ษทั แล้วแต่ สภาพแวดล้อมการดาเนินงาน รายงานฉบับ นี้ สาเร็ จขึ้ นได้ก็ด้วยปั จจัย หลายประการ ขอขอบคุ ณ คุ ณแม่ ที่ให้การ สนั บ สนุ น การศึ ก ษา ขอขอบคุ ณ คุ ณ ครู อาจารย์ ที่ ป ระสิ ทธิ ป ระสาทวิ ช าให้ ขอขอบคุ ณ แหล่ ง ข้อ มู ล ดี ๆ ได้แ ก่ ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตศรี ร าชา และที่ ส าคัญ ขอขอบคุณอาจารย์ประจาสาขา การบัญชี บริ หารทุกท่าน ผูป้ ลูกจิตสานึ ก ในเรื่ องความซื่ อสัตย์ต่อ วิชาชีพสอบบัญชี จนกระทัง่ ทาให้ รายงานฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เมณา เส็ งกิ่ง 30 มิถุนายน 2555


(2)

คานา รายงานฉบับนี้ เป็ นหนึ่ งในส่ วนประกอบของการฝึ กงานภาคฤดู ร้อน ประจาปี การศึ กษา 2554 ซึ่ ง ผูจ้ ดั ท าได้จดั ท ารายงานฉบับ นี้ โดยมี วตั ถุ ป ระสงค์เพื่ อต้องการให้ก ารฝึ กงานบรรลุ เป้ าหมายที่แท้จริ ง เพื่อศึกษาลักษณะการดาเนินงานในธุ รกิจสอบบัญชี ของบริ ษทั ซึ่ งเป็ นโอกาสที่ดี ที่ผจู ้ ดั ทาได้เข้ารับการฝึ กงานในบริ ษทั สอบบัญชี และมีความต้องการที่จะถ่ายทอด เผยแพร่ ความรู ้ ความเข้าใจที่ ได้รับ จากการฝึ กงานในครั้ งนี้ ให้นิสิ ต นัก ศึ ก ษา หรื อผูท้ ี่ส นใจได้ท าการศึก ษาหา ความรู ้ เกี่ยวกับขั้นตอนการสอบบัญชี รายได้จากการส่ งออก ณ วันสิ้ นงวด ซึ่ งในรายงานฉบับนี้ จะ กล่ าวถึ ง ความหมายรายได้ วัตถุ ประสงค์ของการตรวจสอบรายได้ วิธีการปฏิบตั ิงานสอบบัญชี รายได้จากการส่ งออก เป็ นต้น อีกทั้งยังกล่าวถึ งกรณี ศึกษาลักษณะการปฏิบตั ิงานสอบบัญชีดา้ น รายได้จากการส่ งออกที่ถูกต้องอีกด้วย ผูจ้ ดั ทารายงานหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็ นประโยชน์ในด้านวิชาชี พให้กบั ผูท้ ี่ ได้ศึกษารายงานฉบับนี้ และได้นาความรู ้ ที่ได้รับจากรายงานไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้ อย่างถูกต้อง หากเกิดข้อผิดพลาดและบกพร่ องประการใดในรายงานฉบับนี้ ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับผิด ไว้แต่เพียงผูเ้ ดี ยว และยินดี รับฟั งข้อคิดเห็ นและข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อปรับปรุ งแก้ไขในโอกาส ต่อไป

ผูจ้ ดั ทา นางสาวเมณา เส็ งกิ่ง 30 มิถุนายน 2555


(3)

สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ

(1)

คานา

(2)

สารบัญ

(3)

สารบัญแผนภูมิและตาราง

(5)

สารบัญภาพ

(6)

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน

1

วัตถุประสงค์หลักของการฝึ กงาน

1

ประโยชน์ที่คาดกว่าจะได้รับจาการฝึ กงาน

2

บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชี และภาษีอากร จากัด สถานที่ต้ งั

3

ประวัติองค์การ

3

ผังการจัดองค์การและการบริ หารจัดการ

4

ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั

5

กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั

5

งานที่ได้รับมอบหมาย

6

ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กงาน

13

ข้อเสนอแนะ

13

ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา

13


(4)

สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 3 การตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก วัตถุประสงค์ของการศึกษา

14

ทฤษฎีเกี่ยวกับรายได้จากการส่ งออก

14

วิธีการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก

22

ข้อค้นพบจากการปฏิบตั ิงานจริ งเกี่ยวกับรายได้จากการส่ งออก

25

ผลที่ได้รับจากการปฏิบตั ิงานจริ ง

34

บทที่ 4 บทสรุ ป ปัญหา และข้อเสนอแนะ บทสรุ ป

35

ปัญหาและข้อเสนอแนะ

35

บรรณานุกรม

37


(5)

สารบัญแผนภูมแิ ละตาราง หน้ า แผนภูมิและตารางที่ 1. แผนภูมิที่ 1 ผังองค์การ

11

2. ตารางที่ 1 กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ฯ

12

3. ตารางที่ 2 งานที่ได้รับมอบหมาย

13

4. ตารางที่ 3 รายละเอียดการแบ่งหมวดต่างของบริ ษทั ฯ

17


(6)

สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 1. กระดาษทาการปรับปรุ งรายการ

19

2. ความรู ้เพิม่ เติมเกี่ยวกับกฎหมาย/ระเบียบและขั้นตอนการส่ งออก

28

3. ใบบันทึกรายการขาย 1

32

4. ใบ Invoice

33

5. Air WayBill

34

6. ใบขนสิ นค้าขาออก

35

7. ใบบันทึกรายการขาย 2

37

8. ใบแสดงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของ BOT

38

9. ใบบันทึกรายการขาย 3

39

10. บัญชีแยกประเภทขายสิ นค้า

40


บทที1่ บทนา ความสาคัญของการฝึ กงาน ปั จจุบนั ในแต่ละปี บัณฑิตที่จบการศึกษามีจานวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี แนวโน้มที่บณ ั ฑิต จบใหม่ที่จะตกงานมีจานวนเพิ่มขึ้น เพราะต้นทุนทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น ผูป้ ระกอบการหลายราย จึงลดอัตราการจ้างบุคคลากร และคัดเลือกบุคคลากรที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม คุณสมบัติที่ เหมาะสมนั้นไม่ได้หมายถึงการมีระดับผลการเรี ยนที่ดีเท่านั้นยังรวมถึงประสบการณ์ ความ เชี่ยวชาญของพนักงานในด้านนั้นๆอีกด้วย ดังนั้นประสบการณ์จึงมีความสาคัญอย่างมากต่อการ คัดเลือกบุคลากรขององค์กร ผูท้ ี่มีประสบการณ์ในการทางานก็ยอ่ มมีขอ้ ได้เปรี ยบกว่าผูท้ ี่ไม่เคยมี ประสบการณ์เลย จึงมักมีคากล่าวที่วา่ คนที่เรี ยนเก่ง ไม่ใช่วา่ จะประสบความสาเร็ จในชีวติ เสมอไป ซึ่งในปัจจุบนั มีองค์กรมากมายเปิ ดโอกาสให้กบั นิสิต นักศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาหาความรู้ในการ ทางาน ฉะนั้นการฝึ กงานจึงมีความสาคัญอย่างมาก เพราะการฝึ กงานเป็ นการฝึ กฝนตนเอง ฝึ กความ รับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สั่งสมความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์และเทคนิคต่างๆ ซึ่ งบางครั้งไม่สามารถเรี ยนรู ้ได้ในชั้นเรี ยน ทั้งยังเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้กบั ตนเองในสังคมที่มีการ แข่งขันสู งเช่นนี้ อีกด้วย วัตถุประสงค์ หลักของการฝึ กงาน 1. 2. 3. 4.

