CINEMATHEQUE OF TIME
A Thesis submited in pertail fulfiment of requirment for the bachelor degree of architecture division of Architecture Technology faculty of Architecture
CINEMATHEQUE OF TIME
Untiga Srisang
光陰的電影館
CINEMATHEQUE OF TIME
Rajamangala University of Technology Thanyaburi 2018
1
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
2
CINEMATHEQUE OF TIME
อัณธิกา ศรีแสง
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโยลีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปีการศึกษา
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพยนตร์สถานแห่งกาลเวลา
2561
3
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
4
A
Abstracts
B
Contents
C
List of Figures
D
List of Tables
E
List of Charts
F
CINEMATHEQUE OF TIME
Acknowlegdement
光陰的電影館
TABLE OF CONTENTS
ACKNOWLEDGEMENT กิตติกรรมประกาศ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
6 A
การท�ำวิทยานิพนธ์นี้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีต้องขอขอบคุณคุณแม่ – คุณ พ่อ ที่เป็นกองสนับสนุนหลัก เป็นนายทุนหลักและเป็นแหล่งก�ำลังใจหลัก ขอบคุณ อาจารย์ทปี่ รึกษา อาจารย์กนั และอาจารย์จอมรวมไปถึงอาจารย์ทา่ นอืน่ ๆทีม่ สี ว่ น ร่วมในการเรียนการสอน ให้แนะน�ำและติชม ขอบคุณเพื่อนๆร่วมแอดและเพื่อน ทุกคนที่มีส่วนให้ค�ำแนะน�ำรวมไปถึงให้ก�ำลังใจ ให้ค�ำปรึกษาในเวลาที่ไม่อยาก ท�ำงาน แพนิกและมืดแปดด้าน ขอบคุณตัวผู้ท�ำวิทยานิพนธ์เองที่ผ่านมาถึงวันนี้ได้ เก่งมากแล้ว ขอบคุณเพลงทุกเพลงที่ฟังตอนท�ำงาน ขอบคุณ spotify และ spotify playlist ขอบคุณเหล่าศิลปินและเหล่าไอดอลที่เป็นที่เยียวยาจิตใจยามเครียด ( Monsta x , NCT , NCT DREAM , phum viphurit , bnk48 , scrubb และอีกมากมาย ) ขอบคุณ พนักงานเซเว่นที่ชงกาแฟให้ได้แบบตามสั่ง ท�ำให้สามารถท�ำงานแบบตาสว่างได้ ขอบคุ ณ อะไรก็ ต ามที่ อ ยู ่ ร อบตั ว ในเวลานั้ น ที่ เ ป็ น สภาพแวดล้ อ มที่ ท� ำ ให้ ท� ำ วิทยานิพนธ์เสร็จสิ้นได้
ABSTRACTS
เว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนา เว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่าง โดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนา เว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่าง โดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนา เว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่าง โดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนาเว้นว่างโดยเจตนา
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
บทคัดย่อ
7 B
CONTENTS
1.
2.
Introduction
CINEMATHEQUE OF TIME
1.1 ความเป็นมาและ
2
ความส�ำคัญของโครงการ
Literature Review
2.1 ความหมายและค�ำจ�ำกัดความ
14
2.5 กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง
40
2.2 ความเป็นมา
16
2.6 กรณีศึกษา
52
光陰的電影館
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
6
บทบาทของโรงหนังต่อสังคมโดยรอบ
17
Shanghai Film Museum
54
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
8
โรงหนังและเยาวราช
18
Kineforum
58
1.4 วิธีและขั้นตอนการด�ำเนินงาน
9
2.3 นโนบายและแผนพั ฒนา
21
Cineteca Nacional Siglo
62
24
สรุปกรณีศึกษา
66
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
10
2.4 ทฤษฎีและหลักการออกแบบที่
เกี่ยวข้อง ความสัมพั นธ์ระหว่าง
24
โรงภาพยนตร์และเมือง
C
การวิเคราะห์ภูมิทัศน์เมือง
25
การออกแบบนิทรรศการ
26
สถาปัตยกรรมเชิงภาพยนตร์
29
การออกแบบโรงภาพยนตร์
30
CONTENTS
3.
4.
3.1 ส�ำรวจย่านที่ตั้งโครงการ
70
การวิเคราะห์ที่ตั้ง A
92
4.1 ความเป็นมาของโครงการ
102
3.2 การเลือกท�ำเลที่ตั้ง
75
บริบทโดยรอบที่ตั้ง A
92
4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
103
3.3 การวิเคราะห์ท�ำเลที่ตั้ง
76
การเข้าถึง
93
4.3 การก�ำหนดโครงสร้างการบริหาร
104
มุมมองจากภายนอกโครงการ
94
4.4 โครงสร้างการบริหารงาน
105
และข้อมูลเบื้องต้น ประวัติความเป็นมา
77
มุมมองจากภายในโครงการ
95
4.5 รายละเอียดผู้ใช้โครงการ
108
ความเป็นมาและประชากร
79
การวิเคราะห์ทิศทางแดดและลม
95
4.6 การก�ำหนดรายละเอียดและกิจกรรม
110
วัฒนธรรมและสังคม
80
กฏหมาย
95
4.7 สรุปพื้ นที่ใช้สอยโครงการ
117
Figure and ground
82
การวิเคราะห์ที่ตั้ง B
96
4.8 การประเมินราคาก่อสร้าง
118
โครงสร้างพื้ นฐานโดยรอบที่ตั้ง
83
บริบทโดยรอบที่ตั้ง B
96
4.9 ระบบที่เกี่ยวข้อง
120
โรงหนังย่านเยาวราช
84
การเข้าถึง
97
ระบบส�ำหรับฉายภาพยนตร์
120
กิจกรรมและความหนาแน่นในย่าน
86
มุมมองจากภายนอกโครงการ
98
ระบบโครงสร้างช่วงพาดกว้าง
122
3.4 การเลือกที่ตั้งโครงการ
89
มุมมองจากภายในโครงการ
99
ระบบโครงสร้างเสา - คาน
124
3.5 การวิเคราะห์ท่ต ี ั้งโครงการ
90
การวิเคราะห์ทิศทางแดดและลม
99
ภาพรวมของที่ตั้งโครงการ
91
กฏหมาย
99
光陰的電影館
Programing and Activity
CINEMATHEQUE OF TIME
Location and Site
C
CONTENTS
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
C
ระบบโครงสร้างพื้ น
125
ระบบผนัง
126
ระบบสุขาภิบาล
128
ระบบไฟฟ้า
130
ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
132
ระบบอัคคีภัย
134
ระบบปรับอากาศ
136
ระบบขนส่งภายในอาคาร
142
บรรณานุกรม
147
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
CONTENTS
C
List of Figures
1.
2.
Introduction
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ1.1 - แผนภาพแสดงประวัติศาสตร์ภาพยนตร์
2
และโรงภาพยนตร์ในประเทศไทย
Literature Review
ภาพ 2.1 - Auckland Art Gallery
16
ภาพ 2.2 - โรงหนังควีนส์
16
光陰的電影館
ภาพ 1.2 - บริเวณโรงหนังย่านเยาวราช ปี 1995
4
ภาพ 2.3 - ศาลาเฉลิมกรุง
17
ภาพ 1.3 - บริเวณโรงหนังย่านเยาวราช
6
ภาพ 2.4 - โก๋หลังวัง
17
ภาพ 1.4 - บริเวณโรงหนังย่านเยาวราช
7
ภาพ 2.5 - โรงหนังเทียนกัวเทียน เยาวราช 1950s
18
ภาพ 1.5 - บริเวณโรงหนังสกาลา
8
ภาพ 2.6 - โรงหนังคาเธ่ย์ เยาวราช
20
ภาพ 2.7 - โรงหนังโอเดี้ยน เยาวราช
20
ภาพ 2.8 - โรงหนังเดชอุดมมินิเธียเตอร์
21
ภาพ 2.9 - โรงหนังแหลมทองเธียเตอร์
22
ภาพ 2.10 - Cinema in Shinsekai
24
ภาพ 1.6 - หลวงพระบาง Film Festival
10
ภาพ 2.11 - The Cleveland Institute of Art
12 D
Cinematheque
24
ภาพ 2.12 - Cinematheque passion
24
24
ภาพ 2.30 - Shanghai Film Museum
38
ภาพ 2.14 - ภาพแสดงการวิเคราะห์การใช้สอยของเมือง
25
ภาพ 2.31 - Shanghai Film Museum
39
ภาพ 2.15 - ภาพแสดงการวิเคราห์ช่องมองของเมือง
25
ภาพ 2.32 - Shanghai Film Museum
39
ภาพ 2.16 - Japan House London Exhibition
26
ภาพ 2.33 - Shanghai Film Museum
39
ภาพ 2.17 - Exploring The Planets Exhibit
27
ภาพ 2.34 - Kineforum
40
ภาพ 2.18 - Cadaval & Solà-Morales Liceo Ópera Barcelona
28
ภาพ 2.35 - Kineforum
41
ภาพ 2.19 - Flavie+Paul, Extposition Kawabata
28
ภาพ 2.36 - Kineforum
42
ภาพ 2.20 - Glossary of Manifesto for a Cinematic Architecture
29
ภาพ 2.37 - Kineforum
42
ภาพ 2.21 - หลวงพระบาง Film Festival
30
ภาพ 2.38 - Kineforum
42
ภาพ 2.22 - Movie Theater
30
ภาพ 2.39 - Kineforum
43
ภาพ 2.23 - Drive-By Cinema
31
ภาพ 2.40 - Kineforum
43
ภาพ 2.24 - Shanghai Film Museum
34
ภาพ 2.41 - Cineteca Nacional
44
ภาพ 2.25 - Kineforum
35
ภาพ 2.42 - Cineteca Nacional
45
ภาพ 2.26 - Cineteca Nacional
35
ภาพ 2.43 - Cineteca Nacional
45
ภาพ 2.27 - Shanghai Film Museum
37
ภาพ 2.44 - Cineteca Nacional
46
ภาพ 2.28 - Shanghai Film Museum
37
ภาพ 2.45 - Cineteca Nacional
47
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 2.13 - โรงหนังสกาลา
光陰的電影館
List of Figures
13 D
List of Figures
3.
Location and Site
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.1 ถนนเยาวราช
76
ภาพ 3.14เแสดงถนนที่สามารถเข้าถึงที่ตั้งโครงการ
93
ภาพ 3.2 ถนนเยาวราช
77
ภาพ 3.15 สถานีวัดมังกร ( The standard)
93
ภาพ 3.3 เยาวราช 1950
78
ภาพ 3.16 แสดงมุมมองน�ำสายตาสู่ท่ต ี ั้งโครงการ
94
ภาพ 3.4 เยาวราชในปัจจุบัน
78
ภาพ 3.17 แสดงมุมมองจากที่ตั้งโครงการสู่ภายนอก
95
ภาพ 3.5 ศาลเจ้าแม่กวนอิม
80
ภาพ 3.18 แสดงแสดงทิศทางของแดดและลม
95
ภาพ 3.6 วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
80
ภาพ 3.19 เแสดงบริบทโดยรอบที่ตั้งโครงการ
96
ภาพ 3.7 โบสถ์กัลหว่าร์
80
ภาพ 3.20 เแสดงการเข้าถึงที่ตั้งโครงการ
97
ภาพ 3.8 มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก
80
ภาพ 3.21 เแสดงถนนที่สามารถเข้าถึงที่ตั้งโครงการ
97
ภาพ 3.9 เทศกาลตรุษจีนเยาวราช
81
ภาพ 3.22 สถานีวัดมังกร ( The standard)
97
ภาพ 3.10 เทศกาลกินเจเยาวราช
81
ภาพ 3.23 แสดงมุมมองน�ำสายตาสู่ท่ต ี ั้งโครงการ
98
ภาพ 3.11 แสดงการขยายตัวของเมืองผ่าน
82
ภาพ 3.24 แสดงมุมมองจากที่ตั้งโครงการสู่ภายนอก
99
ภาพ 3.25 แสดงแสดงทิศทางของแดดและลม
99
figure and groun
14 D
ภาพ 3.12 เแสดงบริบทโดยรอบที่ตั้งโครงการ
92
ภาพ 3.13เแสดงการเข้าถึงที่ตั้งโครงการ
93
List of Figures
ภาพ 4.1 บริเวณโรงหนัง ย่านเยาวราช ปี 1995
75
ภาพ 4.2 Film Market
76
ภาพ 4.3 User chart
80
ภาพ 4.4 การก�ำหนดใช้งานของผู้ใช้โครงการ
81
ภาพ 4.5 Cinema Going Experience
82
ภาพ 4.6 Pippo Ciorra Atelier Bow-Wow exhibition
82
ภาพ 4.7 TCDC
83
ภาพ 4.8 Woodbrook Cafe
83
ภาพ 4.9 สรุปprogramในโครงการ
83
ภาพ 4.10 สรุปพื้ นที่โครงการ
91
ภาพ 4.11 I Write you a lot exhibition
92
ภาพ 4.12 The 7th Architect Film Festival
92
ภาพ 4.13 Bangkok Screening Room
92
ภาพ 4.14 - Fukuoka Film Archive
93
ภาพ 4.15 The Inverted Truss
94
ภาพ 4.16 SkyRose Chapel
94
ภาพ 4.17 SAI Playground
95
ภาพ 4.18 Steel structure
95
ภาพ 4.19 50 Housing Units
96
ภาพ 4.20 Swimming Pool Allmendli
97
ภาพ 4.21 LAZ Parking
97
ภาพ 4.22 Post tension slab
97
ภาพ 4.23 cast-in-place slab
97
ภาพ 4.24 precast slab
97
ภาพ 4.25 Concrete wall
98
ภาพ 4.26 Bauhaus Museum
98
ภาพ 4.27 Curtain wall
99
ภาพ 4.28 Aldeburgh Music
99
ภาพ 4.29 Toilet Plumbing
CINEMATHEQUE OF TIME
Programing and Activity
光陰的電影館
4.
100
15 D
List of Figures
ภาพ 4.30 DWV Diagram
100
ภาพ 4.43 Ceiling Services 108
108
ภาพ 4.31 Waste Management
101
ภาพ 4.44 Ceiling Services with
108
ภาพ 4.32 Main Distribution Board
102
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 4.33 Electric Room
102
ภาพ 4.45 Cooling Tower 109
109
ภาพ 4.34 หม้อแปลงไฟฟ้า
103
ภาพ 4.46 Split type FCU 110
110
ภาพ 4.35 White Cube Bermondsey
104
ภาพ 4.47 Ceiling Services with
111
ภาพ 4.36 ไฟฟ้าฉุกเฉิน
104
光陰的電影館
ภาพ 4.37 Wall Linear Light
105
ภาพ 4.48 Air-Conditioning for UPS 112
112
ภาพ 4.38 Prescient Offices
105
ภาพ 4.49 Fukuoka Film Archive 113
113
ภาพ 4.39 สายฉีดดับเพลงในอาคาร
106
ภาพ 4.50 Cultural Center in Landvetter
114
ภาพ 4.40 Fire protection system
107
ภาพ 4.51 Escalator Lighting 115
115
ภาพ 4.41 สัญญาณเตือนอัคคีภัย
107
ภาพ 4.52 Escalator in building 115
115
ภาพ 4.42 Sprinkle system
107
ภาพ 4.52 Erasmus University College
116
ภาพ 4.53 Elevator Hall 117
117
ภาพ 4.54 Elevators Hall 117
117
16 D
air – conditioner 108
air – conditioner 111
List of Tables
กฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่ อ ประกอบกิจการโรงมหรสพ ปี 2550
33
光陰的電影館
ตาราง 2.1 แสดงการเปรียบเทียบและรายละเอียด
3.
Location and Site
CINEMATHEQUE OF TIME
2.
Literature Review
17 E
List of Tables
4.
Programing and Activity
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
18 F
List of Table
3.
