ตามหาพระจันทร์...เมืองยอดแหลม Moon Festival @Nakhon Pathom 2015

Page 1

ศูนย์ข้อมูลภาคตะวันตก จุลสารเพือ ่ การเรียนรู ้ผู ้คน วัฒนธรรม ประเพณี และวิถแ ี ห่งภูมภ ิ าคตะวันตก ฉบับที่ ๑ ตุลาคม—ธันวาคม ๒๕๕๘

ตามหาพระจันทร์...เมืองยอดแหลม ไหว้พระจันทร์...ทำไม เทศกาลไหว้พระจันทร์เป็ นพิธีกรรมตามความเชื่อในศาสนาขงจื้อ ถือเป็ นวันสารทเพราะตรงกับช่วง กลางเดือน คือ วันที่ ๑๕ ส่วนวันตรุ ษจะเป็ นวันที่ ๑ ของเดือน โดยฤดูกาลในประเทศจีนนั้นแบ่งเป็ น ๔ ฤดู ตามปฏิ ทินจันทรคติจีน เริ่ มจาก “ชุง” เดื อน ๑, ๒,๓ คือ ฤดูใบไม้ผลิ “แห่ ” เดื อน ๔,๕,๖ คือ ฤดูฝน “ชิว” เดือน ๗, ๘, ๙ คือ ฤดูใบไม้ร่วง และ “ตัง” เดือน ๑๐, ๑๑, ๑๒ คือ ฤดูหนาว

เ ท ศ ก า ล ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ ช า ว จี น เ รี ย ก ว่ า “中秋节” (Zhong Qiu) หรือ เทศกาลจงชิ ว มี ค วามหมายว่ า

ส าหรั บ วัน ไหว้พ ระจัน ทร์ ต ามจัน ทรคติ แ บบจี น ตรงกับ วัน ขึ้ น ๑๕ ค่ า เดื อ น ๘ หรื อ ประมาณ เดือนกันยายน ตามจันทรคติแบบไทยของทุกปี ตกอยู่ ในเดือนซึ่งเป็ นช่วงกลางของฤดูใบไม้ร่วง

" ก ล า ง ฤ ดู ใ บ ไ ม้ ร่ ว ง "

ขณะที่วนั ขึ้น ๑๕ ค่า ซึ่งเป็ นวันที่พระจันทร์เต็มดวงอยูใ่ นช่วงกลางของเดือน เทศกาลไหว้พระจันทร์

ใ น ชื่ อ Moon Festival ห รื อ

จึ ง มี ชื่ อ ที่ ช าวจี น เรี ยกว่ า “中秋节” (Zhong Qiu) หรื อ เทศกาลจงชิ ว ซึ่ งมี ค วามหมายว่ า "กลางฤดูใบไม้ร่วง" ที่ฝรั่งต่างชาติมกั รู ้จกั ในชื่อ Moon Festival หรื อ Mid - Autumn Festival

Mid - Autumn Festival

ฝ รั่ ง ต่ า ง ช า ติ มั ก รู้ จั ก


เหตุใดจึงกำหนดไหว้พระจันทร์ตรงกับวันกลำงฤดูใบไม้ร่วง ชำวจีนมีควำมเชื่อว่ำพระจันทร์ เป็นเทพเจ้ำศักดิ์สิทธิ์มีส่วนสำคัญต่อควำมเป็นอยู่ในชีวิต และมีกระต่ำยผู้ก่อให้เกิดพืชพันธุ์ต่ำงๆ เมื่อเก็บเกี่ยวพืชผลแล้วจึงจัดงำนเฉลิมฉลอง การก าหนดในวัน ดัง กล่ า วเนื่ อ งจาก ชาวจี น ส่ ว นใหญ่ มี อ าชี พ กสิ กรรม หลังจากเก็บเกี่ ยวพืชผลแล้ว จึ งจัดงาน เฉลิ ม ฉลองการเก็ บ เกี่ ย ว ด้ ว ยการ สั ก การะแม่ พ ระธรณี พระพิ รุ ณ และ พระ พาย เพื่ อ แ สด งค วามกตั ญ ญู ต่ อ ทั้ งสามสิ่ งที่ ไ ด้ อ าศั ย เพาะปลู ก จนได้รับผล โอกาสเดี ยวกันนี้ ก็ทาพิธี ไหว้พ ระจั น ทร์ และเจ้ า แม่ ก วนอิ ม ไปพร้อม ด้วยความเชื่อว่าในพระจันทร์ มี ก ระต่ า ยผู ้ก่ อ ให้ เ กิ ด พื ช พัน ธุ์ ต่ า งๆ และยัง เชื่ อ ว่ า พระจัน ทร์ เ ป็ นเทพเจ้า ศักดิ์สิทธิ์ มีส่วนสาคัญต่อความเป็ นอยู่ ในชีวติ เ ห ตุ แ ห่ ง ก า ร ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ นอกจากที่ กล่าวแล้วพบบทความ เรื่ อง “เครื่ องสาอาง บนโต๊ะไหว้ พระจันทร์ ” ของผูใ้ ช้นามแฝง “นายรอบรู ้ ” ซึ่ ง ไป ร่ วมงาน “ไหว้จั น ทรา..รั ก ษาเวิ้ ง ฯ มรดกรัตนโกสิ นทร์ ” ที่ เวิ้งนาครเขษม ในกทม. ได้กล่าวถึ งเนื้ อหาจากบอร์ ด นิ ทรรศการ ซึ่ง อ.ถาวร สิ กขโกศล และ อ.วิศิ ษ ฎ์ เตชะเกษม อธิ บ ายเหตุ แ ห่ ง การไหว้พ ระจั น ทร์ ไ ว้ และข้า พเจ้ า ผูเ้ ขียน มี ความเห็ นว่า แนวคิ ดเป็ นเหตุ เป็ นผลภายใต้ มิ ติ แห่ งวั ฒ นธรรม แบบจี นนี้ น่ าสนใจ จึ งขออนุ ญาต คัดลอกมาเผยแพร่ ดังนี้

