MS SILPAKORN UNIVERSITY ANNUAL REPORT

Page 1

ANNUAL REPORT

2012 FACULT Y OF MANAGEMENT SCIENCE SILPAKORN UNIVERSITY


Annual Report’12

A

Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


2 8 12 14 22 40 50 58 60 64 70 74 76 80 86

สาส์นจากคณบดี / Message from the Dean คณะวิทยาการจัดการ / About Us นวัตกรรม / Innovation ยุ ทธศาสตร์ / Strategies การบริหารจัดการ / Management การเรียนการสอน / Teaching and Learning การวิจัย / Research การบริการวิชาการแก่สังคม / Service to Society การทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม / Preservation of Art and Culture กิจการนักศึกษา / Student Affairs การประกันคุณภาพการศึกษา / Quality Assurance in Education ความภาคภูมิใจ / Pride บัณฑิตและการทํางาน / Graduates and working ความร่วมมือทางวิชาการ / Memorandum of Understanding ภาคผนวก / Appendix

B


ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร. พิทั ก ษ์ ศิ ริ ว งศ์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

2

Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี เริ่มเปิ ด การเรียนการสอนมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 โดยตลอดระยะเวลา 11 ปี ที่ ผ่ า นมา คณะ วิทยาการจัดการ ผลิตบัณฑิตเพื่อออกไปรับ ใช้สังคม ตามปณิธานการศึกษาของคณะฯ ที่เน้นการสร้างสรรค์ปัญญา พัฒนาความรู ้ เชิ ดชู คุณธรรม และเป็นผู ้นําการปฏิบัติ ในปี การศึกษา 2555 เป็ นปี ที่ คณะฯ ก้าวเข้าสู่ ทศวรรษที่สอง จึงเป็นก้าวย่างที่สําคัญ โดย ในปี นี้ คณะฯ ได้มีการปรับปรุ งหลักสูตรเก่า และการพัฒนาหลักสูตรใหม่ ให้มีความหลาก หลายและสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ สังคมในปั จจุ บัน เพื่ อให้ ทั น กั บ ความเปลี่ ย นแปลงและ ความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี ต่ อ สั ง คม ของคณะ วิทยาการจัดการ คณะฯ จึงได้มีการปรับและ เปลี่ยนแปลงบทบาท ให้สอดคล้องและเหมาะ สมกับสภาพสังคม ในด้าน การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และ การทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม โดยคณะฯ มีนโยบายส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนที่ใช้การ วิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning) การจั ด การเรี ย นการสอนที่ ใ ช้ ก ารปฏิ บั ติ (Practice-based Learning) และการเรียนการ สอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนและการจัดกิจกรรมด้านความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility) ตามจุ ดเน้นของคณะฯ ที่ว่า “ผลิตนักจัดการที่มีคุณภาพและมีความรับผิด ชอบต่อสังคม”

ทั้งนี้ในด้านการเรียนการสอน คณะฯ ได้ส่งเสริม พัฒนาบุ คลากรในรู ปแบบต่างๆ อาทิเช่ น การส่งเสริมอาจารย์ให้ศึกษาต่อใน ระดับสูงขึ้น การขอตําแหน่งทางวิชาการ การ ส่งเสริมให้อาจารย์ทําวิจัย การจัดโครงการ ศึกษาดูงานให้กับบุ คลากร ในส่วนของการ พัฒนานักศึกษา คณะฯ ได้จัดสรรทุนให้กับ นักศึกษาในรู ปแบบต่างๆ เช่ น ทุนเรียนดี ทุน นักศึกษาช่ วยงาน ทุนศึกษาดูงานต่างประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ ค ณะฯ ยั งได้ ใ ห้ ค วาม สําคัญกับการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ โดย ในปี การศึกษา 2555 คณะฯ ได้สร้างเครือข่าย วิชาการและความร่วมมือกับสถาบันต่างๆ ทั้ง ในระดับชาติและระดับนานาชาติ คณะฯ มี การพั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มทางการศึ ก ษาที่ เอื้ อให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ แ ละเกิ ด ความคิ ด สร้างสรรค์ พร้อมทั้งการเป็นแหล่งศึกษาดู งานของหน่วยงานหรือสถาบันต่างๆ เช่ น การสร้าง I-Studio ห้องเรียนภาษาอังกฤษ English Self-study เป็นต้น การดําเนินงาน ของคณะฯ ปี การศึกษา 2555 จึงเป็นการวาง รากฐานการดําเนินการสําคัญ ที่จะต่อยอด และพัฒนาคณะฯ ให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นใน อนาคต เพื่อนําคณะฯ ไปสู่องค์การแห่งการ เรียนรู ้ต่อไป

3


F aculty

of Management S c i e n c e , S i l p a k o r n U n i v e r s i t y, Phetchaburi Information Technology Campus was established in 2002. For 11 consecutive years, the Faculty has produced graduates who can serve society according to a resolution which aims at creating intelligence, developing knowledge, upholding morality and being transactional leaders. As the Faculty is entering the second decade in academic year 2012, we have revised our academic programs and developed new ones in order to offer variety and adapt to a dynamic and changing world. Consequently, the Faculty has refreshed and shaped our researching, academic services and preserving culture and art. The Faculty has a policy on promoting various learning methods including research-based learning, practice-based learning and problem-based learning. We also focus on learning and providing activity related to corporate social responsibility as stated in our mission, “producing qualified manager with great social responsibility�.

4

In parallel, human resource development is engrossed. For academic staff, the Faculty encourages them in studying higher degree, obtaining an academic position and conducting a research. Besides, the Faculty also arranges field trips for administrative staff. In a matter of student development, the faculty provides scholarship for students such as scholarship for students who have good academic performance, work study scholarship and scholarship for educational tour aboard. I n a d d i t i o n , t h e Fa c u l ty concentrates on an academic network. In 2012, we built up the academic n e t w o r k a n d c o - o p e ra te d w i t h academic institutes both in national and international levels as well as developed learning environment in o rd e r to i m p ro v e l e a r n i n g a n d encourage creativity. Our accomplishment in 2012, as a result, can pave the way for expansion and development in our faculty that will bring about a remarkable progress and a learning organization.

Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


Asst. Prof. Phitak Siriwong, Ed.D. Dean, Faculty of Management Science Silpakorn University

5


Bird’s-eye view of

MS Silpakorn University

6

Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


7


มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร มี น โยบายการ กระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาค จึงขยาย เขตการศึ ก ษาไปยั ง วิ ท ยาเขตแห่ งใหม่ ท่ ี จั ง หวั ด เพชรบุ รี ใช้ช่ื อว่า วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี และ ได้ จั ด ตั้ ง คณะวิ ท ยาการจั ด การ (Faculty of Management Science) ขึ้นเป็นคณะที่ 2 ของ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี และเป็นคณะที่ 12 ใน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเริ่มจัดการเรียนการสอน ในปี การศึกษา 2545 ณ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี ซึ่ งเป็นวิทยาเขตที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ถัด จาก วังท่าพระ (กรุ งเทพมหานคร) และพระราชวัง สนามจันทร์ (จังหวัดนครปฐม) คณะวิ ท ยาการจั ด การ (Faculty of Management Science) มีจุดมุ ่งหมายที่จะผลิต บัณฑิต ในสาขาวิชาที่สามารถประกอบอาชี พอิสระ ได้ ร ะดั บ หนึ่ ง เป็ น บุ คลากรที่ มี ค วามสามารถทาง ธุ รกิจขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีความสามารถในการร่วม ปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐ และธุ รกิจเอกชนได้ เป็นอย่างดี โดยคํานึงถึงการตอบสนองต่อความ ต้ อ งการ และความพึ ง พอใจของผู ้ รั บ บริ ก าร คุ ณ ภาพชี วิ ต และคุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น สําคัญ ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอน เน้ นให้ นั ก ศึ ก ษาของคณะได้ ฝึ กฝนความรู ้ และทั ก ษะใน ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศที่สาม รวมทั้ง ทักษะทางด้านเทคโนโลยีและการเป็นผู ้ประกอบการ

8

Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

คณะยังสนับสนุนให้นักศึกษาได้ รับประสบการณ์ตรง ทัง้ จากการ ฝึ กงาน การดูงาน การแข่งขัน ภายนอก และการทําโครงการ ต่างๆ ในทุกหลักสูตรของคณะ

สีครามอ่อน “ผลิตนักจัดการที่มคี ณ ุ ภาพ และ มีความรับผิดชอบต่อสังคม”


ระดับปริญญาบัณฑิต - ศศ.บ. (การจัดการการท่องเที่ยว) - ศศ.บ. (การจัดการชุ มชน) - บธ.บ. (การจัดการธุ รกิจทั่วไป) - บธ.บ. (การตลาด) - บธ.บ. (การจัดการโรงแรม) - บธ.บ. (การจัดการธุ รกิจและภาษาอังกฤษ) - รป.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์) ระดับปริญญามหาบัณฑิต - ศศ.ม. (การจัดการภาครัฐและเอกชน) - บธ.ม. (การประกอบการ) - บธ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม) - รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต - ปร.ด. (การจัดการ)

9


About Faculty of Management Science In accordance with a nationwide policy of educational reform and development in Thailand, Silpakorn University established a new campus in Phetchaburi Province called “Phetchaburi Information Technology Campus” (PITC) in 2002. To meet the needs of both the business community and the academic interests of the student community, the University strategically founded the Faculty of Management Science; the second faculty of PITC and the twelfth faculty of Silpakorn University. The PITC campus is a welcome addition to Silpakorn University’s Wang Tha Phra Campus in Bangkok and Sanam Chandra Palace Campus in Nakhon Pathom Province. The Faculty of Management Science strives to build excellence its academic programs by designing a learning atmosphere which provides students with practical knowledge, skills, and aptitudes which will ultimately contribute to national and international challenges today, and unknown challenges in the future, whether through private or public entities. The Faculty of Management Science has decisively

10 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

incorporated highly effective and properly structured English programs into every academic discipline. By employing English teaching professionals who adhere to proven research and innovative methodology, our students develop purposeful English communicative abilities. This combination of applied management and English skills prepares our graduates to compete for the most lucrative careers in national and international organizations. For students focused on graduate degrees in higher education programs, our faculty prides itself on preparing students for academic research in their discipline of interest. Color Code Sea Blue Our Mission “Producing qualified managers with great social responsibility”


Academic Program Bachelor’s Degree Programs: - B.A. (Tourism Management) - B.A. (Community Management) - B.B.A. (General Business Management) - B.B.A. (Marketing) - B.B.A. (Hotel Management) - B.B.A. (Business Management and English) - B.P.A. (Public Administration) Master’s Degree Programs: - M.A. (Public and Private Management) - M.B.A. (Entrepreneurship) - M.B.A. (Tourism and Hotel Management) - M.P.A. (Public Administration) Doctoral Degree Program: - Ph.D. (Management)

11


ด้วยในปั จจุ บันสารสนเทศมีบทบาทสําคัญยิ่งต่อกระบวนการเรียนการสอน มีการ นําสารสนเทศไปใช้ประกอบการเรียนการสอน เนื่องจากสารสนเทศให้ประโยชน์ต่อการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียนนอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตลอดชี วิต สารสนเทศเป็น หั วใจของการพั ฒ นาคนในอั น ที่ จ ะช่ วยขั ด เกลาให้ ค นเป็ น คนดี เพิ่ ม พู นความรู ้ สร้ า ง กระบวนการเรียนรู ้อย่างมีเหตุผล ซึ่ งจะนําไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศโดยส่วนรวม ด้วยเหตุผลดังกล่าวคณะวิทยาการจัดการได้จัดตั้งศูนย์สารสนเทศขึ้นเพื่อ กระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู ้ของนักศึกษา นําไปสู่การเรียนรู ้อย่างต่อเนื่อง และทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลก งบประมาณที่ใช้สําหรับห้องสมุ ดและศูนย์สารสนเทศในปี งบประมาณ 2555 ของ คณะวิทยาการจัดการเท่ากับ 11,630,854.87 บาท (เฉลี่ย 3,325.89 บาท ต่อนักศึกษา 1 คน) ทั้งนี้ ไม่รวมค่าใช้จ่ายและงบประมาณส่วนกลางที่หอสมุ ดและศูนย์คอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัย และไม่รวมค่าใช้จ่ายในระบบ MIS ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ คณะวิทยาการจัดการ ยังได้ดําเนินโครงการ English Self-study ่ ต่อเนืองมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 โดยกําหนดให้นักศึกษาทุกคนตั้งแต่ชั้นปี ท่ี 1 ถึง 3 ต้อง ใช้เวลาอย่างน้อย 2 ชั่ วโมงต่อสัปดาห์ เพื่อฝึ กทักษะภาษาอังกฤษเพิ่มเติมจากการเรียน ปกติ โดยใช้โปรแกรมช่ วยเรียนภาษา อาทิ โปรแกรมสําเร็จรู ป ELLIS โปรแกรม Tell me more มาใช้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา และมี(ผู ้ช่วยสอน) ให้คําแนะนําถ้า ต้องการ นอกจากนั้น คณะยังจัดให้มี English Clinic เปิ ดให้บริการเป็นเวลาทุกวัน แก่นักศึกษาและบุ คลากรที่ต้องการจะฝึ กภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา ซึ่ งเป็นอาจารย์ชาว ต่างประเทศของคณะด้วย