เพื่อทดลองใช้วชิ าความรู ้ที่ศึกษาเล่าเรี ยนปรับใช้ในการประกอบวิชาชีพ เพื่อให้นิสิตมีโอกาสการรู้และได้รับประสบการณ์ชีวิตการทางานที่แท้จริ ง เพื่อให้นิสิตได้เตรี ยมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางานจริ ง เพื่อให้นิสิตนาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ กงานมาปรับประยุกต์ใช้ในการทางานใน อนาคต 5. เพื่อฝึ กการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและการอยูร่ ่ วมกันแบบสังคมการทางาน 6. เพื่อทดสอบตัวเองว่าชอบและเหมาะสมกับวิชาชีพนั้นหรื อไม่


2 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับจาการฝึ กงาน 1. 2. 3. 4. 5.

ได้มีความรู้และประสบการณ์จากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนไปประกอบวิชาชีพจริ ง ได้ฝึกการแก้ไขปั ญหาที่อาจพบเจอตอนทางาน ได้ฝึกทางานกับผูอ้ ื่นที่เป็ นผูใ้ หญ่กว่า การวางตัว การอยูร่ ่ วมกันแบบสังคมการทางาน


บทที่ 2 การฝึ กงาน ณ บริษทั ทีป่ รึกษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด สถานทีต่ ้งั บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชี และภาษีอากร จากัด จดทะเบียนเป็ นนิ ติบุคคลประเภท “บริ ษทั จากัด” เลขที่ทะเบียนนิ ติบุคคล 0105548005145 จัดตั้งเมื่ อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2548 บริ ษ ัท ตั้ง อยู่เ ลขที่ 45/67 ซอยรามค าแหง 58/3 ถนนรามค าแหง แขวงหัว หมาก เขตบางกะปิ กรุ งเทพมหานคร 10240 เบอร์โทรศัพท์ : 086-4451665 E-Mail : AandT2544@hotmail.com ประวัติ บริษัท ทีป่ รึกษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด คุ ณพรชาตรี อรุ ณโชคถาวร ได้ร่วมก่ อตั้งบริ ษทั ตรวจสอบบัญชี ในนามของ“ บริ ษทั ที่ ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด ” ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท มีกรรมการบริ ษทั อยู่ 1 คน คือ นาย พรชาตรี อรุ ณโชคถาวร สานักงานอยูบ่ ริ เวณถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขต บางกะปิ กรุ ง เทพมหานคร โดยให้ บ ริ การรั บ ตรวจสอบบัญ ชี แ ละเป็ นที ่ ป รึ กษาในการ บริ หารงานให้ ก ับ บริ ษัท และห้างร้ านทัว่ ไป ซึ่ งบริ ษทั มีทีมงานตรวจสอบบัญชี ที่มีผตู ้ รวจสอบ บัญชีที่ผา่ นประสบการณ์ในการทางานมาเป็ นระยะเวลาไม่ต่ากว่า 10 ปี ซึ่ งได้เคยตรวจสอบบริ ษทั ฯ ชั้นนา ดังนี้     

บริ ษทั ฮิตาชิเซลส์ จากัด กลุ่มบริ ษทั ในเครื อ สหยูเนียน จากัด (มหาชน) กลุ่มบริ ษทั ในเครื อ บ้านปู จากัด (มหาชน) บริ ษทั มติชน จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั SCASSETS จากัด ในเครื อบริ ษทั ชินวัตร


4

ผังการจักองค์ การและการบริหารจัดการ

นายพรชาตรี อรุ ณโชคถาวร ( ตาแหน่ง ผูส้ อบบัญชีรับอนุ ญาต )

น.ส.ภัทรผล เกื้อหนุน

น.ส.จุฬาลักษณ์ ปิ ยภัณฑ์

น.ส.กณิ ศนันท์ มิทะลา

น.ส.อิศราภรณ์ ลาภวุฒิรัตน์

( ตาแหน่ง

( ตาแหน่ง

( ตาแหน่ง

( ตาแหน่ง

ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี )

ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี )

ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี )

ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี )

แผนภูมิที่ 1 ผังองค์การ


5 คาอธิบายลักษณะงาน ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาต ออกรายงานการสอบบัญชี ให้คาแนะนาในเรื่ องเอกสารที่ประกอบรายการลงบัญชีที่ ถูกต้อง เสนอข้อสังเกตที่ได้จากการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะในระบบการควบคุมภายใน ถ้ามี เช่น ระบบการรับ-จ่ายเงิน , ลูกหนี้การค้า , ต้นทุนขาย เพื่อให้บริ ษทั ฯ รับทราบและมีการปรับปรุ ง แก้ไข ผูช้ ่วยผูส้ อบบัญชี ทาหน้าที่ตรวจสอบงบทดลองวงจรรายได้ วงจรค่าใช้จ่าย วงจรสิ นทรัพย์ วงจรหนี้สิน และ วงจรส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ โดยตรวจจากเอกสารหลักฐานกับกระดาษทาการ และจัดทางบการเงินสิ้ นปี จากนั้นส่ งงบการเงินให้ผสู ้ อบบัญชีรับอนุ ญาตตรวจสอบและแสดงความเห็น ผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ บริ การหลักขององค์การ คือ ให้บริ การตรวจสอบบัญชี แก่ ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด, บริ ษทั จากัด ภายในจังหวัด ชลบุรี, ระยอง, อุตรดิตถ์ และกรุ งเทพฯ อีกทั้งยังให้บริ การด้านการวางระบบบัญชี และ ที่ปรึ กษาด้านภาษีอากร กลุ่มลูกค้ าของบริษัท ตัวอย่างลูกค้าของบริ ษทั ลาดับ ลักษณะของธุ รกิจ 1 2 3 4

กลุ่มสุ รา กลุ่มบริ ษทั รถยนต์ กลุ่มธุ รกิจโรงแรม กลุ่มบริ ษทั น้ ามัน

ชื่อบริ ษทั บริ ษทั ชลรุ่ งเรื องสโตร์ (บางแสน) จากัด บริ ษทั โตโยต้า พัทยา (1998) จากัด บริ ษทั โกลเด้น บีช โฮเต็ล จากัด บริ ษทั จันทร์ เพ็ญปิ โตรเลี่ยม จากัด บริ ษทั พัชรพลปิ โตรเลี่ยม จากัด บริ ษทั เลิศวรกมลปิ โตรเลี่ยม จากัด


6 5 6 7 8 9

กลุ่มบริ ษทั ผลิตอาหารสัตว์ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร กลุ่มผลิตน้ ามันปาล์ม กลุ่มผลิตเม็ดพลาสติก

บริ ษทั ลินโก้ (ประเทศไทย) จากัด บริ ษทั เฮสโก ฟู้ ด อินดัสทรี่ จากัด บริ ษทั สุ ขสมบรู ณ์น้ ามันปาล์ม จากัด บริ ษทั ไทยเอฟเวอร์ พลาสติก จากัด บริ ษทั เอเวอร์ เวลธ์ พลาสติก (ประเทศไทย) จากัด กลุ่มอสังหาริ มทรัพย์ บริ ษทั อีสเทิร์นแลนด์ซิต้ ี มาบไผ่ จากัด บริ ษทั แพล้นคอนกรี ตถาวร จากัด บริ ษทั อีส แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด บริ ษทั ซี เค ดีเวลลอปเม้นท์ จากัด ตารางที่ 1 กลุ่มลูกค้าของบริ ษทั ฯ

งานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย

ลาดับ ที่ 1. 2.

3.

4.