ด�ำเนินงาน
9
CINEMATHEQUE OF TIME
แผนผัง 1.1 แสดงขั้นตอนการ
光陰的電影館
Location and Site
19 F
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
20
INTRODUCTION
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
1
1
1.1 ความเป็นมาและ ความส�ำคัญของโครงการ
ภาพยนตร์เป็นสิง่ ทีอ่ ยูก่ บั สังคมไทยมานานตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5 เมือ่ นายเอส จี มานอฟสกีนำ� ภาพยนตร์มาฉาย ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก (พ.ศ.2440 ) ภาพยนตร์สื่อสารหรือถ่ายทอดเรื่องราวไปยังผู้ชมผ่านตัวกลางอย่างโรง ภาพยนตร์
CINEMATHEQUE OF TIME
History of Film
History of Cinema
in Thailand
in Thailand
光陰的電影館
2 2
ภาพ 1.1 แผนภาพแสดงความเป็ นมาของประวัตศิ าสตร์ ภาพยนตร์ และโรงภาพยนตร์ ในประเทศไทย ( อ้ างอิงจากหนังสือ ต�ำนานโรงหนัง )
光陰的電影館
จากการศึกษาความเป็นมาและประวัติของโรงภาพยนตร์พบ ว่ า มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ สภาพสั ง คม กล่ า วคื อ ประวั ติ ข องโรง ภาพยนตร์สามารถเป็นตัวเล่าเรือ่ งราวทางสังคมในช่วงเวลาการเกิด ขึ้นและมีอยู่ของโรงภาพยนต์นั้นได้
CINEMATHEQUE OF TIME
หากพิ จ ารณาจากที่ ตั้ ง จะ เห็ น ได้ ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ผูค้ นและสะถานทีต่ งั้ ทีเ่ ป็นศูนย์รวม คนจ�ำนวนมากจนกลายเป็นพื้นท์ท่ี ก่อให้เกิดกิจกรรมทางสังคมและ การมี ป ระสบการณ์ ร ่ ว มกั น ผ่ า น ภาพยนตร์
3 3
CINEMATHEQUE OF TIME
และพื้นที่สื่อภาพยนตร์นั้นช่วยให้เกิดวามหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรม ด้วยการมีทางเลือกให้คนในสังคมได้สัมผัสชีวิตที่แตกต่างจากวิถีของตนหรือเพื่อ การเรียนรูผ้ า่ นภาพยนตร์ซงึ่ ตอบรับยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และวีดีทัศน์ระยะที่ 3 พ.ศ. 2560-2564 ที่กล่าวถึงการส่งเสริมท้องถิ่นในการเผย แพร่ภาพยนตร์เพื่อเป็นสื่อในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความสุขแก่ชุมชน และยังส่งผลถึงการเติบโตของเศรษฐกิจในพืน้ ทีโ่ ดยรอบทีเ่ กิดจากการท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ที่กล่าว ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในชุมชนอีกด้วย
光陰的電影館
4
ภาพ 1.2 บริ เวณโรงหนัง ย่านเยาวราช ปี 1995 (77PPP)
光陰的電影館 CINEMATHEQUE OF TIME
จึงเกิดเป็นโครงการเพือ่ เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์สงั คมไทยผ่านความเป็นมาของ โรงภาพยนตร์และภาพยนตร์เพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่สื่อภาพยนตร์ ที่มีบทบาทต่อสภาพสังคมไทยในช่วงเวลาหนึ่งและเป็นการเก็บบันทึกเพื่อให้เห็น คุณค่าและความส�ำคัญของพื้นที่สื่อภาพยนตร์และเพื่อเป็นการศึกษาความเป็นไป ได้ของพื้นที่สื่อภาพยนตร์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงใน อดีตและพืน้ ทีท่ างภาพยนตร์ทกี่ อ่ ให้เกิดกิจกรรมทางสังคมและการมีประสบการณ์ ร่วมกันส�ำหรับกลุม่ คนทีส่ นใจภาพยนตร์ และเพือ่ การท่องเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงกับชุมชน เพื่อสนับสนุนการเกิดกิจกรรมที่ส่งเสริมเศรษฐกิจในชุมชน
5
1.2
วัตถุประสงค์ของโครงการ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
6
ภาพ 1.3 บริ เวณโรงหนัง ย่านเยาวราช (LIFE Magazine)
1.2.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.2.2.1 เพือ่ ศึกษาพืน้ ทีท่ างสถาปัตยกรรมทีท่ ำ� งานร่วมกับภาพยนร์และบริบท โดยรอบของพื้นที่ 1.2.2.2 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของพื้นที่ส�ำหรับการมีประสบการณ์ร่วม กันผ่านภาพยนตร์ 1.2.2.3 เพือ่ ศึกษาแนวโน้มในอนาคตของภาพยนร์ทตี่ อ้ งปรับตัวในมิตติ า่ งๆ โดยเฉพาะมิติทางพื้นที่
ภาพ 1.4 บริ เวณโรงหนัง ย่านเยาวราช (77PPP)
CINEMATHEQUE OF TIME
1.2.1.1 เพือ่ สร้างพืน้ ทีท่ างภาพยนตร์ทบี่ นั ทึกและเผยแพร่เพือ่ การเรียนรูผ้ า่ น ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์เพื่อให้เข้าใจความเป็นมา เห็นคุณค่า และน�ำไปปรับใฃ้ในอนาคต 1.2.1.2 เพือ่ สร้างพืน้ ทีก่ ารมีประสบการณ์รว่ มกันระหว่างบุคคลกับภาพยนตร์ ระหว่างสื่อภาพยนตร์กับพื้นทีี่ทางสถาปัตยกรรม 1.2.1.3 เพื่อสร้างพื้นที่ที่สนับสนุนการเกิดกิจกรรมในชุมชนเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจชุมชนผ่านการท่องเที่ยว
光陰的電影館
1.2.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ
7
1.3
ขอบเขตของการศึกษา
ศึกษาประวัติศาสตร์โรงภาพยนตร์ที่มี ความเกีย่ วข้องกับบริบทโดยรอบ ศึกษาพืน้ ทีท่ าง สถาปัตยกรรมที่ท�ำงานร่วมกับภาพยนตร์และ กิจกรรมทางภาพยนตร์ รวมไปถึงกิจกรรมทีเ่ กิด จากการชมภาพยนตร์ในพื้นที่ตั้งนั้นๆ CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
8
ภาพ 1.5 บริ เวณโรงหนัง สกาลา (77PPP)
1.4
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
วิธีและขั้นตอน การด�ำเนินงาน
แผนผัง 1.1 แสดงขันตอนการ ้ ด�ำเนินงาน 9
1.5
ประโยชน์ท่ค ี าดว่าจะได้รับ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 1.6 หลวงพระบาง Film Festival (The Momentum) 10
1.5.1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับด้านโครงการ
1.5.2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับของผู้ท�ำวิทยานิพนธ์
1.5.2.1 ได้ศึกษาพื้นที่ทางสถาปัตยกรรมที่ท�ำงานร่วมกับสื่อภาพยนตร์และบริบทโดยรอบของพื้นที่ตั้ง 1.5.2.2 ได้ศึกษาความเป็นไปได้ของพื้นที่ส�ำหรับการมีประสบการณ์ร่วมกันและพื้นที่ส�ำหรับเรียนรู้ผ่าน ประวัติศาสตร์โรงภาพยนตร์และภาพยนตร์ 1.5.2.3 ได้ศึกษาแนวโน้มในอนาคตของภาพยนตร์ที่ต้องปรับตัวในมิติต่างๆโดยเฉพาะมิติทางพื้นที่
光陰的電影館
1.5.1.1 สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมทางสังคมและการเรียนรู้ผ่านประวัติศาสตร์โรงภาพยนตร์ 1.5.1.2 สนับสนุนการบันทึกข้อมูลทางประวัตศิ าตร์ของโรงภาพยนตร์และภาพยนตร์ทมี่ คี ณุ ค่าในประเทศไทย 1.5.1.3 สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชนผ่านการท่องเที่ยว
CINEMATHEQUE OF TIME
11
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
12
LITERATURE REVIEW
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
2
13
2.1
ความหมาย และค�ำจ�ำกัดความ
ภาพยนตร์สถาน Cinematheque
‘สถานที่จัดกิจกรรมเกี่ยวกับ
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพยนตร์ท่เี น้นเรื่องราวใน ประวัติศาสตร์ เป็นส�ำคัญ1’
‘เป็นสถานที่จัดกิจกรรมเกี่ยวกับ
ภาพยนตร์ในฐานะที่ภาพยนตร์เป็นมากกว่า
光陰的電影館
สินค้าขายความบันเทิง2’
กล่าวคือภาพยนตร์สถานเป็นสถานทีจ่ ดั กิจกรรมเกีย่ ว กับภาพยนตร์ ในฐานะทีภ่ าพยนตร์เป็นมากกว่าความบันเทิง ที่เน้นเรื่องราวในประวัติศาสตร์หรือเป็นสถานที่ส�ำหรับ ภาพยนตร์แนวทดลอง หรือเป็นโรงภาพยนตร์ Art House ที่ เปิดกว้าง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเก็บบันทึกเรื่องราวใน อดีตและเพื่อเป็นพื้นที่สื่อกลางของกิจกรรมทางภาพยนตร์
เชิงอรรถ 1. Wikipedia 2. หอภาพยนตร์
กาลเวลา Time
‘ สิ่งที่ใช้ส�ำหรับการท�ำความเข้าใจพื้ นที4่ ‘
กล่าวคือเป็นสื่งที่น�ำไว้ระบุช่วงเวลา เช่น การใช้ เพื่อระบุเหตุการณ์ที่เป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต เป็นต้น และอีกนัยหนึ่งเวลานั้นมีความสัมพันธ์กับพื้นที่ เป็นสิ่งที่ ช่วยให้รับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงตามล�ำดับเวลาที่ต่างกัน ออกไป เวลาที่ใช้ในการเดินเข้าไปในสถาปัตยกรรมนั้นๆ เป็นอีกตัวแปรทีท่ ำ� ให้รบั รูพ้ นื้ ทีต่ า่ งกัน เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ระหว่างทางเดินไปในพื้นที่นั้นก็มีผลต่อการรับรู้
เชิงอรรถ 3.พจนานุกรมราชบัณฑิต 4.Pascal Schoning ( Manefesto for Cinematic Architecture)
CINEMATHEQUE OF TIME
เวลา, ครั้ง3 ‘
光陰的電影館
‘ [กาละ-] น. เวลาและสถานที่ กาล,กาล-
15
2.1.2 ค�ำจ�ำกัดความ
ภาพยนตร์สถานแห่งกาลเวลา (Ciematheque of time) เป็นโครงการส�ำหรับจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ ภาพยนตร์ โ ดยเริ่ ม จากเรื่ อ งราวในอดี ต อย่ า ง ประวัตศิ าสตร์โรงภาพยนตร์และภาพยนตร์ผา่ นการ จัดแสดงและจัดกิจกรรมให้เห็นถึงเรื่อง ราวในอดีต
2.2
และเป็นโครงการส�ำหรับการจัดฉายภาพยนตร์และ เป็น community ของคนที่สนใจในภาพยนตร์ รวม ถึ ง การจั ด กิ จ กรรมหรื อ นิ ท รรศการเกี่ ย วกั บ ภาพยนตร์ จึงเป็นพื้นที่ทางภาพยนตร์ (ภาพยนตร์ สถาน) ที่เชื่อมต่อระหว่างเรื่องราวในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต (กาลเวลา)
ความเป็นมา 2.2.1 ประวัติโรงหนังในประเทศไทย
CINEMATHEQUE OF TIME
ตัง้ แต่ภาพยนตร์เป็นทีร่ จู้ กั ในประเทศไทยครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ นายเอส จี มานอฟสกี น�ำภาพยนตร์มาฉายในประเทศไทยเป็นครั้งแรกที่ โรงละครหม่อมเจ้าอลังการเมือ่ ปี พ.ศ.2440 และได้ รั บ ความสนใจจากคนจ� ำ นวนมากจนท� ำ ให้ ภาพยนตร์ได้รบั ความนิยมอย่างรวดเร็วและเป็นเหตุ ให้เกิดโรงหนังขึ้นอย่างเป็นทางการในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2448
光陰的電影館
ภาพ 2.1 Auckland Art Gallery ( Manifesto by Julian Rosefeldt ) 16
ภาพ 2.2 โรงหนังควีนส์ (http://oknation.nationtv.tv)
2.2.2 บทบาทของโรงภาพยนตร์ต่อสังคมโดยรอบ
โรงหนังที่ตั้งอยู่ในชุมชนนั้นต้องปรับตัวให้ เข้ากับรสนิยมและเหตุการณ์ในชุมชน ในกรณีของโรงหนังแถบเยาวราชและส�ำเพ็ง ทีน่ ยิ มฉายหนังจีนและบางโรงก็เป็นโรงงิว้ ด้วย เช่น เทียนกัวเทียน7
光陰的電影館
หรือด้านสังคมอย่างกรณีของโรงหนังคิงส์ ควีนส์ และแกรนด์ ย่านวังบูรพาทีก่ ารมาของโรงหนังทีค่ วบคูม่ ากับย่านการค้าท�ำให้ยา่ น นั้นกลายเป็นย่านส�ำหรับพบปะสังสรรค์ที่เป็นที่นิยมของวัยรุ่นจน กลายเป็นกลายเป็นที่มาของค�ำว่า โก๋หลังวัง6
CINEMATHEQUE OF TIME
จากช่วงยุคสมัยรุ่งเรืองของโรงหนังที่อยู่ในย่าน ชุมชนหรือการค้า หากพิจารณาความสัมพันธ์ของโรงหนัง กับพื้นที่ตั้งดูจะพบว่าเกี่ยวข้องกันในหลายด้าน ด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เช่นการทีผ่ คู้ นในวงการ ภาพยนตร์ตั้งแต่ผู้สร้าง นักแสดง ทีมพากย์นักเขียน โปสเตอร์จนถึงบริษัทผลิตและะสายหนังนิยมมาตั้งกิจการ อยู่ละแวกหลังศาลาเฉลิมกรุง เปรียบได้ เหมือนฮอลลีวุด เมืองไทยในขณะนั้น5
ภาพ 2.4 โก๋หลังวัง ( classiccornermusic )
เชิงอรรถ 5.ต�ำนานโรงหนัง 6.ต�ำนานโรงหนัง 7.ต�ำนานโรงหนัง
ภาพ 2.3 ศาลาเฉลิมกรุง ( SCG Experience )
17
2.2.3 โรงหนังและเยาวราช
CINEMATHEQUE OF TIME
ระหว่างทศวรรษที่ ๒๔๖๐-๒๔๘๐ ย่านส�ำ เพ็งและเยาวราชได้เจริญเติบโตขึ้นกว่าเดิมด้วย การเป็นเขตเศรษฐกิจและย่านกลางคืนของเมือง สมัยใหม่เพราะได้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจใน ยามค�่ำคืนของเมืองสมัยใหม่เกิดขึ้นอย่างแพร่ หลายไม่วา่ จะเป็นโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ สถาน กินดืม่ สาธารณะ สถานเริงรมย์ ภัตตาคาร ร้านค้า ร้านกาแฟ โรงน�้ำชา โรงยาฝิ่น บ่อนการพนันและ ส�ำนักโสเภณีที่เปิดให้บริการตลอดคืน สิ่งบันเทิง เหล่านี้ถือได้ว่าเป็นสีสันแห่งถนนเยาวราชในยาม ค�่ำคืน8
光陰的電影館
ภาพ 2.5 โรงหนังเทียนกัวเทียน เยาวราช 1950s (https://www.vintag.es/2016/07/bangkok-in1950s-rare-color-snapshots.html?m=1)
18
เชิงอรรถ 8.กรุงเทพยามราตรี
โรงหนังในย่านถนนเยาวราชและเจริญกรุงตั้งแต่บริเวณ วงเวียนโอเดียนไปจนสุดวังบูรพามีอยูก่ ว่า 10 โรงอาทิ โอเดียน (ต่อมาเปลี่ยนเป็นนิวโอเดียน) สิงคโปร์ (ศาลาเฉลิมบุรี) ตงก๊ก น่ำ�แช พัฒนากร คาเธ่ย์ เทียนกัวเทียน เท็กซัส ศรีเยาวราช ศรีราชวงศ์ ศรีอยุธยานครสนุกและแคปปิตอล (ต่อมาเปลี่ยน เป็นนิวแคปิตอลและเจริญกรุงเธียร์เตอร์ในปัจจุบัน)
เชิงอรรถ 9.ต�ำนานโรงหนัง 10.ต�ำนานโรงหนัง
CINEMATHEQUE OF TIME
ยุคที่ญี่ปุ่นรุกรานจีนท�ำให้คนจีนจ�ำนวนหนึ่งอพยพเข้ามาสู่ประเทศไทย เพื่อหนีญี่ปุ่น คนจีน กลุ่มนี้เป็นก�ำลังส�ำคัญที่คอยให้ความร่วมมือกับการ ปฏิบัติงานของเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง แต่ภายหลังเมื่อสงครามสิ้นสุดลงประเทศจีนเกิดความขัดแย้งทาง อุดมการณ์ระหว่างพรรครัฐบาลก๊กมินตัง๋ (หรือจีนคณะชาติ ภายใต้การน�ำ ของเจียง ไค เช็ค ) กับภาคประชาชน (ภายใต้การน�ำของเหมา เจ๋อตุง) ท�ำให้คนจีนในไทย(โดยเฉพาะย่านเยาวราช) เกิดแบ่งแยกเป็น 2 พวกตาม ไปด้วยและเกิดความขัดแย่งอย่างรุนแรง10
光陰的電影館
ในช่วงเวลาสั้นๆช่วงหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ.2488-2489) เมื่ อ เกิ ด การจราจลขึ้ น ในย่ า นเยาวราชอั น เนื่ อ งมาจากความขั ด แย้ ง อุดมการณ์ระหว่างคนจีนในย่านนั้นที่มีผู้สนับสนุนจีนคณะชาติ (เจียงไค เช็ค) และจีนคอมมิวนิสต์ (เหมา เจ๋อ ตุง) ซึ่งขยายตัวต่อมากลายเป็นการ ลอบท�ำร้ายและสังหารฝ่ายตรงข้ามโรงหนังหลายแห่งกลายเป็นสมรภูมิ ย่อยๆส�ำหรับการโฆษณาอุดมการณ์ ซ่องสุมผู้คน หลบหนีและแอบซุ่มยิง อาทิ โรงหนังน�่ำแซ่มีการแอบฉายภาพ ดร.ชุน ยัด เซ็น และเพลงชาติจีน โรงหนังเทียนกัวเทียนมักเป็นแหล่งกบดานของพวกนิยมคณะชาติแสดงให้ เห็นถึงอีกหนึ่งบทบาทของโรงหนังที่ปรับตัวตามบริบทโดยรอบ9
19
ส่วนโรงหนังคาเธ่ย์ก็สมควรดีรับการบันทึกไว้ว่าเป็นโรงหนังที่ ได้ฉายหนัง 16 มม. เรื่องสุดท้ายของหนังยุค 16 มม.ของไทย (ยุค หนัง 16 มม.ของไทยอยู่ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึง ประมาณ พ.ศ.2514 หลังจากหนังไทยเข้าสู่ยุคหนัง 35 มม. เหมือน อย่างสากล )11
โรงหนังนิวโอเดียนเป็นโรงหนังที่มีโอกาสได้รับเสด็จฯพระบาทสมเด็จ พระเจ้ายู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.2489 ที่ เสด็จมาทอดพระเนตรภาพยนตร์เรือ่ ง Thirty Second Over TOKYO ซึง่ เป็นหนัง จากค่ายเมโทร การเสด็จฯมาครัง้ นีม้ ปี ระชาชนมารอชมพระบารมีเป็นจ�ำนวน มากจนท�ำให้การจราจรติดขัด12
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 2.7 โรงหนังโอเดี ้ยน เยาวราช ( https://www.estopolis.com )
ภาพ 2.6 โรงหนังคาเธ่ย์ เยาวราช ( www.chinatownyaowarach.com )
20
เชิงอรรถ 11.ต�ำนานโรงหนัง 12.ต�ำนานโรงหนัง
สมัยก่อนโรงหนังนิวโอเดียนใช้ชื่อว่าโอเดียน หน้าโรงหนังเป็นจุดตัด กันระหว่างถนนเจริญกรุงและเยาวราชจะมีอ่างน�้ำพุตั้งอยู่กลางถนนเพื่อใช้ เป็นจุดกันรถและเส้นแบ่งการจราจรผู้คนเลยนิยมเรียกกันว่าวงเวียนโอเดียน ปัจจุบนั อ่างน�ำ้ พุกลายเป็นซุม้ ประตูเฉลิมพระเกียรติตงั้ อยูแ่ ทนส่วนโรงหนังนิว โอเดียนกลายเป็นโอเดียนพลาซ่า ไม่ใช่โรงหนังแบบในอดีต
2.3 แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 ประเด็นการพั ฒนาหลักที่ส�ำคัญในช่วงแผนพั ฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ส�ำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สคช.) จ�ำแนก ประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ยึดตามรูปแบบของ UNCTAD และ UNESCO ออกเป็น 4 กลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่14