กิมก่อง หรื อ โคมคู ่ สัญลักษณ์คูเ่ ทศกาลไหว้พระจันทร์ “...ชาวจี นโบราณ ให้ความสาคัญกับธรรมชาติ มาก เปรี ยบผื นฟ้ าเป็ นพ่อ แผ่นดิ นเป็ นแม่ พระอาทิ ตย์เป็ นดั่งพี่ ชาย และพระจันทร์เป็ นเหมื อนพี่ สาว คนจี นให้ความเคารพทัง้ ๔ สิ่ งนี้ เป็ นอย่างมาก และมี การเซ่นไหว้บูชา ในช่วงเทศกาลไหว้พระจันทร์น้ ี ก็ คือการบูชาพี่ สาวแห่งธรรมชาติ น่ ันเอง ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ที่พระจันทร์แจ่มงามที่ สุ ด มองเห็ นได้ชดั เจน อากาศอบอุน่ สบาย จึ งมี การจัดพิ ธีไหว้พระจันทร์ เพื่ อขอบคุณที่ มอบความสวยงาม ความสบาย และความอุดมสมบูรณ์แห่งธัญพื ชให้แก่มวลมนุ ษย์ ด้วยความที่ พระจันทร์เปรี ยบดังพี่ สาว เทศกาลไหว้พระจันทร์จึงให้ความสาคัญ กับผูห้ ญิ งเป็ นพิ เศษด้วย...”

ตำนำนไหว้จันทร์คืนเพ็ญ มูลเหตุการไหว้พระจันทร์ ดังได้กล่าว เป็ น เพี ยง ข้ อ มู ลส่ วน หนึ่ ง ใน การ กล่ า วถึ ง ที่ ม าแห่ ง ประเพณี ทั้ง นี้ ด้ว ย ความที่ ป ระเทศจี น เป็ นประเทศที่ มี ประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน ประกอบกับ พื้ น ที่ ก ว้า งใหญ่ มี ป ระชากรนับ ร้ อ ย นับพันล้านคน ประเพณี ต่างๆ จึ งมักมี ข้อ มู ล ที่ ค วบคู่ ไ ปกับ ต านานเล่ า ขาน อั น หล ากห ลาย รวม ทั้ ง ปร ะเ พ ณี การไหว้พระจันทร์ ในที่น้ ีจะยกมาเล่าสู่ กัน ฟั ง พอสั ง เขป เรื่ องแรก กล่ า วถึ ง นางฉางเอ๋ อ หรื อ ชังโอ๋ บางแห่ งเรี ยก นางเซี ยงง้อ หรื ออื่นๆ เข้าใจว่าเป็ นไป ตามสาเนี ยง การออกเสี ยง สาระรวมๆ ของเรื่ อง มีคล้ายคลึงบ้าง แตกต่างบ้าง ต าน าน ส่ วน ที่ ผู ้ เ ขี ย น หยิ บ ยกม า กล่ า วถึ ง หญิ ง สาวผู ้มี ค วามงามเป็ น ภ ร ร ย า ข อ ง ขุ น น า ง จี น ท่ า น ห นึ่ ง ภายหลัง จากนางทานยาวิ เ ศษเข้า ไป จึ ง ได้ ข้ ึ นไปสถิ ต อยู่ บ นดวงจั น ทร์ ต่อมานางกลายเป็ นอมตะ เพราะได้ดื่ม น้ าอมฤ ตบนสวรรค์ ด้ ว ย ความ ที่ นางเป็ นผู ้มี น้ าใจเมตตาอารี เมื่ อ ถึ ง ฤดู กาลเ พาะ ป ลู ก จึ ง ได้ ป ร ะ พร ม น้ าอมฤตมายัง โลกมนุ ษ ย์ท าให้ ข ้า ว งอกงาม จึ งมี ป ระเพณี ท าขนมโก๋ จากแป้ งข้ า วเจ้ า เพื่ อ ไหว้ข อบคุ ณ นางฉางเอ๋ อ หรื อ เทพธิดาจันทร์