การฝึ กปฏิบัติ

คาอธิบายวิธีการฝึ กงาน

ในขั้นแรกนิสิตฝึ กงานทุกคนจะได้รับ มอบหมายงานจากพี่ผชู ้ ่วยสอบบัญชี ตรวจสอบเอกสารที่ ตรวจสอบเอกสารที่ได้มาว่าครบถ้วน ได้รับมาจากลูกค้า ถูกต้องตามที่ลูกค้าหรื อผูท้ าบัญชีแจ้ง หรื อผูท้ าบัญชี มาหรื อได้ ถ้าไม่ครบให้ทาการทักท้วง ก่อนทาการตรวจสอบ ตรวจสอบยอดยกมา ตรวจสอบยอดยกมาจากรายงานผูส้ อบ บัญชี (Draft)ปี ก่อนเปรี ยบเทียบกับกับ งบทดลองปี ปัจจุบนั ของสิ นทรัพย์ หนี้สิน และส่ วนของเจ้าของ ตรวจสอบวงจร 1.เงินสดและเงินฝาก ต่างๆ จัดทากระดาษ ตรวจสอบเงินฝากกับ Confirm Bank

หมายเหตุ คุณประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ หรือสิ่ งทีไ่ ด้ เรี ยนรู้ เพิม่ เติมจาก การศึกษาในชั้นเรียน

รับมอบหมายงาน

ต้องตรวจสอบยอด ยกมาทุกครั้ง เพื่อ ความต่อเนื่ องของงบ การเงิน - การตรวจเงินสด และเงินฝาก ที่ฝึกงาน


7 ทาการ (แยกตาม หมวดบัญชีการ ตรวจสอบ) (ตารางที่ 2)

และStatement Bank ณ วันสิ้ นงวดบัญชี ถ้าเป็ นเงินเบิกเกินบัญชี ต้องตรวจคู่กบั สัญญาเงินเบิกเกินบัญชี ว่าเงินเบิกเกิน ที่แสดงในงบการเงินเกินจากที่ระบุใน สัญญาหรื อไม่ 2.ลูกหนี้ ตรวจด้วยวิธี Subsequent โดยตรวจจาก สรุ ปยอดลูกหนี้ ณ สิ้ นปี กับเอกสาร ใบสาคัญรับปี ถัดไป ถ้าตรวจด้วยวิธีน้ ี ไม่ได้ เช่น ยังไม่ได้รับชาระเงินจาก ลูกหนี้ให้ตรวจด้วยวิธี Vouching โดย ตรวจกับในแจ้งหนี้ที่ออกให้ลูกค้า / เช็ครับล่วงหน้า ตรวจกับ Statement Bank ปี ถัดไป ว่ากิจการมีการนาเช็คไป ขึ้นเงินหรื อไม่ 3.เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บุคคลที่ เกี่ยวข้อง จัดทากระดาษทาการ ซึ่งเงิน ให้กรรมการกูย้ มื นี้ ตอ้ งคิดดอกเบี้ยจาก กรรมการตามที่กาหนดในรายงาน ผูส้ อบ ถ้าไม่กาหนดให้คิด 7% 4.สิ นค้าคงเหลือ ตรวจโดยนาStock Movement สิ นค้าคงเหลือ ตรวจกับ เอกสารใบสาคัญรับหรื อจ่าย และดูจาก รายงานผูส้ อบปี ก่อนว่ามีการรับรู ้สินค้า คงเหลือด้วยวิธีใด FIFO LIFO หรื อ Average เช่น วิธี FIFO ให้นาหน่วย สิ นค้าคงเหลือ ณ สิ้ นงวด คูณราคา ล่าสุ ดที่ซ้ื อมา เป็ นต้น 5.สิ นทรัพย์ ทางผูท้ าบัญชีจะจัดทา ทะเบียนสิ นทรัพย์ซ่ ึ งแสดงค่าเสื่ อม ค่า

ที่น้ ีเน้นตรวจแต่เงิน ฝาก ไม่ตรวจเงินสด นอกจากเงินสดจะมี จานวนเยอะ - การตรวจสอบ ลูกหนี้ ต้องมีสรุ ป ยอดลูกหนี้จากลูกค้า และควรที่จะตรวจ กับเอกสารปี ถัดไป

- ทาให้ทราบว่ากูย้ มื ระยะยาวแก่บุคคลที่ เกี่ยวข้อง กิจการต้อง มีการคิดดอกเบี้ย - การตรวจสิ นค้า คงเหลือ ในบาง กิจการที่ไม่มีชนิด ของสิ นค้ามากนักไม่ ต้องมีการนับสต๊อก ให้ตรวจกับสรุ ปที่ ลูกค้าให้มา กับ ใบสาคัญจ่ายเท่านั้น - การตรวจสอบ สิ นทรัพย์ไม่แตกต่าง


8 เสื่ อมราคามาให้ ก่อนอื่นก็ตรวจสอบ ยอดยกมาของสิ นทรัพย์แต่ละตัว และ ทดสอบการคานวณค่าเสื่ อมราคา โดยดู จากรายงานผูส้ อบปี ก่อนว่ามีการ คานวณสิ นทรัพย์ดว้ ยวิธีใด เส้นตรง หรื อลดลง 6.เจ้าหนี้การค้า ตรวจด้วยวิธี Subsequent โดยตรวจจากสรุ ปยอด เจ้าหนี้ ณ สิ้ นปี กับเอกสารใบสาคัญรับ ปี ถัดไป ถ้าตรวจด้วยวิธีน้ ีไม่ได้ เช่น ยัง ไม่ได้จ่ายชาระเงินให้เจ้าหนี้ให้ตรวจ ด้วยวิธี Vouching โดยตรวจกับในแจ้ง หนี้ที่ได้จากเจ้าหนี้ / เช็คจ่ายล่วงหน้า ตรวจ ว่าเจ้าหนี้มีการนาเช็คไปขึ้นเงิน หรื อไม่ 7.ภาษีมูลค่าเพิม่ ตรวจสอบจาก แบบภ.พ.30 เปรี ยบเทียบกับรายได้วา่ กิจการมีการนายืน่ รายได้ ครบถ้วน ถูกต้องหรื อไม่ 8.ทุนจดทะเบียน ค้นข้อมูลบริ ษทั จาก เว็บไซด์ www.dbd.go.th.com ตรวจทุน จดทะเบียน ผูถ้ ือหุน้ และวัตถุประสงค์ การจัดตั้ง 9.รายได้ ตรวจสอบกับเอกสารใบกากับ ภาษีหรื อใบกากับภาษี/ใบเสร็ จรับเงิน รายได้จากการให้บริ การให้ตรวจคู่กบั หนังสื อรับรองหัก ณ ที่จ่าย รายได้จาก การส่ งออก ตรวจกับInvoice นาราคา คูณด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ขาย (ถ้าวันที่ขายตรงกับวันหยุดราชการ

จากที่เรี ยนในชั้น เรี ยน

- การตรวจเจ้าหนี้ การค้า ตรวจ เช่นเดียวกับลูกหนี้ คือตรวจสรุ ปยอดกับ เอกสารใบสาคัญหรื อ Statement Bank ปี ถัดไป

- ทาให้ทราบว่าการ ตรวจภาษีมูลค่เพิ่ม ต้องตรวจ เปรี ยบเทียบกับ รายได้เสมอ

- การตรวจสอบ รายได้ ในบางกิจการ ที่มียอดรายได้เยอะ ไม่จาเป็ นต้องตรวจ ทุกตัว ให้ทาการสุ่ ม ตรวจเดือน หรื อสุ่ ม ยอดที่มีนยั สาคัญ


9

5.

6.

หรื อเสาร์ อาทิตย์ให้ดูอตั ราวันก่อน หน้า) จากเว็บไซด์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทย www.bot.or.th 10.ค่าใช้จ่าย การตรวจค่าใช้จ่ายนัน่ จะ แยกเป็ น2หมวด คือ ค่าใช้จ่ายที่ถือเป็ น ต้นทุน และค่าใช้จ่ายในการขายและ บริ หาร ในกรณี ที่บริ ษทั มีค่าใช้จ่าย จานวนมาก ให้ทาการสุ่ มตรวจ ค่าใช้จ่ายที่มียอดสู ง หรื อยอดที่มี นัยสาคัญ เช่น ธุ รกิจให้บริ การแต่มีค่า น้ ามันสู ง เป็ นต้น ตรวจด้วยวิธี Vouching คือตรวจใบสาคัญจ่าย กับ ยอดในแยกประเภท เปรี ยบเทียบกับงบ ทดลอง 11.เงินเดือนและประกันสังคม ตรวจ กับ ภ.ง.ด. 1 และ ภ.ง.ด. 1ก ว่ากิจการมี การนาส่ งเงินเดือนครบถ้วน ถูกต้อง หรื อไม่ ประกันสังคม ตรวจกับแบบ นาส่ งประกันสังคม และใบเสร็ จรับเงิน 12.คานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรุ ปผลการ เมื่อจัดทาตรวจสอบเสร็ จ ในแต่ละ ตรวจสอบ กระดาษทาการ ให้ทาการสรุ ปผลการ ตรวจสอบตามประเด็นดังนี้ เกิดขึ้นจริ ง มีอยูจ่ ริ ง , เอกสารประกอบครบถ้วน ถูกต้อง , บันทึกตรงตามรอบระยะเวลา บัญชี ปรับปรุ งรายการ(ถ้า ADJ ปรับปรุ งรายการที่กระทบกับการ มี) ลงกระดาษ คานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ADJ/RJE RJE ปรับปรุ งรายการที่ไม่กระทบกับ (รู ปภาพที่ 1) การคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