1
มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ได้แก่ งานฝีมือและหัตถกรรม การท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การแพทย์แผนไทยและอาหารไทย 2
ศิลปะ (Arts) ได้แก่ ศิลปะการแสดงและทัศนศิลป์ 3
ภาพ 2.8 โรงหนังเดชอุดมมินิเธียเตอร์ ( The Southeast Asia Movie Theater Project )
สื่อสมัยใหม่ (Media) ได้แก่ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ การพิมพ์ การกระจาย เสียงและดนตรี
光陰的電影館
การส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจกระแสใหม่ อาทิ เศรษฐกิจดิจิทัล เศรษฐกิจฐานชีวภาพ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และ วัฒนธรรม และการพัฒนาวิสาหกิจตั้งใหม่ (Start Up) และวิสาหกิจเพื่อ สังคม รวมถึงการสร้างสังคมผู้ประกอบการเพื่อต่อยอดฐานการผลิตและ บริการ13
CINEMATHEQUE OF TIME
นโนบายและแผนพั ฒนา
4
งานสร้างสรรค์และออกแบบ (Functional Creation) ได้แก่ แฟชัน่ สถาปัตยกรรม การโฆษณาและซอฟต์แวร์ เชิงอรรถ 13.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) , ส�ำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนันายกรัฐมนตรี 14.เศรษฐกิจสร้ างสรรค์กบั การพัฒนาประเทศไทย , พิริยะ ผลพิรุฬห์ , วารสารเศรษฐศาสตร์ ปริ ทรรศน์ สถาบันพัฒนศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม 2556
21
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และวีดีทัศน์ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564)15
ยุทธศาสตร์ที่ 2
CINEMATHEQUE OF TIME
ส่งเสริมและพัฒนาตลาดภาพยนตร์และวีดที ศั น์ไทย โดยมีกลยุทธ์และ แนวทาง มาตรการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ดังนี้ 1.การพัฒนาตลาดภาพยนตร์และวีดีทัศน์ในประเทศ 2. ส่งเสริมการจัดหาพื้นที่ฉายภาพยนตร์และวีดีทัศน์ไทย 3. ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเผยแพร่ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์เพื่อเป็นสื่อในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและสร้างความสุขแก่ชุมชน
光陰的電影館
22
ภาพ 2.9 โรงหนังแหลมทองเธียเตอร์ ( The Southeast Asia Movie Theater Project )
การพั ฒนาผู้ชมภาพยนตร์และวีดีทัศน์ (Audience Development)
และหลากหลาย
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและให้มีโรงภาพยนตร์ และร้านวีดีทัศน์ที่มีคุณภาพเพื่อบริการแก่สาธารณชนเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงภาพยนตร์และวีดที ศั น์ทมี่ คี ณุ ภาพสร้างโลกทัศน์และ กระแสนิยมใหม่ๆให้คนไทยมีความพิถีพิถันในการเลือกชมภาพยนตร์และ วีดีทัศน์ที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
เชิงอรรถ 15.ยุทธศาสตร์ การส่งเสริ มอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และวิดีทศั น์ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) . กระทรวงวัฒนธรรม
CINEMATHEQUE OF TIME
การส่งเสริมสนับสนุนการผลิตภาพยนตร์และวีดีทัศน์ท่ม ี ีคุณภาพ
光陰的電影館
การพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริโภคภาพยนตร์และวีดที ศั น์สามารถด�ำเนินการ ได้โดยส่งเสริมการเปิดพื้นที่และโอกาสให้ผู้บริโภคได้เข้าถึงภาพยนตร์และ วีดที ศั น์ทมี่ คี ณุ ภาพเช่น การจัดงานเทศกาลภาพยนตร์ การจัดฉายภาพยนตร์ นอกกระแสฯลฯ และการส่งเสริมการศึกษาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้าน ภาพยนตร์และวีดที ศั น์ซงึ่ ถือเป็นการติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ผบู้ ริโภคต่อไป
23
2.4 ทฤษฎีและหลักการออกแบบที่เกี่ยวข้อง 2.4.1 ความสัมพั นธ์ระหว่างโรงภาพยนตร์และเมือง (Cinema City Cultures)
หรือจะเป็นการวิเคราะห์โรงภาพยนตร์ดา้ นความเป็นเมืองและ การเติบโตของเมือง ผ่านกิจกรรมทางภาพยนตร์ที่เกิดขึ้นในเมือง นั้นๆเช่นการเกิดขึ้นของโรงภาพยนตร์แบบ Art house หรือ Multiplex หรือผ่านทางอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเมืองนั้นๆ
CINEMATHEQUE OF TIME
และในความสัมพันธ์ของภาพยนตร์และความเป็นเมืองนั้นยัง แสดงออกผ่านการน�ำเสนอสภาพแวดล้อมชองเมืองนัน้ ผ่าน Location ที่ใช้ถ่ายท�ำจริงๆในเมืองนั้น เช่น การแสดงถึงวัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมความเป็นอยู่16
ภาพ 2.12 Cinematheque passio ( Read the cloud )
ภาพ 2.10 Cinema in Shinsekai ( www.talonjapan.com )
ภาพ 2.11 The Cleveland Institute of Art Cinematheque ( https://spottedcowentertainment.com )
ภาพ 2.13 โรงหนังสกาลา ( www.matichon.co.th )
光陰的電影館
ความสัมพันธ์ระกว่างเมืองและโรงภาพยนตร์สามารถดู ได้ในหลายด้าน เช่นการที่โรงภาพยนตร์เป็นตัวแทนของเมือง ในลักษณะของพื้นที่ที่เป็น Utopian หรือ Dystopian เป็นพื้นที่ แห่งความสุข ความตื่นเต้นความแปลกใหม่และการหลีกหนี จากโลกความเป็นจริง เป็นสถานที่เพื่อความบันเทิง
24
เชิงอรรถ 16.Cinema And The City (Module) https://www.kcl.ac.uk/study
2.4.2 การวิเคราะห์ภูมิทัศน์เมือง
การใช้สอยของเมือง
ทางสัญจร
การวิเคราะห์ช่องมอง
(Townscape Analysis17)
(Urban Legibility)
(Permeability)
(Visual Analysis)
เป็นการศึกษาความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ และใช้สอยได้ทงั้ เป็นพืน้ ทีส่ าธารณะ กึง่ สาธารณะ ส่วน บุคคลและกึ่งส่วนบุคคล
เป็นการศึกษาช่องมองและมุมมอง ภายในพื้นที่
เป็นการค้นหาศักยภาพของพื้นที่และบริเวณ โดยรอบกิจกรรมและรูปทรงที่ใช้ในการกําหนดสถาน ที่เพื่อนําไปใช้ทําผังการใช้สอยเมืองทางกายภาพ (Legible Layouts) ที่ประกอบด้วย
ภาพ 2.14 ภาพแสดงการวิเคราะห์การใช้ สอยของ เมือง ( https://en.wikipedia.org/wiki/Atlas )
เชิงอรรถ 17.http://www.arch.chula.ac.th/ejournal/files/article/SlKQqrFfyoSun110019.pdf
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
เส้นทาง (Path) ศูนยกิจกรรม (Node) จุดหมายตา (Landmark) ขอบ (Edge) ย่าน (District)
ภาพ 2.15 ภาพแสดงการ วิเคราห์ชอ่ งมองของเมือง ( Street analysis in Vietnam. AA School )
25
2.4.3 การออกแบบนิทรรศการ (Exhibition Design)
CINEMATHEQUE OF TIME
นิ ท รรศการเป็ น สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ ใ ห้ ประสบการณ์ที่จัดแสดงอย่างมีความหมายอาจจัด เป็นชุดของรูปถ่าย การสาธิตหรือฉายภาพยนตร์ ประกอบ เป็นการขมวดความรู้ความสนใจของผู้อื่น ให้มุ่งไปยังวัสดุอุปกรณ์โดยการควบคุมเงื่อนไข
光陰的電影館
จากความหมายต่างๆสรุปได้วา่ นิทรรศการคือ รูปแบบหรือวิธีการถ่ายทอดความรู้ โดยน�ำเอาวัสดุ อุปกรณ์หรือสือ่ มาผสมผสานกันและน�ำเสนออย่างเป็น ระบบ เช่น ภาพ ของจริง หุ่นจ�ำลองฯลฯ เพื่อกระตุ้น ความสนใจและท�ำให้ผดู้ เู กิดความเข้าใจในเนือ้ หาของ นิทรรศการได้รวดเร็วขึน้ อาจกล่าวได้วา่ เป็นการเรียน รู้ที่ใกล้เคียงกับประสบการณ์ตรงโดยผู้ชมสามารถรับ รู้ได้จากประสาทสัมผัสทั้งห้า18
ภาพ 2.16 Japan House London Exhibition (https://www.japanhouselondon.uk)
26
เชิงอรรถ 18.การจัดนิทรรศการ , วรพจน์ นวลสกุล , มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550
2.4.3.1 ประเภทของนิทรรศการ (Type of Exhibition)
CINEMATHEQUE OF TIME
หมายถึงนิทรรศการที่จัดแสดงเรื่องราวเดิมๆไม่เปลี่ยนแปลงเป็นที่รวบรวมสิ่ง แสดงของที่ใช้จัดอาจจะเป็นของจริงหุ่นจ�ำลอง รูปภาพ ฯลฯ ที่น�ำมาแสดงนั้นไม่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบและวิธีการจัดอยู่ในอาคารหรือสถานที่เดิมไม่เปลี่ยนแปลงผู้ชม สามารถเข้ามาชมได้ตลอดเวลาเพือ่ ศึกษาหรือหาความรู้ เช่นพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาทั้งทางประวัติศาสตร์ ศิลปโบราณคดีตลอดจนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น19
光陰的電影館
ก) นิทรรศการถาวร (Permanent Exhibition)
ภาพ 2.17 Exploring The Planets Exhibit, National Air and Space Museum (https://airandspace.si.edu) เชิงอรรถ 19 .การจัดนิทรรศการ , วรพจน์ นวลสกุล , มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550
27
ข) นิทรรศการชั่วคราว (Non Permanent Exhibition)
คือการจัดนิทรรศการเป็นครั้งคราวในวาระโอกาส หรือเทศกาล พิเศษเพื่อแสดงความรู้ใหม่ๆแผนงานพิเศษวาระในวันส�ำคัญต่างๆของ หน่วยงานนิทรรศการชั่วคราวอาจจัดแสดงในสถานที่เดิมเป็นประจ�ำแต่ สื่อทีน�ำมาแสดงชุดนั้นๆจัดอยู่ไม่นานอาจเป็นสัปดาห์หรือ 2 เดือนก็ เปลี่ยนใหม่หรือเลิกไป CINEMATHEQUE OF TIME
ค) นิทรรศการเคลื่อนที่
光陰的電影館
นิทรรศการเคลื่อนที่หมายถึงนิทรรศการที่จดั ขึ้นเป็นชุดส�ำเร็จเพื่อ แสดงในหลายๆสถานที่หมุนเวียนกันไปรูปแบบและสื่อหลักที่น�ำมาแสดง เป็นแบบเดิมวัตถุประสงค์ในการจัดเป็นแบบเดิมอาจมีสิ่งของหรือการ แสดงประกอบเพิ่มเติมในบางครั้ง ส่วนสถานที่จัดก็หมุนเวียนเปลี่ยนไป เรือ่ ยอาจเคลือ่ นทีไ่ ปต่างจังหวัดหรือจังหวัดเดียวกันแต่เปลีย่ นชุมชนทีน่ ำ� ไปแสดงเช่นนิทรรศการศิลปะนิทรรศการ20
ภาพ 2.18 Cadaval & Solà-Morales Liceo Ópera Barcelona (https://www.arthitectural.com)
28
เชิงอรรถ 20.การจัดนิทรรศการ , วรพจน์ นวลสกุล , มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550
ภาพ 2.19 Flavie+Paul, Exposition Kawabata Maison de la Culture du Japon à Paris (http://www.flavie-paul.com)
2.4.4 สถาปัตยกรรมเชิงภาพยนตร์
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
(Cinematic Architecture)
จากหนังสือที่เขียนโดย Pascal Schoning ที่กล่าวถึงสถาปัตยกรรมเชิงภาพยนตร์ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่มีโครงสร้างและรูปร่างใน จินตนาการรวมทั้งเป็นสถาปัตยกรรมที่ด�ำรงอยู่เพื่อจินตนาการ โดยกล่าวถึงองค์ประกอบต่างๆไว้ดังนี้ เช่น เวลา ( Time ) ใช้ส�ำหรับ เข้าใจพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม เวลาที่ใช้ในการเดินเข้าไปในสถาปัตยกรรมนั้นๆเป็นอีกตัวแปรที่ท�ำให้รับรู้พื้นที่ต่างกัน เหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นระหว่างทางเดินไปในพื้นที่นั้นก็มีผลต่อการรับรู้ ระยะเวลา ( Duration ) จีงเป็นอีกปัจจับในการรับรู้พื้นที่เช่นกัน นอกจากนั้นยังมีส่วน ประกอบอื่นๆตามอภิธานศัพท์ ( glossary ) ด้านล่าง21
ภาพ 2.20 Glossary (Manifesto for a Cinematic Architecture - Pascal Schöning) เชิงอรรถ 21.Manifesto for a Cinematic Architecture - Pascal Schöning
29
2.4.5 การออกแบบโรงภาพยนตร์ (Cinema Design)
2.4.5.1 ประเภทของโรงภาพยนตร์ (Type of Cinema22)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
30
Outdoor Cinema โรงภาพยนตร์กลางแจ้ง
เป็ น โรงภาพยนตร์ ก ลางแจ้ ง ที่ จั ด ฉาย ภาพยนตร์ ร ะบบฟิ ล ์ ม หรื อ ดิ จิ ต อล จอฉาย ภาพยนตร์มกั เป็นโครงสร้างแบบนัง่ ร้านหรือจอภาพ ยนตร์แบบเป่าลม มีระบบเสียงเหมือนการจัดฉาย ภาพยนตร์ทวั่ ไป ผูช้ มสามารถนัง่ ดูได้ตามพืน้ ทีท่ จี่ ดั ไว้ให้ จะเป็นเก้าอี้แบบพับได้หรือปูเสื่อหรือยืนดู การฉายภาพยนตร์กลางแจ้งมักเป็นการจัดให้ชมฟรี เพือ่ ให้สามารถรับชมพร้อมกันได้ในชุมชนและมักมี โปรแกรมประเภทบันเทิงเริงใจต่างๆมาประกอบ ระหว่างการฉายหนังแต่ละเรือ่ งด้วย เช่น การแสดง ของคนท้องถิ่น คอนเสิร์ต และเกมร่วมสนุกต่างๆ
เชิงอรรถ 22.Type of Cinema (https://www.independentcinemaoffice.org.uk)
ภาพ 2.21 การจัดฉายหนังกลางแปลง (Untiga Srisang)
โรงภาพยนตร์ เป็นสถานที่สร้างขึ้น โดยเฉพาะส�ำหรับชมภาพยนตร์ โดยนิยม สร้างที่นั่งบนพื้นแบบขั้นบันไดไล่ระดับจา ด้านหลังลงไปยังด้านหน้าแบบ Auditorium
ภาพ 2.22 โรงหนังแหลมทองเธียเตอร์ ( The Southeast Asia Movie Theater Project )
光陰的電影館
โรงภาพยนตร์มาตรฐาน
CINEMATHEQUE OF TIME
Typical cinema
31
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
32
Mobility cinema โรงภาพยนตร์เคลื่อนที่
โรงภาพยนตร์ ที่ ส ามารถ เคลื่อนที่ได้ โดยส่วนใหญ่เป็นโรง ภาพยนตร์ขนาดเล็กที่เป็นรถยนตร์ โดยสารหรือเป็นนั่งร้านขนาดกระ ทัดที่เคลื่อนที่ได้ เป็นต้น
ภาพ 2.23 Drive-By Cinema (drivebycinema.com)
2.4.5 การออกแบบโรงภาพยนตร์
Two Basic Types of Seating Arrangements Multiple-Aisle
光陰的電影館
Has a maximum of 14-16 chairs per row with access to an aisle-way at both ends.
Continental All seats are located in a central section. The maximum quantity of chairs per row can greatly exceed the limits established in a multiple-aisle arrangement.
CINEMATHEQUE OF TIME
(Cinema Design Standard)
Note - For early planning, an average of 7.5 sq ft. per person may be used 33
Types of Form “Form” is the result of planned relationships between spectators and performers dictated by the anticipated function or use
Wide Fan
End Stage Well suited to lecture, film or slide presentations. Not very conducive to close relationship between performer and spectator.
Wide Fan Brings distant spectators closer to the performer. Limits space usage to primarily speech related activities.
CINEMATHEQUE OF TIME
End Stage
光陰的電影館
34
Arena Stage
3/4 Arena Improves the hearing and visual contact between spectator and performer. Film presentation is almost out of the question.
Arena Stage Offers 360 degree visuals, so you can bring more spectators closer to the performers. This limits the arena physically, it allows very little (or no) expansion.
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
3/4 Arena
35
Seat Widths Seating comfort is initially established by individual chair widths. Available sizes range from 18” to 24” though all sizes may not be produced by a single manufacturer. For accurate planning in an assembly area, this line must be identified so as not to over or underestimate the potential of a row of chairs.
CINEMATHEQUE OF TIME
Usually, smaller sizes of 18” and 19” have limited application due to the minimum clear width provided.
光陰的電影館
Row Spacing This spacing provides marginal clearance between a seated person’s knees and the back of the chair in the next forward row. At the same time, it will require that a seated person stand to permit another person to get by them. A minimum dimension occasionally used is 2’-6” (30”) As you increase the row spacing to 36”, seating comfort is dramatically improved and passage along a row of seated persons is accomplished with less disruption.
36
Floor Design
Example: 12” high riser, 32” row spacing. At this point, it becomes necessary to consider increasing the back to back dimension to provide more leg room.