12 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


13


คณะวิทยาการจัดการ ได้กํ าหนดยุ ทธศาสตร์ เพื่อเป็นหลัก ในการดําเนินงานดังนี้

จั ด การเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพ และมาตรฐานของ สถาบันการศึกษาชั้ นนํา โดยจัดกระบวนการเรียนรู ้เพื่อให้นักศึกษาเป็นผู ้มี ความรอบรู ้ทางวิชาการและทักษะวิชาชี พ เพื่อการพึ่ง ตนเอง และแข่งขันได้ในตลาดแรงงาน เพิ่มทักษะภาษาต่าง ประเทศ เทคโนโลยี และการเรียนรู ้ด้วยตนเอง และพัฒนา และปรับปรุ งหลักสูตรเพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่ หลากหลาย โดยเน้นการบู รณาการความรู ้การจัดการและ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน

สร้างสรรค์ และพัฒนาความรู ้ และผลงานวิชาการทาง ด้านวิทยาการจัดการ โดยขยายการจั ด การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สนับสนุนการทําวิจัยของอาจารย์ ส่งเสริมงานวิจัยของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนา งานประจําของคณะ จัดให้มีช่องทางในการเผยแพร่ และ นําเสนองานวิจัย และการสร้างเครือข่ายการวิจัย

14 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


15


16 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


บริ ก ารวิ ช าการที่ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า และมู ล ค่ า แก่ ค ณะ มหาวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น โดยการให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่นและสังคม ให้บริการทางวิชาการแก่บุคลากรมหาวิทยาลัย และให้ บริการวิชาการที่ช่วยสร้างรายได้ 4

อนุ รั ก ษ์ พั ฒ นา และสร้ า งเสริ ม เอกลั ก ษณ์ ศิลปวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพันธกิจของคณะ โดยการสร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ของบุ คลากร และ นั ก ศึ ก ษาในการอนุ รั ก ษ์ พั ฒ นาและสร้ า งเสริ ม เอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับการดําเนินงาน ตามพันธกิจของคณะ

17


18 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


พั ฒ นาบุ คลากรเพื่ อ เพิ่ ม ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการดํ า เนิ น งานตามพั น ธกิ จ ของคณะวิชา โดยการสนับสนุนการเพิ่มคุณวุ ฒิ และประสบการณ์ของบุ คลากร ให้สอดคล้องกับพันธกิจของคณะ กํ าหนดค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ สอดคล้ อ งกั บ ภาระงานผลงานและความสามารถในการแข่ ง ขั นได้ ข อง คณะวิชา

พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาให้ มี ค วามรอบรู ้ เ พิ่ ม เติ ม จากทั ก ษะวิ ช าชี พ มีจริยธรรม และจิตสํานึกรับผิดชอบต่อสังคม โดยการส่ ง เสริ ม และสนุ นให้ นั ก ศึ ก ษา อาจารย์ และบุ คลากร จัด เข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา ดูแลสวัสดิภาพและสวัสดิการของนักศึกษา พร้อมทั้งการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาปั จจุ บันและ นักศึกษาเก่า

19


บริ ห ารจั ด การองค์ ก รอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ การพึ่ ง พาตนเองเชิ ง แข่งขันได้ของคณะวิชา โดยการจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ร าชการ 4 ปี และแผนปฏิ บั ติ ง าน ประจํ า ปี ปรั บ ปรุ งโครงสร้ า งองค์ ก ร และประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานที่ สอดคล้ อ งกั บ หน่ ว ยงานในกํ า กั บ การพึ่ งพาตนเองและสหสาขาวิ ช า และเพิ่มช่ องทางในการหารายได้ของคณะวิชา

20 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


21


22 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


คณะวิ ท ยาการจั ด การจั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ จั ด การ ศึ ก ษาของวิ ท ยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี ตามมติ ข อง สภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.2545 และได้ ดําเนินการจัดการศึกษาเรื่อยมาจนได้รับการแต่งตั้งเป็น หน่วยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมติ ของสภามหาวิ ท ยาลั ย ตามประกาศมหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร เรื่อง การจัดตัง้ และแบ่งหน่วยงานในกํากับของ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2546 ให้มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชา โดยไม่มีการแบ่งส่วนงาน ภายในแต่อย่างใด คณะฯ ได้จัดโครงสร้างการบริหารงานภายใน ตามแผนผังแสดงโครงสร้างการบริหารงาน มีคณบดี โดยคณบดีมาจากการสรรหาและได้รับการแต่งตั้งจาก สภามหาวิทยาลัยเป็นผู ้บังคับบัญชา มีหน่วยย่อยเป็น สาขาวิชา ซึ่ งมีหัวหน้าสาขาวิชาและรองหัวหน้าสาขาวิชา ได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัยเป็นผู ้กํากับดูแลทาง ด้านวิชาการ มีสํานักงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี ทํ า หน้ า ที่ เปรี ย บเสมื อ นสํ า นั ก งานเลขานุ ก ารของ คณะวิ ท ยาการจั ด การ โดยให้ ก ารสนั บ สนุ น งานด้ า น อาคารสถานที่ ด้านวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการการเรียน การสอนให้กับสาขาวิชาต่างๆ ที่เปิ ดสอน

กรรมการบริหารประจําคณะวิทยาการจัดการ ได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ทําหน้าที่เช่ นเดียวกับ คณะกรรมการประจําคณะวิชา นอกจากนี้ คณะฯ ยัง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการฝ่ ายต่ า งๆ อาทิ เ ช่ น คณะ กรรมการวิชาการ คณะกรรมการประจําหลักสูตรต่างๆ คณะกรรมการกิจการนักศึกษา เป็นต้น คณะวิทยาการ จั ด การยั งไม่ มี สํ า นั ก งานเลขานุ ก ารคณะ แต่ ไ ด้ ใ ช้ สํานักงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี ร่วมกับบุ คลากร สายสนับสนุนวิชาการและลูกจ้างชั่ วคราวของคณะฯ อีก จํานวนหนึ่งทําหน้าที่แทน

23


อธิการบดี คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการอํานวยการ

คณบดีคณะวิทยาการจัดการ รองคณะบดีและผู ้ช่วย คณะกรรมการ บัณฑิตประจํา คณะ

สาขาวิชาการจัดการชุ มชน

สาขาวิชาการจัดธุ รกิจทั่วไป

สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว

หลักสูตรจัดการชุ มชน

หลักสูตรจัดการธุ รกิจทั่วไป

หลักสูตรจัดการท่องเที่ยว

หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตร์

หลักสูตรการตลาด

หลักสูตรธุ รกิจ โรงแรมและที่พัก

ปริญญาโท หลักสูตรการ จัดการภาค รัฐและเอกชน

หลักสูตรการจัดการธุ รกิจ และภาษาอังกฤษ หลักสูตรการ จัดการของผู ้ ประกอบการ

24 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

ปริญญาเอก หลักสูตรการ จัดการ


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการ มีจํานวน บุ คลากรรวม 149 คน จําแนกเป็นสายวิชาการ (อาจารย์) 80 คน โดยมีอาจารย์ท่ีมีสถานภาพเป็นข้าราชการ 5 คน ลูกจ้างชั่ วคราว 5 คน และพนักงานในสถาบันอุ ดมศึกษา 70 คน จําแนกเป็นอาจารย์ท่ีมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา ตรี 5 คน ระดับปริญญาโท 56 คน และระดับปริญญาเอก 19 คน และมีอาจารย์ท่ีดํารงตําแหน่งทางวิชาการจํานวน 16 คน โดยดํ า รงตํ า แหน่ ง ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ 10 คน รองศาสตราจารย์ 5 คน และศาสตราจารย์ 1 คน

80 5 Bachelor Degree

บุ คลากรสายสนั บ สนุ น วิ ช าการ มี ส ถานภาพเป็ น พนักงานในสถาบันอุ ดมศึกษาสายบริหารงานและปฏิบัติการ ทั่วไป พนักงานมหาวิทยาลัยปฏิบัติงานภารกิจเฉพาะ (ปฏิบัติ งานที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน) และ ลูกจ้างชั่ วคราว นอกจากนี้ ยังมีลูกจ้างชั่ วคราวชาวต่างชาติอีก

พนักงานในสถาบันอุ ดมศึกษาสายบริหารงานและปฏิบัติการทั่วไป

26 คน

พนักงานในสถาบันอุ ดมศึกษาสายบริหารและปฏิบัติงานเฉพาะกิจ

19 คน

ลูกจ้างชั่ วคราว

11 คน

ลูกจ้างชั่ วคราวชาวต่างชาติ

13 คน รวมทั่้งสิ้น

69

Professors

46

Master’s Degree

13

Doctoral Degree

Academic Staff

69 คน

25


ด้านการศึกษา ในปี การศึกษา 2555 คณะฯ มี บุ คลากรที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาโทในต่ า งประเทศ จํานวน 2 คน ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในประเทศ จํานวน 3 คน และศึกษาต่อปริญญาเอกต่างประเทศ จํานวน 8 คน รวมบุ คลากรศึกษาต่อจํานวน 13 คน โดยศึกษาต่อในต่าง ประเทศร้อยละ 75 ทั้งนี้ มีบุคลากรศึกษาต่อในประเทศโดย ลาศึกษาบางเวลาและนอกเวลาราชการอีก 14 คน ศึกษาต่อระดับปริญญาโทต่างประเทศ

2 คน

ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในประเทศ

3 คน

ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกต่างประเทศ

8 คน

ศึกษาต่อในประเทศโดยลาศึกษาบางเวลา และนอกเวลาราชการ

14 คน

รวมทั้งสิ้น

3 2

total 27 14

27 คน

สําหรับบุ คลากรลาศึกษาต่อต่างประเทศ ได้รบั การสนับสนุนจาก แหล่งทุนทั้งภายนอก และทุนคณะวิทยาการจัดการ

ทุนคณะวิทยาการจัดการ

5 ทุน

ทุนส่วนตัวและคณะวิทยาการจัดการ

4 ทุน

ทุน ก.พ.

1 ทุน

ทุนคณะวิทยาการจัดการและทุนโครงการส่งเสริมวิจัยในอุ ดมศักษา

1 ทุน

ทุนไต้หวันและทุนคณะวิทยาการจัดการ

1 ทุน

ทุนมหาวิทยาลัยเจียอี้และทุนคณะวิทยาการจัดการ

1 ทุน

26 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

8


นอกจากการส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณวุ ฒิสูงขึ้นแล้ว คณะฯ ยังส่งเสริมสนับสนุนการเพิ่มประสบการณ์ของบุ คลากร โดยสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมประชุ ม ฝึ กอบรม ดูงาน หรือ สัมมนา ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ซึ่ งในปี การศึกษา 2555 มีคณาจารย์ได้รับการเพิ่มประสบการณ์ในประเทศและ ต่างประเทศ 61 คน โดยเข้าร่วมประชุ ม อบรม สัมมนา ดูงานในประเทศ 40 คน และต่างประเทศ 5 คน มีบุคลากร สายสนั บ สนุ น วิ ช าการได้ รั บ การเพิ่ ม ประสบการณ์ 33 คน โดยเข้าร่วมประชุ ม อบรม สัมมนา ในประเทศ 1 คน ในประเทศ และต่างประเทศ 1 คน และศึกษาดูงานต่างประเทศ 31 คน บุ คลากรเข้าร่วมประชุ ม อบรม สัมมนา ดูงานในประเทศ

40

5

40 คน

บุ คลากรเข้าร่วมประชุ ม อบรม สัมมนา ดูงานในต่างประเทศ

5 คน

รวมทั้งสิ้น

45 คน

นอกจากนี้ ยั ง มี โ ครงการที่ ค ณะฯ จั ด ขึ้ นให้ กั บ บุ คลากรอีก 3 โครงการ โดยมีคณาจารย์เข้าร่วมโครงการ รวม 60 คน และบุ คลากรสายสนับสนุนเข้าร่วมโครงการรวม 30 คน คณาจารย์