- การตรวจสอบ ค่าใช้จ่าย ทา เช่นเดียวกับรายได้ คือ สุ่ มยอดสาคัญ โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายที่ เป็ นต้นทุน หรื อ ค่าใช้จ่ายที่มี นัยสาคัญหรื อไม่ เกี่ยวข้องกับกิจการ

ในการสรุ ปผลการ ตรวจสอบที่ฝึกงาน ให้สรุ ปแบบกระชับ ตรงประเด็น ไม่ตอ้ ง สรุ ปเยอะตามทฤษฎี


10 7.

ตรวจสอบ จัดเรี ยง ตรวจทานความถูกต้อง จัดเรี ยงทาเป็ น กระดาษทาการ รู ปเล่มโดยเรี ยงตามหมวดบัญชีในการ (Working) ตาม ตรวจสอบ หมวดการตรวจสอบ ตารางที่ 2 งานที่ได้รับมอบหมาย

หมวดในการจัดเรี ยง อาจมีความแตกต่าง กันไปแล้วแต่

หมวดบัญชีทใี่ ช้ ในการตรวจสอบ ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20.

กระดาษทาการ งบทดลอง กระดาษทาการปรับปรุ ง กระดาษทาการจัดประเภทรายการบัญชี งบดุล งบกาไรขาดทุน เงินสดและรายเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว/ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ลูกหนี้การค้า เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะยาว เงินให้กยู้ มื ระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถานบันการเงิน เจ้าหนี้ TR ทรัสต์รีซีท เจ้าหนี้การค้า/ตัว๋ เงินจ่าย

รหัส อ้างอิง TB ADJ REC WBS WPL A B C D E F G H H1 I J J AA AA2 CC


11 21

เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี

DD รหัส ลาดับ กระดาษทาการ อ้างอิง 22 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน GG 23 เงินกูย้ มื ระยะสั้นอื่น EE 24 หนี้สินหมุนเวียนอื่น FF 25 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน HH 27 ประมาณการหนี้สิน II 28 หนี้สินอื่น JJ 29 เจ้าหนี้ เช่าซื้ อ KK 30 ทุนเรื อนหุ ้น LL 31 ส่ วนเกิน(ส่ วนต่า)ทุน OO 32 สารอง RS 33 รายได้ R1 34 รายได้อื่นๆ R2 35 ต้นทุนขาย X1 36 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ การ X2 37 ดอกเบี้ยจ่าย X3 38 ภาษีเงินได้ X4 ตารางที่ 3 รายละเอียดการแบ่งหมวดต่างของบริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด


12

รู ปภาพที่ 1 กระดาษทาการปรับปรุ งรายการ


13

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการฝึ กงาน 1. ได้ความรู ้และประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น ได้รู้วธิ ี การปฏิบตั ิงานจริ ง เกี่ยวกับการสอบบัญชี เข้าใจเกี่ยวกับภาษีอากรเพิ่มมากขึ้น 2. สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต มีความมัน่ ใจในตนเองมาก ขึ้นในการไปสมัครงานต่อไป 3. ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนไปประกอบวิชาชีพจริ ง ฝึ กความรับผิดชอบ จากงานที่ได้รับ มอบหมาย ความตรงต่อเวลา การแก้ไขปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นเมื่อทางาน 4. ได้ฝึกทางานกับผูอ้ ื่นที่เป็ นผูใ้ หญ่กว่า การวางตัว การอยูร่ ่ วมกันแบบสังคมการทางาน การ พูดคุยกับผูใ้ หญ่ 5. ทาให้ทราบว่าตนนั้นเหมาะกับงานทางผูส้ อบหรื อไม่ เนื่องจากได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง ข้ อเสนอแนะ ในการฝึ กปฏิบตั ิงานจริ งนั้น จะเน้นไปทางปฏิบตั ิเป็ นส่ วนมาก นอกจากการศึกษาด้าน ทฤษฎีให้เข้าใจแล้วยังต้องฝึ กปฏิบตั ิ ดังนั้นในการศึกษาเล่าเรี ยนควรมีการฝึ กฝนแบบฝึ กหัด และ หมัน่ ทาการบ้านด้วยตนเอง เพื่อเป็ นการเสริ มทักษะ เพราะงานทางด้านบัญชีไม่ใช่งานท่องจา ควร ต้องมีการทาความเข้าใจ เวลาไปทางานจะสามารถนาความรู้ที่เคยฝึ กปฏิบตั ิไปประยุกต์ใช้ได้ ประเด็นสาคัญจากการฝึ กงานนาสู่ รายงานการศึกษา จากการฝึ กงานกับบริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชีและภาษีอากร จากัด ในการตรวจสอบ นั้นให้ความสาคัญกับทุกวงจร แต่ที่สาคัญเป็ นอันดับต้นๆ นั้นคือ รายได้ เพราะรายได้น้ นั เกี่ยวข้อง กับหลายอย่าง ไม่วา่ จะเป็ น การนารายได้นายืน่ ภาษีมูลค่าเพิ่มต่อเดือน , ภ.ง.ด.50 ตอนสิ้ นงวด และ การคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตอนสิ้ นงวด โดยเฉพาะรายได้จากการส่ งออก ถึงแม้รายได้จากการ ส่ งออกจะเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ในอัตรา 0% แต่ยงั ถือเป็ นรายได้ของกิจการที่ตอ้ งนายืน่ กรมสรรพากร ดังนั้นในการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออกขอนั้นจะต้องตรวจสอบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ณ วันขายด้วย


บทที่ 3 การตรวจสอบรายได้ จากการส่ งออก วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. 2. 3. 4.

เพื่อให้ทราบถึงโครงสร้าง วิธีการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก เพื่อให้ทราบและเกิดความเข้าใจในหลักการบัญชี เพื่ อให้ท ราบการปฏิ บตั ิ งานของฝ่ ายบัญชี และการตรวจสอบสอบบัญชี เพื่อให้ทราบระบบการทางานของ บริ ษทั ที่ปรึ กษาตรวจสอบบัญชี และภาษีอากร จากัด

คานิยามศัพท์ คาศัพท์ที่ใช้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง รายได้ มีความหมาย โดยเฉพาะ ดังต่อไปนี้ รายได้ หมายถึง กระแสรับของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ (ก่อนหักค่าใช้จ่าย) ในรอบ ระยะเวลาบัญชี ซึ่ งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของกิจการ เมือกระแสรับนั้นส่ งผลให้ส่วนของ เจ้าของเพิ่มขึ้นทั้งนี้ ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รบจากผูม้ ีส่วนร่ วมในส่ วนของเจ้าของ การเพิ่มขึ้นของ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรู ปกระแสรับหรื อการเพิ่มขึ้นของสิ นทรัพย์ หรื อ การลดลงของหนี้สนซึ่ งส่ งผลให้ ส่ วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้ รับจากผูม้ ี ส่ วนร่ วมในส่ วนของเจ้าของรายได้ ตามคานิยาม รวมถึง รายได้ ซึ่ งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของ กิจการและผลกาไร รายได้ มีชื่อเรี ยกต่างๆ กัน เช่น รายได้ จากการขาย รายได้ จากการให้ บริ การ รายได้ค่าธรรมเนียม รายได้ดอกเบี้ย รายได้เงินปั นผล รายได้ค่าสิ ทธิ ฯลฯ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อกาหนด วิธีปฏิบตั ิทางบัญชีสาหรับรายได้ซ่ ึ งเกิดจากรายการหรื อเหตุการณ์บาง ประเภท