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
Flat or less steeply sloped floors will usually allow a person to extend their knees and legs even under minimum row spacing conditions.
The free space under a chair is also lost when a row of seats is located directly behind a low wall. In this case, a recommended minimum clearance would be 11” measured from seat edge in the lowered position to face of wall. As the floor slope is increased, “free space” diminishes.
37
Aisle-ways & Code
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
38
In all cases, the dimension increases proportionately to the distance traveled toward an exit door. The aisle width in your auditorium seating layout must be measured perpendicular to side walls or the direction of travel and not necessarily parallel to the angle of curve of a row of seats.
Aisle-ways & Code
Visibility in an assembly space is a function of seat location. One of the most crucial parts of your auditorium seating layout is visibility. Screen Width A basic understanding of sight-line analysis and related planning guidelines, can result in achieving an acceptable (if not optimum) level of viewing for spectators.
Seating capacity and
The amount of space required for each auditorium depends on a number of factors but the figures below provide an approximate guide. The calculations are based on a modern design using 1.10–1.20 metres from seat back to seat back and 550 – 600mm seat widths.
光陰的電影館
200 seats: 270m² / 2,900 ft2 150 seats: 190m² / 2,000 ft2 75 seats: 125 m² / 1,350 ft2
CINEMATHEQUE OF TIME
• • •
Example #1: Basic Theater Form – End Stage. Quantity of Seats – 55. Seating Area – 450 Sq. Ft. Space Per Seat – 8.23 Sq. Ft. Row Spacing – 2′ 9″ Most Distant Seat – 22′-0″ Stage Elevation – None Floor Design – Flat / One Riser 8″ 39
2.5 กฏหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง 2.5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยการ อนุญาตให้ใช้อาคารเพื่ อประกอบกิจการ โรงมหรสพ พ.ศ. 2550
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
40
2.5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยการ อนุญาตให้ใช้อาคารเพื่ อประกอบกิจการ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
โรงมหรสพ พ.ศ. 2550
ตาราง 2.1 แสดงการเปรี ยบเทียบและรายละเอียดกฎกระทรวงว่าด้ วยการ อนุญาตให้ ใช้ อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ปี 2550
41
สถานที่ตั้งโรงมหรสพ
1. โรงมหรสพต้องตั้งอยู่ไม่ต�่ำกว่าระดับพื้นดินที่ก่อสร้าง
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
42
2.โรงมหรสพประเภท ก , ข , ง ต้องตั้งอยู่ในลักษณะนี้
3.โรงมหรสพประเภท ค , จ ต้องอยู่ในต�ำแหน่งที่มีบันได หนีไฟได้ อย่างน้อย 2 ทาง
CINEMATHEQUE OF TIME
1. ต้องมีระบบไฟฟ้าส�ำรอง สามารถท�ำงานได้โดยอัตโนมัตไิ ม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง ส�ำหรับเครื่องหมายแสดงทางฉุกเฉิน ทางเดิน บันได บันไดหนีไฟ 2. ต้องมีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ ประกอบด้วย -กริ่งสัญญาณ -อุปกรณ์แจ้งเหตุ 3. ต้องมีระบบป้องกันเพลิงไหม้ ซึ่งมี ท่อจ่ายน�้ำดับเพลิง ที่เก็บน�้ำส�ำรอง ตู้ดับเพลิง และหัวรับน�้ำดับเพลิง (แต่ส�ำหรับโรงมหรสพประเภท จ. (ที่อยู่กลางแจ้ง) ไม่ต้องท�ำ) 4. โรงมหรสพที่อยู่ในอาคารขนาดใหญ่ ต้องมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ 5. ทางหนีไฟต้องกันไฟและควันเข้าไปได้และทนไฟได้ 2 ชั่วโมง 6. โรงมหรสพที่มีการจัดที่นั่งยึดติด ทางเดินแต่ละชั้นต้องมีแสงไฟทางเดิน 7. ต้องมีป้ายบอกทางหนีไฟที่ชัดเจน ซึ่งพาคนไปสู่บันไดหนีไฟหรือทางหนีไฟ โดยมีขนาดตัวอักษรไม่เล็กกว่า 10 เซ็นติเมตร 8. ต้องมีถงั ดับเพลิงยกหิว้ ตามมาตรฐาน มอก. ขนาด 15 ปอนด์ หรือ6.8 กิโลกรัม ตามต�ำแหน่ง ดังนี้
光陰的電影館
ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับระบบความปลอดภัย
ที่นั่งคนดูช้น ั ล่าง
-ติดไว้ที่ผนังโรงมหรสพ หลังที่นั่งคนดูแถว หลังสุดอย่างน้อยข้างละ1 เครื่อง -ติดตั้งกึ่งกลางที่นั่งคนดู อย่างน้อยข้างละ 1 เครื่อง -หน้าที่นั่งคนดูแถวหน้าสุด อย่างน้อยข้างละ 1 เครื่อง -ด้านหลังจอหรือบนเวที อย่างน้อยข้างละ 1 เครื่อง
43
บริเวณที่นัง ่ คนดูชัน ้ บน
- ติดตั้งไว้ที่ผนัง หน้าที่นั่งคนดูและหน้าสุดอย่างน้อยข้างละ 1 เครื่องและหลังที่นั่ง คนดูแถวหลังสุดอย่างน้อยข้างละ1 เครื่อง
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
44
บริเวณห้องฉาย
ต้องติดตั้งไว้อย่างน้อย 2 เครื่อง
การจัดที่นั่งคนดูยาวติดต่อกันได้ไม่เกิน 20 ที่นั่ง
光陰的電影館
ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือไม่น้อยกว่า 2 เครื่องต่อพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร และเพิ่ม อีก 1 เครื่องต่อพื้นที่ 200 ตารางเมตร ที่เพิ่มขึ้น
การจัดที่นั่งคนดู
CINEMATHEQUE OF TIME
ส�ำหรับโรงมหรสพที่ตง ั้ อยู่กลางแจ้ง
45
การจัดที่นั่งมากกว่า 1 ตอน จัดที่นั่งไม่เกิน 16 ที่น่ง ั
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
46
การจัดที่นั่งคนดูติดผนังได้ แต่ท่น ี ่ง ั ยาวติดต่อกัน ได้ไม่เกิน 6 ที่นั่ง
โรงมหรสพที่เป็นพื้ นที่โล่ง
光陰的電影館
-โรงมหรสพที่อยู่กลางแจ้ง ที่นั่งคนดูต้องห่างจากจอหรือเวทีเป็นระยะ 1.5 เท่าของจุดสูงสุด ของจอหรือเวที
CINEMATHEQUE OF TIME
ทุก ๆ 8 แถวที่นั่งต้องมีทางเดินตามขวางโรงกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
47
จ�ำานวนประตูทางออก
การค�ำนวณความจุคนดู ส�ำหรับโรงมหรสพ ที่มีการจัดที่นั่งเพื่อค�ำนวณประตูทางออกให้นับที่นั่ง
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
48
การค�ำนวณความจุคนดู ส�ำหรับโรงมหรสพ ที่ไม่มีการจัดที่นั่งเพื่อค�ำนวณประตูทางออก ให้ค�ำนวณโดยวิธีนี้ ความจุคน = 0.6 x ขนาดของพื้นที่ห้องที่มีการแสดง
1. ทางออก หรือประตูที่อยู่ด้านข้างต้องอยู่ตรงกับแนวทางเดินตามขวาง 2. โรงมหรสพที่มีประตู ตั้งแต่ 2 ประตูต้องมีระยะของประตูไม่ น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของเส้นทแยงมุม
光陰的電影館
มีความจุตั้งแต่ 251 – 600 คน ต้องมีทางออกหรือประตูทางออกไม่น้อยกว่า 4 แห่ง
CINEMATHEQUE OF TIME
-มีความจุตั้งแต่ 51 – 250 คน ต้องมีทางออกหรือประตูทางออก ไม่ น้อย กว่า 3 แห่ง
49
ที่นั่งทุกที่นั่งห่างจากบันไดหนีไฟหรือทางหนีไฟ ไม่เกิน 60 เมตร
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
50
ประตูทางออกทุกบานห่างจากบันไดหนีไฟ หรือทางหนีไฟไม่เกิน 45 เมตร
ลักษณะของประตูทางออกโรงมหรสพ
光陰的電影館
ถ้าประตูทางออกอยู่ติดกับบันได จะต้องมีชานพักหน้าประตูขนาด 1.50 x 1.50 เมตร อยู่ด้วย
CINEMATHEQUE OF TIME
- เหนือประตู หรือทางออกต้องมีป้ายเขียนว่า “ทางออก” - ประตูทางออก หรือ ทางออก ต้องมีขนาดสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 x 2.00 เมตร
51
2.6 กรณีศึกษา (Case Study)
Shanghai film museum
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 2.24 Shanghai Film Museum (Archdaily) 52
Cineteca Nacional Siglo XXI
ภาพ 2.25 Kineforum (Archdaily)
ภาพ 2.26 Cineteca Nacional (Archdaily)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
Kineforum
53
Coordination Asia Shanghai film museum Shanghai 23
CINEMATHEQUE OF TIME
Project name: shanghai film museum Location: xuhui district, shanghai, china Building area: 15,000 sqm Architect: coordination asia, ltd.
光陰的電影館
ภาพ 2.27 Shanghai Film Museum (Archdaily)
Program Exhibition Workshop Art Cinema Shop
54
เชิงอรรถ 23.Shanghai Film Museum (Archdaily)
ภาพ 2.28 Shanghai Film Museum (Archdaily)
เป็นศูนย์จัดเก็บและเผยแพร่สิ่งที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ทั้งหมด ของเซียงไฮ้ บนพื้นที่กว่า 15,000 ตร.ม. ที่จัดเก็บฟิล์มภาพยนตร์เก่าและฟิล์มที่มีการท�ำขึ้นใหม่ที่แสดงให้เห็นถึงจุดเริ่ม ต้นของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเซียงไฮ้ที่เริ่มตั้งแต่ปี 1896 ผ่านกว่า 3,000 นิทรรศการ ที่ประกอบด้วย interactive installations ที่แนะน�ำผู้เข้าชมเกี่ยวกับเรื่องราวของอุตสาหกรรมภาพยนตร์เซียงไฮ้ตลอด 117 ปีที่ผ่านมา Chinese firm coordination asia
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 2.29 Shanghai Film Museum (Archdaily)
55
ที่ประสบความส�ำเร็จของ เซียงไฮ้ ถูกน�ำมาจัดแสดงในรูปแบบของ วัตถุอุปกรณ์ต่างๆและในรูปแบบของสื่อ Film studio
Multimedia installations ‘River of d re a m s ’ i n t e r a c t i v e s t re a m
ภาพยนตร์ตั้งแต่ปี 1949 จนถึงปัจจุบันที่ ยาวกว่า 50 เมตร CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
56
ภาพ 2.30 Shanghai Film Museum (Archdaily)
นี้ต้องการสร้างประสบการณ์ให้ผู้เข้าชมเกี่ยวกับการเติบโตของภาพยนตร์ที่เป็นเหมือน เวทย์มนต์ในวิวัฒนาการที่ผ่านมาจนกลายเป็นเครื่องมือของการเล่าเรื่องที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดย น�ำเทคโนโลยีในปัจจุบันมาประยุกต์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการน�ำเรื่องราวในอดีตกลับมาเล่า ความสัมพันธ์ ของอดีต ปัจจุบนั และอนาคตของภาพยนตร์ถกู แสดงผ่านพืน้ ที่ community ส�ำหรับผูส้ นใจภาพยนตร์ , film production และผู้เชี่ยวชาญ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
Overlying concept
ภาพ 2.31 Shanghai Film Museum (Archdaily)
ภาพ 2.32 Shanghai Film Museum (Archdaily)
ภาพ 2.33 Shanghai Film Museum (Archdaily)
57
Kineforum Misbar 24
CINEMATHEQUE OF TIME
Project name: Kineforum Location: Jakarta, Indonesia Building area: 530 sqm Architect: Csutoras & Liando
光陰的電影館
Program Open-Air Cinema Snack Bar Social Space
ภาพ 2.34 Kineforum (Archdaily) เชิงอรรถ 24.Kineforum (Archdaily) 58
เป็นโครงการ open-air cinema ชั่วคราวส�ำหรับจัดแสดงใน Jakarta Biennale ปี 2013 เป็นความร่วมมือการกันระหว่างสถาปนิก architects Csutoras & Liando และ Kineforum องค์กรไม่แสวงผลก�ำไรที่สนับสนุนภาพยนตร์ อิสระ ภาพยนตร์นอกกระแสทั้งในและต่างประเทศ Kineforum Misbar
วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้คือเพื่อ เผยแพร่ภาพยนตร์อินโดนีเซียและเพื่อสร้างที่ พบปะที่ซึ่งทุกคน ทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าชม และได้รับประสบการณ์จากภาพยนตร์จอใหญ่ได้ และเพือ่ ให้สามารถเข้าถึงคนได้ทกุ ประเภทรวมไป ถึงกลุม่ คนทีไ่ ม่มกี ำ� ลังเข้าห้างสรรพสินค้า จึงออก มาในรู ป แบบของโรงภาพยนตร์ ท ้ อ งถิ่ น ที่ เ ป็ น open – air นั่นเอง
ภาพ 2.35 Kineforum (Archdaily)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
59
ภาพ 2.37 Kineforum (Archdaily)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
60
ภาพ 2.36 Kineforum (Archdaily)
มีต้นแบบมาจากโรงหนัง open-air แบบดั้งเดิม ของอินโดนีเซีย จัดฉายภาพยนตร์ให้ชมฟรี โรงภาพยนตร์นี้ตั้งอยู่ใจกลาง จาการ์ตา ที่ Monas, Indonesia’s national monument โรงภาพยนตร์นี้ ขนาด 38 x 14 เมตรโครงสร้างถูกคลุมด้วยม่านโปร่งแสงที่สูงกว่า 6 เมตร เพื่อแสดงถึงความเป็นพื้นที่เปิดโล่งและขอบเขตของพื้นที่ภายใน
Kineforum Misbar
ภาพ 2.38 Kineforum (Archdaily)
光陰的電影館
พื้นที่โถงบริเวณหน้าโรงหนังท�ำหน้าที่เสมือน Social space ที่ เหมือนกับโรงภาพยนตร์ในอดีตของอินโดนีเซียที่สูญหายไปจากการ เติบโตของโรงภาพยนตร์แบบ Multiplex พื้นที่โถงนี้เป็นพื้นที่ส�ำหรับ นัดพบหรือพบปะ พื้นที่จ�ำหน่ายของทานเล่นและเครื่องดื่ม อีกทั้งยัง เป็นพื้นที่ส�ำหรับ hangout ก่อนหรือหลังจากชมภาพยนตร์
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 2.40 Kineforum (Archdaily)
ภาพ 2.39 Kineforum (Archdaily)
61
Cineteca Nacional Siglo XXI
CINEMATHEQUE OF TIME
Project name: Cineteca Nacional Siglo XXI Location: Maxico Building area: 49,000 sqm Architect: Rojkind Arquitectos
光陰的電影館
Program Screening rooms Outdoor amphitheater Social Space Retail Plaza
เชิงอรรถ 25.Cineteca Nacional Siglo XXI (Archdaily) 62
ภาพ 2.41 Cineteca Nacional (Archdaily)
โครงการนี้เกิดขึ้นจากการที่สถิติผู้เข้าชมภาพยนตร์ที่ Cineteca Nacional Siglo XXI ที่เปิดตัวขึ้นอีกครั้งมี จ�ำนวน 806,803 คนในปี 2013 มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นกว่า 30% ในปี 2017 ด้วยการฉายภาพยนตร์กว่า 1,287 เรื่อง
光陰的電影館
Cineteca Nacional Siglo XXI นี้ตั้งอยู่ ทางตอนใต้ ข องแม็ ก ซิ โ ก อยู ่ ภ ายใต้ มหาวิทยาลัยในการดูแลของ the National Film Archive and Film Institute of Mexico ที่ดูแลมรดกทางภาพยนตร์ของลาตินอเม ริกา
ภาพ 2.45 Cineteca Nacional (Archdaily)
อาคารโครงการเดิมก่อตัง้ ขึน้ ในปี 1982 และเมือ่ ถูก ไฟไหม้จนอาคารบางส่วนของมหาวิทยาลัยได้รบั ความเสีย หายในส่วนของพื้นที่ส�ำหรับจัดเก็บข้อมูลส�ำคัญ ส�ำหรับ การบ�ำรุงรักษาฟื้นฟูและสร้างใหม่ต่อเติมจากอาคารเดิม ในบางส่วนนั้นมีแนวคิดการขยายพื้นที่และรีโนเวทอาคาร เดิมโดยเพิม่ เติม vault space และพืน้ ทีฉ่ ายภาพยนตร์เข้าไป อีก 4 แห่ง
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 2.44 Cineteca Nacional (Archdaily)
63
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
64
ภาพ 2.46 Cineteca Nacional (Archdaily)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