60 คน

บุ คลากรสายสนับสนุน

30 คน

รวมทั้งสิ้น

90 คน

30

3 Activities 90 attended 60

27


ต่างประเทศ

31 คน

ในประเทศ

1

คน

ในประเทศและต่างประเทศ

1

คน

รวมทั่้งสิ้น

1

1

33

Seminars, Conferences

33 คน

คณะวิทยาการจัดการ ได้รับการจัดสรรงบ ประมาณจาก 3 แหล่ง คือ งบประมาณแผ่นดิน สําหรับ เป็นค่าใช้จ่ายในโครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยไม่ เก็บค่าลงทะเบียนและจัดซื้ อครุ ภัณฑ์ ใช้จ่ายตามระเบียบ ราชการ งบประมาณเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้จากค่าหน่วยกิตและค่าธรรมเนียมพิเศษของนักศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการชุ มชน ใช้จ่ายตามข้อบังคับและระเบียบเงินรายได้ และ งบประมาณรายรับโครงการพิเศษ ได้จากค่าธรรมเนียม การศึกษาของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ ธุ รกิจทั่วไป สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการ การท่องเที่ยว สาขาวิชาธุ รกิจโรงแรมและที่พัก สาขา วิ ช าการจั ด การธุ รกิ จ และภาษาอั ง กฤษ และสาขาวิ ช า รัฐประศาสนศาสตร์ ใช้จ่ายตามข้อบังคับและระเบียบ โครงการพิเศษ ซึ่ งมหาวิทยาลัยหักงบประมาณส่วนนี้ไว้ 20% ของรายรับ รวมกับรายได้จากค่าธรรมเนียมการ ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้ งบประมาณส่วนที่เหลือ จากการดําเนินการในแต่ละปี จะนําเข้าสมทบในกองทุน พัฒนาคณะวิทยาการจัดการ เพื่อใช้จ่ายตามความเห็น ชอบของคณะกรรมการบริ ห ารประจํ า คณะวิ ท ยาการ จัดการต่อไป

28 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

31

ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 คณะฯ ได้รับงบประมาณ จํานวนทั้งสิ้น 153,873,400 บาท จําแนกเป็ นประเภทงบ ประมาณได้ดังนี้ งบประมาณแผ่นดิน จํานวน 2,314,100 บาท งบประมาณเงินรายได้ จํานวน 4,864,700 บาท และงบ ประมาณจากแหล่งอื่นๆ (เงินรายรับโครงการพิเศษ และเงินราย ได้อ่ืน) จํานวน 146,994,600 บาท

146.9 แผนการประมาณ

135.2

ผลการใช้งบประมาณ

2.31 2.31 งบประมาณแผ่นดิน

4.86 4.86

เงินรายได้

Million Baht

การเข้าร่วมประชุ ม ฝึ กอบรม ดูงาน หรือสัมนาของ บุ คลากรสายสนับสนุนวิชาการ

เงินโครงการพิเศษ


จากแนวคิดการจัดตั้งวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รีโดยการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน คณะวิทยาการจัดการจึงไม่มีอาคารสถานที่ของคณะฯ แต่ใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ และห้องสมุ ด ร่วมกับ คณะวิชาอื่น ดังนี้ ห้องเรียนรวม 1) อาคารเรี ย นรวม 2 : ห้ อ งเรี ย นรวมความจุ 40 – 250 คน จํานวน 37 ห้อง และห้องเรียนรวมความจุ 250-350 คน จํานวน 3 ห้อง 2) อาคารวิ ท ยบริ ก าร : ห้ อ งเรี ย นรวมความจุ 40 – 250 คน จํานวน 8 ห้อง และห้องเรียนรวมความจุ 350 คน จํานวน 1 ห้อง

29


ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และจํานวนคอมพิวเตอร์ 1) ห้องปฏิบัติการรวม 2 ห้อง จํานวนคอมพิวเตอร์รวม 104 เครื่อง 2) ห้องสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1 ห้อง จํานวนคอมพิวเตอร์ 69 เครื่อง 3) ห้องสมุ ด หอพัก และที่อ่ืนๆ ซึ่ งจัดคอมพิวเตอร์ไว้ให้เป็นส่วนกลางสําหรับ นักศึกษาใช้อีกประมาณ 50 เครื่อง

30 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบัติการทางภาษา จํานวน 3 ห้อง และเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมี ระบบปฏิบัติการทางภาษาจํานวน 174 ที่น่ัง

31


32 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


สถานปฏิบัติการ Viridian Lodge & Restaurant คณะฯ ได้จัดให้มีสถานปฏิบัติการด้านโรงแรมและ ภัตตาคาร Viridian Lodge & Restaurant เพื่อใช้เป็น สถานที่ฝึกปฏิบัติด้านการครัว ห้องอาหาร และห้องพัก ให้กับนักศึกษาสาขาธุ รกิจโรงแรมและที่พัก 1) Viridian Lodge ให้บริการห้องพักแก่บุคคลทั่วไป มีห้อง พักทั้งในแบบห้องเดี่ยวและห้องคู่ จํานวน 20 ห้อง และห้อง ชุ ดอีก 1 ห้อง 2) Viridian Restaurant เปิ ดให้บริการอาหารกลางวันแบบ บุ ฟเฟต์ และอาหารตามสั่งให้กับบุ คคลทั่วไปตั้งแต่วันจันทร์ ถึงวันศุกร์ โดยมีทีมงานพ่อครัว และผู ้จัดการร้านอาหาร ที่มปี ระสบการณ์ คอยดูและนักศึกษาซึ่ งเป็นผู ป้ ฏิบตั งิ านจริง 3) Viridian Cafe´ เป็นห้องปฏิบัติการร้านกาแฟ มีขนม ประเภทต่างๆ จากห้องเรียนเบเกอรี่ของคณะฯ จําหน่าย และมีนักศึกษาเป็นผู ้ปฏิบัติงาน 4) ห้องเรียนปฏิบัติการอาหารและห้องฝึ กปฏิบัติการทํา อาหาร 5) ห้องฝึ กปฏิบัติการเครื่องดื่ม 6) ห้องฝึ กปฏิบัติการเบเกอรี่

33


34 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


35


36 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


37


38 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


39


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการ จัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาบัณฑิต จํานวน 7 หลักสูตร ระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน 3 หลักสูตร และระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวน 1 หลักสูตร

40 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


41


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการ มี จํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น 3,616 คน จําแนกเป็นนักศึกษาระดับ ปริญญาบัณฑิต จํานวน 3,050 คน นักศึกษาระดับ ปริญญามหาบัณฑิต จํานวน 509 คน และนักศึกษาระดับ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวน 57 คน

57 509

3,616 3,050

จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตปี การศึกษา 2555 จําแนกตามระดับการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

3,050 คน

นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต

509

คน

นักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต

57

คน

3,616

คน

รวมทั่้งสิ้น

นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตปี การศึกษา 2555 จําแนกตามสาขาวิชา สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทั่วไป

441

คน

สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว

509

คน

สาขาวิชาการจัดการชุ มชน

266

คน

สาขาวิชาการตลาด

383

คน

สาขาการจัดการธุ รกิจท่องเที่ยวและโรงแรม

435

คน

สาขาการจัดการธุ รกิจและภาษาอังกฤษ

456

คน

สาขารัฐประศาสนศาสตร์

560

คน

รวมทั่้งสิ้น

42 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

3,050 คน


ในปี การศึกษา 2556 คณะวิทยาการจัดการ มี จํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น 3,421 คน จําแนกเป็นนักศึกษาระดับ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต จํ า นวน 2,845 คน นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน 468 คน และ นักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวน 108 คน

108 568

3,421 2,845

จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตปี การศึกษา 2556 จําแนกตามระดับการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

2,845 คน

นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต

468

คน

นักศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต

108

คน

รวมทั่้งสิ้น

3,421 คน

นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตปี การศึกษา 2556 จําแนกตามสาขาวิชา สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทั่วไป

393

คน

สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว

482

คน

สาขาวิชาการจัดการชุ มชน

220

คน

สาขาวิชาการตลาด

390

คน

สาขาการจัดการธุ รกิจท่องเที่ยวและโรงแรม

424

คน

สาขาการจัดการธุ รกิจและภาษาอังกฤษ

445

คน

สาขารัฐประศาสนศาสตร์

491

คน

รวมทั่้งสิ้น

2,845 คน

43


จํานวนนักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต ปี การศึกษา 2556 จําแนกตามสาขาวิชา

จํานวนนักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต ปี การศึกษา 2555 จําแนกตามสาขาวิชา

สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน

186 คน

สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน

188 คน

สาขาวิชาการประกอบการ

262 คน

สาขาวิชาการประกอบการ

234 คน

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

61

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

46

คน

509 คน

รวมทั่้งสิ้น

468 คน

รวมทั่้งสิ้น

จํานวนนักศึกษาปริญญาเอกสาขาวิชาการจัดการ

57

+50%

108

44 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

คน

จํานวนนักศึกษาปริญญาเอกปี การศึกษา 2555

57

จํานวนนักศึกษาปริญญาเอกปี การศึกษา 2556

108 คน

รวมทั่้งสิ้น

คน

165 คน


จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (Full Time Equivalent Student: FTES) เท่ากับ 3,497.07 คน โดยจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก (หลังปรับค่าแล้ว) เท่ากับ 2,860.98 571.51 และ 64.58 ตามลําดับ อัตราส่วนอาจารย์ : นักศึกษา เท่ากับ 1 : 52 คน ซึ่ งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของสกอ. 1 : 25 คน ทั้งนี้เนื่อง จากคณะฯ เชิ ญอาจารย์พิเศษในสาขาวิชาต่างๆ เป็นจํานวนมากและมีอาจารย์ชาวต่างประเทศ จํานวน 13 คน ทําการ สอนในรายวิชาภาษาต่างประเทศ ซึ่ งจัดนักศึกษาเป็นกลุ่มเล็ก รวมทั้งมีผู้ช่วยสอน จํานวน 6 คน เพื่อช่ วยแบ่งเบา ภาระงาน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการจัดการ

ป.ตรี (ปกติ) 1/2555

2/2555

ป.โท (พิเศษ) รวม

1/2555

2/2555

รวม ก่อน ปรับ

ป.เอก รวม ปรับ*

1/2555

2/2555

รวม รวม ก่อน ปรับ

รวม ปรับ**

รายวิชาของคณะ / รายวิชากลุ่มภาษา ภาษาไทย

115.67

84.17

99.92

99.92

ภาษาอังกฤษ

471.44

373.06

422.25

422.25

ภาษาต่างประเทศที่ 2

91.50

47.48

69.64

69.64

สาขาวิชาจัดการธุ รกิจทั่วไป

1428.72

1106.89

1267.81

1267.81

สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว

434.94

424.00

429.47

429.47

สาขาวิชาการจัดการชุ มชน

622.83

520.94

571.89

571.89

สาขาวิชาการจัดการภาครัฐฯ

173.00

108.75

140.88

253.58

253.58

สาขาวิชาการประกอบการ

119.17

132.25

155.90

279.90

279.90

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

23.50

18.75

21.13

38.03

สาขาวิชาการจัดการ (พิเศษ) สาขาวิชาการจัดการ (ปกติ) รวม

38.03 14.00

3,165.10

2,556.84

2,860.98

315.67

259.75

317.51

571.51

12.00

13.00

23.40

23.40

32.00

13.75

22.88

41.18

41.18

46.00

25.75

35.88

64.58

3,497.07

* จํานวนอาจารย์ 67 อัตราส่วนอาจารย์ : นักศึกษา 1 : 52.20 เกณฑ์มาตรฐาน 1 : 25 ** จํานวนนักศึกษารวม 3,616 คน

45


46 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


47


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการได้จัดการเรียนการสอน 394 รายวิชา โดยในภาคการศึกษาต้นจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญา บัณฑิต จํานวน 177 วิชา ระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน 29 วิชา และ ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จํานวน 7 วิชา และในภาคปลายจัดการเรียนการ ในระดับปริญญาบัณฑิต จํานวน 160 วิชา ระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน และระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตจํานวน 6 วิชา