15

การวัดมูลค่ าของรายได้ กิจการต้องวัดมูลค่าของรายได้โดยใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ งตอบแทนที่ได้รับหรื อค้างรับ ตามปกติกิจการกาหนดจานวนรายได้ตามที่กิจการตกลงกับผูซ้ ้ื อหรื อผูใ้ ช้ สิ นทรัพย์ซ่ ึ งจานวน รายได้ดงั กล่าวเป็ นมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ได้ รับ หรื อค้างรับสุ ทธิ จากจานวนส่ วนลด การค้าและส่ วนลดตามปริ มาณซื้ อที่กิจการกาหนด ประเด็นหลักทางการบัญชีสาหรับรายได้ คือ การกาหนดว่าเมื่อใดกิจการต้องรับรู ้รายการ เป็ นรายได้แม่บทการบัญชีกาหนดว่ารายได้ ต้องรับรู ้เมื่อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการจะเข้าสู่ กิจการและกิจการสามารถวัดมูลค่าของประโยชน์เชิง เศรษฐกิจของรายการดังกล่าวได้ อย่างน่าเชื่ อถือ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ระบุถึงสถานการณ์ที่ เข้าเกณฑ์การรับรู ้ รายได้และให้ แนวทางในการปฏิบตั ิสาหรับแต่ละสถานการณ์ รายได้ จากการส่ งออก ปั จจุบนั การส่ งออกมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในการบริ หารการ ส่ งออกทั้งผูผ้ ลิตเพื่อการส่ งออกและธุ รกิจตัวแทนการส่ งออก จาเป็ นต้องมีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับ โครงสร้างต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการบริ หารธุ รกิจส่ งออก ดังต่อไปนี้ 1. ปั จจัยในการตั้งราคาเพื่อการส่ งออก ในการส่ งออกสิ นค้าไปขายต่างประเทศนั้น ราคาสิ นค้า เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการดาเนิ นธุ รกิจ ดังนั้นก่อนจะตัดสิ นใจเสนอราคาแก่ลูกค้ารายใด ผูบ้ ริ หารควรคานึงถึงปั จจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการตั้งราคาเพื่อการส่ งออก ดังต่อไปนี้ 1. รายละเอียดเกี่ยวกับตัวสิ นค้า อุปสงค์ในตัวสิ นค้า ช่องทางการจาหน่ายและสภาวะการ แข่งขันในตลาดที่จะวางตัวสิ นค้า 2. นโยบายในการตั้งราคาจะขึ้นกับนโยบายด้านการตลาดธุ รกิจ ซึ่ งอาจจะแตกต่างกันไป ดังต่อไปนี้ 2.1 การตั้งราคาแบบเจาะตลาด เป็ นการตั้งราคาเพื่อเพิ่มยอดขายและมุ่งหวังที่จะครอง ตลาดอย่างรวดเร็ ว จึงตั้งราคาต่าเพื่อจูงใจลูกค้าโดยตรง


16 2.2 การตั้งราคาตามความยืดหยุน่ ให้สอดคล้องกับสภาพการแข่งขันและสภาพเศรษฐกิจ โดยพยายามรักษาส่ วนครองตลาดของกิจการไว้ไม่ให้ลดลงกว่าเดิม 2.3 การตั้งราคาค่อนข้างสู ง เนื่องจากต้องการให้ได้กาไรมากที่สุดเหมาะกับสิ นค้าที่มีอุป สงค์มาก แต่มีผเู ้ สนอขายในตลาดน้อย และกิจการอยูใ่ นฐานะที่ได้เปรี ยบในการ แข่งขันหรื อเป็ นผูว้ างสิ นค้าในตลาดก่อนผูอ้ ื่น 3. ต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการส่ งออก ซึ่ งอาจแบ่งออกได้เป็ น ต้นทุนผลิต สิ นค้าจากโรงงาน ค่าขนส่ งสิ นค้าจากโรงงานผูผ้ ลิตจนถึงมือลูกค้าหรื อคลังสิ นค้าของผู ้ นาเข้า และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ด้านการส่ งออก เช่น ค่าบรรจุหีบห่อ ค่าภาษี ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ฯลฯ 4. กฎระเบียบบังคับของหน่วยงานต่าง ๆ ทางราชการทั้งของผูส้ ่ งออกและประเทศผูน้ าเข้า ซึ่ ง มีลกั ษณะแตกต่างกันไป ทาให้ไม่อาจกาหนดราคาขายได้ตามต้องการ 5. ระบบภาษี และภาษีศุลกากร ทั้งของประเทศผูส้ ่ งออกและประเทศผูน้ าเข้า ผูส้ ่ งออกควรมี ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบภาษีทุกประเภทอันเกิดจากการส่ งสิ นค้าออกหรื อนา สิ นค้าเข้าเป็ นอย่างดี เพื่อให้การตั้งราคาครอบคลุมภาวะภาษีดงั กล่าว 6. ตัวแปรอื่น ๆ อันได้แก่ ข้อตกลงระหว่างประเทศขององค์การค้าต่าง ๆ อาทิ GATT WTO AFTA NAFTA เป็ นต้น ข้อตกลงหรื อสนธิ สัญญาขององค์การค้าระหว่างประเทศเหล่านี้ มีผลกระทบโดยตรงต่อการนาเข้าหรื อส่ งออกสิ นค้าระหว่างประเทศ 2. การจาแนกประเภทต้นทุนสิ นค้าเพื่อการส่ งออก เพื่อให้ผบู ้ ริ หารกาหนดราคาสิ นค้าส่ งออกได้ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง จาเป็ นที่จะต้องรวบรวมและจาแนกประเภทต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของตัวสิ นค้า นับตั้งแต่ออกจากโรงงานผูผ้ ลิตจนถึงมือของผูน้ าเข้าหรื อผูค้ า้ ส่ งหรื อค้าปลีกหรื อ ผูบ้ ริ โภคแล้วแต่กรณี การจาแนกประเภทต้นทุนสิ นค้าเพื่อการส่ งออกจะแบ่งเป็ นประเภท 3 ประเภทดังนี้ 1. ต้นทุนสิ นค้า ในกรณี ทีผผู ้ ลิตเป็ นผูส้ ่ งออกสิ นค้าเอง โดยไม่ผา่ นนายหน้าตัวแทน ต้นทุน สิ นค้าก็คือต้นทุนการผลิตโรงงาน ซึ่งประกอบด้วย 1.1 ค่าวัตถุดิบ


