ประเทศไทย ชื่อทางการ: ราชอาณาจักรไทย (The Kingdom of Thailand) เมืองหลวง: กรุงเทพมหานคร (Bangkok) ชื่อเต็มคือ “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรา ยุธยา มหาดิลกภพ นพรัตน์ราชธานีบรุ ีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัต ติยวิษณุกรรมประสิทธิ”์ ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาพุทธ รองลงมาคือ อิสลาม คริสต์ และฮินดู ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek) วันชาติ: 5 ธันวาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (สมาชิกก่อตั้ง) ภาษาประจาชาติ: ภาษาไทย ภาษาราชการ: ภาษาไทย ลักษณะทางภูมิศาสตร์: ตั้งอยู่ในอินโด–แปซิฟิก มีพนื้ ที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร มีขนาด ใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากอินโดนีเซีย และเมียนมาร์ ภูมิประเทศ: ทิศเหนือ ทิศตะวันตก ทิศตะวันออก ทิศใต้
ติดกับเมียนมาร์และลาว ติดกับทะเลอันดามันและเมียนมาร์ ติดกับลาวและกัมพูชา ติดกับอ่าวไทยและมาเลเซีย
ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ภาค ซึ่งแต่ละภาคมีลักษณะทางภูมศิ าสตร์ทแี่ ตกต่างกันดังนี้ ภาคเหนือมีภูเขาสูง โดยจุดสูงสุดคือ ดอยอินทนนท์ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้้าที่ส้าคัญ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงแห้งแล้งไม่เอื้อต่อการเพาะปลูก ภาคกลางเป็นทีร่ าบลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา มีความ อุดมสมบูรณ์ที่สดุ ภาคใต้ ติดทะเลสองฝั่ง มีจดุ แคบสุดที่คอคอดกระ ภาคตะวันออก มีชายฝั่งทะเลเรียบ ขาวและโค้งเว้า ภาคตะวันตก เป็นหุบเขาและแนวเทือกเขา
ภูมิอากาศ: แบบเขตร้อน แบ่งเป็น 3 ฤดู คือฤดูร้อน (ช่วงเดือนมีนาคม–พฤษภาคม) ฤดูฝน (ช่วงเดือน มิถุนายน–ตุลาคม) และฤดูหนาว (ช่วงเดือนพฤศจิกายน–กุมภาพันธ์) ซึ่งภาคใต้ของประเทศจะแบ่งเป็น 2 ฤดูคอื ฤดูฝนและฤดูร้อน ประชากร: ประมาณ 66 ล้านคน ซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ โดยเชื้อชาติหลักคือ ชาวไทย และชาวไทยเชื้อสายต่างๆ รองลงมาคือ ชาวจีนและอื่นๆ รวมถึงชนกลุม่ น้อยต่างๆ ด้วย การเมืองการปกครอง: ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยมีรฐั สภาท้าหน้าที่ นิติบญ ั ญัติ ประกอบด้วยสมาชิกผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่าย บริหารที่สังกัดพรรคการเมือง และมาจากการเลือกตัง้ ของประชาชน ประเทศไทยแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 76 จังหวัด ไม่นบั รวมกรุงเทพฯ (จังหวัด บึงกาฬ เป็นจังหวัดล่าสุดทีไ่ ด้ประกาศเป็นทางการเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2554 เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึง่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ ถือเป็นกลุ่มเศรษฐกิจหลักที่ทา้ รายได้ให้กับประเทศ แรงงานส่วนใหญ่ของไทยอยู่ในภาค เกษตรกรรม มีข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่สา้ คัญที่สดุ ของประเทศ ส่วนพืชผลทางการเกษตรอื่นๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่างๆ รวมไปถึงการท้าปศุสัตว์ นากุ้ง ประมงทางทะเล จนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิต อาหารที่ส้าคัญของโลก ประวัต:ิ ประวัตศิ าสตร์ชาติไทยเริม่ จากอาณาจักรสุโขทัยนับตัง้ แต่ พ.ศ.1781 ซึ่งในอดีตนัน้ ไทย มี ชื่อว่า “สยาม” ซึ่งเป็นค้าทีช่ าวต่างชาติใช้เรียกอาณาจักรอยุธยาเมื่อราว พ.ศ.2000 ในขณะนัน้ กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมาก จนกระทั่งเสื่อมอ้านาจ และเสียกรุง ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2310
พระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอกราชและตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานีอยู่ 15 ปี จนเมื่อ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ได้สถาปนาราชวงศ์จักรีขนึ้ โดยมี กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี
ในสมัยรัชกาลที่ 5 การคุกคามของชาติตะวันตก ท้าให้ไทยต้องยอมเสียดินแดนบางส่วน ให้แก่องั กฤษและฝรั่งเศสเพือ่ แลกกับเอกราช ซึ่งสยามถือเป็นประเทศเดียวในภูมภิ าคนี้ที่ไม่เคยตกเป็น อาณานิคมของชาติใด
24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ในสมัยรัชกาลที่ 7 คณะราษฎรได้ปฏิวัตเิ ปลี่ยนแปลง
การปกครอง มาเป็นระบอบประชาธิปไตย วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2482 ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้เปลี่ยนชื่อ “ประเทศ สยาม” มาเป็น “ประเทศไทย”
ระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ไทยลงนามเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น แต่เนื่องจาก ฝ่ายสัมพันธมิตรให้การยอมรับขบวนการเสรีไทย ไทยจึงรอดพ้นจากประเทศผู้แพ้สงคราม
เมื่อถึงช่วงสงครามเย็น (ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) ลัทธิคอมมิวนิสต์ได้แพร่ขยายไปทั่ว ภูมิภาคอาเซียน แต่ไทยก็สามารถรอดพ้นและยุติสงครามกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ไทยได้ใน พ.ศ.2523