48 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


คณะวิทยาการจัดการ ให้ความสําคัญกับการเรียนการ สอนโดยเน้นประสบการณ์จริง จึงกําหนดให้นักศึกษาต้อง ฝึ กงานในสถานประกอบการในทุกหลักสูตรของคณะ โดย เฉพาะในหลักสูตรการจัดการการท่องเที่ยวและหลักสูตรธุ รกิจ โรงแรมและที่พัก นักศึกษาจะต้องผ่านการฝึ กงานถึง 3 ครั้ง ในชั้ นปี ที่ 2, 3 และภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนจบการศึกษา น อ ก จ า ก นั้ น ค ณ ะ ยั ง ดํ า เ นิ น ก า รใ น ส่ ว น ป ฏิ บั ติ ก า ร Viridian Lodge & Restaurant, Viridian Cafe และ Demo Bar โดยเปิ ดห้องพักแบบมาตรฐาน จํานวน 20´ ห้อง และดํ า เนิ น การห้ อ งอาหารทั้ ง แบบบุ ฟเฟต์ รวมไปถึ ง A La Carte Menu เพื่ อให้ บ ริ ก ารแก่ ส าธารณชน และให้ นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติได้ในรู ปแบบของสถานประกอบการภายใน มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ คณะฯ ยังสนับสนุนให้สาขาวิชาจัดโครงการ

ศึกษาดูงานนอกสถานที่และโครงการเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ ทั้งโครงการที่เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาที่เปิ ดสอน (ในรายวิชา) และโครงการที่สาขาวิชาจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมประสบการณ์การ เรียนรู ้ของนักศึกษา (นอกรายวิชา) ในปี การศึกษา 2555 คณะฯ จัดโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ และโครงการเพื่อส่งเสริม ประสบการณ์ รวมทั้งสิ้นจํานวน 160 โครงการ เป็นโครงการ ในภาคการศึกษาต้น จํานวน 74 โครงการ และในภาคการ ศึกษาปลาย จํานวน 86 โครงการ ใช้งบประมาณรวมทั้งสิ้น 10,251,195 บาท (สิบล้านสองแสนห้าหมื่นหนึ่งพันหนึ่งร้อยเก้า สิบห้าบาทถ้วน) ตัวอย่างเช่ น การศึกษาดูงานในรายวิชาต่างๆ และดูงานประจําปี ของสาขาวิชา การออกปฏิบัติงานภาคสนาม การจัดสัมมนาทางวิชาการ การส่งนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน ทางวิ ช าการในประเทศ และการนํ า เสนอผลงานวิ จั ย ของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี (ภายใต้ความดูแลของอาจารย์ท่ี ปรึกษา) ในเวทีระดับชาติ

19 15

14

14

12 10 8 6 2

11

12

13 13 11

สรุ ปผลโครงการการศึกษาดูงานนอกสถานที่ ส่งเสริมประสบการณ์ ประจําปี การศึกษา 2555 สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทั่วไป

ภาคต้น 6

ภาคปลาย 14 โครงการ

สาขาวิชาการตลาด

2

8

โครงการ

สาขาการจัดการธุ รกิจและภาษาอังกฤษ

12

15

โครงการ

สาขาการจัดการท่องเที่ยว

19

14

โครงการ

สาขาการจัดการธุ รกิจโรงแรมและที่พัก

10

11

โครงการ

สาขาการจัดการชุ มชน

12

11

โครงการ

สาขารัฐประศาสนศาสตร์

13

13

โครงการ

74

86

โครงการ

รวมทั่้งสิ้น

49


50 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


คณะวิทยาการจัดการ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการวิจัยเพื่อทําหน้าที่ดูแล ด้านการสนับสนุนการวิจัยให้กับคณาจารย์และบุ คลากรของคณะฯ โดยคณะ จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัย ทั้งงานกลุ่มในระดับสาขาวิชา และ งานวิจัยของคณาจารย์ สนับสนุนการนําเสนอผลงานวิจัยทั้งในและต่าง ประเทศ รวมทั้งสนับสนุนเงินรางวัลแก่ผู้นําเสนอหรือตีพิมพ์ผลงานวิจัย

51


ในปี งบประมาณ 2555 คณะวิทยาการจัดการ มี โ ครงการวิ จั ย ที่ ดํ า เนิ น การและได้ รั บ งบประมาณ สนับสนุน จํานวน 9 โครงการ งบประมาณรวม 3,217,434.18 บาท (สามล้านสองแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพัน สี่ร้อยสามสิบสี่บาทสิบแปดสตางค์) จําแนกเป็นทุน สนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายใน 3 ทุน จํานวน 67,333.33 บาท (ร้อยละ 2.10) และแหล่งเงินทุนจาก ภายนอก 6 ทุน จํานวน 3,150,100.85 บาท (ร้อยละ 97.90) คิ ด เป็ น เงิ น สนั บ สนุ น งานวิ จั ย ภายในและ ภายนอกสถาบั น ต่ อ จํ า นวนอาจารย์ ป ระจํ า เฉพาะที่ ปฏิบัติงานจริง เท่ากับ 48,021.41 บาท

0.067

Total 3.2 million Baht

ในปี พ.ศ. 2555 คณาจารย์ของคณะฯ มีงาน วิ จั ย ที่ ได้ รั บ การตี พิ ม พ์ ใ นวารสารหรื อ เผยแพร่ ใ น ที่ ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ น า น า ช า ติ จํานวน 66 เรื่อง โดยจําแนกเป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ใน วารสารระดั บ ชาติ ห รื อ เผยแพร่ ใ นที่ ป ระชุ ม ระดั บ ชาติ จํานวน 53 เรื่อง และงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับ นานาชาติจํานวน 13 เรื่อง

13 13 International publications 53

3.15 แหล่งเงินทุนสนับสนุนการวิจัย ปี การศึกษา 2555 ทุนภายในคณะวิทยาการจัดการ

3 ทุน

เป็นจํานวนเงิน 67,333.33 บาท ทุนภายนอกคณะวิทยาการจัดการ

6 ทุน

เป็นจํานวนเงิน 3,150,100.85 บาท

52 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือเผยแพร่ในที่ ประชุ มวิชาการ ปี การศึกษา 2555 งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

13 ผลงาน

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือเผยแพร่

53 ผลงาน

ในที่ประชุ มระดับชาติ


งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2555 ที่

ชื่ อเจ้าของผลงาน และผู ้ร่วม

ชื่ อบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่

ลักษณะการตีพิมพ์/เผยแพร่

ระดับ

1

ประสพชั ย พสุนนท์, คุณศิริ เจริญไชย และ เบญจวรรณ พันธ์กลับ

การวิเคราะห์ปัจจัยและจัดกลุ่มการบู ชาเทพเจ้ากวนอู ใน อําเภอเมืองจังหวัดนครสวรรค์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

2

ประสพชั ย พสุนนท์, ณัฐฐิณี รวมธรรม และ สุขุม ลือชายุ ทธ

การวิเคราะห์ปัจจัยและจัดกลุ่มการบู ชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ของ บุ คลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

3

ยุ คลธร หิรัญเนตร, กิติศักดิ์ พู ลผล และ ประสพชั ย พสุนนท์

การวิเคราะห์ปัจจัยและพฤติกรรมการบู ชากรมหลวงชุ มพร เขตอุ ดมศั ก ดิ์ ข องประชาชนที่ ม าสั ก การะบู ชา ณ พระ อนุ ส าวรี ย์ ก รมหลวงชุ ม พรเขตอุ ดมศั ก ดิ์ เ ขาทั พ พระยา อําเภอเมืองพัทยา จังหวัดชลบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

4

ประสพชั ย พสุนนท์, นาธิดา ศรีวนา รัตน์และกมลวรรณ อินทร์ชัย

ปั จจัยและพฤติกรรมการบู ชานางกวักของผู ้ประกอบการ ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมอําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

5

ประสพชั ย พสุนนท์, นิธิพัฒน์วงศ์แสงเอี่ยม และ มนัญญา ตั้งเลิศธนาทรัพย์

พฤติกรรมและปั จจัยการบู ชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของผู ้ประกอบ การร้านค้าแผงลอยบริเวณสะพานพุ ทธกรุ งเทพมหานคร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

6

ประสพชั ย พสุนนท์, ปาริฉัตร โสนะมิตร์ และ ผุ สดี ชั ยเจริญเสรี

พฤติกรรมและปั จจัยที่มีผลต่อการบู ชาพระราหูในจังหวัด นครปฐมและจังหวัดสมุ ทรสาคร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

7

ประสพชั ย พสุนนท์, จริยา สนเปี่ ยม และ ณัฐนนท์ โชครัศมีศิริ

พฤติกรรมและปั จจัยที่ส่งผลต่อการบู ชากุมารทองของผู ้ ประกอบการร้านค้าปลีกในอําเภอเมืองจังหวัดนครปฐม

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

8

พิทักษ์ ศิริวงศ์, จิราภรณ์ มีศิริ และ ชนกนาถ ไชยพรหม

การให้ความหมายและการเลือกซื้ อเครื่องกระดาษกงเต๊ก ข อ ง ช า ว จี น แ ต้ จิ๋ วใ น เ ข ต อํ า เ ภ อ ป ร า ณ บุ รี จั ง ห วั ด ประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

9

พิทักษ์ ศิริวงศ์, สิทธิกร ฉํ่าเลิศวัฒน์ และ มลทิรา เมืองพุ ทธา

การให้ ร างวั ล ตนเองของกลุ่ ม นั ก ศึ ก ษาชายรั ก ชาย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

10

ชนัญญา รู ป, ณิชามน อัศดรไพรศานติ์ และพิทักษ์ ศิริวงศ์

วิ ถี ชี วิ ต ชาวประมงไดหมึ ก ตํ า บลปากนํ้ า ปราณ อํ า เภอ ปราณบุ รี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

11

นภนนท์ หอมสุด, วรัจฉรา ทองชั ยไพโรจน์ และ วิชุดา ทองทะมน

แรงจู งใจในการเข้าใช้บริการของนักท่องเที่ยวในตลาดนํ้า หัวหินสามพันนามอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

12

นภนนท์ หอมสุด, สุนิสา วงศ์ประทุม และ อรยา ผานิตสุวรรณ

การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริการวุ ฒิศักดิ์คลินิก ของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

13

นภนนท์ หอมสุด, ปั ณชญา ศรีเมฆ และ มุ นิล บุ ญประเสริฐ

ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อ องค์พระปฐมเจดีย์จังหวัดนครปฐม

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการระดับชาติด้านธุ รกิจ และเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

53


งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2555 (ต่อ) ที่

ชื่ อเจ้าของผลงาน และผู ้ร่วม

ชื่ อบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่

ลักษณะการตีพิมพ์/เผยแพร่

ระดับ

14

นภนนท์ หอมสุด, ภิมลรัตน์ ปั ดทะสี และ สุวรรณรัตน์ รู ้จริง

ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อตลาด นํ้าอโยธยา

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

15

นภนนท์ หอมสุด, กันติชา เปลี่ยนเฉย และ จริยา กําปงซั น

การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกซื้ อรองเท้านักเรียนหญิง ชั้ นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

16

นภนนท์ หอมสุด, อัจฉรา พรมลุน และ สรัล อํ่าพันธุ ์

ความคาดหวังและความพึงพอใจด้านบริการของผู ใ้ ช้บริการศูนย์ การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

17

ทิพย์อาภา เนตรนิรมล, สิริพักตร์ เกื้อกูล และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจู งใจในการทํางานกับพฤติกรรมการ เป็นสมาชิ กที่ดีขององค์กรของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเพชรบุ รี

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

18

วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์, ปาริชาติ บุ ญเทียบ และ มะลิวรรณ วาตะยัง

การศึกษาความพึงพอใจในการใช้แรงงานต่างด้าวของผู ป้ ระกอบ การธุ รกิจประมง ในตําบลมหาชั ย อําเภอเมือง จังหวัดสมุ ทรสาคร

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

19

จารุ วัทน์ ทิฆัมพรไพโรจน์, วาทิตต์ ทรวดทรง และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

อิทธิพลของการรับรู ้การนําเสนอบริการที่มีต่อความเชื่ อมั่นใน ผลิตภัณฑ์ 3G ของ AIS

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

20

สาธิตบู รณะ และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

ทัศนคติต่อการใช้บริการธุ รกรรมทางการเงินของลูกค้าธนาคาร กรุ งเทพจํากัด (มหาชน) สาขาราชบุ รี

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

21

นภนนท์ หอมสุด, ณัฐฐา อําไพ และ อนุศรา เอนกพัฒนกิจ

การวิเคราะห์ปัจจัยผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อประชาชนใน เขตเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

22

นภนนท์ หอมสุด, ณัฐวรัญชน์ เขียววิจิตร และผณินทร เกษตรตระการ

การวิเคราะห์องค์ประกอบของการเลือกอ่านหนังสือวรรณกรรม เยาวชนของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

23

นภนนท์ หอมสุด, นุชจรี สุคนธา และ มัลลิกา ตะลุวรรณ

การจั ด กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ดิ น ทางมาเลื อ กซื้ อสิ น ค้ า ที่ ต ลาดนั ด สวนจตุจักร

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555 คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

ชาติ

24

ณัฐวดี เลาหบุ ตร, ณิชนันท์ อยู ่ประ และ สิริชัย ดีเลิศ

ปั จจั ย ส่ ว นประสมทางการตลาดที่ มี ผ ลต่ อ การเลื อ กใช้ บ ริ ก าร ตลาดกลางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-MarketPlace) ของนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร เพชรบุ รี คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4 กุมภาพันธ์ 2555.