Outdoor amphitheater เป็นหนึ่งในส่วนของภูมิทัศน์ในโครงการ รวมไปถึงพื้นที่ร้านค้า ที่ขยายเพิ่มขึ้นเพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและกิจกรรมทางสังคม ผู้คนกว่าพันคน เดินผ่านพืน้ ทีท่ เี่ ป็นพืน้ ทีส่ าธารณะเปิดโล่งตรงนีท้ กุ วัน ผูท้ สี ญั จรไปมาสามารถใช้พนื้ ทีต่ รงนีไ้ ด้ อย่างเต็มที่ตลอดทั้งวันและยังมีกิจกรรมพิเศษในตอนเย็นส�ำหรับ moviegoers คือการฉาย ภาพยนตร์ให้ชมฟรี
ภาพ 2.48 Cineteca Nacional (Archdaily)
ภาพ 2.47 Cineteca Nacional (Archdaily) 65
กรณีศึกษา
Shanghai film museum
Kineforum
แนวความคิด
เป็นศูนย์จดั เก็บและเผยแพร่สงิ่ ทีเ่ กีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ ภาพยนตร์ทั้งหมดของเซียงไฮ้ ที่ประกอบด้วย interactive installations ที่แนะน�ำผู้เข้าชมเกี่ยวกับเรื่อง ราวของอุตสาหกรรมภาพยนตร์เซียงไฮ้ตลอด 117 ปีที่ ผ่านมา
วัตถุประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่ภาพยนตร์อินโดนีเซียเพื่อสร้างที่พบปะ ที่ซึ่งทุกคนสามารถเข้าชมและได้รับประสบการณ์จากภาพยนตร์จอ ใหญ่ได้ และเพื่อให้สามารถเข้าถึงคนได้ทุกประเภทรวมไปถึงกลุ่มคน ทีไ่ ม่มกี ำ� ลังเข้าห้างสรรพสินค้า จึงออกมาในรูปแบบของโรงภาพยนตร์ ท้องถิ่นที่เป็น open – air นั่นเอง
โปรแกรม
Exhibition
Open-Air Cinema
Workshop
Snack Bar
Art Cinema
Social Space
ภาพโครงการ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
Shop
66
กรณีศึกษา
Cineteca Nacional Siglo XXI
แนวความคิด
Outdoor amphitheater
โปรแกรม
Screening rooms
เป็นหนึ่งในส่วนของภูมิทัศน์ในโครงการ ผู้คน กว่าพันคนเดินผ่านพื้นที่ที่เป็นพื้นที่สาธารณะเปิดโล่งตรงนี้ทุกวัน ผู้ที สัญจรไปมาสามารถใช้พื้นที่ตรงนี้ได้อย่างเต็มที่ตลอดทั้งวันและยังมี กิจกรรมพิเศษในตอนเย็นส�ำหรับ moviegoers คือการฉายภาพยนตร์ ให้ชมฟรี
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพโครงการ
Outdoor amphitheater Social Space Retail Plaza
67
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
68
LOCATION AND SITE
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
3
69
3.1
ส�ำรวจย่านที่ตั้งโครงการ (Location Survey)
SITE AND PROGRAM RELATION
CINEMATHEQUE OF TIME
ย่านทีม่ เี รือ่ งราวเกีย่ วกับภาพยนต์ และโรงภาพยนตร์เพื่อ เชื่อมโยงกับการ บอกเล่าประวัตศิ าสตร์ภาพยนตร์และโรง ภาพยนต์ การเข้าถึงง่ายและใกล้ระบบ ขนส่งมวลชนเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้โครงการในเชิงการท่องเที่ยว
光陰的電影館
70
แผนที่ 3.1 แสดงย่านที่ท�ำการ ศึกษา
71
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ส�ำรวจย่านที่ตั้งโครงการ (Location Survey)
วังบูรพา
ย่านวังบูรพา
CINEMATHEQUE OF TIME
ศ 1- 2 ที่ ดิน ประเภทอนุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย FAR 3 : 1 OSR ร้อยละ 10
光陰的電影館
ศาลาเฉลิมกรุง
ดิโอล์ดสยาม
โรงหนังควีนส์
China World
Mega Plaza
สถานีสามยอด
ซุ้มประตูสามยอด
โรงหนังคิงส์
แผนที่ 3.2 แสดงต�ำแหน่งโรง ภาพยนตร์ เ ดิ ม สถานี ข นส่ง และสถานที่ อ� ำ นวยความ สะดวกในย่านวังบูรพา
สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีตที่ยังเหลืออยู่ใน ปัจจุบัน สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีต สถานที่อำ�นวยความสะดวก สถานีขนส่งมวลชน
โรงหนังแกรนด์ 72
พาหุรัด
พ 3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม FAR 7 : 1 OSR ร้อยละ 4.5
แผนที่ 3.3 แสดงต�ำแหน่งโรง ภาพยนตร์ เดิ ม และสถานี ขนส่งในย่านเยาวราช
สถานทีฉ่ ายภาพยนตร์ในอดีตทีย่ งั เหลืออยู่ในปัจจุบัน สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีต สถานวัดมังกร (รถไฟฟ้าสายสีน้ำ�เงิน) โรงหนังญี่ปุ่น เวิ้งนาครเกษม โรงหนังแคปิตอล โรงหนังศรีราชวงศ์ โรงหนังศรีเยาวราช โรงหนังคาเธ่ย์ โรงหนังไชน่าทาวน์รามา โรงหนังเทียนกัวเทียน โรงหนังสิริรามา โรงหนังบรอดเวย์ โรงหนังเท็กซัส โรงหนังสิงคโปร์ โรงหนังโอเดียน
光陰的電影館
ย่านเยาวราช - เจริญกรุง
เยาวราช - เจริญกรุง
CINEMATHEQUE OF TIME
ส�ำรวจย่านที่ตั้งโครงการ (Location Survey)
ร้านค้า ร้านอาหาร ศาสนสถาน แผนที่ 3.4 แสดงที่ ตั ง้ ของ สถานที่อ�ำนวยความสะดวก ประเภทต่างๆในย่านเยาวราช
โรงแรม สถานพยาบาล
73
ส�ำรวจย่านที่ตั้งโครงการ (Location Survey)
ปทุมวัน
ย่านปทุมวัน
พ 3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม FAR 7 : 1 OSR ร้อยละ 4.5 CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
แผนที่ 3.5 แสดงต�ำแหน่งโรง ภาพยนตร์ เ ดิ ม สถานี ข นส่ง และสถานที่ อ� ำ นวยความ สะดวกในย่านปทุมวัน
สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีตที่ยังเหลืออยู่ใน ปัจจุบัน สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีต สถานที่อำ�นวยความสะดวก สถานีขนส่งมวลชน
Siam Discovery
โรงหนังสกาลา
สยามสแควร์
โรงหนังลิโด
Siam Center
โรงหนังสยาม
Siam SQ1
สถานีสยาม
Siam Paragon
74
วังบูรพา
เยาวราช - เจริญกรุง
ปทุมวัน
3.2
ย่านเยาวราช - เจริญกรุง
ย่านปทุมวัน
ศ 1- 2 ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริม เอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย FAR 3 : 1 OSR ร้อยละ 10
พ3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม FAR 7 : 1 OSR ร้อยละ 4.5
พ3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม FAR 7 : 1 OSR ร้อยละ 4.5
CINEMATHEQUE OF TIME
ย่านวังบูรพา
光陰的電影館
การเลือกท�ำเลที่ตั้ง (Location Selection)
75
3.3
การวิเคราะห์ท่ต ี ง ั้ โครงการและข้อมูล เบื้องต้น (Location data and Analysis)
CINEMATHEQUE OF TIME
耀華 力路 เยาวราช
光陰的電影館
76
ภาพ 3.1 ถนนเยาวราช (77PPP)
3.3.1 ประวัติความเป็นมา
光陰的電影館
ถ น น เ ย า ว ร า ช เ ป ็ น ถ น น ส า ย ห นึ่ ง ใ น กรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทาง ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รบั การขนานนามว่าเป็น “ถนน มั ง กร” โดยมี จุ ด เริ่ ม ต้ น ของหั ว มั ง กรที่ ซุ ้ ม ประตู เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้อง มังกรอยูท่ บี่ ริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิน้ สุดปลายหาง มังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้ เยาวราชกลายเป็นสถานที่ส�ำหรับส่งเสริมการค้าขาย
เชิงอรรถ 1. Wikipedia (https://th.wikipedia.org/wiki/ถนนเยาวราช)
CINEMATHEQUE OF TIME
ระหว่างทศวรรษที่ 2460-2480 ย่านส�ำเพ็งและ เยาวราชได้เจริญเติบโตขึ้นกว่าเดิมด้วยการเป็นเขต เศรษฐกิจและย่านกลางคืนของเมืองสมัยใหม่เพราะได้มี สถานที่พักผ่อนหย่อนใจในยามค�่ำคืนของเมืองสมัยใหม่ เกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นโรงมหรสพ โรง ภาพยนต์ สถานกินดืม่ สาธารณะ สถานเริงรมย์ ภัตตาคาร ร้านค้า ร้านกาแฟ โรงน�้ำชา โรงยาฝิ่น บ่อนการพนัน และส�ำนักโสเภณีที่เปิดให้บริการตลอดคืน
ภาพ 3.2 ถนนเยาวราช (77PPP) 77
ปัจจุบันบริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสาย จีนเป็นจ�ำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญแห่งหนึ่งของ กรุ ง เทพมหานครโดยได้ รั บ การขนานนามว่ า เป็ น “ไชนาทาวน์ แ ห่ ง กรุงเทพมหานคร” จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือ ชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก1 CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.3 เยาวราช 1950 https://www.vintag. es/2016/07/bangkok-in1950s 78
ภาพ 3.4 เยาวราชในปั จจุบนั (https://th.wikipedia.org/ wiki/ถนนเยาวราช)
3.3.2 การปกครองและประชากร
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
อ�ำเภอสัมพันธวงศ์ สร้างที่ว่าการอ�ำเภอขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตั้งอยู่ที่ สามแยกถนนทรงวาดตัดกับถนนปทุมคงคา ต�ำบลศาลเจ้าแม่ทับทิม ซึ่งอยู่ใน เขตวัดสัมพันธวงศาราม จึงสันนิษฐานได้วา่ อ�ำเภอสัมพันธวงศ์คงตัง้ ชือ่ ตามวัด ที่ตั้งนั่นเอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติจัดการบริหารราชการ ใหม่ในเขตนครหลวง อ�ำเภอสัมพันธวงศ์ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขต สัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร2
เยาวราชอยู่ในพื้นที่การปกครองเขตสัมพันธวงศ์ แขวงสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของ กรุงเทพมหานคร อยูใ่ นกลุม่ เขตกรุงเทพกลาง สภาพพืน้ ทีป่ ระกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม
เชิงอรรถ 2. Wikipedia (https://th.wikipedia.org/wiki/เขตสัมพันธวงศ์)
79
3.3.3 วัฒนธรรมและสังคม
ย่านนีเ้ ป็นสถานทีท่ มี่ ชี าวจีนอาศัยอยูม่ าตัง้ แต่ตอนแรกเริม่ กรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พวกเขาได้ย้ายมาจากเขตพระนครใน ปัจจุบนั โดยมีถนนวานิช 1 หรือ “ถนนส�ำเพ็ง” เป็นศูนย์กลางของ ชุมชนชาวจีน จวบจนสร้างถนนเยาวราชในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ ปี พ.ศ. 2435 ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางชาวจีนจนถึงปัจจุบัน3
เยาวราชรวมไปถึงฝั่งถนนเจริญกรุงและถนนอื่น ๆ ใกล้เคียงเป็นแหล่งทีต่ งั้ ของศาสนสถานมากมายหลายแห่ง ในหลากหลายความเชื่อทั้งพุทธหินยาน, มหายาน รวมถึง อนัมนิกาย, คริสต์ และอิสลาม
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.5 ศาลเจ้ าแม่กวนอิม (http://www.chinatownyaowarach.com)
80
เชิงอรรถ 3. Wikipedia (https://th.wikipedia.org/wiki/ถนนเยาวราช)
ภาพ 3.6 วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร (https://travelblog.expedia.co.th)
ภาพ 3.7 โบสถ์กลั หว่าร์ (http://trawellthailand.com/th/kalawar-church/)
ภาพ 3.8 มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก (http://visitdrsant.blogspot.com)
เทศกาลกินเจ เยาวราชก็มคี วามคึกคักเช่นเดียวกัน โดยจะมีผคู้ นออก มาจับจ่ายหาซื้ออาหารเจเป็นจ�ำนวนมากเป็นประจ�ำทุกปี
ภาพ 3.9 เทศกาลตรุษจีนเยาวราช (https://plynoi.com)
ภาพ 3.10 เทศกาลกินเจเยาวราช (http://www.chinatownyaowarach.com)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
เทศกาลตรุษจีน ในช่วงเทศกาลตรุษจีนของทุกปี เยาวราชจะมีความคึกคักเป็นอย่าง มาก จนมีการปิดถนนเป็นถนนคนเดิน มีการประดับโคมไฟสีแดงจ�ำนวน มากเพื่อความเป็นสิริมงคลตามความเชื่อของจีน เทศกาลกินเจ
81
FIGURE AND GROUND
การขยายตัวของอาคารในย่าน เยาวราชนั้นเป็นแบบ Linear และอัตรส่ วนของอาคารต่อพื้นที่ว่างทางฝั่งถนน เยาวราชจะหนาแน่ น กว่ า ฝั ่ ง ถนน เจริญกรุง CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.11 แสดงการขยายตัวของเมืองผ่าน figure and ground (https://snazzymaps.com) 82
CINEMATHEQUE OF TIME
ส่วนใหญ่เป็นร้านค้าห้างร้านและ ร้านอาหาร จากการที่ย่านเยาวราชเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อเรื่องการค้าและ อาหาร รองลงมาเป็นศาสนสถานที่มีทั้ง ของชาวจีนและชาวพุทธ แสดงให้เห็นถึง ความหลากหลายของวัฒนธรรมในพื้นที่
光陰的電影館
โครงสร้างพื้ นฐานโดยรอบที่ตั้ง (Location Facility)
ร้านค้า ร้านอาหาร ศาสนสถาน โรงแรม สถานพยาบาล
แผนที่ 3.6 เแสดง Facility ใน ย่านเยาวราช 83
โรงหนังย่านเยาวราช
โรงหนังในย่านเยาวราชและเจริญกรุงตั้งแต่บริเวณวงเวียนโอเดียนไปจนสุดวังบูรพามีอยู่กว่า 10 โรง อาทิ โอเดียน(ต่อมาเปลี่ยนเป็นนิวโอเดียน) สิงคโปร์ (ศาลาเฉลิมบุรี) ตงก๊ก น�่ำแช พัฒนากร คาเธย์ เทียนกัวเทียน เท็กซัส ศรีเยาวราช ศรีราชวงศ์ ศรีอยุธยา นครสนุกและแคปิตอล(ต่อมา เปลี่ยนเป็นนิวแคปิตอลและเจริญกรุงเธียร์เตอร์) เป็นต้น
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
84
แผนที่ 3.6 เแสดงต�ำแหน่งโรงภาพยนตร์ ในเยาวราช
ภาพ 3.4 แผนที่แสดงต�ำแหน่งโรงหนัง ย่านเยาวราชในอดีต
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ง
85
2460-2480
Early 2500 - Present
ภาพแสดงความหนาแน่นของกิจกรรมย่านเยาวราช
ภาพแสดงความหนาแน่นของกิจกรรมย่านเยาวราช
CINEMATHEQUE OF TIME
จากการมีไฟฟ้าใช้ในปี 2457 ท�ำให้เกิดวัฒนธรรม กิจกรรมยามค�่ำคืนสมัยใหม่และส่งผลให้ย่านเยาวราช เติบโตขึ้นจากการเป็นย่านกลางคืนสมัยใหม่ เพราะมี สถานที่พักผ่อนหย่อนใจยามค�่ำคืนมัยใหม่เกิดขึ้นอย่าง แพร่หลาย เช่นโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ สถานกินดื่ม สาธารณะ ภัตาคาร ร้านกาแฟ โรงน�้ำชา เป็นต้น และ ในส่วนของโรงภาพยนตร์จดั อยูใ่ นช่วงยุคเฟือ่ งฟูทเี่ กิดโรง ภาพยนตร์ขึ้นอย่างแพร่หลายในย่านนี้ มาก
มาก
น้อย
น้อย
光陰的電影館
86
ภาพแสดงกิจกรรมย่านเยาวราช
ภาพแสดงกิจกรรมย่านเยาวราช
ภาพแสดงความหนาแน่นของกิจกรรมย่านเยาวราช
มาก
น้อย
น้อย
มาก
CINEMATHEQUE OF TIME
มาก
光陰的電影館
ช่วงต้นปีพุทธศักราชปี 2500 ธุรกิจกิจกรรม บันเทิงยามค�่ำคืนทะยอยปิดตัวลงด้วยเหตุผลทาง สังคมและเศรษฐกิจ ในส่วนของโรงภาพยนตร์ทะ ยอยปิดตัวลงเพราะการเติบโตของเทคโนโลยีการ ฉายภาพยนตร์สมัยใหม่
มาก
น้อย น้อย
ภาพแสดงกิจกรรมย่านเยาวราช
87
ZONING FOR SITE SELECTION
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ความหนาแน่นของกิจกรรมตอนกลางวัน ความหนาแน่นของกิจกรรมตอนกลางคืน
88
สถานทีฉ่ ายภาพยนตร์ในอดีตทีย่ งั เหลืออยู่ในปัจจุบัน สถานที่ฉายภาพยนตร์ในอดีต สถานวัดมังกร (รถไฟฟ้าสายสีน้ำ�เงิน)
3.4
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
การเลือกที่ต้ง ั โครงการ (Site Selection)
SITE A
SITE B
SITE C
89
3.5
การวิเคราะห์ท่ต ี ง ั้ โครงการ (Site Analysis)
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
แผนที่ 3.6 เแสดงต�ำแหน่งที่ตงโครงการ ั้ 90
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
่ ั้ง ภาพรวมของทีต โครงการ (Site Overview)
91
Surrounding - Site A
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
สถานพยาบาล ร้านอาหาร โรงแรม
ภาพ 3.12 เแสดงบริ บทโดยรอบที่ตงโครงการ ั้ 92
ศาสนสถาน ร้านค้า ที่พักอาศัย
ภาพ 3.14 เแสดงถนนที่สามารถเข้ าถึงที่ตงโครงการ ั้