วั น ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์

ไ ด้ รั บ ก า ร ย ก ย่ อ ง เหตุ แ ห่ ง ประเพณี . ..อุ บ ำยในกำรปลดแอกของชนชำติ จี น บางแห่ ง ก็ เ ล่ า ถึ ง ที่ ม าของประเพณี ที่ บัน ทึ ก ในประวัติศาสตร์ จีนราวคริ สต์ศตวรรษที่ ๑๔ ว่า เป็ นอุ บ ายในการปลดแอกของชนชาติ จี น จ า ก ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง พ ว ก ม อ ง โ ก ล ซึ่ ง เ รื อ ง อ า น า จ แ ล ะ ยึ ด ค ร อ ง จี น อ ย่ า ง ก ฎ ขี่ โดยออกกฎให้ชาวจีน ๓ ครอบครัว ต้องเลี้ยงดู ชาวมองโกล อย่ า งดี ๑ คน และยัง ริ บอาวุ ธ อนุ ญาตให้มีเพียง มี ดหั่นผัก ๑ เล่ม ใช้ร่วมกัน ๓ ครอบครั ว ท าให้ ช าวจี น ที่ รั ก ในอิ ส รภาพ ร่ วมกันคิ ดวิธีกูช้ าติ โดยจัดงานไหว้พระจันทร์ ให้ มี ธรรมเนี ยมแลกขนมเปี๊ ยะก้ อ นใหญ่ ที่ มี ไ ส้ ห นาพิ เ ศษขึ้ น และแอบซ่ อ นเอกสาร นัด แนะเวลาก าจัด ชาวมองโกลตอนเที่ ย งคื น ของวัน ไหว้พ ระจั น ทร์ เมื่ อ ถึ ง เวลาก็ พ ากั น ตี เ กราะเคาะไม้ส่ ง สั ญ ญาน ให้ทุ ก ครอบครั ว พร้อมใจกันรุ มสังหารชาวมองโกลเป็ นผลสาเร็ จ ใน ค.ศ. ๑๓๖๘ เปิ ดศัก ราชสู่ ยุค ราชวงศ์ห มิ ง ของจี น และถื อ เอาวัน เพ็ญ เดื อ น ๘ ของทุ ก ปี ภายหลั ง จากได้ เ อ กร าชเ ป็ น ธรร มเ นี ยม การไหว้เพื่อระลึกถึงบรรพชนในการกูช้ าติ

ก็ จ ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต ได้อุดมสมบูรณ์ ในเวลาต่อมาประเพณี ไหว้พระจันทร์ จึงได้ปรับ เข้า สู่ ค วามเป็ นธรรมเนี ย มราษฎร์ โ ดยทั่ว ไป และยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ กั น สื บต่ อ มานั บ พั น ๆ ปี ด้ ว ยสาระแฝงนั ย แห่ ง ความเป็ นครอบครั ว ที่ ใ ห้ ค วาม ส าคั ญ ข อง การ อ ยู่ พ ร้ อ ม ห น้ า ร่ ว ม กั น อ ธิ ษ ฐ า น ข อ พ ร จ า ก จั น ท ร์ เ พ็ ญ ให้ครอบครัวมีความผาสุกกลมเกลียว

ใ ห้ เ ป็ น

ม ร ด ก วั ฒ น ธ ร ร ม

วิ ถี ช น ชิ้ น เ ยี่ ย ม

ข อ ง จี น เ มื่ อ

พ.ศ. ๒๕๔๙

ขณะที่ บ างต าราได้ก ล่ า วถึ ง หนั ง สื อ โบราณ ที่ มี ก า ร บั น ทึ ก ก า ร ใ ช้ ค า “จ ง ชิ ว ” เป็ นครั้งแรกเมื่อกว่า ๒,๐๐๐ ปี ในพระราชพิธี เซ่ น ไหว้พ ระจั น ทร์ ในฤดู ใ บไม้ ร่ วงของ กษัต ริ ย ์จี น โดยมี ค วามเชื่ อ ว่า หากพระจัน ทร์ ไม่ ม อบน้ าค้ า งให้ แ ก่ โ ลก ไม่ มี จั น ทร์ เ สี้ ยว และจันทร์เพ็ญที่ช่วยคานวณเวลาในการทานา ๓