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ทางวิ ช าการระดั บ ชาติ ด้ า นธุ รกิ จ และ เศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจําปี 2555

ชาติ

25

สวรรยา ธรรมอภิพล และ ศศิใส แสงสัตตรัตน์

ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่ าชายเลนของ ชุ มชนบ้านสหกรณ์ ต.พันท้ายนรสิงห์ อ.เมือง จังหวัดสมุ ทรสาคร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครัง้ ที่ 50, 31 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 331-336.

ชาติ

26

ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ, กนกวรรณ ตั้นธง และ ฐาสุณา สุขขวัญ

การศึกษาปั จจัยที่กําหนดภาพลักษณ์ขององค์การของห้างหุ้น ส่วนจํากัดพัทลุงเอ็มเอ็นรถยก จังหวัดพัทลุง

รายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม ราชภั ฏ วิ ช าการเพื่ อ ท้ อ งถิ่ น ครั้ ง ที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่ 12-14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 5-8.

ชาติ

54 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2555 (ต่อ) ที่

ชื่ อเจ้าของผลงาน และผู ้ร่วม

ชื่ อบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่

ลักษณะการตีพิมพ์/เผยแพร่

ระดับ

27

ดลชนก นะเสือ, ปรียา นิติวรเวช, ธิดาทิพย์ ปานโรจน์ และ ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ

ปั จจั ย ด้ า นทั ศ นคติ ท่ ี ส่ ง ผลต่ อ การเข้ า ถึ ง สั ง คมออนไลน์ (Social Network) ของนักศึกษาสาขาการจัดการธุ รกิจ ทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มราชภัฏวิชาการเพื่อท้องถิ่นครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่, 12-14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 23-28.

ชาติ

28

วรรณวิภา บัวแย้ม, วิจิตรา เกิดวัน และ ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ

คุณภาพชี วิตของผู ้สูงอายุ ชาวต่างชาติในเขตอําเภอหัวหิน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มราชภัฏวิชาการเพื่อท้องถิ่นครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงใหม่, 12-14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 68-71.

ชาติ

29

พิทักษ์ ศิริวงศ์, นุชนารถ มู ลสันเทียะ และ ศุภมิตร โกวินธนาพัฒน์

ความเชื่ อในสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องผู ้ ป ระกอบการร้ า นค้ า ย่ า น ตลาดพลูเขตธนบุ รี กรุ งเทพมหานคร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 818-824.

ชาติ

30

พิทักษ์ ศิริวงศ์, ขวัญทิวา ผิวผาด และกุลธีรา อุ ดมพงศ์วัฒนา

ความเชื่ อการบนบานและการใช้ของแก้บนผู ้ท่ีมาแก้บนศาล เจ้าแม่นมสาว เกาะนมสาวตําบลสามร้อยยอด อําเภอสาม ร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 868-875.

ชาติ

31

พิทักษ์ ศิริวงศ์, จันจิรา ปลัดสิงห์ และ จาริณี ตาพันไกล

เรื่ อ งเล่ า สั ป เหร่ อ ชาวมอญ วั ด เขาช่ องพราน อํ า เภอ โพธาราม จังหวัดราชบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 879-884.

ชาติ

32

พิทักษ์ ศิริวงศ์, วชิ ระสิริวงศ์ วัฒนชั ย และ ภาณุพงศ์ บัวแย้ม

การให้ความหมายและกระบวนการทํางานนอกเวลาเรียนของ นั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิทยาเขตเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 892-901.

ชาติ

33

พิทักษ์ ศิริวงศ์, พรเทพ พัฒนอภิวัฒน์ และ วีรพันธ์ เม้งเกร็ด

เห็ดโคนกาญจนบุ รี : ห่วงโซ่ อุปทานแห่งภูมิปัญญาชุ มชน

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 902-909.

ชาติ

34

พิทักษ์ ศิริวงศ์, ธเนศ ศรีศิริทรัพย์ และ กมล สุทธิวิรัช

การให้ ค วามหมายทั ศ นะที่ มี ต่ อ คุ ณ ค่ า ของเงิ น และ กระบวนการในการใช้ เ งิ น ของนั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 910-918.

ชาติ

35

พิทักษ์ ศิริวงศ์, ชานนท์ กันภัย และ กตัญญกฤต เอี่ยมเจริญ

การให้รางวัลกับตัวเองของกลุ่มหญิงรักหญิงใม หาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 919-925.

ชาติ

36

พิทักษ์ ศิริวงศ์และ กรกช กิตติเจริญจิตต์

การให้ความหมายและพฤติกรรมใช้ของเซ่ นไหว้บรรพบุ รุษ ของชาวไทยเชื้ อสายจีนในเขตเทศบาลนครสมุ ทรสาคร

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 958-963.

ชาติ

37

พิทักษ์ ศิริวงศ์และ อนิรุทวอร์วิค

การให้ความหมายและกระบวนการให้รางวัลกับตัวเองของ นั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิทยาเขตเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 964-970.

ชาติ

38

พิทักษ์ ศิริวงศ์, ภานุวัฒน์ สุขจิตต์ และ จิรศักดิ์ สุวจนพงศ์

อัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวของอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 981-987.

ชาติ

39

นภนนท์ หอมสุด, ฤทธิ์ฤชา ชาญเชี่ ยวและนพวรรธน์ อภิภัสร์ เดชากุล

ปั จจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมที่ สถาบันกวดวิชา U ADD+ จังหวัดนครปฐม ของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 934-941.

ชาติ

55


งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2555 (ต่อ) ที่

ชื่ อเจ้าของผลงาน และผู ้ร่วม

ชื่ อบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่

ลักษณะการตีพิมพ์/เผยแพร่

ระดับ

40

เอกกฤต เลิศวิทยประดิษฐ์, สุปราณี วังสิริกาญจน์ และ อัญชนา อาจกล่อม

การพนันกัดปลากัดและส่วนประสมทางการตลาด (7PS) ของ บ่อนปลากัด

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิต ศึกษา ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 860-867.

ชาติ

41

เอกกฤต เลิศวิทยาประดิษฐ์ และ กมลชนก ศรีสิริ

ปั จจั ย การตลาดในการซื้ อ ทองรู ป พรรณของผู ้ บ ริ โ ภคในเขต อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนําเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิต ศึกษา ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 14 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 950-957.

ชาติ

42

มนั ส สิ นี บุ ญมี ศ รี ส ง่ า และ คณะ

การจัดการการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมโดยชุ มชนเป็นศูนย์กลาง บ้านหนองปลาไหลอําเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากงานประชุ มวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัย พายัพ พ.ศ.2555, 17 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 254-264.

ชาติ

43

มนั ส สิ นี บุ ญมี ศ รี ส ง่ า และ คณะ

รู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ งนิ เ วศของนั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาการ จัดการมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากงานประชุ มวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัย พายัพ พ.ศ.2555, 17 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 277-290.

ชาติ

44

สิริชัย ดีเลิศ, กรองทอง ทองเพชร และ อาภัสสร กนิษฐนาคะ

พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและปั จจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มี ผลต่อการท่องเที่ยวหมู ่บ้านอนุรักษ์ควายไทยจังหวัดสุพรรณบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากงานประชุ มวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัย พายัพ พ.ศ.2555, 17 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 241-252.

ชาติ

45

พิทักษ์ ศิริวงศ์และคณะ

เส้นทางการประกอบอาชี พของบุ คคลต่างด้าวในอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัย พะเยา, 12-13 มกราคม 2555, หน้า 228-234.

ชาติ

46

พิทักษ์ ศิริวงศ์และคณะ

รู ปแบบการท่ อ งเที่ ย วของกลุ่ ม หญิ ง รั ก หญิ ง กรณี ศึ ก ษา: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัย พะเยา, 12-13 มกราคม 2555, หน้า 271-277.

ชาติ

47

พิทักษ์ ศิริวงศ์และคณะ

การท่องเที่ยวของคนพิการทางการมองเห็น

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการพะเยาวิจัย ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัย พะเยา, 12-13 มกราคม 2555, หน้า 291-298.

ชาติ

48

เฉลิมชั ย กิตติศักดิ์นาวิน

ความไว้วางใจในผู ้บังคับบัญชาและความไว้วางใจฝนองค์การที่ มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, 18 พฤษภาคม 2555, หน้า 356-367.

ชาติ

49

ประสพชั ย พสุนนท์, พั ณ ณลั ค น์ อั ค รศุ ภ โชค และ ธนากร จงไทย

พฤติกรรมและปั จจัยการตัดสินใจเลือกซื้ อนิตยสาร Attitude ของ นักศึกษาชายรักชาย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศ เพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มหาดใหญ่วิชาการครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัย หาดใหญ่, 10 พฤษภาคม 2555, หน้า 60-61.

ชาติ

50

นํ้าฝน เสนางคนิกร และ ธีระวัฒน์ จันทึก

การประเมินในการวิเคราะห์เศรษฐกิจของนักศึกษาที่ ผ่านการ เรียนวิชาเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มหาดใหญ่วิชาการครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัย หาดใหญ่, 10 พฤษภาคม 2555, หน้า 522.

ชาติ

51

จิตพนธ์ ชุ มเกตุ, สุรีย์พร สํารีหอม และ อลิสรา ชมสารวิวัฒน์

ปั จจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องสําอางสําหรับใบหน้า กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศ เพชรบุ รี

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มหาดใหญ่วิชาการครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัย หาดใหญ่, 10 พฤษภาคม 2555, หน้า 65.

ชาติ

52

ธีระวัฒน์ จันทึก, ศิริภรณ์ ศิลปะวานิช และ นํ้าฝน เสนางคนิกร

ปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นในกลุ่ ม วิ ช าทาง เศรษฐศาสตร์ ข องนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

รายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้ง ที่ 22 ประจําปี 2555, 23-26 พฤษภาคม 2555.

ชาติ

56 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและเผยแพร่ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ปี พ.ศ. 2555 (ต่อ) ที่

ชื่ อเจ้าของผลงาน และผู ้ร่วม

ชื่ อบทความวิจัย ที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่

ลักษณะการตีพิมพ์/เผยแพร่

ระดับ

53

จิตพนธ์ ชุ มเกตุ, สุวภัทร เกตสม และ ชลลดา เจริญลาภ

การศึกษาปั จจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้ อสินค้า ผ่ า นระบบพาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ก รณี ศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี

รายงานสื บ เนื่อ งจากการประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ ม หาวิ ท ยาลั ย ทักษิณ ครั้งที่ 22 ประจําปี 2555, 23-26 พฤษภาคม 2555.

ชาติ

54

เฉลิมชั ย กิตติศักดิ์นาวิน

ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุ คคล

The 4th International HR Conference “Managing People for Sustainability”, 18-20 มกราคม 2555.

นานา ชาติ

55

Prasopchai Pasunon

Business Opportunities Depending on the Way of Believe in Holiness of Thai Society

The Asian Conference on Asian Studies, Japan, 1-3 June 2012, pp. 45-58.

นานา ชาติ

56

Manassinee Boonmeesrisa -nga

The Life of Tricycle Rickshaw Rider, HuaHin Municipality, PrachuapKhiri Khan Province, Thailand

The Asian Conference on Arts & Humanities 2012, Japan, 5-8 April 2012, pp. 813-823.

นานา ชาติ

57

Thirawat Chantuk

Developing an Investment Project in Real Property Development on Vacant Land into a Cultural Attraction to Promote Local Economic Sustainability of Uoo - Thong, SphanBuri

The Asian Conference on Asian Studies, Japan, 1-3 June 2012, pp. 59-79.

นานา ชาติ

58

Jittapon Chumkate

Factors that Influence Trading of Goods and Services via Electronic Commerce Behaviors of the Students of Silpakorn University at Phetchaburi IT Campus and at Sanam Chandra Palace Campus

The Asian Conference on Asian Studies, Japan, 1-3 June 2012.

นานา ชาติ

59

Thitima Vechapong and Tipsuda Putjorn

Participatory Action Research in Development of the Community Cultural Calender for Tourism (Huaysatyai District, Prachaubkirikan Province, Thailand)

APTA 2012, Taipei, 26-29 June 2012.pp 936-946

นานา ชาติ

60

Phitak Siriwong

Patterns and Strategies of Social Entrepreneurship of the Chao PhyaAbhaibhubejhr Hospital Foundation, Thailand

The Asian Conference on Arts & Humanities 2012, Japan, 5-8 April 2012, pp. 806-812.