ประเทศฟิลิปปินส์ ชื่อทางการ: สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวง: มะนิลา (Manila) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ดอกไม้ประจาชาติ: พุดแก้ว (Sampaguita Jasmine) วันชาติ: 12 มิถุนายน วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (สมาชิกก่อตั้ง) ภาษาประจาชาติ: ภาษาฟิลิปิโน ภาษาราชการ: ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ ลักษณะทางภูมิศาสตร์: ประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ที่มมี ากถึง 7,107 เกาะ ซึ่งเมื่อรวมแล้วจะมี พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (เป็นพื้นดิน 298,170 ตารางกิโลเมตร) ถ้าลองเทียบ ขนาดแล้วก็จะมีขนาดประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย ประเทศแห่งนี้ตงั้ อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกติดกับทะเลจีนใต้ ทาง ทิศใต้และทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ภูมิประเทศ: หมู่เกาะของฟิลิปปินส์จะเป็นหมู่เกาะของเทือกเขาหินใหม่ ท้าให้มักเกิดแผ่นดินไหวและ ภูเขาไฟระเบิดอยู่บ่อยครั้ง และในปัจจุบันนี้ก็ยงั มีภูเขาไฟที่พร้อมจะปะทุอยู่อย่างน้อย 22 ลูกโดยเฉพาะ ภูเขาไฟมายอน (Mayon) พินาตูโบ (Pinatubo) และทาล (Taal) นอกจากนี้ฟิลิปปินส์ยังมีที่ราบแคบๆ ซึ่งจะมีที่ราบที่ส้าคัญก็คือ ที่ราบตอนกลางของเกาะลูซอนที่เรียกว่า ที่ราบมะนิลา ถือเป็นที่ราบทีใ่ หญ่ ทีส่ ดุ ฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็น 3 หมู่เกาะหลักๆ คือ ลูซอน (Luzon) เป็นหมูเ่ กาะทางตอนเหนือของ ประเทศ วิสายาส์ (Visayas) อยู่ทางตอนกลางของประเทศ และ มินดาเนา (Mindanao) อยู่ทางตอนใต้
ภูมิอากาศ: อยู่ในพื้นที่มรสุมเขตร้อน มี 3 ฤดูกาล คือ ฤดูร้อน (ช่วงเดือนมีนาคม–พฤษภาคม) ฤดูฝน (ช่วงเดือนมิถนุ ายน–ตุลาคม) และฤดูหนาว (ช่วงเดือนพฤศจิกายน–กุมภาพันธ์) และจากผลของการอยู่ ในเขตมรสุม ฟิลิปปินส์จึงต้องประสบภัยธรรมชาติบ่อยครั้งจากพายุและไต้ฝนุ่ ประชากร: ประมาณ 94 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นชนพื้นเมืองของฟิลิปปินส์ที่เรียกว่า “ชาวมลายู” และรองลงมาจะเป็นลูกครึง่ จีน ลูกครึ่งสเปน และลูกครึง่ อเมริกัน การเมืองการปกครอง: ระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งเป็นประมุขและ เป็นหัวหน้าคณะผูบ้ ริหารประเทศ ฟิลิปปินส์จะแบ่งออกเป็น 17 เขต (79 จังหวัด และ 117 เมือง) โดย แบ่งเป็นหมู่เกาะลูซอน (Luzon) มี 8 เขต หมู่เกาะวิสายาส์ (Visayas) มี 3 เขต และหมูเ่ กาะมินดาเนา (Mindanao) มี 6 เขต เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: ประเทศเกษตรกรรม แต่มีเนื้อที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกอยู่อย่างจ้ากัด จึงท้าให้พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยู่บริเวณทีร่ าบต่้า และเนินเขาที่ปรับให้เป็นขั้นบันได พืชเศรษฐกิจ ส้าคัญ คือ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า นอกจากนี้ยังมีแร่ส่งออกที่ส้าคัญ คือ เหล็กโครไมต์ ทองแดง เงิน ประวัต:ิ เมื่อพ.ศ.2064 หลักจากที่เฟอร์ดินานด์ มาเจแลน (Ferdinand Magellan) นักส้ารวจชาว โปรตุเกสค้นพบหมู่เกาะฟิลปิ ปินส์ ท้าให้ชาวตะวันตกได้รู้จักหมู่เกาะฟิลิปปินส์ สเปนพยายามเข้ามาท้าให้คนพื้นเมืองหันมานับถือศาสนาคริสต์จนท้าให้เกิดความ ขัดแย้ง และในที่สดุ สเปนก็เข้ามายึดครองฟิลิปปินส์ยาวนานกว่า 300 ปี
ต่อมาเกิดขบวนการเรียกร้องอิสรภาพที่น้าโดยโฮเซ รีซัล (Jose Rizal) ปัญญาชนชาว ฟิลิปปินส์ ซึ่งก็ได้รับโทษประหารในเวลาต่อมา
ในพ.ศ.2441 สหรัฐอเมริกาและสเปนเกิดความขัดแย้งกันจนเกิดเป็นสงคราม แล้ว สหรัฐอเมริกาก็ได้เข้ามาครอบครองฟิลิปปินส์แทนสเปนนานถึง 14 ปี (ตั้งแต่ชว่ ง พ.ศ.2442- พ.ศ.2456)
หลังจากนั้น ก็เกิดสงครามต่อต้านสหรัฐฯ ที่เรียกว่า Philippine American War ก่อนจะ ได้รบั เอกราชอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2489
ประเทศมาเลเซีย ชื่อทางการ: สหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia) เมืองหลวง: กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาอิสลาม ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกบุหงารายา (Bunga Raya) หรือดอกชบาแดง วันชาติ: 31 สิงหาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (สมาชิกก่อตั้ง) ภาษาประจาชาติ: ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) หรือมลายู ภาษาราชการ: ภาษามาเลย์ ลักษณะทางภูมิศาสตร์: มาเลเซียตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร มีพื้นที่ประมาณ 329,758 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ: ประเทศมาเลเซียประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วนโดยมีทะเลจีนใต้กนั้ มาเลเซียตะวันตก
ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติดกับไทย และทิศใต้ตดิ กับสิงคโปร์ โดย ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลนั มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส และ 1 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ เกาะลาบวน มาเลเซียตะวันออก
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว (กาลิมนั ตัน) มีพรมแดนทิศใต้ติดกับอินโดนีเซียทัง้ หมด ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาร์ และซาราวัก และ 2 เขตที่ปกครองโดยรัฐบาลกลาง คือ กัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) ปุตราจายา (เมืองราชการ) ภูมิอากาศ: ร้อนชืน้ และฝนตกชุกตลอดปี โดยอยู่ภายใต้อิทธิพลของกระแสลมจากมหาสมุทรอินเดียและ ทะเลจีนใต้