17 1.2 1.3 1.4 1.5

ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิตและโสหุ ย้ การผลิต ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับฉลากและเครื่ องหมายการค้า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเก็บรักษาสิ นค้าไว้ในคลังสิ นค้าของผูผ้ ลิตก่อนขนย้ายออกไป ท่าเรื อ หรื อท่าอากาศยาน 1.6 ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและคัดเลือกคุณภาพของสิ นค้าให้ได้ตามคุณภาพหรื อ คุณลักษณะที่ตกลงกับลูกค้าต่างประเทศ 2. ต้นทุนค่าขนส่ งสิ นค้าจากโรงงานผูผ้ ลิตไปจนถึงจุดหมายปลายทางในต่างประเทศ ประกอบด้วย 2.1 ค่าขนส่ งภายในประเทศ จากโกดังสิ นค้าของโรงงานไปยังสถานีขนส่ ง ท่าเรื อ หรื อท่า อากาศยาน 2.2 ค่าระวางขนส่ งทางรถ เรื อ เครื่ องบิน รวมทั้งค่าธรรมเนียมพิเศษต่าง ๆ เนื่องจากการ ใช้พาหนะ การใช้สถานีท่าเรื อ หรื อท่าอากาศยาน 2.3 ค่าขนถ่ายสิ นค้าทางเรื อ หรื อทางเครื่ องบิน ณ เมืองปลายทาง 2.4 ค่าใช้จ่ายขนส่ งสิ นค้าจากสถานที่ ท่าเรื อ หรื อท่าอากาศยานไปยังคลังสิ นค้าของลูกค้า หรื อผูน้ าเข้า 3. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันเกี่ยวข้องกับการส่ งออก ทั้งที่เกิดภายในและภายนอกประเทศ อาทิเช่น 3.1 ค่าใช้จ่ายบรรจุหีบห่ อ หรื อค่าบรรจุภณั ฑ์เพื่อการส่ งออกโดยเฉพาะ 3.2 ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและวิเคราะห์ เพื่อรับรองคุณภาพของสิ นค้า ซึ่ งรวมทั้งค่า ออกใบรับรองต่าง ๆ จากสถาบันการค้า หรื อสถานกงศุลการค้าต่างประเทศ 3.3 ค่าใช้จ่ายด้านการออกของ และค่าใช้จ่ายในการผ่านพิธีการศุลกากร 3.4 ค่าภาษีศุลกากรและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการส่ งสิ นค้าออกนอกประเทศ และนาเข้าประเทศของลูกค้า 3.5 ค่าเบี้ยประกันภัยและค่ากรมธรรม์ประกันภัยทั้งทางบก เรื อ อากาศ 3.6 ค่าเสี ยหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น การสู ญเสี ยปริ มาตรหรื อ น้ าหนักของตัวสิ นค้า คุณภาพสิ นค้าเสี ยหายเนื่องจากบรรจุภณั ฑ์ ชารุ ดระหว่างการ ขนส่ งหรื อคุณภาพสิ นค้าเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมระหว่างการ ขนส่ ง


18 3.7 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการจัดเตรี ยมเอกสารการส่ งออกและการติดต่อธนาคาร 3.8 ค่าธรรมเนียมธนาคารทุกประเภท รวมทั้งดอกเบี้ยอันเกิดจากการส่ งออก 3.9 ค่าติดต่อสื่ อสาร โทรเลข โทรศัพท์ทางไกล เทเล็กซ์ และโทรสาร 3.10 ค่านายหน้าแก่ตวั การหรื อตัวแทนผูซ้ ้ื อหรื อผูน้ าเข้า 3.11 ปริ มาณกาไร(ขาดทุน) อันเกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ ในกรณี ที่ผผู ้ ลิตที่เป็ นผูส้ ่ งออกได้รับภาษีคืนในการนาเข้าวัตถุดิบสาหรับผลิตสิ นค้าส่ งออกก็ สามารถนาภาษีที่ได้รับคืนมานี้มาลดต้นทุนสิ นค้าของโรงงานให้ต่าลงได้ ซึ่ งจะทาให้กิจการ สามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้ 3. การคานวณต้นทุนสิ นค้าส่ งออก เมื่อมีการตกลงซื้ อขายสิ นค้าระหว่างประเทศ ทั้งผูซ้ ้ื อและ ผูข้ าย (หรื อผูน้ าเข้าหรื อผูส้ ่ งออก) จะต้องทาความตกลงในเรื่ องการขนส่ งว่าใครเป็ นผูจ้ ่ายค่า ขนส่ งสิ นค้า ซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ดังนี้ 1. ถ้าผูข้ ายเป็ นผูข้ นส่ งสิ นค้าจากโกดังผูผ้ ลิต/ผูข้ าย/ผูส้ ่ งออก ไปยังมือผูซ้ ้ื อ/ผูน้ าเข้า ผูข้ ายจะ รวมค่าขนส่ งเข้าไปในราคาที่ขายเมื่อผูข้ ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าขนส่ งดังกล่าว กรรมสิ ทธิ์ ใน ตัวสิ นค้ายังคงเป็ นของผูข้ าย จนกว่าจะถึงจุดหมายปลายทางที่ตกลงกัน ซึ่ งแบ่งเป็ น 1.1 FOB Shipping point หมายถึง ผูข้ ายเป็ นผูจ้ ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าจากโกดังสิ นค้าของตน จนถึงท่าเรื อขนถ่ายสิ นค้าของผูข้ าย ต่อจากนั้นผูซ้ ้ื อจะเป็ นผูข้ นสิ นค้าไปเอง หรื อ บริ ษทั รับจ้างขนส่ งสิ นค้าไปจนถึงโกดังของผูซ้ ้ื อ 1.2 FOB Destination หมายถึง ผูข้ ายรับผิดชอบจ่ายค่าขนส่ งจากโกดังสิ นค้าของตนจนถึง ที่ทาการหรื อโกดังสิ นค้าของผูซ้ ้ื อ ดังนั้นผูข้ ายจึงได้รวมค่าขนส่ งดังกล่าวเข้าไปกับ ราคาขายสิ นค้าเรี ยบร้อยแล้ว 2. ถ้าผูข้ ายตกลงว่าจะเป็ นผูจ้ ดั ส่ งสิ นค้าทั้งหมดจนถึงจุดหมายปลายทางที่ตกลงกัน และราคา ขายของสิ นค้าดังกล่าว ได้รวมค่าขนส่ งและ/หรื อค่าประกันภัยสิ นค้าไว้เรี ยบร้อยแล้ว ราคา ขายดังกล่าวนี้ก็คือ ราคา CIF (Cost Insurance and Freight) หรื อราคา CFR (Cost and Freight) ปกตินิยมระบุสถานที่ที่เป็ นจุดมุ่งหมายปลายทาง เช่นราคา CIF London เป็ นต้น นอกจากนี้ อาจจะมีเงื่อนไขการขนส่ งอื่น ๆ ที่ตกลงกัน เช่น FAS EX Factory etc FOB เหมาะสาหรับสิ นค้าสาหรับ - มีสินค้าหลากหลาย


19 - มีสินค้าหลายขนาด - เสนอขายไปยังหลาย ๆ ประเทศทัว่ โลก - สะดวกในการทา Price List - ไม่ตอ้ งเสี่ ยงต่อค่าระวางที่ไม่แน่นอน - ไม่ตอ้ งเสี่ ยงต่ออัตราแลกเปลี่ยน CFR หรื อ C.I.F. เหมาะสาหรับ - ต้องขายในราคาที่เหมาะกับประเทศลูกค้าที่ไม่มี Freight Colleted - ขายสิ นค้าพิเศษ เช่น รถยนต์ หรื ออื่น ๆ ที่เป็ นสิ นค้าไม่มาตรฐาน เราจะเป็ นผู ้ จองเรื อและดูแลเป็ นพิเศษ มิฉะนั้น L/C อาจขาดอายุ เรื อที่ลูกค้าจองอาจจะไม่มา - ลูกค้าต้องการราคานี้ เพราะสะดวกในการตีราคาของลูกค้า - เราได้กาไรจากการเสนอราคานี้เพราะเราได้ส่วนลดพิเศษจากบริ ษทั เรื อ เพราะส่ งเป็ นประจา


20


21

รู ปภาพที่ 2 ความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมาย/ระเบียบและขั้นตอนการส่ งออก