นานา ชาติ

61

Noppanon Homsud, Nutta Ampai and Anusra Anekpattanakit

Factor Analysis of Tourism Effects on People in HuaHin Municipality, Prajuabkirikhan Province

The Asian Conference on the Social Sciences, Japan, 3-6 May 2012, pp. 250-255.

นานา ชาติ

62

Jittasak Putjorn

Leeled Community's Potential in Ecotourism Management

APTA 2012, Taipei, 26-29 June 2012, pp. 260-267.

นานา ชาติ

63

Attama Nilnoppkun

Enhancing Social Capital through Networking for Sustainable Tourism Development: An Application to KhonKaen Province, Thailand

BEST Education Network Think Tank XII - Mobilities and Sustainable Tourism, France, 24-27 June 2012, pp. 244-255.

นานา ชาติ

64

Noppanon Homsud and Rapeeparn Choksuchat

The Operation Efficiency Evaluation by Financial Ratio of Listed Company in Food and Beverage Industry by Grey Principal Component Analysis

European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, Issue 45 (2012), pp. 148-152.

นานา ชาติ

65

Noppanon Homsud and Thitiporn Samransart

Expectation and Satisfaction of Tourists Traveling to Historic Town of Ayutthaya

European Journal of Social Sciences, Vol.28 No.3 (2012), pp. 401-407.

นานา ชาติ

66

Theeraphong Bualar

Physically Disabled Women and Social Acceptance in Non-Disabled Community: Evidence from Rural Thailand

European Journal of Social Sciences, Vol.29 No.3 (2012), pp. 366-376.

นานา ชาติ

57


คณะวิทยาการจัดการ ดําเนินการโครงการบริการทางวิชาการแก่ สังคมและชุ มชน จํานวน 2 โครงการ โดยมีผู้เข้ารับบริการ 161 คน จําแนกเป็นโครงการบริการวิชาการแบบไม่เก็บค่าลงทะเบียน 1 โครงการ คือ โครงการยุ วมัคคุเทศก์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ 53 คน ซึ่ งได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน จํานวน 300,000 บาท และโครงการ บริการวิชาการแบบเก็บค่าลงทะเบียน ซึ่ งเป็นโครงการพัฒนาบุ คลากรท้อง ถิ่น มีผู้เข้าร่วมโครงการ 108 คน เป็นโครงการความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างสถาบันพัฒนาบุ คลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมค่าลงทะเบียน 270,000 บาท รวมงบประมาณโครงการบริการ วิชาการแก่สังคมรวม 570,000 บาท

ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการจัดพิมพ์หนังสือต้น กล้ากลางเปลวแดด: โครงการศึกษาการประยุ กต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง เป็นการบริการวิชาการแก่สาธารณชนในวงกว้าง โดยเผยแพร่แก่ผู้ สนใจ ทั้งนักวิชาการ นักศึกษา ห้องสมุ ดต่างๆ

58 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


59


พันธกิจหนึ่งของคณะวิทยาการจัดการในฐานะสถาบันการศึกษาอุ ดมศึกษาของรัฐ คือ การทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม ซึ่ งยุ ทธศาสตร์การดําเนินการของคณะในปี การศึกษา 2555 คือการดําเนินการในรู ปของโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ และกิจกรรมเสริม สร้างประสบการณ์ทั้งในรายวิชาและนอกรายวิชา จํานวน 10 โครงการ และดําเนินการใน รู ปโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 25 โครงการ รวมทั้งสิ้น 35 โครงการ อาทิ เช่ น การแข่ ง ขั น พ่ อ ครั ว มื อ อาชี พ ชิ ง แชมป์ แห่ ง ประเทศไทย โครงการวิ จิ ต รศิ ล ป์ แห่ ง อาหาร โครงการจัดดอกไม้แบบไทยประยุ กต์ โครงการเสริมประสบการณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมเกี่ยว กั บ วั ฒ นธรรมข้ า ว โครงการแสดงวั ฒ นธรรมนานาชาติ เทศกาลวั ฒ นธรรมญี่ป่ ุ น และโครงการลู ก ทุ่ ง ชุ ม ชน เป็ น ต้ น รวมทั้ ง การสั ม มนาทางวิ ช าการด้ า นวั ฒ นธรรม ไทย-เวียดนาม เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน

60 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


61


62 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


นอกจากนี้ คณาจารย์ของคณะฯ ยังมีผลงานวิจัย ่ เกียวกับการทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม โดยได้เผยแพร่ข้อมู ล ด้านศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติผ่านการนําเสนอในที่ประชุ ม ทางวิชาการ การพิมพ์หนังสือ โดยในปี การศึกษา 2555 คณาจารย์ยังมีผลงานวิจัย และผลงานหนั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วกั บ การทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เผยแพร่ แ ละตี พิ ม พ์ อาทิ เช่ น ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร. พิทักษ์ ศิริวงศ์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์นภนนท์ หอมสุด อาจารย์ ธี ร ะวั ฒ น์ จั น ทึ ก และอาจารย์ จิ ต พนธ์ ชุ ม เกตุ เผยแพร่ ผ ลงานวิ ช าการ หนั ง สื อ ต้ น กล้ า กลางเปลวแดด : โครงการศึ ก ษาการประยุ กต์ ใ ช้ ป รั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อาจารย์ ดร. สวรรยา ซื่ อเลื่อม เผยแพร่ผลงานวิชาการเรื่อง พลวั ต การดํ า เนิ น ชี วิ ต ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่น กรณี ศึ ก ษาชุ ม ชน ตะเคียนเตี้ย และชุ มชนนาเกลือ อําเภอบางละมุ ง จังหวัดชลบุ รี นอกจากนี้ คณะฯ ยังสนับสนุนให้บุคลากรเป็นวิทยากร กรรมการด้านการทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรมให้กับหน่วยงาน ภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน อีกด้วย

63


64 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


ฝ่ ายกิจการนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ รับผิดชอบงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การทํากิจกรรมของนักศึกษา เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู ้มี คุณภาพ คุณธรรม และมีคุณค่า โดยคณะฯ สนับสนุนให้นักศึกษาได้มีโอกาสดําเนินกิจกรรม หรือโครงการ เพื่อพัฒนานักศึกษาใน 6 ด้านคือ ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ด้านนันทนาการ ด้านวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านกีฬาส่งเสริมสุขภาพ ด้านบําเพ็ญ ประโยชน์ และด้านเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม

65


ในปี การศึกษา 2555 ฝ่ ายกิจการนักศึกษาได้ จัดกิจกรรมและโครงการเพื่อพัฒนานักศึกษา เป็นเงิน ทั้งสิ้น 769,016 บาท โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษาต้น และภาคการศึกษาปลาย

517,005 B

กิจกรรมที่จัดครอบคลุมทั้ง 6 ด้าน จํานวน 84 โครงการดั ง นี้ ด้ า นเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมและ จริ ย ธรรม 11,962 บาท ด้ า นวิ ช าการที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ 53,342 บาท ด้านกีฬาส่งเสริมสุขภาพ 80,725 บาท ด้านบําเพ็ญ ประโยชน์ 90,812 บาท ด้านนันทนาการ 138,737 บาท และด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 213,438 บาท 0.01 0.05 0.08 0.09

252,011 B 0.21

งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินกิจกรรม และโครงการ เพื่อพัฒนานักศึกษา

Total 0.77 million Baht

0.13

จําแนกสัดส่วนการใช้งบประมาณในกิจกรรม ทั้ง 6 ด้าน

การศึกษาภาคต้น

ด้านเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม

การศึกษาภาคปลาย

ด้านวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านกีฬาส่งเสริมสุขภาพ ด้านบําเพ็ญประโยชน์ ด้านนันทนาการ ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

66 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


67


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการ จัดสรร งบประมาณเพื่อเป็นทุนการศึกษาให้กับนักศึกษา เป็นเงิน ทั้งสิ้น 3,459,915 บาท (สามล้านสี่แสนห้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อย สิบห้าบาทถ้วน) โดยแบ่งเป็น

0.9

1) ทุนเรียนดีและทุนส่งเสริมการศึกษา ให้กับนักศึกษาจํานวน 93 ทุน เป็นเงินทั้งสิ้น 900,000 บาท

3.45 million Baht

2) ทุ น นั ก ศึ ก ษาช่ วยงาน เพื่ อ ส่ ง เสริ มให้ นั ก ศึ ก ษารู ้ จั กใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการจัดสรรงบประมาณนักศึกษา ช่ วยงานในคณะวิ ท ยาการจั ด การและสํ า นั ก งานวิ ท ยาเขต เพชรบุ รี โดยให้ค่าตอบแทน 35 บาท/ชั่ วโมง ในปี การศึกษา 2555 มี นั ก ศึ ก ษาช่ วยงานทั้ ง สิ้ น 244 คน และคณะฯ ใช้ งบประมาณเพื่ อเป็ น ค่ า ตอบแทนนั ก ศึ ก ษาช่ วยงาน เป็นเงินทั้งสิ้น 284,915 บาท 3) ทุนศึกษาดูงานต่างประเทศ ประจําปี การศึกษา 2555 ณ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนจี น โดยมี นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กเข้ า ร่ ว ม โครงการจํานวน 100 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ประสบการณ์และเพิ่มพู นความรู ้ในการศึกษาด้านการจัดการ ตามกระแสโลกาภิวัตน์ รวมจํานวน 2,275,000 บาท นอกจากทุนของคณะฯ แล้ว นักศึกษาคณะวิทยาการ จัดการ ยังได้รับจากหน่วยงานภายนอกอีก จํานวน 20 ทุน รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 147,000 บาท

0.28

+

2.27

147,000 Baht

ทุนการศึกษาประจําปี การศึกษา 2556 จําแนกตามประเภททุน ทุนเรียนดีและทุนส่งเสริมการศึกษา ทุนนักศึกษาช่ วยงาน ทุนศึกษาดูงานต่างประเทศ ทุนภายนอกคณะวิทยาการจัดการ

68 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


69


70 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


71


คณะวิ ท ยาการจั ด การ ดํ า เนิ น การประกั น คุณภาพการศึกษาตามแนวทางมาตรฐานของสํานักงาน การอุ ดมศึกษา (สกอ.) และตามแนวทางที่มหาวิทยาลัย กําหนด โดยยึดหลักองค์ประกอบคุณภาพ 9 องค์ ประกอบ ดังนี้ 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ 2. การผลิตบัณฑิต 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4. การวิจัย 5. การบริการวิชาการแก่สังคม 6. การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 7. การบริหารและการจัดการ 8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

72 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

รายชื่ อคณะกรรมการในการประเมิน ประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.มณีป่ิ น พรหมสุทธิรักษ์ กรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.ลําปาง แม่นมาตย์ อาจารย์ ดร. ปิ ยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ ภญ.รองศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา พัฒนวศิน กรรมการและเลขานุการ นางสาวอัญชนา คล่องไชยชน ผู ้ประสานงาน นางสุภาคินี วิชัยโชติ


5

4.37

0

GOOD !