ประชากร: ประมาณ 28.3 ล้านคน โดยมีเชื้อชาติหลักคือ มลายู รองลงมาคือ จีน อินเดีย และเชือ้ ชาติ อื่นๆ เช่น ไทย ทมิฬ ฮอลันดา อาหรับ เป็นต้น รวมถึงยังมีชนพื้นเมืองดั้งเดิม เช่น โอรังอัสลี อีบาน และ คาดาดุนซุน เป็นต้น การเมืองการปกครอง: ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เรียกว่า สมเด็จ พระราชาธิบดี หรือ ยังดี เปอร์กวน อากง (Yang dipertuan Agong) ซึ่งเลือกจากเจ้าครองรัฐต่างๆ ผลัดเวียนกันทุก 5 ปี ส่วนระบบรัฐบาล มีทั้งรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐและรัฐบาลแห่งรัฐปกครองแบบ รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา คือ สภาผูแ้ ทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมีนายกรัฐมนตรีมีอา้ นาจสูงสุดของ ฝ่ายบริหารโดยประมุขของประเทศเป็นผูแ้ ต่งตั้ง มาเลเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ ซึ่งแต่ละรัฐผูป้ กครองรัฐของตน และมี 3 เขตที่ อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลกลางแห่งสหพันธรัฐ เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: มาเลเซียมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เป็นประเทศ อุตสาหกรรมใหม่ที่มีเศรษฐกิจก้าวหน้าแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองจากสิงคโปร์ แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ทางมาเลเซียตะวันตก ปีนัง เป็นเมืองท่าใหญ่ของประเทศ มีถนนหลวง มาตรฐานสูงเชือ่ มโยงเป็นเครือข่ายไปทัว่ ประเทศคู่คา้ ส้าคัญของมาเลเซียคือ ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริกา และ สิงคโปร์ สินค้าส่งออก ได้แก่ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ น้า้ มันปาล์ม เคมีภัณฑ์ น้้ามัน ส้าเร็จรูป น้้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ เหล็ก ยางพารา และเป็นผู้ส่งออกดีบุกอันดับต้นๆ ของโลก ประวัต:ิ มาเลเซียเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศต่างๆ ตัง้ แต่ พ.ศ.2054 โดยถูก โปรตุเกส ยึดครอง ช่องแคบมะละกาซึง่ เป็นเส้นทางการค้าส้าคัญในขณะนั้นและต่อมาตกเป็นของชาวดัตช์หรือเนเธอร์แลนด์
ในพ.ศ.2359 ไทยหรือสยาม ได้ ไทรบุรี (เกดะห์) กลันตันและตรังกานู เป็นเมืองขึ้น
พ.ศ.2367 อังกฤษ เข้ายึดครองต่อจากดัตช์และได้จัดตั้งเขตปกครองรวม ปีนัง มะละกา และสิงคโปร์ เรียกว่า เขตจัดตัง้ ช่องแคบ (The Straits Settlements)
มาเลเซียได้รบั เอกราชในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2500 โดยใช้ชื่อประเทศว่า สหพันธรัฐ มาลายา และมีนายกรัฐมนตรีคนแรกชื่อ ตนกู อับดุล ราห์มาน
พ.ศ. 2506 ได้มกี ารรวมสหพันธรัฐมาลายา สิงคโปร์ ซาบาห์ บรูไนและสิงคโปร์ได้แยกตัว ออกเป็นอิสระภายหลัง
ประเทศอินโดนีเซีย ชื่อทางการ: สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เมืองหลวง: จาการ์ตา (Jakarta) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาอิสลาม ดอกไม้ประจาชาติ: กล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) วันชาติ: 17 สิงหาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (สมาชิกก่อตั้ง) ภาษาประจาชาติ: ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) ภาษาราชการ: ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) ลักษณะทางภูมิศาสตร์: พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5,070,606 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็นพื้นที่ทางบก 1,904,443 ตารางกิโลเมตร และพืน้ ที่ทางทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ:
ทิศเหนือ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศตะวันออก ทิศใต้
ติดกับทะเลจีนใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ติดกับติมอร์–เลสเต และปาปัวนิวกินี ติดกับทะเลติมอร์
อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มหี มูเ่ กาะมากที่สดุ ในโลกประมาณ 17,508 เกาะ แบ่งพื้นที่เป็น 4 ส่วนคือ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ หมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะมาลุกุ และอีเรียนจายา ภูมิอากาศ: อยู่ในเขตร้อนชื้นแบบศูนย์สูตรมี 2 ฤดูคือ ฤดูแล้ง (พฤษภาคม–ตุลาคม) และฤดูฝน (พฤศจิกายน –เมษายน) ประชากร: ประมาณ 245 ล้านคน ประชากรมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ที่มีมากที่สดุ คือ จาวา รองลงมาคือ ซุนดา มาดู มาเลย์ และยังมีชนชาติพื้นเมืองอื่นๆ ที่กระจายกันอยูต่ ามเกาะต่างๆ
การเมืองการปกครอง: ปกครองระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และหัวหน้าฝ่ายบริหาร รวมทั้งเป็นผู้บญ ั ชาการเหล่าทัพ โดยมีวาระการบริหารงาน 5 ปี และอยู่ใน ต้าแหน่งติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 สมัย ส้าหรับรัฐสภา จะประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชิกสภาผูแ้ ทนระดับภูมภิ าค ซึ่งการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะมีสภาประชาชนระดับท้องถิน่ ประเทศอินโดนีเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 33 จังหวัด โดยเป็นเขตปกครองสถานะพิเศษ 5 จังหวัด คือ จาการ์ตา อาเจะห์ ยอกยาการ์ตา ปาปัว และปาปัวตะวันตก ซึ่งแต่ละจังหวัดจะมีเมือง หลวงหรือเมืองหลักอยู่ดว้ ย เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: ในอดีตเศรษฐกิจของอินโดนีเซียพึ่งพาการส่งออกน้้ามันและก๊าซ ธรรมชาติเป็นหลัก แต่หลังเกิดวิกฤติการณ์น้ามันในตลาดโลก อินโดนีเซียจึงหันมาพัฒนาอุตสาหกรรม อื่นๆ ได้แก่ การกลัน่ น้้ามัน การต่อเรือ ประกอบรถยนต์ และการผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังอุดมสมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติไม่วา่ จะเป็นป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ เช่น น้้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก และเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประเทศที่เอื้อต่อการท้าประมงจับสัตว์ น้้าและท้าเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขัน้ บันได พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ ได้แก่ ยาสูบ ปาล์มน้้ามัน ยางพารา กาแฟ โกโก้ และเครื่องเทศ ประวัต:ิ ในอดีตอินโดนีเซียเป็นแหล่งเครือ่ งเทศที่ส้าคัญ จึงเป็นที่สนใจของชาวตะวันตก และตก เป็นอาณานิคมของประเทศเนเธอร์แลนด์นานกว่า 300 ปี พ.ศ.2485 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้ยดึ ครองอินโดนีเซียและขับไล่ เนเธอร์แลนด์ออกไปได้สา้ เร็จ