1.ถนนเจริญกรุง จากเวิ้งนาครเกษมมุ่งหน้าสู่ถนนพระtรามที่ 4 2.ถนนเยาวราช จากวงเวียนโอเดี้ยนมุ่งหน้าสู่ดิโอล์ดสยาม 3.ถนนสันติภาพ จากวงเวียน 22กรกฎามุ่งหน้าสู่ถนนพลับพลา ไชยและต่อเนื่องมายังถนนเจริญกรุง 4.ถนนผดุงด้าว (เท๊กซัส) จากถนนเยาวราชผ่านถนนผดุงด้าว สู่ถนนเจริญกรุง 5.ถนนแปลงนาม จากถนนเยาวราชผ่านถนนแปลงนาม 6.ถนนทรงสวัสดิ์ จากถนนเยาวราชผ่านถนนทรงสวัสดิ์ สู่ถนนเจริญกรุง
Transportation
CINEMATHEQUE OF TIME
Accessibility
光陰的電影館
Accessibility and Transportation - Site A
สถานีวัดมังกร (BS10) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสายใหม่ที่ เป็นส่วนต่อขยายช่วงหัวล�ำโพง – หลักสอง (สายสีนำ�้ เงินส่วนใต้) ตัง้ อยู่ บริเวณถนนเจริญกรุงใกล้กบั วัดมังกร กมลาวาส(วัดเล่งเน่ยยี่) ภาพ 3.13 เแสดงการเข้ าถึงที่ตงโครงการ ั้
ภาพ 3.15 สถานีวดั มังกร ( The standard) 93
Approach - Site A
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.16 แสดงมุมมองน�ำสายตาสูท่ ี่ตงโครงการ ั้
94
Orientation - Site A
Builindg Code - Site A
ภาพ 3.18 แสดงแสดงทิศทางของแดดและลม
จากการวิเคราะห์ทิศทางแดดและลม พบว่า Site A จะโดนแดด ในช่วงบ่ายบริเวณด้านหน้าโครงการเนื่องจากเป็นทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนทิศทางลมนัน้ สามารถรับได้อย่างเต็มทีบ่ ริเวณด้านหน้าโครงการเช่น กัน ส่วนด้านหลังโครงการเป็นบ้านและอาคารพักอาศัยหนาแน่นจึงไม่ สามารถรับลมได้ในด้านนี้
จากข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครเรือ่ งก�ำหนดบริเวณ ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลงอาคารบางชนิดหรือบางประเภทใน ท้องที่เขตสัมพันธวงศ์ พ.ศ.2542 Site A ตั้งอยู่ในบริเวณ 2 ซึ่งมีข้อก�ำหนดห้ามสร้าง อาคารสูงเกิน 37 เมตร
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
View - Site A
ภาพ 3.17 แสดงมุมมองจากที่ตงโครงการสู ั้ ภ่ ายนอก 95
Surrounding - Site B
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
สถานพยาบาล ร้านอาหาร โรงแรม
96
ภาพ 3.19 เแสดงบริ บทโดยรอบที่ตงโครงการ ั้
ศาสนสถาน ร้านค้า ที่พักอาศัย
ภาพ 3.21 เแสดงถนนที่สามารถเข้ าถึงที่ตงโครงการ ั้
1.ถนนเยาวราช จากวงเวียนโอเดี้ยนมุ่งหน้าสู่ดิโอล์ดสยาม 2.ถนนราชวงศ์ จากถนนเยาวราชผ่านถนนราชวงศ์ สู่ถนนเจริญกรุง 3.ถนนเจริญกรุง จากเวิ้งนาครเกษมมุ่งหน้าสู่ถนน พระรามที่ 4 4.ถนนผดุงด้าว (เท๊กซัส) จากถนนเจริญกรุงผ่านถนนผดุงด้าว สู่ถนนเยาวราช
Transportation
CINEMATHEQUE OF TIME
Accessibility
光陰的電影館
Accessibility and Transportation - Site B
สถานีวัดมังกร (BS10) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสายใหม่ที่ เป็นส่วนต่อขยายช่วงหัวล�ำโพง – หลักสอง (สายสีนำ�้ เงินส่วนใต้) ตัง้ อยู่ บริเวณถนนเจริญกรุงใกล้กบั วัดมังกร กมลาวาส(วัดเล่งเน่ยยี่) ภาพ 3.20 เแสดงการเข้ าถึงที่ตงโครงการ ั้
ภาพ 3.22 สถานีวดั มังกร ( The standard) 97
Approach - Site B
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพ 3.23 แสดงมุมมองน�ำสายตาสูท่ ี่ตงโครงการ ั้
98
Orientation - Site B
Builindg Code - Site B
ภาพ 3.25 แสดงแสดงทิศทางของแดดและลม
จากการวิเคราะห์ทิศทางแดดและลม พบว่า Site B จะโดน แดดในช่วงเช้าบริเวณด้านข้างโครงการทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนทางด้านหลังอาคารทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ที่จะโดนแดดใน ช่วงบ่ายนั้นไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการเนื่องจากเป็นพื้นบริเวณ ตึกแถวหนาแน่น ทิศทางลมนั้นสามารถรับได้อย่างเต็มที่บริเวณ ด้านหน้าโครงการทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือนัน่ เอง ส่วนด้านหลัง โครงการเป็นตึกแถวหนาแน่นจึงไม่สามารถรับลมได้ในด้านนี้
จากข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครเรือ่ งก�ำหนดบริเวณ ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลงอาคารบางชนิดหรือบางประเภทใน ท้องที่เขตสัมพันธวงศ์ พ.ศ.2542 Site B ตัง้ อยูใ่ นบริเวณที่ 3 ซึง่ มีขอ้ ก�ำหนดห้ามสร้าง อาคารสูงเกิน 16 เมตร
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
View - Site B
ภาพ 3.24 แสดงมุมมองจากที่ตงโครงการสู ั้ ภ่ ายนอก
99
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
100
PROGRAMING AND ACTIVITIES
光陰的電影館 CINEMATHEQUE OF TIME
4
101
4.1 ความเป็นมาของโครงการ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ภาพยนตร์เป็นสิ่งที่อยู่กับสังคมไทยมานานตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อนาย เอส จี มานอฟสกีน�ำภาพยนตร์มาฉายในประเทศไทยเป็นครั้งแรก (พ.ศ.2440 ) ภาพยนตร์สอื่ สารหรือถ่ายทอดเรือ่ งราวไปยังผูช้ มผ่านตัวกลางโรงภาพยนตร์ จากการศึกษาความเป็นมาและประวัติของโรงภาพยนตร์ พบว่ามีความเกี่ยวข้อง กับสภาพสังคมกล่าวคือประวัติของโรงภาพยนตร์สามารถเป็นตัวเล่าเรื่องราวทาง สังคมในช่วงเวลาการเกิดขึ้นและมีอยู่ของโรงภาพยนตร์นั้นได้ จึงเกิดเป็นโครงการเพื่อสร้างพื้นที่การเรียนรู้ประวัติศาสตร์สังคมไทยผ่าน ความเป็นมาของภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์เพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของพื นทีท่ างภาพยนตร์และเป็นการเก็บบันทึกเพือ่ ให้เห็นคุณค่าและความส�ำคัญของพืน้ ที่ ทางภาพยนตร์และเพื่อเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของพื้นที่ทางภาพยนตร์ที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงในอดีต
ภาพ 4.1 ถนนเยาวราช (777P) 102
4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
4.2.1 เพื่อสร้างพื้นที่ทางภาพยนตร์ที่บันทึกและเผยแพร่เพื่อ การเรียนรู้ผ่านประวัติศาสตร์ภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์เพื่อให้ เข้าใจความเป็นมา เห็นคุณค่าและน�ำไปปรับใฃ้ในอนาคต 4.2.2 เพือ่ สร้างพืน้ ทีก่ ารมีประสบการณ์รว่ มกันระหว่างบุคคล กับภาพยนตร์ ระหว่างสื่อภาพยนตร์กับพื้นทีี่ทางสถาปัตยกรรม 4.2.3 เพื่อสร้างพื้นที่ที่สนับสนุนการเกิดกิจกรรมในชุมชนเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนผ่านการท่องเที่ยว
103
4.3 การก�ำหนดโครงสร้างการบริการ
CINEMATHEQUE OF TIME
โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการคือกระทรวงวัฒนธรรม และกรุงเทพมหานคร ในส่วนการจัดการงานจะแบ่งให้ หอ ภาพยนตร์(องค์การมหาชน)และสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่ง ประเทศไทยดูแล แบ่งเป็นส่วนต่างๆดังนี้ 1.ฝ่ายบริหารทั่วไป 2.ฝ่ายศูนย์ข้อมูลภาพยนตร์ 3.ฝ่ายสารสนเทศ 4.ฝ่ายจัดการกิจกรรมทางภาพยนตร์
光陰的電影館
104
ภาพ 4.2 Film Market (http://www.biff.kr/eng/)
4.4 โครงสร้างการบริหารงาน
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
4.4.1 ผังโครงสร้างการบริหารงาน
แผนผัง 4.1 แสดงโครงสร้ างการบริ หารงาน
105
4.4.2 อัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
106
ตาราง 4.1 แสดงอัตราผู้บริ หารและ เจ้ าหน้ าที่
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ตาราง 4.2 แสดงอัตราผู้บริ หารและ เจ้ าหน้ าที่
107
4.5 รายละเอียด ผู้ใช้โครงการ
การก�ำหนดช่วงเวลาการใช้งาน ของผู้ใช้โครงการ
ผู้ใช้หลัก
ผู้ใช้รอง
กลุ่มคนสนใจภาพยนตร์
นักท่องเที่ยวเยาวราช และคนในพื้ นที่
CINEMATHEQUE OF TIME
274 คน/วัน จากค่ า เฉลี่ ยจ� ำนวนผู้ ใช้ งานหอ ภาพยนตร์ ปี 2559
196 คน/วัน จากจ�ำนวนผู้ใช้ งานจุดบริ การนักท่อง เที่ยวเขตสัมพันธวงศ์ ปี 2559 High season
光陰的電影館
58
80,000 คน/ปี
59
100,000 คน/ปี
60
100,000 คน/ปี
46.444 คน/ปี
ม.ค-ก.พ
17,000
มี.ค-ธ.ค 63,444 คน
บุคคลากรในโครงการ
44 คน/วัน ส่วนบริ หาร 9 คน
แม่บ้าน 4 คน
เจ้ าหน้ าที่ 15 คน
รปภ. 3 คน
พนักงาน 11 คน
พนง.รับส่งของ 3 คน
24.150 คน
ภาพ 4.3 User chart (Untiga Srisang) 108
514 คน/วัน
จากจ�ำนวนประชากรเขตสัมพันธวงศ์ ปี 2559 ผู้ใช้หลัก 53%
ผู้ใช้รอง 47%
เปิดบริการ 11.00 น. - 24.00 น.
光陰的電影館 CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 4.4 การก� ำ หนดใช้ งานของผู้ ใช้ โครงการ (Untiga Srisang)
109
4.6 การก�ำหนดรายละเอียด และกิจกรรม
EXHIBITION
CINEMATHEQUE OF TIME
ส่วนนิทรรศการ แสดงนิทรรศการเกีย่ วกับประวัตโิ รงหนัง ในประเทศไทยและในเยาวราชทีม่ คี วามสัมพันธ์ กับบริบทโดยรอบและสามารถเล่าเรื่องราวทาง สังคมในช่วงยุคสมัยหนึ่งที่โรงหนังเฟื่องฟูได้
光陰的電影館
ส่วนจัดฉายภาพยนตร์ จั ด ฉายภาพยนตร์ ต ามหั ว ข้ อ ของ นิทรรศการหมุนเวียนและจัดฉายเป็นโปรแกรม พิเศษต่างๆ
ภาพ 4.6 Pippo Ciorra Atelier Bow-Wow exhibition
ภาพ 4.5 Cinema Going Experience photo by Alison Nastasi
ส่วนพื้นที่กิจกรรม กิจกรรมเกี่ยวกับภาพยนตร์หรือ เกี่ยวกับชุมชน เป็นพื้นที่ให้จัดกิจกรรม หมุนเวียนต่างๆ
รูปที่ 4.3 I Write You A Lot exhibition by Untiga Srisang 110
รูปที่ 4.4 asianfilmmarket.org
ส่วนห้องสมุดและ Workshop ห้องสมุดส�ำหรับศึกษาค้นคว้าข้อมูล เกีย่ วกับประวัตศิ าสตร์โรงหนังและพืน้ ทีต่ งั้ เพิม่ เติมและส่วน workshop ทีจ่ ะจัดขึน้ ราย เดือน
ภ T U
ภ W (
ส่วน Shop และ Cafe พื้นที่ให้บริการอาหารและเครื่องดื่มและสินค้าที่ระลึก
ภาพ 4.8 Woodbrook Cafe (by Untiga Srisang)
ส่วนบริหารจัดการ พื้นที่ท�ำงานของบุคคลากรในโครงการและจัดเก็บ องค์ความรู้ต่างๆ
permanent exhibition
History of Cinema in Thailand
temporary exhibition CINEMA 800 SQ.M
MULTIPURPOSE AREA 800 SQ.M
Standard 200 seats
Spacial program
Open Air 250 seats
Regular program
Space for activity
Film festival Film Contest Graduated projects
LIBRARY AND WORKSHOP
光陰的電影館
EXHIBITION 2,500 SQ.M
History program Family program Film Festival Study program Seminar
CINEMATHEQUE OF TIME
ภาพ 4.7 TCDC (by Untiga Srisang)
ภาพ 4.9 สรุปprogram ในโครงการ
SUPPORT AREA Cafeteria Cafe
Shop
Office
Technical
SERVICE PARKING
Service
52 parking lots
111
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ตาราง 4.3 แสดงการค�ำนวนพื ้นที่โครงการ 112
光陰的電影館 CINEMATHEQUE OF TIME
ตาราง 4.4 แสดงการค�ำนวนพื ้นที่โครงการ 113
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ตาราง 4.5 แสดงการค�ำนวนพื ้นที่โครงการ 114
光陰的電影館 CINEMATHEQUE OF TIME
ตาราง 4.6 แสดงการค�ำนวนพื ้นที่โครงการ 115
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ตาราง 4.7 แสดงการค�ำนวนพื ้นที่โครงการ 116
4.7 สรุปพื้ นที่ใช้สอยโครงการ ภาพ 4.10 สรุปพื ้นที่โครงการ
History of Cinema in Thailand
temporary exhibition CINEMA 800 SQ.M
MULTIPURPOSE AREA 800 SQ.M
CINEMA 800 SQ.M
Standard 200 seats
Spacial program
Open Air 250 seats
Regular program
Opened space for activities
Film festival Film Contest Graduated projects
LIBRARY AND WORKSHOP
History program Family program Film Festival Study program Seminar
SERVICE 450 SQ.M 光陰的電影館
permanent exhibition
MULTIPURPOSE AREA 800 SQ.M
EXHIBITION 2,500 SQ.M PARKING
CINEMATHEQUE OF TIME
EXHIBITION 2,500 SQ.M
LIBRARY AND WORKSHOP SUPPORT AREA
SUPPORT AREA Cafeteria Cafe
Shop
Office
Technical
SERVICE PARKING
Service
52 parking lots
117
4.8 การประเมินราคาก่อสร้าง ราคาที่ดิน
ราคาค่าก่อสร้าง
ราคาค่าก่อสร้าง - พื้นที่โครงการทั้งหมด 8,243 ตร.ม. CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
5,300 ตร.ม ราคาที่ดินติดถนน 5 แสนบาท/ตร.วา ราคาที่ดินด้านใน 1.2 แสนบาท/ตร.วา พื้นที่ดินติดถนน 560 ตร.ว. เท่ากับ 560 x 500,000 = 280,000,000 บาท พื้นที่ดินด้านใน 765 ตร.ว. เท่ากับ 758 x 120,000 = 91,800,000 บาท ราคาที่ดินรวม 91,800,000+280,000,000 เท่ากับ 371,800,000 บาท
118
400 ตร.ม ราคาที่ดิน 6.1 แสนบาท/ตร.วา พื้นที่ดิน 100 ตร.ว. เท่ากับ 100 x 610,000 = 61,000,000 บาท ราคาที่ดินเท่ากับ 61,000,000 บาท
ราคาที่ดินรวม 432,800,000 บาท
ค่าก่อสร้าง 25,000 บาท / ตร.ม = 206,075,000 บาท ค่าตกแต่งภายใน 10,000 บาท/ตร.ม = 82,430,000 บาท เป็นทั้งหมด 288,505,000 บาท ค่าเฟอร์นิเจอร์ 10% 28,850,500 บาท ค่าด�ำเนินการ 10% 28,850,500 บาท ค่าความคลาดเคลื่อน 10% 28,850,500 บาท ค่าบริหาร 5% 14,425,250 บาท ทั้งหมดประมาณ 100,976,750 บาท ราคาที่ดินรวม 432,800,000 บาท ค่าก่อสร้างทั้งหมดเป็น 389,481,75t0 บาท’ งบประมาณค่าที่ดินและค่าก่อสร้าง ทั้งหมดประมาณ 822,281,750 บาท
ความคุ้มทุน
ดังนั้นรายได้ของโครงการเท่ากับ 57,264,000 บาท/ปี
ภาพ 4.11 I Write you a lot exhibition (by Untiga Srisang)
= 10,950,000 บาท/ปี = 480,000 บาท/ปี = 720,000 บาท/ปี = 30,076,000 บาท/ปี = 15,038,000 บาท/ปี
CINEMATHEQUE OF TIME
- รายได้จากการฉายภาพยนตร์ (วันละ 3 รอบ รอบละ 100 คน ) 100 บาท/คน - รายได้จากการเช่าพื้นที่จัดฉายภาพยนตร์ 20,000 บาท/เดือน - รายได้จากการเช่าพื้นที่จัดกิจกรรมทางภาพยนตร์ 60,000 บาท/เดือน - รายได้จากร้านอาหารและ Cafe 200 บาท/คน - รายได้จากร้านค้าสินค้าที่ระลึก 100 บาท/คน
光陰的電影館
จ�ำนวนผู้ใช้งานที่คาดว่าจะใช้บริการและซื้อสินค้า 412 คน (80% ของผู้ใช้ทั้งหมด)
คืนทุนปีที่ 15
119
4.9 ระบบที่เกี่ยวข้อง ระบบส�ำหรับ ฉายภาพยนตร์
ระบบดิจิตอล ซินิม่า ( Digital Cinema )
ส� ำ หรั บ อุ ป กรณ์ พื้ น ฐานของโรงภาพยนตร์ ร ะบบ ดิจิตอลจะมี 2 ส่วน
CINEMATHEQUE OF TIME
1. เครื่องฉาย (Projector) ใช้หลักการเดียวกับ โปรเจคเตอร์ ทั่ ว ไปแต่ มี ค ่ า ความสว่ า งมากกว่ า นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติจ�ำเพาะที่แตกต่างกันใน แต่ละยี่ห้อและแต่ละรุ่นที่ผลิตออกมา 2. เครื่องดิจิตอล เซิร์ฟเวอร์ (Digital Cinema Server) ท�ำหน้าที่เข้ารหัส, เล่นไฟล์ และควบคุมระบบการ ฉายภาพจากเครื่องฉาย
光陰的電影館
ภาพ 4.12 The 7th Architect Film Festival (affr.nl) 120
ภาพ 4.13 Bangkok ScreeningRoom (bkksr.com)
เครื่องฉายภาพยนตร์ (ระบบฟิล์ม)
ส� ำ หรั บ การฉายภาพยนตร์ จ ากฟิ ล ์ ม เป็ น ภาพ เคลื่อนไหวให้ไปปรากฎภาพบนจอฉายภาพใช้ฉาย ภาพยนตร์ฟิล์มขนาด 16 มม. 35 มม.