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2555 ตามรายองค์ประกอบ องค์ประกอบ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดําเนินงาน การผลิตบัณฑิต กิจกรรมพัฒนานักศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม การทํานุบํารุ งศิลปะและวัฒนธรรม การบริหารและการจัดการ การเงินและงบประมาณ ระบบและกลไลการประกันคุณภาพการศึกษา เฉลี่ย 9 องค์ประกอบ

คะแนนเฉลี่ย 5.00 3.65 5.00 4.07 5.00 5.00 4.75 5.00 5.00 4.37

ผลประเมิน ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี

73


รางวัลจากการเข้าร่วมการแข่งขัน ในปี การศึกษา 2555 มีนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการได้รับรางวัลจาการเข้าร่วมการแข่งขันต่าง ๆ ที่จัดขึ้น โดยหน่วยงานภายนอก จํานวน 23 รางวัล รวม 38 คน อาทิ เช่ น

74 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


1. รางวัล Junior Overall Winner พร้อมถ้วยเกียรติยศ เหรียญรางวัล และประกาศนียบัตร จากการเข้าร่วมการ แข่ ง ขั น พ่ อ ครั ว มื อ อาชี พ ชิ ง แชมป์ ประเทศไทย ครั้ ง ที่ 18 จั ด โดยสมาคมพ่ อ ครั ว แห่ ง ประเทศไทย ร่ ว มกั บ บริ ษั ท แบงค็อค เอ๊กซ์ซิบิช่ั น เซอร์วิสเซส (BES) ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุ มไบเทค บางนา กรุ งเทพฯ ระหว่างวันที่ 5-8 กันยายน 2555 2. รางวัลชนะเลิศ การประกวดการนําเสนอผลงานวิจัย สําหรับนิสิตนักศึกษา ประเภท Poster Presentation กลุ่ม มนุษยศาสตร์และสังคมวิทยา เรื่อง พลวัตการดําเนินชี วิต ของชุ มชนท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุ มชนตะเคียนเตี้ย และชุ มชน นาเกลือ อําเภอบางละมุ ง จังหวัดชลบุ รี ในการเข้าร่วมประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ เ พื่ อ การพั ฒ นาการวิ จั ย อย่ า งยั่ ง ยื น จัดโดย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ระหว่างวันที่ 25-26 ธันวาคม 2555 3. รางวัลรางวัลชนะเลิศระดับภูมิภาค (ภาคกลาง) และรอง ชนะเลิศลําดับที่ 1 ในการประกวดแผนสื่อสารการตลาด IMC Plan ตอน “TIC-TAC-TOUR ท่องทั่วไทย” รีบแชะ รีบแชร์ แล้วโชว์ ไอเดีย จากโครงการ One-2-Call! BrandAge Award ปี ท่ี 6 จัดโดยบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน) ระหว่างวันที่ 1-2 กันยายน 2555 4. รางวัลรองชนะเลิศลําดับที่ 2 การประกวดแผนธุ รกิจ ปี 2555 ครั้งที่ 6 (6th UCC BUSINESS PLAN AWARDS) จัดโดยความร่วมมือระหว่าง หอการค้าจังหวัดอุ ดรธานี กับ ชมรมธนาคารจังหวัดอุ ดรธานี เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่ า จังหวัดอุ ดรธานี 5. กิตติบัตรประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรมจาก พุ ทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชู ปถัมภ์

75


ในปี การศึ ก ษา 2555 คณะฯ มี บั ณ ฑิ ต สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจํ า นวนทั้ ง สิ้ น 976 คน เป็ นผู ้สํ าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต (รุ ่นที่ 8) จํ า นวน 841 คน และระดับปริญญามหาบัณฑิต จํ านวน 135 คน

76 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


คณะฯ ได้สํารวจภาวะการมีงานทํา การศึกษาต่อ และการประกอบอาชี พอิสระภายใน 1 ปี หลังจากสําเร็จการ ศึกษาในปี การศึกษา 2554 (รุ ่นที่ 7) จํานวน 740 คน โดยสํารวจทางโทรศัพท์ในระหว่างวันที่ 15-31 มกราคม 2556 พบว่า บัณฑิตมีงานทําและประกอบอาชี พอิสระร้อยละ 85.46 ข อ ง บั ณ ฑิ ต ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ( ไ ม่ นั บ ผู ้ ที่ ศึ ก ษ า ต่ อ ) และร้อยละ 62.80 ของบัณฑิตที่มีงานทําให้ข้อมู ลว่าทํางาน ตรงกับสาขาวิชาที่จบการศึกษา เงินเดือนเริ่มต้นเฉลี่ยของบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา เท่ากับ 14,697.55 +_ 5,133.67 สูงกว่าค่าเฉลี่ยเงินเดือนเริ่มต้น ของบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2553 ซึ่ งเท่ากับ 12,367.08 +_ 4,927.7 โดยร้อยละ 52.52 ของผู ้มีงานทําได้ รั บ เงิ น เดื อ นเริ่ม ต้ น เป็ นไปตามเกณฑ์ ข องสํ า นั ก งาน ก.พ. (เงินเดือนเริ่มต้นของข้าราชการใหม่ท่ ีจบการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี 15,000 บาท) นอกจากนี้ คณะฯ ยังได้สํารวจความพึงพอใจของ ผู ้จ้างงานที่มีต่อบัณฑิตของคณะฯ ที่สําเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2554 (รุ ่นที่ 6) ระหว่างวันที่ 1-15 กุมภาพันธ์ 2556 โดยสํารวจความพึงพอใจด้านต่างๆ 5 ด้าน พ บ ว่ า ผู ้ จ้ า ง ง า น มี ค ว า ม พึ ง พ อใ จ อ ยู ่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ถึงมากที่สุด คือ มีความพึงพอใจระดับมากที่สุดในด้าน คุณธรรมจริยธรรม และมีความพึงพอใจระดับมากในด้าน ความรู ้ ทักษะทางปั ญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุ คลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู ่ ที่ระดับมาก คือ 4.09 (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)

77


78 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


ในปี การศึกษา 2555 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดําเนินนโยบายด้านความร่วมมือทางวิชาการ กับหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ

79


SOUTH KOREA

BHUTAN

THAILAND VIETNAM

80 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


1. คณะบริหารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประเทศไทย

Kingdom of Thailand

ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . พิ ทั ก ษ์ ศิ ริ ว ง ศ์ ค ณ บ ดี ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ อ า จ า ร ย์ ดร.ปิ ยวรรณ สิ ริ ป ระเสริ ฐ ศิ ล ป์ คณบดี ค ณะบริ ห ารธุ รกิ จ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ลงนามความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ (Memorandum of Understanding: MoU) เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2556 ณ ห้องประชุ มสํานักงานอธิการบดี ชั้ น 2 อาคารบริหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร (เพชรบุ รี)

2. Chungnam National University สาธารณรัฐเกาหลี

Republic of Korea

Prof. Kyo Hoem Kim, Ph.D. Dean, College of Social Science และ Prof.Cho Sung Kyum President, Asian Network for Public Opinion Research จาก Chungnam Republic National University ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เดินทางมา of Korea เยือนคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุ รี เพื่อเจรจาหารือความร่วมมือทางวิชาการ ในการทําข้อตกลง (Memorandum of Understanding : MoU) ร่วมมือทางวิชาการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2556

81


3. Vietnam National University - Ho Chi Minh City ประเทศเวียดนาม ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ด าวลอย กาญจนมณี เ สถี ย ร ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ( เ พ ช ร บุ รี ) ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . พิ ทั ก ษ์ ศิ ริ ว ง ศ์ ค ณ บ ดี ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร และคณาจารย์ นักศึกษา ให้การต้อนรับคณาจารย์และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม นครโฮจิมินห์ (Vietnam National University - Ho Chi Minh City) เข้าร่วมโครงการ “สัมมนาทางวิชาการด้านวัฒนธรรมไทย-เวียดนาม เพื่อรองรับ เข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน” ระหว่างวันที่ 17-20 กุมภาพันธ์ 2556 ณ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม และสร้างความร่วมมือทาง วิชาการ เพื่อทําข้อตกลง (Memorandum of Understanding: MoU) ในการอนาคต

4. University of Social Sciences and Humanities, Vietnam National University - Ho Chi Minh City (USSH-VNU-HCMC) ประเทศเวียดนาม ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.พิ ทั ก ษ์ ศิ ริ ว งศ์ คณบดี คณะวิทยาการจัดการ และ Dr. Nguyen Ngoc Tro (Head, Office of Research and Project Management) University of Social Sciences and Humanities ,Vietnam National University - Ho Chi Minh City (USSH-VNUHCMC), Vietnam ลงนามบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Understanding: MoU) ความร่วมมือทางวิชาการในระดับ สากล เมื่อวันที่ 26-31 พฤษภาคม 2556

82 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University

Socialist Republic of Vietnam


5. Royal Thimphu College ราชอาณาจักรภูฏาน

Kingdom of Bhutan

ผู ้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . พิ ทั ก ษ์ ศิ ริ ว ง ศ์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ และผู ้บริหาร เดินทางไปศึกษา ดูงานด้านการจัดการศึกษา งานห้องสมุ ด งานสารสนเทศฯ และพู ดคุยเรื่องลงนามทําสัญญาความร่วมมือระหว่างสถาบัน (Memorandum of Understanding: MoU) เพื่อสร้างความ เ ข้ ม แ ข็ ง ท า ง วิ ช า ก า ร โ ด ยไ ด้ รั บ ก า ร ต้ อ น รั บ จ า ก Dr. Shivaraj Bhattarail, Dean of Royal Thimphu College ณ ราชอาณาจั ก รภู ฏ าน (Kingdom of Bhutan) เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2556

83


84 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


85


86 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


87


ภาคผนวก (Appendix) รายนามผู ้บริหารคณะวิทยาการจัดการ ( 9 ก.ย. 55 -31 พ.ค.56) 1. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ศิริวงศ์ คณบดี 2. อาจารย์ ดร.วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ 3. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์นภนนท์ หอมสุด รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาและวิจัย 4. อาจารย์มนัสสินี บุ ญมีศรีสง่า รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 5. อาจารย์สิริชัย ดีเลิศ รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศและสื่อสารองค์กร 6. รองศาสตราจารย์ประสพชั ย พสุนนท์ รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ 7. อาจารย์ธีระวัฒน์ จันทึก ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพ 8. อาจารย์ประพล เปรมทองสุข ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ 9. อาจารย์พัชรินทร์ พระราช ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาและวิจัย 10. อาจารย์วรพล พินิจ ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 11. อาจารย์ปริญญา หรุ ่นโพธิ์ ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา 12. อาจารย์อริสสา สะอาดนัก ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ 13. อาจารย์ ดร.รักชนก โสภาพิศ ผู ้ช่วยคณบดีฝ่ายส่งเสริมประสบการณ์วิชาชี พ 14. อาจารย์นพดล โตวิชัยกุล รักษาราชการแทนหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทั่วไป 15. อาจารย์ ดร.มัลทิกา ศิริพิศ รักษาราชการแทนหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว 16. อาจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ บุ ญเหลือ รักษาราชการแทนหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการชุ มชน 17. อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ยางกลาง รองหัวหน้าสาขาการจัดการธุ รกิจทั่วไป 18. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงเงิน ซื่ อภักดี ผู ้จัดการทั่วไป Viridian Lodge & Restaurant รายนามคณาจารย์และบุ คลากรคณะวิทยาการจัดการ อาจารย์และสาขาวิชาที่เชี่ ยวชาญ 1. อาจารย์ ดร.ฐิติมา เวชพงศ์ 2. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรพงษ์ บัวหล้า 3. อาจารย์มนัสสินี บุ ญมีศรีสง่า 4. อาจารย์อมรินทร์ เทวตา 5. อาจารย์จอมภัค คลังระหัด 6. อาจารย์ชวนชื่ น อัคคะวณิชชา 7. อาจารย์เลิศลักษณ์ เจริญสมบัติ 8. อาจารย์สิริชัย ดีเลิศ 9. อาจารย์ศิระ ศรีโยธิน 10. อาจารย์ณัฎฐนา ลีฬหรัตนรักษ์ 11. อาจารย์สุนี คํานวลศิลป์ 12. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ศิริวงศ์ 13. อาจารย์ ดร.ศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์ 14. อาจารย์ ดร.สวรรยา ธรรมอภิพล 15. อาจารย์ ดร.มัลทิกา ศิริพิศ 16. อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา

(การวิจัยเชิ งพฤติกรรมศาสตร์) (การพัฒนาท้องถิ่น) (การประชาสัมพันธ์/ การท่องเที่ยว) (MIS) (การจัดการทรัพยากรมนุษย์) (การจัดการธุ รกิจ/ภาษาอังกฤษ) (การจัดการธุ รกิจ/การฝึ กอบรม) (ระบบสารสนเทศ) (การตลาด) (ภาษาอังกฤษ) (ภาษาไทย/ วัฒนธรรมศึกษา) (การจัดการชุ มชน/ การวิจัย) (รัฐประศาสนศาสตร์/ ไทยคดีศึกษา) (วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม) (การวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว) (การตลาด)

88 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54.