17 สิงหาคม พ.ศ.2488 อินโดนีเซียถือโอกาสประกาศเอกราชเพราะญีป่ ุ่นแพ้สงคราม โดยมี ซูการ์โน เป็นประธานาธิบดีคนแรก แต่เนเธอร์แลนด์ไม่ยอมรับและพยายามกลับเข้ายึดครองอินโดนีเซีย อีก ท้าให้เกิดการสู้รบกันอย่างรุนแรง
พ.ศ.2489 ทั้งสองฝ่ายลงนามเพื่อยุติความขัดแย้งใน ข้อตกลงลิงกัดยาติ (Linggadjati Agreement) แต่ภายหลังเนเธอร์แลนด์ละเมิดข้อตกลงโดยน้าทหารเข้าโจมตีอนิ โดนีเซียอีก
ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2492 อินโดนีเซียจึงได้รับเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ เนื่องจาก สหประชาชาติกดดัน แต่เนเธอร์แลนด์ก็ไม่คืนดินแดนอิเรียนจายาตะวันตกให้ จนในที่สุดประชาชนใน ดินแดนนัน้ ได้ลงประชามติขอเป็นส่วนหนึง่ ของอินโดนีเซียต่อสหประชาชาติจึงสามารถรวมกันได้สมบูรณ์ ใน พ.ศ.2506
ประเทศสิงคโปร์ ชื่อทางการ: สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) เมืองหลวง: สิงคโปร์ (Singapore) ศาสนาประจาชาติ: ไม่มศี าสนาประจ้าชาติ (ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ อิสลาม คริสต์ ฮินดู และลัทธิเต๋า) ดอกไม้ประจาชาติ: กล้วยไม้แวนด้า มิส โจควิม (Vanda Miss Joaquim) วันชาติ: 9 สิงหาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (สมาชิกก่อตั้ง) ภาษาประจาชาติ: ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู ภาษาราชการ: อังกฤษ จีน มาเลย์ และภาษาทมิฬ ลักษณะทางภูมิศาสตร์: ตั้งอยูบ่ นเกาะ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 697 ตารางกิโลเมตร (มีขนาดเท่ากับ เกาะภูเก็ตของไทย) โดยจะเป็นเกาะใหญ่หนึ่งเกาะ (เกาะสิงคโปร์) และเกาะเล็กๆ อีกมากกว่า 60 เกาะ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรมลายู ทางทิศเหนือติดกับช่องแคบยะโฮร์ ทิศใต้ตดิ กับช่องแคบสิงคโปร์ ทิศตะวันออกติดกับทะเลจีนใต้ และทิศตะวันตกติดกับช่องแคบมะละกา ภูมิประเทศ: ในภาคตะวันตกและภาคกลางของประเทศจะเป็นเนินเขา โดยภาคกลางจะมีเนินเขา ที่ เป็นต้นก้าเนิดของแม่นา้ ที่สา้ คัญของสิงคโปร์ พื้นที่บริเวณชายฝั่งของสิงคโปร์จะมีลักษณะเว้าแหว่ง เหมาะที่จะเป็นท่าเรือ ภูมิอากาศ: อยู่ในเขตอากาศร้อนชื้นและมีฝนตกชุก ประเทศนี้มีอณ ุ หภมิคงที่ ไม่มกี ารแบ่งแยกฤดูกาล ที่ชัดเจน ในช่วงเดือนมิถุนายน–กรกฎาคมจัดเป็นเดือนทีร่ ้อนทีส่ ุด และในช่วงเดือนพฤศจิกายน– มกราคมจะเป็นช่วงมรสุม ประชากร: ประมาณ 5.08 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก และประชากรก็มีความหลากหลายของเชื้อชาติ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีน รองลงมาจะเป็นชาวมาเลย์ และชาวอินเดีย
การเมืองการปกครอง: ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ (มีวาระ ด้ารงต้าแหน่ง 6 ปี) มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และแบ่งอ้านาจการปกครองออกเป็น 3 ส่วน คือ สภาบริหาร รัฐสภา และสภาตุลาการ เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีพื้นที่จ้ากัด และมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ อยู่น้อย สินค้าส่งออกที่ส้าคัญจึงเป็นพวกเครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้้ามันส้าเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า และส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน ส่วนสินค้าน้าเข้าที่ส้าคัญก็จะเป็นพวก พลังงาน อาหาร และวัตถุดบิ ในงานอุตสาหกรรม เช่น ยางพารา ประวัต:ิ ในศตวรรษที่ 3 ของประวัตศิ าสตร์จนี มีการกล่าวถึงสิงคโปร์เป็นครัง้ แรก ในชื่อของ โปหลัวชาง (Pu-Luo-Chung) ที่หมายถึงปลายสุดของคาบสมุทร เดิมสิงคโปร์เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า เทมาเส็ก (Temasek) หรือ ทูมาสิก (Tumasik) มี กษัตริย์เป็นผูป้ กครอง
ในศตวรรษที่ 13 เจ้าชายแสง นิลา อุตามา (Sang Nila Utama) แห่งปาเลมบัง (Palembang) (นครพระราชอาณาจักรศรีวชิ ัยประเทศอินโดนีเซีย) เดินทางออกมาแสวงหาสถานที่ ส้าหรับสร้างเมืองใหม่ และได้สร้างเมืองขึ้นทีบ่ ริเวณเกาะเทมาเส็กและเปลี่ยนชื่อเป็น สิงหปุระ (Singapura)
ในพ.ศ.2054 สิงคโปร์ตกเป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกส
ในพ.ศ.2434 เซอร์ สแตมฟอร์ด ราฟเฟิลส์ (Sir Stamford Raffles) ตัวแทนของบริษัท บริตชิ อินเดียตะวันออก (The British East India Company) เดินทางมาตกลงการค้ากับสุลต่าน ผู้ปกครองสิงคโปร์ โดยมีการลงนามท้าข้อตกลงเพื่อให้สิทธิแ์ ก่อังกฤษในการก่อตั้งสถานีการค้าที่ สิงคโปร์และจัดตั้งเป็นท่าเรือปลอดภาษี ส้าหรับประเทศแถบเอเชียรวมถึงสหรัฐอเมริกาและตะวันออก กลาง และต่อมาก็ยึดครองสิงคโปร์ไว้ได้
ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิงคโปร์ตกเป็นเมืองขึ้นของญีป่ ุ่นแต่หลังจากสิ้นสุดสงคราม สิงคโปร์ก็กลายเป็นเมืองขึน้ ของอังกฤษอีกครัง้