ก่อนไปถึงพระจันทร์ วั น อ า ทิ ต ย์ ที่ ๒ ๗ กั น ย า ย น ๒ ๕ ๕ ๘ เ ป็ น วั น ห นึ่ ง ใ น ปี นี้ ที่ ผู ้ เ ขี ย น ตั้ ง ต า ร อ เพราะความตั้ง ใจเดิ ม ล่ ม สลายมาหลายเพลา ครานี้ จึ ง มุ่ ง มั่น เตรี ย มการก่ อ นหน้า แรมเดื อ น เพื่ อ ไปสื บ หาข้อ มู ล การไหว้พ ระจัน ทร์ ข อง พี่ น้ อ งไทยเชื้ อสายจี น ในจั ง หวัด นครปฐม เริ่ มจากไปถามข่าวคราววัน เวลากับชาวชุมชน หน้ า วัด เสนหา ที่ ช าวนครปฐมมั ก คุ ้ น เคย ออ กเ สี ย ง เ รี ยกว่ า “วั ด เ สน่ ห า” แ ต่ ต าม ป ร ะ ก า ศ บั ญ ชี ร า ย ชื่ อ วั ด ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ของส านัก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ น้ ั น การสะกดค า “เสน” ไม่ ป รากฏมี ไ ม้ เ อก แต่ ก ารออกเสี ยงเอกหรื อไม่ ก็ มิ ไ ด้ ท าให้ ความหมายของคานาม “ความรัก” นี้ เปลี่ยนไป ที่ ส าคัญ คื อ บริ เวณชุ ม ชนหน้า วัด เสนหานี้ เป็ นแหล่ ง ที่ นั ก ดู พ ระจัน ทร์ เ มื อ งยอดแหลม นามที่ คนท้ อ งถิ่ นมั ก เรี ยกขานนามเมื อง ตามรู ปทรงแห่ งองค์ พ ระเจดี ย์ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศนั้ น ต่ า งมุ่ ง หน้ า อุ ้ม ลู ก จู ง หลาน ชักชวนคนรู ้ ใ จ ไปเยี่ยมชมพิธีไหว้พระจันทร์ กันอย่างอบอุ่นทุกปี ทาไมต้องเป็ นชุมชนแห่งนี้ ติ ดตามมาค่ะ แล้วจะทราบว่า “เสน่ห”์ หน้า “วัดเสนหา” นัน้ มี “เสน่ห”์ จริ งๆ

การไปสอบถามข้อมูลเบื้องต้น จากที่ผเู ้ ขียนเอง ว่ า งเว้น การไปส่ อ งพระจั น ทร์ อ ย่ า งจริ งจั ง จะมีบ้างก็เพียงแค่ทัวร์ พระจันทร์ ผ่านกระจก บนล้อ หมุ น ซึ่ ง ก็ น านมากกว่า ๑๐ ปี ผ่า นแล้ว จึ ง เ พิ่ ง ท ร า บ ว่ า ปั จ จุ บั น บ้ า น ที่ ยั ง จั ด ไหว้พ ระจัน ทร์ คงเหลื อ เพี ย ง ๓-๔ ครอบครั ว เท่ านั้น ต่างจากสมัยก่ อน ซึ่ งยังพอระลึ กได้ว่า เมื่ อ บุ ต รสาวคนโตเรี ยนอยู่ ร าวชั้ นอนุ บ าล ถึ ง ประถมต้น (ปั จจุ บัน ท างานร่ ว ม ๓ ปี แล้ว) ละแวกชุมชนหน้าวัดเสนหา หรื อ เรี ยกเหมาๆ อย่า งคนนอกชุ ม ชนแบบผู ้เ ขี ย นว่า “กั๋ง บ๊ ว ย”

หรื อ “ปลายคลอง” เป็ นแหล่งที่ได้รับความนิยม ในการไปเที่ ยวชมดู ชาวจี นในละแวกนี้ จัดพิธี ไหว้พระจันทร์ อย่างมาก ผูเ้ ขียนและครอบครัว ก็ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น จ า น ว น ส า ว ก พ ร ะ จั น ท ร์ ที่ ม ัก ไม่ พ ลาด “ไปดู ไ หว้พ ระจัน ทร์ ” ทุ ก ปี ถึงกับบางปี อาการหลงเงาจันทร์ เลยไกลไปถึ ง บ้านโป่ งบ้าง เยาวราชบ้าง ตามความพร้ อมใจ ของสมาชิกในครอบครัว ความนิ ย มในการชมพิ ธี ไ หว้พ ระจัน ทร์ ข อง ชุ ม ชนแห่ งนี้ ในกาลครั้ งเก่ า ไม่ แ พ้ ก ารไป เที่ ยวชมในละแวกวัดกลาง เรี ยกง่ า ยๆ ว่าเป็ น คู่ แ ข่ ง เบี ย ดปลายจมู ก ชนิ ด ต้อ งตัด สิ น กัน ด้ว ย ภาพถ่ า ยเส้ น ชัย ของสหพัน ธ์ ก รี ฑ าฯ กัน เลย ทีเดี ยว เนื่ องจากทั้ง ๒ ชุมชนต่างพากันตั้งโต๊ะ ไหว้พระจันทร์ ประชันความงาม ยามค่าคืนกัน ชนิดแทบจะทุกประตูบา้ น ส่ ว นในละแวกบ้า นผู ้เ ขี ย นบริ เวณตลาดล่ า ง หรื อตลาดท่ า รถเมล์ ข าว มี ก ารไหว้บ้า งแต่ ไม่ ม ากนัก บ้า นผู ้เ ขี ย นเองมัก จะตั้ง โต๊ ะ ไหว้ บนดาดฟ้ าของบ้ า น ดู ใ กล้ ชิ ด พระจั น ทร์ ดี ทั้ งยัง เป็ นโอกาสดี ที่ ปี ละครั้ งจะได้ พ บปะ สัง สรรค์ช มจันทร์ ย ามค่ า กัน ในหมู่ พี่ ๆ น้อ งๆ บ้านลุงและบ้านผูเ้ ขียน ๔