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ระบบฟิล์ม ( Film Projector )
ระบบเสียง
ระบบเสียงในโรงหนังต้องการล�ำโพงบริเวณด้านหลัง จอภาพยนต์ผนังด้านข้างและบริเวณด้านหลัง นิยม เป็น ระบบ Dolby Stereo ภาพ 4.14 FUKUOKA FILM ARCHIVE (Nawapol Thamrongrattanarit) 121
ระบบวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้อง ระบบโครงสร้างช่วงพาดกว้าง (Wide - Span Structure)
CINEMATHEQUE OF TIME
โครงสร้างช่วงกว้าง เป็นโครงสร้างที่สามารถครอบคลุม เนื้อที่ได้มาก หรือมีขนาดใหญ่แต่ต้องการจุดรองรับ เช่น เสา คาน หรือผนังรับน�้ำหนักเพียงน้อยจุด อาจจะมีช่วงเสายาวกว่า ปกตินน้ั เอง โดยหลักการออกแบบแล้วโครงสร้างทีม่ ลี กั ษณะ หรือ ธรรมชาติเป็นโครงสร้างส�ำหรับช่วงยาวหรือคลุมเนือ้ ทีไ่ ด้กว้าง มี หลายชนิดหรือหลายประเภทด้วยกัน
光陰的電影館
โครงถักหรือโครงข้อหมุน (Truss)
คือโครงสร้างที่เกิดจากชิ้นส่วนหลายชิ้นประกอบกันเป็น รูปทรงเราขาคณิตจนกลายเป็นโครงสร้างที่พาดระหว่างจุดหนึ่ง ไปอีกจุดหนึ่ง โครงถักเป็นโครงสร้างที่มีน�้ำหนักเบาแต่สามารถ รับน�้ำหนักได้มากและมีช่วงวางพาดได้กว้างจึงช่วยประหยัด โครงสร้างได้มากพอสมควรรวมถึงสามารถออกแบบรูปทรงให้ สวยงามได้หลากหลายตามต้องการ วัสดุที่ใช้เป็นโครงถักได้แก่ ไม้ เหล็กรูปพรรณ เหล็กชุบกัลวาไนซ์ ขึ้นอยู่กับลักษณะของ โครงสร้างที่ต้องการน�ำไปใช้งาน ภาพ 4.15 The Inverted Truss (Archdaily)
122
ภาพ 4.16 SkyRose Chapel (rosehills.com)
ระบบโครงสร้าง เสา - คาน โครงสร้างเหล็ก
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
โครงสร้างเหล็ก คือโครงสร้างทีเ่ กิดจากการจัดการและรวบรวม ชิ้นส่วนของเหล็ก ประเภทของโครงสร้างนี้ถูกน�ำมาใช้กันอย่างแพร่ หลายในการก่อสร้างโครงการขนาดกลางและขนาดใหญ่ (โครงสร้าง เหล็กส�ำเร็จรูป) โครงสร้างเหล็กที่รวมถึงโครงสร้างย่อยหรือชิ้นส่วนในอาคาร ท�ำจากเหล็ก เหล็กโครงสร้างคือวัสดุก่อสร้างที่ท�ำจากเหล็กซึ่งสร้าง ขึน้ ให้มรี ปู ร่างและองค์ประกอบทางเคมีทเี่ ฉพาะเจาะจง เพือ่ ให้เหมาะ สมกับการใช้งานของแต่ละโครงการ
ส่วนผสมหลักของเหล็กโครงสร้าง คือ เหล็กและคาร์บอน แมงกานีส โลหะผสม และสารเคมีบางอย่าง โครงสร้างเหล็ก ถูกสร้าง ขึ้นโดยการม้วนแบบร้อนหรือเย็นหรือท�ำโดยการเชื่อมแผ่นแบนหรือ งอเข้าด้วยกันโครงสร้างเหล็กมีรูปทรง ขนาดและเกณฑ์ หลายๆ รูป ทรงที่พบบ่อย ได้แก่ I-Beam รางและมุม
ภาพ 4.17 SAI Playground (Archdaily)
ภาพ 4.18 Steel structure (Pinterest) 123
ระบบโครงสร้าง เสา - คาน โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
CINEMATHEQUE OF TIME
คอนกรีตเสริมเหล็กหรือทีเ่ รียกโดยย่อว่า “โครงสร้าง ค.ส.ล.” คอนกรีตมีส่วนประกอบหลักคือ ปูนซีเมนต์ หิน กรวดหรือ ทราย และน�้ำ มีคุณสมบัติในการรับแรงอัดได้ดีแต่รับแรงดึง ได้ค่อนข้างต�่ำเมื่อถูกกระท�ำด้วยแรงดึงจึงแตกหักได้ง่ายใน ขณะที่เหล็กมีความสามารถในการรับแรงดึงสูงเมื่อถูกน�ำมา ใช้งานร่วมกัน จะเกิดการการถ่า ยเทแรงภายในระหว่ า ง คอนกรีตและเหล็กช่วยเพิ่มความสามารถในการรับแรงของ วัสดุโดยรวมให้มากยิ่งขึ้น
光陰的電影館
คอนกรีตเสริมเหล็กมีส่วนผสมของ “คอนกรีต” ซึ่ง ประกอบด้วยปูนซีเมนต์ หิน ทราย น�้ำ และน�้ำยาผสม คอนกรี ต ตามอั ต ราส่ ว นที่ แ ตกต่ า งกั น ไปขึ้ น อยู ่ กั บ วัตถุประสงค์ของงานและ “เหล็ก” นิยมใช้เป็นเหล็กเส้นกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 - 25 มิลลิเมตร หรือเหล็กข้ออ้อยเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10-40 มิลลิเมตรซึง่ ขนาดของเหล็กหรือวิธกี าร ผูกเหล็กก็จะขึน้ อยูก่ บั วัตถุประสงค์ของงานเช่นกันว่าต้องการ ใช้ ก ่ อ สร้ า งเป็ น ส่ ว นไหนของงานโครงสร้ า งหรื อ งาน สถาปัตยกรรม ภาพ 4.19 50 Housing Units (Archdaily)
124
ภาพ 4.20 Swimming Pool Allmendli (Archdaily)
ระบบโครงสร้างพื้ น Post Tension Slab
ภาพ 4.22 Post tension slab
CINEMATHEQUE OF TIME
พื้ นคอนกรีตหล่อในที่
光陰的電影館
เป็นระบบแผ่นพื้นที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เนือ่ งจากเป็นระบบทีป่ ระหยัดและก่อสร้างได้อย่าง รวดเร็ว มักพบได้ในอาคารต่างๆ ที่มักจะมีช่วง พาดเสาที่ยาว
พื้นคอนกรีตหล่อในที่จะมีกระบวนการท�ำ แบบส�ำหรับหล่อพืน้ ผูกเหล็กเสริมของพืน้ เชือ่ มกับ เหล็กในคานแล้วจึงเทคอนกรีตพืน้ ให้เป็นเนือ้ เดียว กับคานส่วนบน ภาพ 4.23 cast-in-place slab พื้ นคอนกรีตส�ำเร็จรูป
ภาพ 4.21 LAZ Parking (LAZParking.com )
ติดตัง้ โดยการวางบนคานเสริมเหล็กด้านบน แล้วเทคอนกรีตทับหน้า (Topping) เป็นระบบพื้นที่ ช่วยประหยัดเวลาในการก่อสร้างเพราะไม่ต้องท�ำ ไม้แบบและไม่ต้องรอการเซ็ทตัวของคอนกรีต ภาพ 4.24 precast slab
125
ระบบผนัง ระบบผนังรับแรงเฉือน
CINEMATHEQUE OF TIME
Shear Wall เป็นโครงสร้างประเภทหนึ่งซึ่งอาจ จะสร้ า งได้ จ ากวั ส ดุ ห ลากหลายประเภท ทั้ ง คอนกรีตเสริมเหล็กหรือแผ่นเหล็ก แต่ที่ได้รับความ นิยมกันมากจะเป็น Reinforcement Concrete Shear Wall หรือที่เรียกว่า “ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรง” โดยที่ Shear wall จะเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญและมี บทบาทในเรื่องการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง อาคาร โดยจะท�ำหน้าทีต่ า้ นทานและถ่ายแรงทีก่ ระท�ำ กับอาคารลงสูฐ่ านราก ทัง้ แรงทางข้าง ( Lateral Force ) และแรงในแนวดิ่ง ( Vertical Force ) ซึ่งอาจเกิดจาก แรงลม แรงจากน�้ำหนักบรรทุกหรือแรงจากแผ่นดิน ไหว ( Earthquake หรือ Seismic )
光陰的電影館
ภาพ 4.25 Concrete wall (blog.mulotb.com) 126
ภาพ 4.26 bauhaus museum (bauhausmuseumweimar.de)
ระบบผนัง Curtain Wall
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
เป็ น ระบบที่ ยึ ด หรื อ แขวนผื น ผนั ง กระจกเข้ า กั บ โครงสร้างของอาคารบริเวณหน้าคาน สันของแผ่นพื้นหรือ สันของแผ่นพื้นไร้คาน โดยจะประกอบกระจกเข้ากับโครง เหล็กหรืออะลูมิเนียมซึ่งมีทั้งรูปแบบที่เห็นโครงในแนวตั้งนอนทั้งภายในและภายนอกอาคาร ระบบนี้นิยมใช้กับผนัง ภายนอกอาคารสูงหรืออาคารที่มีผนังกระจกสูงต่อเนื่อง หลายชั้น
ระบบวัสดุกันเสียงและซับเสียงอะคูสติก
อาศัยหลักในการกั้นเสียงให้ผ่านจากด้านหนึ่งไปยัง อีกด้านหนึ่งให้น้อยที่สุดหรือไม่ให้เสียงผ่านเลยฉนวนกัน เสียงเป็นวัสดุที่มีลักษณะเป็นรูพรุน หรือ Open Cell จึงช่วย ในการดูดซับเสียงได้อย่างมาก
ภาพ 4.27 Curtain wall (pinterest)
ภาพ 4.28 Aldeburgh Music (Archdaily) 127
ระบบสุขาภิบาล
ระบบน�้ำใช้
CINEMATHEQUE OF TIME
แบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามประะเภทของการ จ่ายน�้ำ 1. ระบบจ่ายน�ำ้ ด้วยความดัน (Pressurized Upfeed/ System)เป็นการจ่ายน�้ำโดยอาศัยการอัดแรงดันน�้ำ ในระบบท่อประปาจากถังอัดความดัน 2. ระบบจ่ายน�้ำโดยแรงโน้มถ่วง (Gavity Feed) เป็นการสูบน�้ำขึ้นไปเก็บไว้ดาดฟ้าแล้วปล่อยลงมา ตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็นอาคารที่มีความสูง ตัง้ แต่ 10 ชัน้ ขึน้ ไป ถือเป็นระบบทีไ่ ม่ซบั ซ้อนไม่ตอ้ ง ใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรียมถังเก็บน�้ำไว้บน ดาดฟ้าจึงต้องค�ำนึงถึงเรื่องโครงสร้างในการรับน�้ำ หนัก
光陰的電影館
ภาพ 4.29 Toilet Plumbing (Pinterest)
128
ภาพ 4.30 DWV Diagram (Pinterest)
ใช้ระบบบ�ำบัดชนิดถังบ�ำบัดน�้ำเสียเติมอากาศ เนื่องจากมี ความ สะดวกในการขนย้ายติดตั้ง ไม่ส่งกลิ่นเหม็นพร้อมทั้ง สามารถขนของเสียไปก�ำจัดได้งา่ ย ภายในถังประกอบไปด้วย ส่วนเกรอะ ส่วนบ�ำบัดไร้อากาศ ส่วนตกตะกอนในใบเดียวกัน โดยหลักการอาศัยการตกตะกอนและการย่อยสลาย สารอินทรีย์ แบบไม่เติมอากาศโดยการแยกตัวเองของแข็งทีป่ นอยูใ่ นน�ำ้ ทิง้ และการย่อย สลายตะกอนจม และตะกอนลอย
บ่อดักไขมันบ่อดักไขมันใช้ส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียจากห้อง อาหารหรือภัตตาคารเนือ่ งจากน�ำเสียดังกล่าวจะมีนำ�้ มันและไข มันปนอยู่มากหากไม่กาจัดออกจะทาให้ท่อระบายน�้ำอุดตัน บ่อ ดักไขมันที่ใช้จะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะกักน�ำ้ เสียไว้ระยะ หนึง่ เพือ่ ให้ไขมันและน�ำ้ มันมีโอกาสลอยตัวขึน้ มาสะสมกันอยูบ่ น ผิวน�้ำเมื่อปริมาณไขมัและน�้ำมันสะสมมากขึ้นต้องตักออกไป ก�ำจัด
光陰的電影館
บ่อดักไขมัน
CINEMATHEQUE OF TIME
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ภาพ 4.31 Waste Management (Pinterest)
129
ระบบไฟฟ้า
CINEMATHEQUE OF TIME
หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจ�ำหน่ายไฟฟ้าในบริเวณ กรุงเทพมหานคร คือ การไฟฟ้านครหลวงโดยรับไฟฟ้ามาจากการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตการไฟฟ้าฝ่ายผลิตจะผลิตไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้า แล้ว แปลงแรงดันไฟฟ้าให้สงู ถึง 230 กิโลโวลท (KV.) แล้วส่งไปตามสถานี ไฟฟ้าย่อยและจะปรับลดแรงดันไฟฟ้าเหลือ 33 KVผู้ใช้ไฟฟ้าต้องติ ดตั้งหม้อแปลงเพื่อลดแรงดันไฟฟ้าให้เป็นแรงต�่ำเพื่อน�ำมาใช้งาน ต่อไป
光陰的電影館
ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า
- MDB. (Main distribution board ) เป็นตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก มี Main Circuit Breaker เพื่อตัดต่อวงจรไฟฟ้าทั้งหมดของอาคาร - SDB. (Sub distribution board ) เป็นตู้ควบคุมย่อยจ่ายกระแส ไฟฟ้าไปตาม Load Center หลายตู้ขึ้นอยู่กับขนาด - PB ( Panel board ) หรือ Load Center เป็นแผง Circuit breaker ที่ควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า ต่างๆ มีหลายขนาดขึ้นอยู่กับจ�ำนวนของ Load ภาพ 4.32 Main Distribution Board (factomart.com)
130
ภาพ 4.33 Electric Room (ElectracalRM.com)
การต่อลงดิน
หม้อแปลงไฟฟ้า
เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าส�ำหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สงู ขึน้ หรือ ต�่ำลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
คือการใช้ตัวน�ำทางไฟฟ้าต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าหรือ บริภณั ฑ์ไฟฟ้าต่อเข้ากับพืน้ โลกอย่างมัน่ คงถาวรการต่อลงดิน มีวตั ถุ ประสงค์เพือ่ ลดอันตรายทีอ่ าจจะเกิดกับบุคคลและลด ความเสียหายที่อาจจะเกิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า
ภาพ 4.34 หม้ อแปลงไฟฟ้า (LMS-Transformer.com) 131
ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
CINEMATHEQUE OF TIME
งานไฟฟ้าแสงสว่างคือการติดตั้งอุปกรณ์ที่มี ประสิทธิภาพสูงและมีความสว่างเพียงพอกับความ ต้องการของแต่ละพื้นที่ โดยระบบไฟฟ้าแสงสว่างมี 3 ส่วนหลักๆ ดังนี้ 1. หลอดไฟฟ้า (Lamp) เป็นอุปกรณ์หรือแหล่งก�ำเนิด แสง 2. บัลลาสต์ (Ballast) เป็นอุปกรณ์ช่วยในการจุดติด หลอดไฟใช้ในหลอดไฟประเภทปล่อยประจุ 3. โคมไฟฟ้า (Luminaire) เป็นอุปกรณ์ที่ท�ำหน้าที่ ควบคุมหรือกระจายแสงจากหลอดไฟให้ไปในทิศทาง ที่ต้องการและมีลักษณะแตกต่างกันไปตามชนิดของ หลอด
光陰的電影館
ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน
เป็นอุปกรณ์ทเี่ ก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ในแบตเตอรี่ ซึ่งแบตเตอรี่มี 2แบบคือแบบชนิดเติมน�้ำกลั่นและชนิด แห้งไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นและเมื่อไฟฟ้าดับจะใช้ไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ไปและจะท�ำให้หลอดไฟสว่าง ภาพ 4.35 White Cube Bermondsey (whitecube.com) 132
ภาพ 4.36 ไฟฟ้าฉุกเฉิน (siampowercorp.co.th)
ภาพ 4.37 Ceiling Down Wall Linear Light Mount Atrium (houseimg.me)
CINEMATHEQUE OF TIME
ชุดจ่ายไฟฟ้าส�ำรองต่อเนื่อง Uninterruptible Power Supply หรือเครือ่ งส�ำรองไฟฟ้าและจ่ายพลังงานต่อเนือ่ ง มีหน้า ที่หลักคือป้องกันความเสียหายที่สามารถเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ รวมถึงมีหน้าที่ในการจ่าย พลังงานไฟฟ้าส�ำรองจากแบตเตอรีใ่ ห้แก่อปุ กรณ์ไฟฟ้าเมือ่ เกิด ปัญหาทางไฟฟ้า หลักการของ UPS คือ ใช้วิธีการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) แล้วเก็บส�ำรองไว้ในแบตเตอรี่ ส่วนหนึ่งและในกรณีที่เกิดปัญหาทางไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ สามารถใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ที่ รั บ มาได้ UPS ก็ จ ะเปลี่ ย น ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) จากแบตเตอรี่ ให้กลายเป็นไฟฟ้ากระแส สลับ (AC) แล้วจึงจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าตาม ปกติ
光陰的電影館
ระบบไฟฟ้าส�ำรอง
ภาพ 4.38 Prescient Offices (Archdaily) 133
ระบบอัคคีภัย ระบบดับเพลิง
- ระบบหัวกระจายน�้ำดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler Systems) สามารถท�ำงานได้ทันทีโดยอัตโนมัติจากการแตก ของหัวกระจายน�้ำเมื่อเกิดเพลิงไหม้หรือความร้อนจากเพลิง ไหม้เป็นระบบดับเพลิงทีไ่ ด้รบั การยอมรับว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุม เพลิงไหม้ได้ดี CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