หรือมาเลเซีย
ในพ.ศ.2506 สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากอังกฤษและเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา
ในพ.ศ.2508 สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย และประกาศตัวเป็นเอกราช ตั้งแต่นนั้ มาสิงคโปร์ก็ พยายามพัฒนาและปรับปรุงประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้า และประชากรมีมาตรฐานคุณภาพชีวติ ที่ สูงสุด
ประเทศบรูไน ชื่อทางการ: บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เมืองหลวง: บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาอิสลาม ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกซิมปอร์ (Simpor) ดอกซิมปอร์มีปรากฏอยู่บนธนบัตร 1 ดอลลาร์บรูไนด้วย วันชาติ: 23 กุมภาพันธ์ วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 7 มกราคม พ.ศ.2527 ภาษาประจาชาติ: ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia) ภาษาราชการ: ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia) ลักษณะทางภูมิศาสตร์: พื้นที่ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ บน เกาะบอร์เนียว ในทะเลจีนใต้ ภูมิประเทศ: ประกอบด้วยพื้นที่สองส่วนที่ไม่ติดกัน โดยพื้นที่ด้านตะวันตก มีประชากร 97% ส่วน พื้นที่ด้านตะวันออกซึ่งเป็นภูเขา มีประชากรเพียง 10,000 คน ส้าหรับพื้นที่ชายฝั่งทางด้านเหนือของ บรูไน ติดกับทะเลจีนใต้ ส่วนพรมแดนทางบกทีเ่ หลือทั้งหมดถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวักประเทศ มาเลเซีย ภูมิอากาศ: ภูมิอากาศเขตร้อน มีอุณหภูมิและความชืน้ สูง และมีฝนตกชุกตลอดปี ประชากร: ประมาณ 401,890 คน ส่วนใหญ่มีเชื้อชาติมลายูรองลงมาคือ จีนและชาวพื้นเมือง การเมืองการปกครอง: ปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นทั้ง ประมุข นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พระมหากษัตริย์ของบรูไนจะต้องเป็นชาว บรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยก้าเนิดและนับถือ ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ ส้าหรับพรรคการเมืองจะถูกจ้ากัด บทบาทอย่างมาก ปัจจุบนั บรูไนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 เขต คือบรูไน- มูอารา เบเลต ตูตง และ เตมบูรง
เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: บรูไนเป็นประเทศร่า้ รวย เพราะเป็นผู้ผลิตน้้ามันรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ในอาเซียน และเป็นผลิตก๊าซธรรมชาติ LNG เป็นอันดับ 4 ของโลก สินค้าส่งออกที่สา้ คัญ คือ น้้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ บรูไนยังมีอตุ สาหกรรมอาหารฮาลาลทีม่ ีมาตรฐานการผลิตที่ ถูกต้องตามบัญญัติของศาสนาอิสลาม ปัจจุบนั บรูไนมีการพัฒนาโครงสร้างเศรษฐกิจให้มีความ หลากหลาย โดยการส่งเสริมบทบาทของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม รวมทั้งเปิดเสรีด้านการค้า ประวัต:ิ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 บรูไนมีอ้านาจและชือ่ เสียงทางด้านการค้า และครอบครอง อาณาเขตส่วนใหญ่ในเกาะบอร์เนียวและส่วนหนึ่งของหมู่เกาะซูลุ ต่อมาเมื่อสเปนและฮอลันดาแผ่อ้านาจเข้ามาในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บรูไนก็เสีย ดินแดนและเสื่อมอ้านาจลง
ใน พ.ศ.2449 บรูไนได้ลงนามในสนธิสญ ั ญายินยอมเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เพราะ เกรงว่าจะต้องเสียดินแดนไป และหลังจากนั้นไม่นานบรูไนก็ส้ารวจพบน้้ามันและก๊าซธรรมชาติทเี่ มือง เซรีอา ท้าให้บรูไนเป็นประเทศที่มีฐานะมั่งคัง่
ใน พ.ศ.2505 พรรคประชาชนบอร์เนียวได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้นจากการเลือกตั้ง แต่ถูก กีดกันไม่ให้จัดตั้งรัฐบาล จึงมีความพยายามที่จะยึดอ้านาจจากสุลต่านแต่ไม่ส้าเร็จ รัฐบาลของสุลต่านจึง ประกาศกฎอัยการศึก โดยต่ออายุประกาศทุกๆ 2 ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
บรูไนได้รับเอกราช เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2527 หลักจากอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษ มานานถึง 95 ปี
ประเทศเวียดนาม ชื่อทางการ: สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวง: ฮานอย (Hanoi) ศาสนาประจาชาติ: ไม่มีศาสนาประจ้าชาติ (ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาเป็นคริสต์และอิสลาม) ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกบัว (Lotus) หรือเรียกว่า “ดอกไม้แห่งรุ่งอรุณ” วันชาติ: 2 กันยายน วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 28 กรกฎาคม พ.ศ.2538 ภาษาประจาชาติ: ภาษาเวียดนาม ภาษาราชการ: ภาษาเวียดนาม ลักษณะทางภูมิศาสตร์: มีลักษณะพื้นทีเ่ ป็นแนวยาวคล้ายตัว S มีพื้นที่ประมาณ 331,690 ตาราง กิโลเมตร (3 ใน 5 ของไทย หรือ ประมาณ 65%) ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินโดจีน ทาง ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศใต้ตดิ กับทะเลจีนและอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดกับอ่าวตัวเกี๋ยและทะเล จีน และทิศตะวันตกติดกับประเทศกัมพูชาและประเทศลาว ภูมิประเทศ: พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นภูเขาสูง (โดยเฉพาะทางภาคเหนือ) คั่นระหว่างที่ราบลุม่ แม่น้าแดง และตอนใต้เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าโขง นอกจากนี้ยงั มีชายฝัง่ ทะเลแคบๆ ที่ยาวจากเหนือจรดใต้ ภูมิอากาศ: อยู่ในพื้นที่มรสุมเขตร้อน ทางภาคเหนือของประเทศจะมี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (มีนาคม– เมษายน) ฤดูรอ้ น (พฤษภาคม–สิงหาคม) ฤดูใบไม้ร่วง (กันยายน–พฤศจิกายน) และฤดูหนาว (ธันวาคม–กุมภาพันธ์) ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้จะมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (พฤษภาคม–ตุลาคม) และฤดูแล้ง (ตุลาคม–เมษายน) ประชากร: ประมาณ 86 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวเวียด รองลงมาจะเป็นชนกลุม่ น้อย ชาวเขา และ ชาวเขมร