จาได้ว่าสมัย ก่ อนเมื่ อ ตั้ง โต๊ะ ไหว้แ ล้ว จะต้องรอเวลาให้พระจันทร์ เยี่ยมกราย ออกมาเต็ ม ดวง ไม่ ก ระมิ ด กระเมี้ ย น อยูห่ ลังเงาเมฆ คุณพ่อจึงจะนาลูกหลาน เริ่ มพิ ธี ไหว้ ซึ่ งอาจจะไม่ ต รงตาม ธรรมเนียมนิยมนัก ด้ ว ย ก า ร ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ นั้ น ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ก่ ฝ่ า ย ส ต รี เป็ นเจ้า พิ ธี ตั้ง แต่ ก ารจัด แจงโต๊ะ ไหว้ ซึ่ งมี ก ารจั ด ตบแต่ ง ประดั บ ประดา อย่างสวยงามเป็ นพิเศษกว่าการไหว้เจ้า ในเทศกาลอื่ น มี การน าต้น อ้อ ยมามัด ทาซุม้ แขวนโคมคู่ หรื อ กิมก่อง รวมทั้ง จัด เครื่ อ งกระดาษไหว้อื่ น ๆ มี แ จกัน ด อ ก ไ ม้ ส ด มี ข้ า ว ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ของสุ ภาพสตรี อาทิ เครื่ องสาอาง สบู่ แ ชม พู ยา สี ฟั น แ ล ะ อื่ น ๆ ที่ เ ป็ น ของสวยงามของสตรี การไหว้พระจันทร์น้ ี เป็ นประเพณี เดียว ในรอบปี ที่ มี ก ารถวายเครื่ อ งส าอาง ด้ ว ย ค ว า ม เ ชื่ อ ว่ า พ ร ะ จั น ท ร์ เป็ นที่ สถิ ต ย์ แ ห่ งเทพผู ้ เ ป็ นอิ ส ตรี นอกจากนี้ ก็ มี อ าหารเจ ผลไม้ และ ข น ม ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ ช นิ ด ต่ า ง ๆ ที่คุณแม่เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยม


ฤำจันทร์จะ...ลำร้ำง ปั จจุ บันประเพณี ไหว้พระจันทร์ ร้างลาไปมาก สาเหตุหลักๆ ทราบข้อมูลเบื้องต้นจากการพุดคุย กับ พี่ ส าวท่ า นหนึ่ งที่ ร้ า นปุ ย โอสถ ซึ่ งตั้ง อยู่ ในบริ เวณชุ ม ชนหน้า วัด เสนหา คื อ คนเฒ่ า คนแก่ หมดตั ว ลง คนรุ่ นใหม่ ๆ ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ความส าคัญกับ ประเพณี บางครอบครั ว หมด ตั ว ลู ก ส า ว ด้ ว ย อ อ ก เ รื อ น ไ ป ห ม ด แ ล้ ว บางท่ า นอาจสงสั ย ท าไมจึ ง เกี่ ย วกั บ ลู ก สาว ว่ า กั น ว่ า เ ท ศ ก า ล ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ ที่ เ น้ น ให้ ค วามส าคั ญ แก่ ส ตรี โดยปริ ยายจึ ง เป็ น ช่ ว งเวลาการโชว์ ต ั ว สาวๆ ของแต่ ล ะบ้ า น หนุ่ ม ๆ ทั้ง หลายก็ม ัก จะใช้โอกาสไปเที่ ย วชม ตามบ้า นเรื อ นที่ ไ หว้พ ระจัน ทร์ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จะตั้งโต๊ะไหว้กนั หน้าบ้าน หนุ่มน้อย หนุ่มใหญ่ จึ ง ไ ด้ อ า ศั ย เ ท ศ ก า ล ก ล ม ก ลื น ไ ป ส่ อ ง ส า ว แ บ บ เ นี ย น ๆ

ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม จ า กมิ ต ร ส ห าย ท่ า น ห นึ่ ง ซึ่ งกรุ ณ าแลกเปลี่ ย นคิ ด เห็ น บนเพจเฟซบุ๊ ค “ศูนย์ขอ้ มูลภาคตะวันตก” กล่าวว่าภายหลังจาก มนุ ษย์อวกาศ คื อ นี ล อาร์ มสตรอง ไปเหยียบ ดวงจัน ทร์ เมื่ อ พ.ศ.๒๕๑๒ ประเพณี น้ ี ก็ ถู ก ลดทอนความส าคัญ ลง ด้ว ยชาวจี น ส่ ว นหนึ่ ง มี ค ว า ม คิ ด ว่ า ก า ร ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ เสมือนการไหว้รอยเท้าฝรั่ง เหตุ เ รื่ องผลกระทบจากการที่ ส หรั ฐ อเมริ ก า ส่ ง ยานอวกาศไปดวงจั น ทร์ น้ ี จากผลการ ศึ ก ษาวิ จั ย ของพั ช รา กิ จปฐมมงคล เรื่ อง “พิ ธี กรรมของคนไทยเชื้ อสายจี นในเขต เทศบาลนครนครปฐม” ก็ได้กล่าวถึงเช่นกันว่า การไหว้พ ระจัน ทร์ ข องชาวไทยเชื้ อ สายจี น ในเขตเทศบาลฯ มีการปฏิ บตั ิน้อยลงเนื่ องด้วย ผลจากเหตุดงั กล่าว