- ระบบท่อยืนสายฉีดน�้ำดับเพลิง (Fire Hose Systems) เป็นระบบที่มีไว้ ทั้งส�ำหรับผู้ที่อยู่ในอาคารเพื่อใช้ในการดับ เพลิงขนาดเล็ก ใช้ดับเพลิงและจ�ำกัดการขยายตัวของเพลิง ต้องค�ำนึง ถึงอัตราการส่งน�้ำดับเพลิงปริมาณน�้ำส�ำหรับดับ เพลิงต้องมีเพียงพอให้การส่งน�้ำตามอัตราการไหลที่ต้องการ - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยก๊าซ (Gas Suppression Systems) ดับเพลิงอัตโนมัติด้วยก๊าซ นิยมใช้กับพื้นที่ที่ไม่มีคนอยู่ และต้องการดับ เพลิงเป็นพิเศษ ทรัพย์สินมูลค่าสูง ไม่ต้องการให้วัสดุหรืออุปกรณ์ในห้อง นั้นเกิดความเสียหายจากน�้ำยาเคมีที่ใช้ดับเพลิง เช่น ห้องหม้อแปลงไฟ ฟ้า ห้องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ภาพ 4.39 สายฉีดดับเพลงในอาคาร (parallaxdesign.com.au) 134
ภาพ 4.40 Fire protection system (flashpointcontrol.com)
ระบบเตือนภัย
- อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ ท�ำหน้าที่แจ้งให้ตู้ควบคุมทราบการเกิดเหตุเริ่มท�ำงานจากบุคคลด้วย การดึง หรือทุบกระจกให้แตกการปรับตัง้ ใหม่ทำ� ได้โดยใช้กญุ แจไข หรือ เปลี่ยนกระจกใหม่
ภาพ 4.41 สัญญาณเตือนอัคคีภยั (wikipedia.org)
CINEMATHEQUE OF TIME
- อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ 1.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียง เช่น กระดิ่ง หวูด 2.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยแสง เช่น สโตรบ
光陰的電影館
- อุปกรณ์เริ่มสัญญาณอัตโนมัติ 1. อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) 2. อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)
ภาพ 4.42 Sprinkle system (wikipedia.org) 135
ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศแบบใช้เครื่องท�ำน�้ำเย็น
CINEMATHEQUE OF TIME
เป็นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่บางครั้งเรียกว่าระบบปรับอากาศ แบบรวมศูนย์เหมาะส�ำหรับพื้นที่ที่ต้องการปรับอากาศที่ขนาดใหญ่ มี จ�ำนวนห้องที่จ�ำเป็นต้องปรับอากาศหลายห้อง หลายโซน หรือหลายชั้น โดยส่วนใหญ่จะใช้น�้ำเป็นสารตัวกลางในการถ่ายเทความร้อนหรือความ เย็น โดยมีส่วนประกอบของระบบดังต่อไปนี้ - เครื่องท�ำน�้ำเย็น (Chiller) ถือว่าเป็นหัวใจของระบบปรับอากาศประเภทนี้ ท�ำหน้าทีค่ วบคุมอุณหภูมิ ของน�้ำที่เข้าและออกจากเครื่องระเหย (Evaporator) ภายในประกอบไป ด้วยระบบท�ำน�ำ้ เย็นโดยมีวฏั จักรการท�ำความเย็น ส�ำหรับเครือ่ งท�ำน�ำ้ เย็น ที่ใช้งานมีให้เลือกหลายประเภทซึ่งตามลักษณะการใช้งานหากแบ่งตาม ลักษณะการระบายความร้อนที่เครื่องควบแน่น (Condenser) สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทคือ
光陰的電影館
ภาพ 4.43 Ceiling Services (Pinterest) 136
- คอล์ยร้อน (Condensing Unit) ส�ำหรับระบบระบายความร้อนด้วย อากาศหรือหอระบายความร้อน (Cooling Tower) ส�ำหรับระบบระบายความ ร้อนด้วยน�้ำซึ่งท�ำหน้าที่ระบายความร้อนออกจากสารท�ำความเย็นเพื่อ เปลี่ยนสถานะสารท�ำความเย็นจากก๊าซไปเป็นของเหลว
ภาพ 4.44 Ceiling Services with air - conditioner (Pinterest)
光陰的電影館
- ระบบส่งจ่ายลมเย็น (Air Handling Unit) และท่อส่งลมเย็น (Air Duct System) ท�ำหน้าที่ลดอุณหภูมิอากาศภายนอก (Fresh Air) หรือ อุณหภูมิอากาศไหลกลับ (Return Air)ให้อยู่ในระดับที่ควบคุมโดยอากาศ จะถูกเป่าด้วยพัดลม (Blower) ผ่านแผงคอล์ยน�้ำเย็น (Cooling Coil) ซึ่งจะ มีวาล์วควบคุมปริมาณน�ำ้ เย็นทีส่ ง่ มาจากเครือ่ งท�ำน�ำ้ เย็นด้วยเครือ่ งสูบน�ำ้ เย็นตามความต้องการของภาระการท�ำความเย็นขณะนั้น อากาศเย็นที่ ไหลผ่านแผงคอล์ยเย็นจะไหลไปตามระบบท่อส่งลมเย็นไปยังพื้นที่ปรับ อากาศ
CINEMATHEQUE OF TIME
o ระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Water Chiller) เหมาะส�ำหรับ พื้นที่ปรับอากาศที่มีข้อจ�ำกัดของพื้นที่ติดตั้ง หรือระบบน�้ำส�ำหรับระบาย ความร้อน o ระบายความร้อนด้วยน�้ำ (Water Cooled Water Chiller) ใช้ส�ำหรับระบบ ที่ต้องการขนาดการท�ำความเย็นมาก เครื่องท�ำน�้ำเย็นชนิดระบายความ ร้อนด้วยน�้ำต้องมีการลงทุนที่สูงกว่าเนื่องจากต้องมีการติดตั้งหอระบาย ความร้อน (Cooling Tower) เครื่องสูบน�้ำระบายความร้อน (Condenser Water Pump)
ภาพ 4.45 Cooling Tower (wikipedia.org) 137
ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
CINEMATHEQUE OF TIME
เป็นระบบปรับอากาศขนาดเล็กโดยส่วนใหญ่ขนาดท�ำความเย็น จะไม่เกิน 40,000 บีทียูต่อชั่วโมง ส่วนประกอบของเครื่องปรับอากาศ จะแยกเป็น 2 ส่วนหลักคือส่วนของคอล์ยท�ำความเย็นทีเ่ รียกว่า คอล์ย เย็น (Fan Coil Unit)ซึ่งจะติดตั้งในพื้นที่ปรับอากาศและคอล์ยร้อน (Condensing Unit) ซึ่งจะมีเครื่องอัดสารท�ำความเย็น (Compressor) อยู่ ภายในโดยจะติดตัง้ อยูภ่ ายนอกอาคารระหว่างชุดคอล์ยร้อนและคอล์ย เย็นจะมีทอ่ สารท�ำความเย็นท�ำหน้าทีเ่ ป็นถ่ายเทความร้อนออกจากห้อง ปรับอากาศ
光陰的電影館
ภาพ 4.46 Rooms with Split type FCU (pinterest) 138
ภาพ 4.47 Ceiling Services with air - conditioner (Pinterest)
o ระบายความร้อนด้วยอากาศ (Packaged Air Cooled Air Conditioner) โดยปกติขนาดการท�ำความเย็นไม่เกิน 30 ตัน เหมาะส�ำหรับพืน้ ทีป่ รับอากาศ ที่มีข้อจ�ำกัดของพื้นที่ติดตั้งหรือระบบน�้ำ ส�ำหรับระบายความร้อนประสิทธิภาพ ส�ำหรับเครื่องปรับอากาศแบบแพ็คเกจชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศจะอยู่ ระหว่าง 1.4-1.6 กิโลวัตต์ต่อตัน o ระบายความร้อนด้วยน�้ำ (Packaged Water Cooled Air Conditioner) ใช้ส�ำหรับระบบที่ต้องการขนาดการท�ำความเย็นมาก ประสิทธิภาพส�ำหรับ เครือ่ งปรับอากาศแบบแพ็คเกจชนิดระบายความร้อนด้วยน�ำ้ ดีกว่าระบายความร้อน ด้วยอากาศโดยจะอยู่ประมาณ 1.2 กิโลวัตต์ต่อตัน
光陰的電影館
- ระบบปรับอากาศแบบชุดหรือแพ็คเกจ (Package) เป็นระบบปรับอากาศที่ ใช้ในอาคารธุรกิจขนาดเล็กอาจมีจ�ำนวนห้องที่จ�ำเป็นต้องปรับอากาศหลายห้อง หลายโซน หรือหลายชัน้ ส่วนประกอบของเครือ่ งปรับอากาศประกอบด้วยแผงคอล์ย เย็น คอล์ยร้อนและเครื่องอัดสารท�ำความเย็นจะรวมอยู่ในชุดแพ็คเกจเดียวกันโดย มีท่อส่งลมเย็นและท่อลมกลับ ซึ่งจะติดตั้งอยู่ด้านในแล้วต่อผ่านทะลุออกมาตามผนังด้านนอกอาคารแล้ว ต่อเชื่อมเข้ากับตัวเครื่องปรับอากาศแพ็คเกจ ซึ่งจะติดตั้งอยู่ด้านนอกอาคารท่อส่ง ลมเย็น (Supply Air Duct) ท�ำหน้าทีจ่ า่ ยลมเย็นไปยังพื้นที่ปรับอากาศ และท่อลมกลับ (Return Air Duct) ท�ำหน้าทีน่ ำ� ลมเย็นทีไ่ ด้แลกเปลีย่ นความเย็นให้กบั ห้องปรับอากาศ กลับมายังแผงท�ำความเย็นอีกครั้ง
ส�ำหรับเครื่องปรับอากาศแบบแพ็คเกจที่ใช้งานมีให้เลือกหลายประเภทซึ่งมี ข้อดีและข้อเสียของแต่ละประเภทแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งาน หากแบ่งตาม ลักษณะการระบายความร้อนที่เครื่องควบแน่น (Condenser) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
CINEMATHEQUE OF TIME
ระบบปรับอากาศแบบแพ็ คเกจ (Package)
139
ระบบปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศแบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้น (Computer Room Air Conditioning, CRAC System)
CINEMATHEQUE OF TIME
เครื่องปรับอากาศสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นได้อย่างแม่นย�ำ เหมาะส�ำหรับการใช้งานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยี IT หรือ Data Center ในปัจจุบัน ที่ต้องท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมงอีกทั้งยังเหมาะส�ำหรับห้องที่เป็นระบบปิดที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ตัวอย่างเช่น ห้องสอบเทียบเครื่องมือ, ห้องเก็บเทป
光陰的電影館
ภาพ 4.48 Air-Conditioning for UPS (titanpower.com) 140
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
ห้องเย็นเก็บรักษาฟิล์มภาพยนตร์ที่ 4 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 40% ท�ำงาน24ชม.
ภาพ 4.49 FUKUOKA FILM ARCHIVE(Nawapol Thamrongrattanarit) 141
ระบบขนส่งภายในอาคาร
ระบบบันได
ออกแบบใ้หไ้ ด้ตามมาตรฐานทีก่ ฏหมายก�ำหนด เช่น บันได อาคารสาธารณะต้องกว้างไม่ต�่ำกว่า 1.50 ม เป็นต้น
CINEMATHEQUE OF TIME
ระบบบันไดหนีไฟ
光陰的電影館
บันไดหนีไฟส�ำหรับอาคารสูงไม่เกิน 23 เมตร 1. ผนังทึบ ทนไฟ 2. ประตูบันไดหนีไฟขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 850 มม สูง 2000 มม พร้อมอุปกรณ์ทำ� ให้บานประตูปดิ สนิท บานประตูเปิดเข้าสูต่ วั บันได หรือชั้นล่างที่เข้า-ออก เพื่อหนีไฟสู่ภายนอกของอาคาร 3. บันไดกว้างไม่น้อยกว่า 900 มม และไม่เกิน 1500 มม 4.ชานพักบันไดระหว่างประตูกับบันไดกว้างไม่น้อยกว่า 1500 มม และไม่น้อยกว่า 1.2 เท่าของความกว้างบันได 5.ชานพักบันไดกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได 6. ลูกนอนของบันไดกว้างไม่น้อยกว่า 220 มม ลูกตั้งสูงไม่เกิน 200มมต้องจัดให้มีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารได้
ภาพ 4.50 Cultural Center in Landvetter (Archdaily) 142
ภาพ 4.51 Escalator Lighting (Pinterest)
ระบบบันไดเลื่อน
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
คือระบบขนส่งด้วยสายพานแบบหนึ่งที่ใช้บันไดในการล�ำเลียงคนจ�ำนวนมากด้วย ความเร็วที่เหมาะสมและคงที่ องค์ประกอบหลักของบันไดเลื่อนประกอบด้วย 1. โครงสร้าง (Structure) 2. ลูกขั้น ( ขั้นบันได (Steps) หรือ ชั้นเหยียบ ) และโซ่ลูกขั้น (Chain Guide) 3. ราวบันได หรือ ราวมือ (Handrail) 4. ระบบขับเคลื่อนราวมือ (Handrail Drive) 5. อุปกรณ์ขับ (Drive) 6. อุปกรณ์ควบคุม (Control Equipment) โครงสร้างเหล็กประกอบด้วยการน�ำเหล็กมาเชื่อมกันเป็นโครงถัก ขั้นบันไดจะเลื่อน อยูบ่ นรางซึง่ ยึดอยูก่ บั โครงเหล็ก ส�ำหรับบันไดเลือ่ นปกติทไี่ ม่สงู มาก (ไม่เกิน 6.5 ม.) มอเตอร์ขับเคลื่อนจะติดตั้งอยู่บริเวณชานพักด้านบนท�ำหน้าที่ขับเคลื่อนอุปกรณ์ ทั้งหมด
ภาพ 4.52 Escalator in building (Pinterest) 143
ระบบขนส่งภายในอาคาร
ระบบลิฟท์
การเคลือ่ นทีข่ องลิฟต์ใช้หลักการของรอกกว้านและน�ำ้ หนักถ่วงเพือ่ ลดการใช้ พลังงานในการขับเคลื่อนลิฟต์
CINEMATHEQUE OF TIME
อุปกรณฺ์หลักของลิฟต์ - เครื่องลิฟต์ หมายถึง ตัวต้นก�ำลังที่ให้พลังงานในการขับเคลื่อนตัวลิฟต์แบ่งเป็น - ระบบควบคุมการขับเคลื่อน(drive control) หมายถึง ระบบควบคุมการเคลือ่ นที่ การหยุดทิศทางการเคลือ่ นที่ ความเร่ง อัตราเร็ว และความหน่วง - รางบังคับลิฟต์และปล่องลิฟต์ ท�ำหน้าที่น�ำทางให้ห้องโดยสารเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายในปล่องลิฟต์จะต้องติดตั้ง อุปกรณ์ให้ความสว่างและช่องเปิดที่ปลอดภัยเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถเข้าภายใน ปล่องลิฟต์ได้ - อุปกรณ์ควบคุมการท�ำงานของลิฟต์ ลิฟต์จะถูกควบคุมการใช้งานผ่านเครื่องควบคุมการใช้งาน มอเตอร์ไฟฟ้าที่ขับลิฟต์ จะรับสัญญาณเพื่อควบคุมให้ความเร็วลิฟต์เป็นไปตามน�้ำหนักบรรทุกจริงรวมถึง จัดการท�ำงาน์เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งานลิฟต์ เช่น ให้ลฟิ ต์ทอี่ ยูใ่ กล้ ที่สุดมาให้บริการ การลดเวลาคอย การประหยัดพลังงาน
光陰的電影館
ภาพ 4.52 Erasmus University College (Archdaily) 144
ภาพ 4.53 Elevator Hall (Archdaily)
CINEMATHEQUE OF TIME
ส�ำหรับติดตัง้ กับอาคารทีม่ คี วามสูงตัง้ แต่ 2 จนถึง 30 ชั้น โดยใช้ลูกล้อที่มีขนาดเล็กกว่าล้อของลิฟต์ชนิด เกียร์และชนิดไม่มีเกียร์แบบดั้งเดิม ล้อที่เล็กลงนี้ผนวก กับตัวลิฟต์ซึ่งได้รับการออกแบบใหม่ท�ำให้มอเตอร์ สามารถถูกติดตัง้ ไว้ในช่องลิฟต์ได้โดยตรงและไม่จำ� เป็น ต้องมีหอ้ งเครือ่ งขนาดใหญ่บนหลังคาอีกต่อไป สายพาน มีความแข็งแรงทนทานและมีความยืดหยุน่ ในการใช้งาน มากกว่าสลิงเหล็กแบบเก่าและใช้พื้นที่น้อยกว่า
光陰的電影館
ลิฟต์ที่ไม่ต้องมีห้องเครื่อง
ภาพ 4.54 Elevators Hall (Pinterest) 145
CINEMATHEQUE OF TIME
光陰的電影館
146
CINEMATHEQUE OF TIME
1. ต�ำนานโรงหนัง , ธนาทิพ ฉัตรภูมิ , เมษายน 2547 2. กรุงเทพฯ ยามราตรี , วีระยุทธ ปีสาลี, มติชน, 2557 3. อุดมการณ์ส�ำหรับสถาปัตยกรรมเชิงภาพยนตร์ , พาสคาล โซนนิ่ง - เขียน , ณัฏฐินี กาญจนาภรณ์์ - แปล , 2561 4.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) , ส�ำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนันายกรัฐมนตรี 5.เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย , พิริยะ ผลพิรุฬห์ , วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทรรศน์ สถาบันพัฒนศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม 2556 6.Cinema And The City (Module) https://www.kcl.ac.uk/study 7.การจัดนิทรรศการ , วรพจน์ นวลสกุล , มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550 8.Type of Cinema (https://www.independentcinemaoffice.org.uk)
光陰的電影館
บรรณานุกรม
147