การเมืองการปกครอง: ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม โดยมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV) เป็นพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวในประเทศ โครงสร้างการปกครองของ เวียดนามแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ สภาแห่งชาติ (The National Assembly หรือ Quoc-Hoi) เป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ มี อ้านาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญและการออกกฎหมายต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีอ้านาจให้ความเห็นชอบใน การแต่งตั้งและถอดถอนประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี
องค์กรฝ่ายบริหาร ท้าหน้าที่ก้าหนดนโยบายและบริหารประเทศ
รัฐบาลท้องถิน่ (People’s Committee of Province) เวียดนามมีสภาประชาชนและ คณะกรรมการประชาชนประจ้าท้องถิ่นเป็นองค์กรบริหารสูงสุดประจ้าท้องถิน่ โดยรัฐบาลท้องถิน่ จะ บริหารงานตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎระเบียบทีร่ ัฐบาลกลางบัญญัตไิ ว้
เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: เวียดนามจัดได้ว่าเป็นประเทศหนึง่ ทีม่ ีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่รวดเร็ว อีกทั้งเวียดนามยังเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ท้าให้เวียดนามมี ทรัพยากรธรรมชาติส้าคัญๆ มากมาย และยังมีพื้นทีท่ ี่เหมาะแก่การเพาะปลูกอีกด้วย เวียดนามมีพืช เศรษฐกิจส้าคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา ชา กาแฟ และยาสูบ ส้าหรับแร่ส่งออกที่ส้าคัญ คือ เหล็ก ถ่านหิน แอนทราไซต์ นอกจากนี้ยังมีก๊าซธรรมชาติและน้้ามันอีกด้วย ประวัต:ิ ช่วงประมาณ 700 ปีก่อนพุทธกาล–พ.ศ.1481 ประเทศเวียดนามตกอยู่ภายใต้การปกครอง ของราชวงศ์จีน ท้าให้ได้รับอิทธิพลด้านศิลปวัฒนธรรม การปกครอง และแนวคิดขงจื้อมาจากจีน ในพ.ศ.2344 เวียดนามได้รับอิสรภาพจากจีน ด้วยความช่วยเหลือจากเมอซิเออร์ ปิกโน เอด เบอาง (Pigneu fe Behaine) มิชชันนารีชาวฝรั่งเศส และความสามารถของแม่ทัพเหงียน อัน (Nguyen Anh) ซึ่งต่อมาได้สถาปนาตนเองขึน้ เป็นจักรพรรดิญาลอง
ต่อมาในสมัยพระเจ้ามิงห์หม่าง มีนโยบายต่อต้านคาทอลิกเป็นเหตุให้ฝรั่งเศสเข้าแทรกแซง เวียดนาม และใน พ.ศ.2426 เวียดนามก็ตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสได้แบ่ง เวียดนามออกเป็น 3 ส่วน คือ อาณานิคมโคชินจีนในภาคใต้ เขตอารักขาอันนามในตอนกลาง และเขต อารักขาตัวเกี๋ยในภาคเหนือ
ในพ.ศ.2484 เกิดขบวนการเวียดมินห์ขึ้น เพื่อขับไล่ฝรั่งเศสโดยมีโฮจิมินห์ เป็นผูน้ ้า
ในพ.ศ.2497 เวียดนามท้าอนุสัญญาเจนีวา เพื่อสงบศึกกับฝรั่งเศส เป็นผลให้เวียดนามต้อง แบ่งประเทศออกเป็น 2 ส่วน คือ เวียดนามเหนือภายใต้การน้าของพรรคคอมมิวนิสต์ และเวียดนามใต้ ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย
ใน พ.ศ.2503 เกิดสงครามเวียดนาม เป็นสงครามระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ สงครามนี้ยตุ ิลงได้ด้วยชัยชนะของเวียดนามเหนือ ท้าให้เวียดนามรวมกันเป็นหนึ่งเดียวภายใต้ชื่อ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ประเทศลาว ชื่อทางการ: สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ตัวย่อ: สปป.ลาว) (The Lao People’s Democratic Republic) เมืองหลวง: เวียงจันทร์ (Vientiane) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกจ้าปาลาว (Champa) หรือดอกลีลาวดี วันชาติ: 2 ธันวาคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 ภาษาประจาชาติ: ภาษาลาว ภาษาราชการ: ภาษาลาว ลักษณะทางภูมิศาสตร์: พื้นที่ประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ: ไม่มีทางออกสู่ทะเล พื้นที่สว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบสูง มีปา่ ไม้ปกคลุมหนาแน่น ทิศเหนือ ทิศตะวันตก ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ติดกับจีน ติดกับไทย ติดกับกัมพูชา ติดกับเวียดนาม ติดกับพม่า
ภูมิอากาศ: แบบเขตร้อน คล้ายกับภาคเหนือและภาคอีสานของไทย ประชากร: ประมาณ 6 ล้านคน ประกอบด้วย 68 ชนเผ่า ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มชนชาติ คือ ลาวลุ่ม ลาวเทิง และลาวสูง
การเมืองการปกครอง: มีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ หรือทางการลาวใช้ค้าว่า ระบอบประชาธิปไตยประชาชน โดยพรรคการเมืองเดียวคือ พรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าว มีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล และมี “ประธานประเทศ” (ประธานาธิบดี) เป็นประมุข เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: ภาวะเศรษฐกิจของลาวมีพัฒนาการที่ดขี ึ้นตามล้าดับ นับตั้งแต่ เปลี่ยนเป็นระบบ เศรษฐกิจเสรีการตลาดเมื่อ พ.ศ.2529 ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ โดยมี ผืนป่าและพื้นที่ทา้ การเกษตรขนาดใหญ่รวมทัง้ มีแร่ธาตุต่างๆ เช่น ดีบุก ยิปซัม ตะกั่ว เหล็ก ถ่านหิน อัญมณี และน้้ามัน ไปจนถึงมีเหมืองแร่ทองค้า และยังมีแหล่งน้า้ ส้าหรับผลิตไฟฟ้าส่งออกที่สร้างรายได้ ให้ประเทศอย่างมาก ประวัต:ิ แต่เดิมลาวอยู่ใต้การปกครองอาณาจักรน่าน ต่อมาก็ตกอยู่ในการปกครองของสยามนาน ถึง 114 ปี จนเกิดวิกฤติการณ์ ร.ศ.112 สยามต้องยกดินแดนลาวทั้งหมดให้เป็นของฝรั่งเศส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นรุกเข้ามาในลาว ขบวนการลาวอิสระจึงได้ ประกาศเอกราช