นอกจากนี้ ความร่ วงโรยยั ง มาจากการที่ คนในชุ ม ชนที่ เ คยอยู่ เ ดิ ม ส่ ว นหนึ่ งย้า ยไป คนมาอยู่ใหม่ ไ ม่ ไ ด้ยึด ถื อ ธรรมเนี ย มการไหว้ เช่นเดิ ม ส่ วนสาเหตุสาคัญอีกประการหนึ่ งที่ทา ให้ ค วามนิ ย มในการไหว้พ ระจัน ทร์ ล ดน้ อ ย ลงไป พี่ ส าวจ าข้อ มู ล ไม่ ไ ด้ถ นัด นัก แต่ เ ล่ า ว่า นานแล้ว มี ก ารกล่ า วกัน ท านองว่ า ปี นั้ นการ ไหว้พ ระจัน ทร์ ไ ม่ ดี คนส่ ว นหนึ่ งจึ ง งดเว้น การไหว้ไป หลังจากปี นั้นเป็ นต้นมา ความนิ ยม ในการไหว้ก็ดูเหมือนจะลดลงมาโดยลาดับ ๕

นอกจากนี้ ในงานศึ กษาวิจยั ของพัชรา ได้กล่าวอ้างอิงข้อมูลจากงานวิจยั เรื่ อง “ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรมของ ชุ ม ชนจี น ” ของสมบู ร ณ์ สุ ข ส าราญ ซึ่ ง ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ไหว้พระจันทร์ ว่า เป็ นเรื่ องงมงายใน การไหว้ อเทหะวัตถุที่ลอยอยู่ในอวกาศ หาสาระที่ เ ป็ นเหตุ ผ ลอธิ บ ายไม่ ไ ด้ จึ ง อ าจ เ ป็ น เ ห ตุ ใ ห้ ลู ก ห ลาน ไท ย เชื้ อสายจี นให้ความสาคัญกับพิธีกรรม นี้นอ้ ยลงไป ข อ ง พั ช ร า ยั ง ใ ห้ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ การปฏิ บตั ิ พิธีกรรมต่างๆ ของคนไทย เชื้ อสายจี น ในพื้ น ที่ ซึ่ งส่ วนใหญ่ ป ฏิ บั ติ ต ามค วามเ ชื่ อ ท าง ศ าสน า ที่ ผ สมผสานระหว่ า งศาสนาพุ ท ธ ลัทธิ เต๋ าและขงจื๊ อ การบูชาบรรพบุรุษ และการนั บ ถื อ เทพเจ้ า โดยปฏิ บั ติ สื บต่อกันมาในครอบครัวจากรุ่ นสู่ รุ่น เมื่อผ่านกาลเวลาและปั จจัย ในหลากมิติ ทั้ งในด้ า นของศาสนา การศึ กษา เศรษฐกิ จ และความเจริ ญก้ า วหน้ า ด้านต่างๆ


พิ ธี ก ร ร ม ที่ เ กิ ด ก ำ ร ป รั บ ป ร น ส ำ เ ห ตุ ที่ ส ำ คั ญ ป ร ะ ก ำ ร ห นึ่ ง คื อ ก ำ ร ถ่ ำ ย ท อ ด ไ ม่ ค ร บ ถ้ ว น มี ผ ลให้ พิ ธี กรรมต่ า งๆ เกิ ดการปรั บ ปรน ทั้ ง นี้ มี สา เ ห ตุ ที่ ส าคั ญ ป ร ะ ก าร ห นึ่ ง คื อ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ไ ม่ ค ร บ ถ้ ว น อย่างไรก็ตามการปรับปรน ซึ่ งหมายถึงการปรับ และผ่อนปรนในสิ่ งที่ถือปฏิบตั ิน้ นั เกิดขึ้นอย่าง ค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไปในทางที่ ดี ข้ ึ น ผ่ อ นลดความ เคร่ ง ครั ด ลง ท าให้ ป ฏิ บัติ ไ ด้อ ย่ า งเหมาะสม สอดคล้อ งกับ ความต้อ งการในสภาพสั ง คม ณ ช่ ว งเวลานั้น ปั จ จุ บัน จึ งพบว่า เทศกาลของ ชาวไทยเชื้ อสายจี น มี การปรั บเปลี่ ยนรู ปแบบ ตลอดจนเนื้ อ หาสาระไปมากบ้ า ง น้ อ ยบ้า ง สิ่ งใดที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ตามยุคสมัยก็จะค่อยๆ สูญหายไป ในมุ ม ส่ ว นตัว ของผูเ้ ขี ย นซึ่ ง เป็ นลู ก หลานจี น ที่ ยั ง ค ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ธร ร มเ นี ยม ป ร ะ เ พ ณี ที่ ส่งต่อเสมอมา มี ความเห็ นว่าภาวะเศรษฐกิ จ เป็ นปั จจั ย ส าคั ญ ประการหนึ่ ง ที่ ส่ ง ผลให้ ธรรมเนี ย มต่ า งๆ ถู ก ลดทอนปรั บ ปรนไป พิ ธี ก ร ร ม ที่ ค ง ไ ว้ โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จึ ง เ ป็ น พิธีกรรมและธรรมเนียมสาคัญที่เป็ นเรื่ องใกล้ตวั โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ที่ เกี่ ยวกั บ บรรพบุ รุ ษ และเทศกาลสาคัญ ๆ อาทิ วัน เช็ งเม้ง เทศกาล ตรุ ษจีน สารทจีน ทั้ง นี้ โดยปกติ ช าวจี น จะมี ธ รรมเนี ย มการไหว้ ต่ า งๆ เป็ นประจ า ในสมัย โบราณชาวบ้ า น จะไหว้เ ฉพาะเจ้า ที่ แ ละบรรพบุ รุ ษ ส่ ว นการ ไหว้เจ้ารวมถึ งการไหว้พระจันทร์ น้ ัน ในสมัย โบราณเป็ นหนึ่ งในจ านวนเทศกาลที่ ส งวน เฉพาะชนชั้น ปกครอง แต่ ปัจ จุ บัน ธรรมเนี ย ม การไหว้เ ปลี่ ย นไป ชาวจี น ทั่ว ไปจึ ง นิ ย มไหว้ ทั้งเจ้าและไหว้บรรพบุรุษ