22 วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบรายได้ วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบรายได้ จากการส่ งออก สรุ ปได้ ดังนี้ 1.ความมีอยูจ่ ริ งและการเกิดขึ้นจริ ง ( Existence and Occurrence) รับรองว่า รายได้จากการส่ งออก ที่แสดงในงบกาไรขาดทุนเป็ นผลจากรายการบัญชีที่ เกิดขึ้นจริ งในระหว่างงวดบัญชี เงื่อนไขการขาย การรับคืน และส่ วนลดได้มีการอนุมตั ิอย่างถูกต้อง 2.ความครบถ้วนสมบูรณ์ (Completeness) รับรองว่าได้มีการบันทึกบัญชี รายได้จากการส่ งออกอย่างถูกต้องครบถ้วนในส่ วนที่ เป็ นสาระสาคัญที่เกิดขึ้นในระหว่างงวดบัญชีและเป็ นไปตามหลักการบัญชีรับรองทัว่ ไป 3.การวัดมูลค่า (Measurement) รับรองว่ากิจการ บันทึกรายได้จากการส่ งออกในจานวนที่ถูกต้องเหมาะสม ใช้อตั รา แลกเปลี่ยนถูกต้องตามธนาคารแห่งประเทศไทย และบันทึกรายได้ในงวดบัญชีที่ถูกต้องเหมาะสม 4.การแสดงรายการในงบการเงินและการเปิ ดเผยข้อมูล (Presentation and Disclosure) รับรองว่ามีการแสดงรายได้จากการส่ งออกในงบการเงิน ได้รับการเปิ ดเผย จัดประเภท และบรรยายลักษณะเป็ นไปตามหลักการบัญชีรับรองทัว่ ไป วิธีการตรวจสอบรายได้ จากการส่ งออก รายได้ถือเป็ นปั จจัยหลักในการดาเนิ นธุ รกิจ ความเสี่ ยงที่ผสู ้ อบบัญชี ควรพิจารณา คือการ แสดงรายได้สูงกว่าที่ เป็ นจริ ง ดังนั้นการตรวจสอบรายได้ จึ งมี ความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะ รายได้จากการส่ งออก ผูส้ อบต้องตรวจสอบความถูกต้องของการแปลงค่าเงินบาทและหลักฐานใบ แจ้งหนี้ให้ครบถ้วน 1.รวบรวมเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง ในขั้นตอนแรกควรรวบรวมเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก ซึ่ งในแต่ละบริ ษทั ก็แตกต่างกันไป ซึ่ งเอกสารหลักๆที่ใช้ตรวจ มีดงั นี้ 1.งบทดลอง 2.บัญชีแยกประเภท 3.ใบ Invoice 4.ใบตราส่ งสิ นค้าทางอากาศ (Air Waybill)


23 5.ใบขนสิ นค้าขาออก 6.ใบแสดงอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศ (www.bot.or.th) ผูต้ รวจสอบต้องตรวจเอกสารหลักฐานก่อนทาการตรวจทุกครั้ง ว่าลูกค้าบริ ษทั ที่ตรวจนั้น ส่ งรายละเอียดเอกสารหลักฐานมาครบหรื อไม่ ถ้าไม่ครบให้ผตู ้ รวจทาการขอเอกสารจากลูกค้ามา ก่อน ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถทาการตรวจสอบได้ 2.ตรวจสอบว่ากิจการมีรายได้ จากการขายจริง เมื่อรวบรวมเอกสารที่ตอ้ งใช้ในการตรวจสอบแล้ว ถ้ารายได้มีจานวนมากหรื อนักบัญชีทา การบันทึกรายได้เดื อนละครั้ ง ให้ผูต้ รวจทาการสุ่ มเดื อน เช่ น 3,6,9,12 (ถ้าในแต่ละเดื อนมี รายได้ จานวนมากให้ทาการสุ่ มตรวจในเดือนนั้นๆด้วย เช่น สุ่ มตรวจยอดที่มีมูลค่า 50,000 ขึ้นไป ให้ระบุ ในเอกสารที่ทาการตรวจสอบด้วย) จากนั้นนาเอกสารใบบันทึกรายการขายของลูกค้า (อาจแตกต่าง กันไปในแต่ละบริ ษทั ขึ้นอยู่กบั ผูท้ าบัญชี ของกิ จการนั้นๆ) ตรวจกับใบInvoice ใบ Air Waybill และ ใบขนสิ นค้าขาออก เป็ นการตรวจว่ากิจการมีรายได้จากการขายมีอยู่จริ งและเกิดขึ้นจริ ง และ เป็ นการตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ 3.แปลงอัตราแลกเปลีย่ นเงินต่ างประเทศ เมื่อทาการตรวจสอบความมีอยูจ่ ริ งแล้ว จากนั้นผูต้ รวจตรวจมูลค่าของรายได้ที่ลูกค้าบันทึก ไปนั้นถูกต้องหรื อไม่ ผูต้ รวจต้องทาการปริ้ น (หรื ออาจตรวจสอบจากหน้าคอมฯ) ใบแสดงอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่ กิจการมีการขายออกไป จากนั้นนาเอกสารการบันทึกรายการขายทดสอบการ คานวณโดยดู ยอดที่ ทาการสุ่ มตรวจไว้(เป็ นหน่ วยเงิ นตราต่า งประเทศ) คู ณกับอัตราแลกเปลี่ ย น เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่มีการขาย (อ้างอิงจากวันที่ๆแสดงในใบ Invoice) ตรวจดูวา่ ยอดที่บนั ทึก ไว้ถูกต้องหรื อไม่ 4.โยงข้ อมูลจากเอกสารไปยังบัญชี แยกประเภท เมื่อทาการสุ่ มตรวจในแต่ละเดือนที่สุ่มเรี ยบร้อยแล้ว จากนั้นให้ทาการเชื่ อมข้อมูล โดยการ นายอดรวมในแต่ละเดือนจากเอกสารบันทึกรายการขายของลูกค้าโยงไปยังบัญชีแยกประเภท เป็ น การตรวจสอบการวัดมูลค่าว่ากิจการมีการแสดงรายได้เหมาะสมหรื อไม่


24 5.ตรวจสอบการแสดงรายการในงบลอง และการเปิ ดเผยข้ อมูล น ายอดคงเหลื อ ในรอบระยะเวลาบัญ ชี ปั จ จุ บ ัน ของรายได้จ ากบัญ ชี แ ยกประเภทโยง เปรี ยบเทียบไปยังงบทดลอง 6.สรุ ปผลการตรวจสอบ โดยบันทึกผลการตรวจสอบไว้ดา้ นล่างเอกสารแยกประเภท ดังนี้ 1. บัญชีรายได้จากการส่ งออก จากการขาย... ให้แก่... ถือเป็ นรายได้ของกิจการจริ ง 2.มีการบันทึกบัญชีครบถ้วน และถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 3.เอกสารประกอบรายการมีอยูจ่ ริ ง และถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ 4.มีการบันทึกรายได้ตามรอบระยะเวลาบัญชี


25

ข้ อค้ นพบจาการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบรายได้ จากการส่ งออก กรณีศึกษาการตรวจสอบรายได้ จากการส่ งออกกล้วยไม้

รู ปภาพที่ 3 ใบบันทึกรายการขาย 1


26

รู ปภาพที่ 4 ใบ Invoice


27

รู ปภาพที่ 5 Air WayBill


28

รู ปภาพที่ 6 ใบขนสิ นค้าขาออก


29 1. นาเอกสารใบบันทึกรายการขาย[1] รู ปภาพที่ 3 ตรวจกับใบ Invoice [2] รู ปภาพที่ 4 ใบ Air Waybill [3] รู ปภาพที่ 5 และ ใบขนสิ นค้าขาออก [4] รู ปภาพที่ 6 - ตรวจสอบชื่อและที่อยูใ่ นเอกสารว่าใช่ของบริ ษทั นั้นหรื อไม่ หมายเลข (4) (8) และ (12) ตรวจสอบวันที่ และเที่ยวบิน หมายเลข (1) (5) และ (9) - ตรวจสอบเลขที่ใบ Air Waybill [3] รู ปภาพที่ 5 หมายเลข (11) และ ใบขนสิ นค้าขาออก [4] รู ปภาพที่ 6 หมายเลข (14) - ตรวจสอบเลขที่ In voice ว่าตรงกันหรื อไม่ หมายเลข (2) (6) (10) และ (13) - ตรวจสอบราคาสิ นค้าที่ขาย จากใบบันทึกรายการขาย[1]รู ปภาพที่ 3 หมายเลข (3) และ ใบ Invoice [2] รู ปภาพที่ 4 หมายเลข (7) เป็ นการตรวจว่ากิจการมีรายได้จากการขายมีอยูจ่ ริ งและเกิดขึ้นจริ ง และเป็ นการตรวจสอบ ความครบถ้วนสมบูรณ์