เมื่อญีป่ ุ่นแพ้สงคราม ลาวจึงตกอยู่ในอ้านาจฝรั่งเศสอีกครัง้
ฝรั่งเศสแพ้เวียดนามที่เดียนเบียนฟู ลาวจึงได้รบั เอกราชอย่างสมบูรณ์ใน พ.ศ.2496 โดยมี เจ้ามหาชีวติ ศรีสว่างวงศ์ เป็นพระมหากษัตริย์
ต่อมาเมื่อเจ้าสว่างวัฒนาขึน้ ครองราชย์ต่อเจ้าสุภานุวงศ์ หนึ่งในขบวนการลาวอิสระ ประกาศตนเป็นพวกนิยมคอมมิวนิสต์ และเป็นหัวหน้าขบวนการประเทศลาวออกเคลื่อนไหวทางการ เมือง
พ.ศ.2518 พรรคปฏิวตั ิประชาชนลาว ทีน่ ้าโดยเจ้าสุภานุวงศ์ ยึดอ้านาจรัฐบาลของ เจ้าสว่างวัฒนาได้ส้าเร็จ และประกาศสถาปนา “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” ขึ้นอย่างเป็น ทางการในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2518
ประเทศเมียนมาร์ ชื่อทางการ: สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of the Myanmar) เมืองหลวง: เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) (เมืองหลวงเดิม คือ ย่างกุ้ง) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาพุทธ ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกประดู่ (Padauk) วันชาติ: 4 มกราคม วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 ภาษาประจาชาติ: ภาษาเมียนมาร์ ภาษาราชการ: ภาษาเมียนมาร์ ลักษณะทางภูมิศาสตร์: มีพื้นที่ประมาณ 657,740 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ:
ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศใต้
ติดกับจีนและทิเบต ติดกับลาวและไทย ติดกับอินเดียและบังกลาเทศ ติดกับทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล
ภูมิอากาศ: แบบมรสุมเขตร้อน มี 3 ฤดู คือ ร้อน ฝน และหนาว ซึ่งสภาพอากาศจะแตกต่างกันไปตาม ภูมิประเทศ โดยพื้นที่สงู จะหนาวเย็น พื้นที่ภาคกลางจะแห้งแล้งกว่าแถบชายฝั่งทะเลตอนใต้ ประชากร: ประมาณ 55 ล้านคน มีหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่มีเชื้อชาติเมียนมาร์ รองลงมา คือ ไทยใหญ่ มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง คะฉิน่ ไทยและชิน การเมืองการปกครอง: ปกครองแบบสาธารณรัฐ โดยมีรัฐสภาซึ่งประกอบด้วย สภาประชาชน สภาชาติพันธุ์ และสภาท้องถิ่น สมาชิกรัฐสภามาจากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและ หัวหน้ารัฐบาล แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ ตามกลุ่มเชื้อชาติที่เป็นชนกลุ่มใหญ่ในแต่ละรัฐและแบ่ง เป็น 7 ภาค ในเขตพื้นที่ราบลุ่มที่ประชากรเชือ้ สายเมียนมาร์อาศัยเป็นส่วนใหญ่
เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: เมียนมาร์เป็นประเทศก้าลังพัฒนาทีม่ ีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลอยู่ใน เกณฑ์ต่้า การเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพหลักของเมียนมาร์ ซึ่งมีการปลูกข้าวเจ้า ผัก และพืชเมืองร้อน หลายชนิด นอกจากนี้ยงั มีการขุดแร่และน้า้ มัน รวมทั้งมีเหมืองดีบกุ อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคอุตสาหกรรมนั้นอยู่ในขั้นก้าลังพัฒนา โดยมีอตุ สาหกรรมต่อเรือเดินสมุทรอยู่บริเวณเมืองย่างกุง้ มะริด และทวาย ทรัพยากรธรรมชาติที่ส้าคัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ อัญมณี แร่ธาตุ และน้้ามัน ประวัต:ิ ชนเผ่ามอญเข้ามาตั้งรกรากในพม่า หลังจากนั้นดินแดนนี้ก็ถกู ชนชาติต่างๆ เข้ามาผลัด เปลี่ยน ยึดครองจนตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษใน พ.ศ.2429 ต่อมามีการก่อตั้งกลุ่มสันนิบาตเสรีภาพแห่งประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ โดยคณะของ อองซาน เพื่อเจรจาเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ
พม่าได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2491
พ.ศ.2505 นายพลเนวินก่อรัฐประหาร ปกครองพม่าแบบเผด็จการและปิดประเทศ
พ.ศ.2531 เกิดเหตุการณ์ 8888 (8 สิงหาคม ค.ศ.1988) ที่ทหารฆ่าประชาชนจ้านวนมาก
พ.ศ.2532 พม่าเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “Burma” เป็น “Myanmar” และสภาฟื้นฟู กฎระเบียบของชาติหรือสลอร์กจัดให้มีการเลือกตัง้ ตามระบอบ ประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกในรอบ 30 ปี
สภาสลอร์กไม่ยอมรับชัยชนะของนางอองซานซูจี และสั่งกักบริเวณนาง
สภาสลอร์กเปลี่ยนชื่อเป็น สภาแห่งสันติภาพ และพัฒนาประเทศและถูกประกาศให้ สันติภาพไปในเดือนมีนาคม พ.ศ.2554
รัฐบาลชุดแรกน้าโดยพลเอก เต็ง เส่ง ปกครองประเทศและเปลี่ยนชื่อจาก “สหภาพพม่า” เป็น “สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์”
ปัจจุบันนางออกซานซูจไี ด้รับการปล่อยตัวแล้ว และพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อ ประชาธิปไตยหรือเอ็นแอลดีของนางก็ได้รบั ชัยชนะอย่างท่วมท้นในการเลือกตั้งซ่อมเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2555