ในแต่ ล ะปี ตามปฏิ ทิ นจี น จะมี ธ รรมเนี ยม การไหว้ถึ ง ๘ เทศกาล เรี ยกว่ า “โป๊ ยโจ่ ย ” มี ค วามหมายตรงตามค า คื อ โป๊ ย แปลว่า ๘ ส่ ว น โ จ่ ย แ ป ล ว่ า เ ท ศ ก า ล เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ การไหว้ค รั้ งที่ ๑ เดื อ น ๑ วัน ที่ ๑ ในเทศกาล ตรุ ษ จี น ที่ ชาวจี น เ รี ย กว่ า “ง่ วง ตั้ ง โ จ่ ย ” จนกระทัง่ ไหว้สิ้นปี เป็ นครั้งที่ ๘ ในเดือน ๑๒ เรี ยกว่า “ก๊วยนี้โจ่ย” ส่วนการ “ไหว้พระจันทร์ ” เป็ นการไหว้ครั้งที่ ๖ ของปี ในเดือน ๘ เรี ยกว่า “จงชิวโจ่ย” พิธีกรรมการไหว้ของชาวจีน นอกจากการไหว้ ใน ๘ เทศกาลแล้ว ชาวจี น บางบ้ า นก็ อ าจมี การไหว้พิ เ ศษ คื อ ไหว้เ จ้า บางองค์ ที่ นั บ ถื อ ศรัทธาเป็ นการเฉพาะ แต่ในปั จจุบนั เท่าที่สังเกต จากแวดล้อ มรอบตัว การไหว้บ างเทศกาล พิ ธี ก รรมลดน้ อ ยลงไป บางเทศกาลก็ นิ ย ม ไหว้กัน น้อ ยลง บางเทศกาลบางบ้า นก็ เว้นไป ไ ม่ ไ ห ว้ เ ล ย ไ ม่ เ ว้ น แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง ต รุ ษ จี น ที่ ลูกหลานจีนจะให้ความสาคัญในลาดับต้นๆ โ ด ย แ ต่ เ ดิ ม ส มั ย ที่ ผู ้ เ ขี ย น ยั ง เ ป็ น เ ด็ ก บ้า นอยู่ ใ นตลาดพระปฐมเจดี ย ์ จ าได้ว่ า ช่ ว ง ตรุ ษจี นจะได้ยินเสี ยงประทัดรั วกัน สนั่นเมื อ ง สิ้ นเสี ยงตรงนั้นก็ ดังขึ้ นตรงนู ้นสอดรั บกันไป กว่ า จะสิ้ นเสี ยงกิ นเวลานานหลายอึ ด ใจ แม้ก ระทั่ง เมื่ อ มี ค รอบครั ว แล้ว ย้า ยออกมาอยู่ นอกเมื องก็ไ ม่แตกต่ างกัน แต่ปัจ จุ บันเสี ยงรั ว ประทัดลดน้อยลงไปอย่างมาก ที่บา้ นผูเ้ ขียนเอง ก็งดเว้นไปเนื่ องจากเป็ นหมู่บา้ นจัดสรรเกรงว่า เสี ย งจะรบกวนเพื่ อ นบ้ า น ธรรมเนี ย มการ จุดประทัดเท่าที่พอระลึกได้ ประมาณว่าจุดเพื่อ ขับ ไล่ มิ ใ ห้ แ ขกที่ ไ ม่ ไ ด้เ ชิ ญ หรื อภู ต ผี ปี ศาจ มาชิงรับเครื่ องกระดาษไหว้ที่อุทิศให้บรรพบุรุษ หรื อกล่าวอีกนัย คือ เป็ นการขับไล่สิ่งไม่ดีไม่ให้ เข้าใกล้รบกวนบรรพบุรุษของเรานัน่ เอง ๖