อาจารย์ ดร.วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ อาจารย์วันชั ย เจือบุ ญ อาจารย์นพดล โตวิชัยกุล ผู ้ช่วยศาสตราจารย์นภนนท์ หอมสุด ผู ้ช่วยศาสตราจารย์จิตศักดิ์ พุ ฒจร ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ศุภรัตน์ แสงฉัตรแก้ว อาจารย์ศศิภา พจน์วาที ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงเงิน ซื่ อภักดี ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดาวลอย กาญจนมณีเสถียร รองศาสตราจารย์ประสพชั ย พสุนนท์ อาจารย์ ดร.ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์สุดา พุ ฒจร อาจารย์ ดร.พีรพัฒน์ ยางกลาง อาจารย์ดวงกมล บุ ญแก้วสุข อาจารย์ศุภลักษณ์ ศรีสําอางค์ อาจารย์จงจินต์ นิลคําแหง อาจารย์วงศ์ลัดดา วีระไพบู ลย์ อาจารย์ประพล เปรมทองสุข อาจารย์สไบทิพย์ มงคลนิมิตร์ อาจารย์ประไพพิมพ์ สุธีวสินนนท์ อาจารย์ฤกษ์รัตน์ ปั กกันต์ธร ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ธนกฤต สังข์เฉย อาจารย์รุ่งนภา ชี วรัศมี ผู ้ช่วยศาสตราจารย์เกศราพร พรหมนิมิตกุล อาจารย์รสมารินทร์ อรุ โณทัยพิพัฒน์ อาจารย์อรรถพล วชิ รสิโรดม อาจารย์ ดร. กฤษฎา พัชราวนิช อาจารย์ ดร.เกริกฤทธิ์ อัมพะวัต อาจารย์จันทิมา บรรจงประเสริฐ อาจารย์ชินวัฒน์ นิลโมจน์ อาจารย์เชาวลิต ตรึกตรอง อาจารย์ทรัพย์ศิริ คุ้มทองมาก อาจารย์พรรณิกา ชวนาทนุสรณ์ อาจารย์อโณทัย สุขเจริญโกศล อาจารย์พรหมมาตร จินดาโชติ อาจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ บุ ญเหลือ อาจารย์ ดร.ศรายุ ทธ แสนมี อาจารย์พรธีรา ศรีพัฒนธาดากุล

(การบัญชี ) (พัฒนาสังคม) (MIS) (บัญชี / MIS) (นิเวศวิทยาการท่องเที่ยว) (ภาษาไทย) (การเงิน) (สถาปั ตยกรรมศาสตร์/การท่องเที่ยว) (จิตวิทยาการพยาบาล) (คณิตศาสตร์และสถิติ) (การเงิน) (พัฒนาสังคม) (ภาษาอังกฤษ) (ประวัติศาสตร์ศิลป์ ) (การสอนภาษาอังกฤษ) (ภาษาจีน) (ภาษาญี่ป่ ุ น/ภาษาจีน) (คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ) (คหกรรมศาสตร์/เบเกอรี่) (บัญชี ) (อุ ทยานและนันทนาการ) (อุ ทยานและนันทนาการ) (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ) (ภาษาไทย วรรณคดี/คติชนวิทยา) (การจัดการโรงแรม) (การจัดการชุ มชน) (การเงิน/การบริหารเชิ งกลยุ ทธ์/การตลาด) (การจัดการธุ รกิจ/การตลาด) (การตลาด) (ภาษาญี่ป่ ุ น) (ภาษาเกาหลี) (ภาษาอังกฤษ) (ภาษาจีน) (ภาษาจีน) (การจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม) (รัฐศาสตร์) (รัฐประศาสนศาสตร์) (ภาษาอังกฤษ)

89


55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80. 81. 82.

อาจารย์จิตพนธ์ ชุ มเกตุ อาจารย์ ดร.เฉลิมชั ย กิตติศักดิ์นาวิน อาจารย์ปริญญา หรุ ่นโพธิ์ อาจารย์ปัทมล อินทสุวรรณ์ อาจารย์เอกกฤต เลิศวิทยาประดิษฐ์ อาจารย์ธีระวัฒน์ จันทึก อาจารย์ณฤทธิ์พล บุ ณยเกียรติ รองศาสตราจารย์สุรเชษฐ์ ชิ ระมณี อาจารย์นิธิกร ม่วงศรเขียว อาจารย์ปานจิต วัฒนสารัช อาจารย์วราภรณ์ ศรีบุญ อาจารย์สุรภัทร์ พิไชยแพทย์ อาจารย์ ดร.อัฏฐมา นิลนพคุณ อาจารย์ ดร.รักชนก โสภาพิศ อาจารย์ ศิริพร เผือกผ่อง อาจารย์วรพล พินิจ อาจารย์อริสสา สะอาดนัก อาจารย์ศศิกานต์ เฮ้าจัตุรัส อาจารย์พัชรินทร์ พระราช อาจารย์บุษริน วงศ์วิวัฒนา อาจารย์เกตุวดี สมบู รณ์ทวี อาจารย์พนัชกร สิมะขจรบุ ญ อาจารย์ชิษณุพงศ์ ศิริโชตินิศากร อาจารย์ฐิติพร สําราญศาสตร์ อาจารย์ณัฐพัชร์ อภิวัฒน์ไพศาล อาจารย์ธนพัฒน์ อินทวี อาจารย์วิสวัส ทองธีรภาพ อาจารย์ฐิติรุจ จันทร์มหา

(สารสนเทศทางธุ รกิจ) (รัฐประศาสนศาสตร์) (การจัดการธุ รกิจ) (การจัดการโรงแรม) (บริหารธุ รกิจ) (เศรษฐศาสตร์) (บริหารธุ รกิจ) (รัฐประศาสนศาสตร์) (การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว) (สถิติประยุ กต์) (รัฐประศาสนศาสตร์) (บริหารงานยุ ติธรรม) (การจัดการการท่องเที่ยว) (หลักสูตรและการสอน) (การสอนภาษาอังกฤษ) (บริหารงานยุ ติธรรม) (สารสนเทศ) (การสอนภาษาอังกฤษ) (การสอนภาษาอังกฤษ) (การท่องเที่ยว) (การตลาด) (บริหารธุ รกิจ) (การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว) (บริหารธุ รกิจ) (บัญชี การเงิน) (บริหารธุ รกิจ) (การตลาด) (รัฐศาสตร์)

อาจารย์ผู้เชี่ ยวชาญ 1. รองศาสตราจารย์พรชั ย เทพปั ญญา 2. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ มีทรัพย์หลาก 3. ศาสตราจารย์ ดร.นําชั ย ทนุผล 4. อาจารย์ ดร. นพดล เหลืองภิรมย์ 5. รองศาสตราจาร์ ดร.จิราวรรณ คงคล้าย

90 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


อาจารย์ชาวต่างประเทศ 1. Mr.Maurice Oord 2. Mr.Michael Rudy 3. Mr.Philip William Roger Underwood 4. Mr. Matthew Brock Smeaton 5. Mr.Paul Gregory 6. Mr. David Templar 7. Mr. Patrick James Murphy 8. Mr. Zhao Peng 9. Miss. Moon Joo Suh 10. Mr. Shu Kambara 11. Miss. Yoshie Wako บุ คลากรสนับสนุนวิชาการ 1. นายสัมฤทธิ์ เอกสินธุ ์ 2. นางสาวเสาวภา ประทุมสินธุ ์ 3. นางสุภาคินี วิชัยโชติ 4. นางสาวหทัย อู ่เงิน 5. นางอําภา แก้วมณี 6. นายภาณุมาศ ครุ ฑสิงห์ 7. นางสาวอุ ษณีย์ เล็กท่าไม้ 8. นางสาวจุ ฑาพร รัตนโชคกุล 9. นายเอกพจน์ คงสวัสดิ์ 10. นายพีรเดช นิ่มอนงค์ 11. นางสาวพิริณฎา หลวงเทพ 12. นางสาวศรีสกุล พิทักษานุรัตน์ 13. นางสาวจุ ฑามาศ เมฆนิติ 14. นางสาวภัสราวรรณ มากมิตร 15. นางสาวณฐมน พัฒนา 16. นางสาวรสา พู ลเนตร์ 17. นางสาวธิดารัตน์ คําทุมใส 18. นายณัฐวิชช์ ศรีธาดาสวัสดิ์ 19. นายอาทิตย์ เจนวิถีสุข 20. นายปริญญา บุ ตรอยู ่ 21. นายรัชมงคล แย้มเกษร 22. นางสาวจันทร์ฑา มังสา 23. นางสาวปรารถนา ภักดีเสมอ

(นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักวิชาการศึกษา) (นักวิชาการศึกษา) (นักการเงินและบัญชี ) (นักคอมพิวเตอร์) (นักคอมพิวเตอร์) (นักคอมพิวเตอร์) (นักคอมพิวเตอร์) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักประชาสัมพันธ์) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักวิชาการศึกษา) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (นักบริหารงานทั่วไป) (ผู ้ช่วยสอนคอมพิวเตอร์)

91


24. 25. 26. 27. 28. 29.

นางสาววชิ ราภรณ์ ศรีมุลตรี นายธาดาธิเบศร์ ภูทอง นางสาวธิดาทิพย์ ปานโรจน์ นางสาวจิรัชญา โชติโสภานนท์ เฉลิมพล พุ ่มพวง กัญจน์ณัฏฐ์ เรืองทอง

(ผู ้ช่วยสอนคอมพิวเตอร์) (ผู ้ช่วยสอนคอมพิวเตอร์) (ผู ้ช่วยสอน) (ผู ้ช่วยสอน) (ผู ้ช่วยสอนภาษาอังกฤษ) (ผู ้ช่วยสอนภาษาอังกฤษ)

บุ คลากรสนับสนุนวิชาการสถานประกอบการโรงแรมและภัตตาคาร 1. นายคณิตพัฒน์ รักษ์วิทิต (ผู ้เชี่ ยวชาญ : หัวหน้าพ่อครัว) 2. นายเสน่ห์ ชํ านาญดี (ผู ้จัดการภัตตาคาร) 3. นายกิตติภพ สํารวลรื่น (พ่อครัว) 4. นางวิสาขา นาคลอย (ผู ้จัดการแผนกแม่บ้าน) 5. นายอานนท์ วงษ์เชี ยง (หัวหน้าบาร์) 6. นางสราลี เหมือนอ่วม (ผู ้เชี่ ยวชาญ : แม่ครัว) 7. นางรัชนิดา เนียมเกิด (แม่ครัว) 8. นางนุชนาฎ ป้านศรี (แม่ครัว) 9. นางสาวอุ ไรพร วงษ์วิจิตต์ (แม่ครัว) 10. นางสาวละออง ศรีจันทร์ (ผู ้ประสานงานแผนกอาหารและเครื่องดื่ม) 11. นางสาวจันทิมา สีปานเงิน (เจ้าหน้าที่ภัตตาคาร) ่ 12. นายวสุธา คนซื อ (พ่อครัว) 13. นางสาวนิลุบล คงเปรม (พนักงานบริการส่วนหน้า) 14. นางสาวเจนจิรา คุ้มเมือง (พนักงานบริการส่วนหน้า) 15. นายธงชั ย นํ้าทิพย์ (พนักงานบริการส่วนหน้า) บุ คลากรโครงการพัฒนาท้องถิ่น 1. นางสาวสุภาวดี เธียรวัตรกุล 2. นายปี ย์ ศรีวงษ์ 3. นายธีรวัฒน์ ผิวขม 4. นางสาวรัชชดา ประสิทธิ์นอก

(นักวิชาการฝึ กอบรม) (นักวิชาการฝึ กอบรม) (นักวิชาการฝึ กอบรม) (นักวิชาการฝึ กอบรม)

ลูกจ้างชั่ วคราว 1. นายบุ ญเอื้อ ศรีจันทร์ 2. นายอุ ดร ถี่ถ้วน 3. นางศุกร์จิต จันเกิด 4. นางสาวชุ ติมา มังสา 5. นางสาวฝนทิพย์ โพธิ์สุวรรณ 6. นางศิริพร พรห์มเชื้ อ 7. นางสาวกุหลาบ นาคสิงห์ 8. นางสาวกนกพร แข่งขัน 9. นางสาวสุนิสา วงศ์ประทุม

(พนักงานขับรถ) (พนักงานขับรถ) (คนงาน) (คนงาน) (คนงาน) (คนงาน) (คนงาน) (คนงาน) (เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป)

92 Annual Report 2012 Faculty of Management Science, Silpakorn University


93


คณะผู ้จัดทํา ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิทักษ์ ศิริวงศ์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ

Advisor

อาจารย์ ดร. ธีระวัฒน์ จันทึก รองคณบดีฝ่ายแผนงานและกันคุณภาพ

Advisor

อาจารย์จอมภัค คลังระหัด รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม

Director

อาจารย์จีราภา สตะเวทิน อาจารย์ธนพัฒน์ อินทวี อาจารย์วิสวัส ทองธีรภาพ อาจารย์ฐิติรุจ จันทร์มหา นางสุภาคินี วิชัยโชติ นายอาทิตย์ เจนวิถีสุข นางสาวธิดารัตน์ คําทุมใส

Committee Committee Committee Committee Committee Committee Committee

ฝ่ ายศิลป์ และภาพถ่าย นายประกิต รัตนภิญโญพิ​ิทักษ์ นายรัชมงคล แย้มเกษร นายธนภูมิ อยู ่เจริญ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี 1 หมู ่ 3 ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุ รี 76120 โทรศัพท์ 032-594043 - 50 ต่อ 41049 www.facebook.com/mssilpakorn www.ms.su.ac.th

Art Director Ass. Art Director Ass. Art Director



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.