30

รู ปภาพที่ 7 ใบบันทึกรายการขาย 2


31

รู ปภาพที่ 8 ใบแสดงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของ BOT 2. นาใบแสดงอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่กิจการมีการขายออกไป[5] รู ปภาพที่ 7 จากนั้นนา เอกสารการบันทึกรายการขาย[1] รู ปภาพที่ 8 ทดสอบการคานวณ โดยดูยอด (เป็ นหน่วยเงินตราต่างประเทศ) หมายเลข (15) คูณกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที่มีการขาย หมายเลข (16) และ (18) (ตรวจสอบว่ามีการบันทึกอัตราตรงกัน หรื อไม่) โดยใช้ช่องเงินโอน (อ้างอิงจากวันที่ๆแสดงในใบ Invoice แต่เนื่องจากวันที่ 13/2/11 เป็ น วันหยุด ดังนั้นจึงใช้อตั ราก่อนหน้าคือวันที่ 11/2/11) ตรวจดูวา่ ยอดที่บนั ทึกไว้ถูกต้องหรื อไม่ ทดสอบการคานวณ

(15) * (16) = (17) 2,982.46(EUR) * 41.5712 = 123,984.44 บาท

เป็ นการตรวจสอบการวัดมูลค่า ว่ากิจการ บันทึกรายได้จากการส่ งออกในจานวนที่ถูกต้อง เหมาะสม ใช้อตั ราแลกเปลี่ยนถูกต้องตามธนาคารแห่งประเทศไทย และบันทึกรายได้ในงวดบัญชี ที่ ถูกต้องเหมาะสม


32

รู ปภาพที่ 9 ใบบันทึกรายการขาย 3


33

รู ปภาพที่ 10 บัญชีแยกประเภทขายสิ นค้า 3. เมื่อทาการตรวจสอบจากวิธีขา้ งต้น วิธีที่ 1. และ 2. ในยอดที่มีการสุ่ มตรวจทุกยอดแล้ว ให้รวมยอดของเดือนนั้นๆ จากเอกสารการบันทึกรายการขาย[1] รู ปภาพที่ 9 หมายเลข (18) ตรวจสอบกับใบบัญชีแยกประเภทขายสิ นค้า [6] รู ปภาพที่ 10 หมายเลข (19) ว่าตรงกันหรื อไม่ ตรวจสอบอย่างนี้ในทุกเดือนที่ทาการสุ่ มตรวจ โดยเขียนสัญลักษณ์ที่เอกสารการบันทึกรายการขาย[1] รู ปภาพที่ 9 หน้าหมายเลข (18) ว่า To [6] และเขียนสัญลักษณ์บญั ชีแยกประเภทขายสิ นค้า[6] รู ปภาพที่ 10 หน้าหมายเลข (19) ว่า See [1] เป็ นต้น


34 4. เมื่อทาการตรวจสอบรายละเอียดแล้ว จากนั้นนายอดคงเหลื อ หมายเลข (20) ในรอบ ระยะเวลาบัญชีปัจจุบนั ของรายได้จากบัญชีแยกประเภทโยงเปรี ยบเทียบไปยังงบทดลอง โดยเขียน สัญลักษณ์ หน้าหมายเลข (20) ว่า G/L to R1 (จากตารางที่2 R1 หมายถึง รายได้หลัก) 5. สรุ ปผลการตรวจสอบ ดังนี้ 1) จากการสุ่ มตรวจเดือน ....... กิจการมีรายได้จากการส่ งออก จากการขายดอกกล้วยไม้ พันธุ์ต่างๆ เช่น พันธุ์ที่1 พันธุ์ที่2 พันธุ์ที่3 เป็ นต้น เป็ นการขายส่ งให้กบั ลูกค้าต่างประเทศ ได้แก่ ลูกค้า1 ลูกค้า2 ลูกค้า3 ถือเป็ นรายได้ของกิจการจริ ง 2) กิการมีการบันทึกบัญชีครบถ้วน และถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 3) เอกสารประกอบรายการมีอยูจ่ ริ ง และถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ 4) มีการบันทึกรายได้ตรงตามรอบระยะเวลาบัญชี หมายเหตุ : ในการตรวจสอบ ไม่ว่าจะตรวจสอบวงจรใดก็ตาม ผูต้ รวจสอบต้องลงชื่ อ ผูต้ รวจและวันที่ที่ทาการตรวจบนหัวกระดาษทุกครั้ง ผลทีไ่ ด้ รับจากการปฏิบัติจริง จากการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก ทาให้ทรายเกี่ยวกับวิธี หลักการ และแนวทางการ ตรวจสอบรายได้จากการส่ ง ออก ทราบเกี่ ย วกับ อัตราแลกเปลี่ ย น วิธีดูและใช้อตั ราแลกเปลี่ ย น เงินตราต่างประเทศ ทราบเกี่ยวกับเอกสารต่างๆ ซึ่ งไม่มีในชั้นเรี ยน เช่น ใบ AirWay Bill ใบขน สิ นค้าขาออก ใบInvoice ที่ออกให้กบั ลูกค้าต่างประเทศ เป็ นต้น


บทที่ 4 บทสรุป ปัญหาและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป การตรวจสอบรายได้ถือว่ามีความสาคัญอย่างมาก เพราะรายได้ถือเป็ นปั จจัยหลักของธุ รกิจ โดยเฉพาะรายได้จากการส่ ง ออก เพราะจะมี เอกสารหลายชนิ ด กิ จการต้องมี ระบบการจัดการ เอกสารที่ดี เพื่อที่จะจัดส่ งเอกสารให้ถึงมือผูท้ าบัญชีอย่างครบถ้วน การตรวจสอบรายได้มีวตั ถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1.ความมีอยูจ่ ริ งและการเกิดขึ้นจริ ง ( Existence and Occurrence) 2.ความครบถ้วนสมบูรณ์ (Completeness) 3.การวัดมูลค่า (Measurement) 4.การแสดงรายการในงบการเงินและการเปิ ดเผยข้อมูล (Presentation and Disclosure) สรุ ปแนวการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก ดังนี้ 1.รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.ตรวจสอบว่ากิจการมีรายได้จากการขายจริ ง 3.แปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศ 4.โยงข้อมูลจากเอกสารไปยังบัญชีแยกประเภทและงบทดลอง 5.ตรวจสอบการแสดงรายการในงบลอง และการเปิ ดเผยข้อมูล 6.สรุ ปผลการตรวจสอบ ปัญหาและข้ อเสนอแนะ สิ่ งสาคัญของการตรวจสอบรายได้จากการส่ งออก คือ เอกสารประกอบการบันทึกรายการ และการบันทึกรายได้ ซึ่ งเกี่ยวข้องกับอัตราและเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ในบริ ษทั ที่ทาการศึกษา ได้ จ ัด ท าเอกสารการบัน ทึ ก รายการขายด้ ว ยมื อ อยากเสนอแนะว่ า กิ จ การควรท าใส่ ร ะบบ คอมพิวเตอร์ เนื่ องจากการเขียนด้วยมืออาจทาให้ตกหล่น ลายมือที่เขียนบางครั้งทาให้ผตู ้ รวจสอบ


36

ไม่สามารถรู ้ได้ว่าเป็ นตัวเลขอะไร และการจัดทาข้อมูลใส่ ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถทาสาเนาได้ เพื่อป้ องกันการสู ญหายของข้อมูล ผูท้ าบัญชี ควรจัดเก็บเอกสารไว้เป็ นชุ ดเรี ยงตามวันที่ เพื่อให้ง่าย และเพื่อความรวดเร็ วต่อการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี


37

บรรณานุกรม สุ ชาย ยังประสิ ทธิ์ กลุ . การสอบบัญชี . พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุ งเทพมหานคร : ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส, 2555. สภาวิชาชีพบัญชี. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อง รายได้ . แหล่งที่มา. http://www.fap.or.th/st_accounting.php. 20 มิถุนายน 2555. กรมส่ งเสริ มการส่ งออก หระทรวงพาณิ ชย์. ความรู้ เบือ้ งต้ นในการประกอบธุรกิจส่ งออก. แหล่งที่มา. http://www.ditp.go.th /tabid/119/Default.aspx. 25 มิถุนายน 2555. กรมส่ งเสริ มการส่ งออก หระทรวงพาณิ ชย์. กฎระเบียบขั้นตอนการส่ งออกรายสิ นค้ า. แหล่งที่มา. http://www.ditp.go.th /tabid/121/Default.aspx. 25 มิถุนายน 2555.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.