ประเทศกัมพูชา ชื่อทางการ: ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวง: พนมเปญ (Phnom Penh) ศาสนาประจาชาติ: ศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท ดอกไม้ประจาชาติ: ดอกล้าดวน (Rumdul) วันชาติ: 9 พฤศจิกายน วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 30 เมษายน พ.ศ.2542 ภาษาประจาชาติ: ภาษากัมพูชา ภาษาราชการ: ภาษากัมพูชา ลักษณะทางภูมิศาสตร์: ตั้งอยู่ในอินโด–แปซิฟิก มีพื้นที่ประมาณ 181,035 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศ: มีลักษณะคล้ายอ่าง โดยตรงกลางเป็นแอ่งทะเลสาบและลุ่มแม่นา้ โขงอันกว้างขวาง มี ภูเขาล้อมรอบ 3 ด้าน มีแม่น้าส้าคัญคือ แม่น้าโขง แม่นา้ ทะเลสาบ แม่นา้ บาสัก ทะเลสาบโตนเลสาบ ด้านตะวันออก ด้านเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ ด้านใต้และตะวันตก ด้านตะวันออกเฉียงใต้
มีเทือกเขาอันนันกัน้ เวียดนาม มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นเขตไทย มีเทือกเขาบรรทัดกัน้ เขตไทย เป็นทีร่ าบลุม่ แม่น้าโขง
ภูมิอากาศ: มรสุมเขตร้อน เป็นแบบร้อนชืน้ แถบมรสุม มีฝนตกชุกที่ยาวนาน ประชากร: ประมาณ 14.13 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวกัมพูชา รองลงมาคือ เวียดนาม จีนและอืน่ ๆ การเมืองการปกครอง: มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ของประเทศ มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลทีม่ าจากการเลือกตั้งของประชาชน ส่วนการปกครอง กัมพูชาแบ่งเขตการปกครองเป็น 23 จังหวัด (เรียกว่า เขต) ซึ่งแต่ละจังหวัด จะมีอ้าเภอทีเ่ ป็นศูนย์กลางปกครองเรียกว่า กรุง โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครอง
เศรษฐกิจและทรัพยากรทีส่ าคัญ: รัฐบาลกัมพูชาให้ความส้าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อมุ่งขจัดความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน โดยเร่งรัดการพัฒนาโครงพื้นฐานทาง เศรษฐกิจเช่น การสร้างสนามบิน ถนน ไฟฟ้า ประปา และสาธารณูปโภคต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมการลงทุน จากต่างชาติ รายได้หลักของกัมพูชามาจากภาคเกษตรกรรม พืชที่ส้าคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย นอกจากนี้ยังมีการท้าประมงน้้าจืดและป่าไม้ด้วย ส่วนภาคอุตสาหกรรมยังเป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีขา้ ว โรงเลื่อย รองเท้า เป็นต้น ประวัต:ิ กัมพูชาเริม่ ต้นขึน้ จากการที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้รวบรวมอาณาจักรขอมให้เป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันใน พ.ศ.1345 ซึ่งอาณาจักรมีความรุ่งเรืองมากว่า 600 ปี พ.ศ.2406 กษัตริยน์ โรดม (Norodom) ได้ลงนามในสนธิสัญญาฉบับแรกกับฝรัง่ เศส ซึ่ง ถือเป็นจุดเริ่มต้นทีก่ ัมพูชาตกอยู่ในอ้านาจของฝรั่งเศส
พ.ศ.2497 กัมพูชาได้รบั เอกราชอย่างสมบูรณ์ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาเจนีวา
พ.ศ.2513 มีการเปลี่ยนการปกครองมาเป็นสาธารณรัฐ แต่กลับล่มสลายใน พ.ศ.2518 เมื่อเขมรแดงหรือพรรคคอมมิวนิสต์กมั พูชา ภายใต้การน้าของพอล พต ขึน้ เป็นผู้นา้
พ.ศ.2522 กลุ่มกัมพูชาฝ่ายซ้ายล้มล้างรัฐบาลของเขมรแดง และปกครองประเทศ
พ.ศ.2535 กองก้าลังสหประชาชาติ (UNTAC) เข้าจัดการและฟื้นฟูกัมพูชา โดยแต่งตั้งให้ มีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือ เจ้านโรดม รณฤทธิ์ และฮุนเซน
ต่อมาฮุนเซนได้ท้ารัฐประหาร และจัดให้มีการเลือกตั้งทัว่ ไปในพ.ศ.2541 โดยมีตนเองได้ ด้ารงนายกรัฐมนตรีต่อมาจนถึงปัจจุบนั
แหล่งข้อมูล ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศกัมพูชา. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.9ddn .com/content.php?pid=771 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศไทย. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.9ddn. com /content.php?pid=747 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศบรูไน. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.9ddn .com/content.php?pid=767 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศฟิลิปปินส์. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. 9ddn.com/content.php?pid=748 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศมาเลเซีย. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. 9ddn.com/content.php?pid=764 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศเมียนมาร์(พม่า). (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http:// www.9ddn. com/content.php?pid=769 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศลาว. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.9ddn. com/ content.php?pid=770 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศเวียดนาม. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. 9ddn.com/content.php?pid=768 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศสิงคโปร์. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. 9ddn.com/content.php?pid=765 ข้อมูลและประวัตขิ องประเทศอินโดนีเซีย. (2012). สืบค้น 8 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. 9ddn. com/content.php?pid=766 krukanidta. (2556). ชุดประจาชาติอาเซียน. สืบค้น 17 กรกฎาคม 2556, จาก http://krukanidta .files.wordpress.com/2013/02/loi.jpg
ASEAN Focus ออกแบบ: นางสาววิมลรัตน์ ทองปลาด หอประวัติและพิพธิ ภัณฑ์ จัดทา: นางปัทมพร โพนไสว ห้องสมุด ดร.ไสว สุทธิพทิ ักษ์ แผนกบริการสารสนเทศ ศูนย์สนเทศและหอสมุด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ www.dpu.ac.th/laic