ความนิ ย มในการไหว้เ ทศกาลอื่ น ๆ ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น ก า ร ไ ห ว้ ข น ม จ้ า ง ที่ เ ดิ ม เคยเห็ น ตั้ง โต๊ะ ไหว้กัน ทั่ว ๆ ไป หลายบ้า นรอบตลาด ปั จ จุ บัน เหลื อ น้อยลง ไม่ต่างจากการไหว้พระจันทร์ ที่ เ หลื อ ไหว้กัน บางตาเต็ ม ที รวมทั้ง บ้านผูเ้ ขียนเอง ที่งดเว้นการไหว้ไปนาน มากแล้ว นับจากสิ้นบุญอาม่าและอาปา หากแต่ สิ่ ง ที่ ย ัง คงปฏิ บั ติ ไ ม่ ข าด คื อ การเวี ย นหาขนมอร่ อยในเทศกาล ม า รั บ ป ร ะ ท า น ทั้ ง ข น ม จ้ า ง ขนมพระจันทร์ กระทั่งไหว้พระจันทร์ ปีนี้ ที่ แม้จะไป ไม่ ทั น เวลากั บ การซื้ อหาตามปกติ แต่ดว้ ยความที่คุน้ เคยซื้อหากันมานานปี ท่านเจ้าของร้านละแวกสวนลาไย ก็ได้ กรุ ณาปั นส่วน ที่เขาแบ่งไว้ในครัวเรื อน ให้ผเู ้ ขียนได้ฝากลูกหลาน รับประทาน พอหายคิดถึงกันปี ละครั้ง . . . ข อ บ คุ ณ อ า แ ป ะ ผู้ อ า รี แ ห่ ง ร้ า น ข น ม ลี ้ ลิ ้ ม ฮ ว ด . . .


การจ่ายน้าบ่อเริ่ ม ร.ศ.122 (พ.ศ.2446) (ภาพจาก: สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ภ.002 หวญ.35-22)

สะพานรามประเวศน์ สะพานแขวนแห่งแรกของสยาม

คุณค่ำในมรดกวัฒนธรรม...แห่งเมืองยอดแหลม อย่างที่เกริ่ นนาแต่ตน้ ว่า ปี นี้ ผเู ้ ขียนตั้งใจมากๆ ที่ จ ะ ไ ป เ ก็ บ ภ า พ บ ร ร ย า ก า ศ เ ท ศ ก า ล ไหว้ พ ระจั น ทร์ ก่ อ น ที่ จ ะ เ ลื อ น ห า ย ไ ป ซึ่ ง ไ ม่ อ า จ ท ร า บ ไ ด้ ว่ า จะเร็ ว หรื อช้ า แต่ ก็ แ อบหวัง ในใจว่ า จะมี สิ่ งหนึ่งสิ่ งใดมาช่วยปลุกฟื้ นกระแสวัฒนธรรม ที่ มีคุณค่า ให้กลับคื น คงอยู่คู่เมื องยอดแหลม อั น นั บ เ ป็ น เ มื อ ง ที่ มี ชุ ม ช น ช า ว จี น อยูค่ ่อนข้างแน่นหนาเมืองหนึ่ง นครปฐมเป็ นเมื อ งแห่ งประวัติ ศาสตร์ สาคัญ หลายสิ่ งอย่างของสยามประเทศ ดังจะเห็ นว่า มีสิ่งแรกที่ เริ่ มเกิ ด ณ เมื องแห่ งนี้ ไม่น้อย อาทิ การขุ ด เจาะบ่ อ บาดาลที่ เ รี ยกว่ า “บ่ อ เริ่ ม” อันเป็ นที่มาของชื่อถนนสายสั้น ซึ่ง ณ ปั จจุบนั ผู ้เ ขี ย นยัง ไม่ มี ข ้อ มู ล ว่ า สั้ นที่ สุ ด ในประเทศ หรื อไม่ (ท่ านที่สนใจเรื่ อง “บ่ อเริ่ ม” อ่ านรายละเอี ยด เพิ่มเติมได้ ที่ http://goo.gl/ST9ooW)

นอกจากนี้ยงั มีสิ่งละอันพันละน้อยที่อายุไม่นอ้ ย กว่า ๑๐๐ ปี อาทิ สะพานโยง ซึ่ งตั้ง อยู่บริ เวณ พระราชวัง สนามจัน ทร์ ที่ ปั จ จุ บัน วัง แห่ ง นี้ มีอายุ ๑๐๘ ปี สะพาน ที่ กล่าวถึง คือ สะพานจักรี ยาตรา และ สะพานรามประเวศน์ ซึ่ งทางเทคนิ ค เรี ยก สะพานชนิ ด นี้ ว่ า สะพานแขวน (Suspension Bridge) แต่ เ ป็ นสะพานแขวนที่ มี ข นาดเล็ ก กระทั ด รั ด สั น นิ ษ ฐานว่ า สะพานทั้ ง ๒ นั้ น เป็ นสะพานแขวนแห่งแรกของสยามประเทศ ใ น ที่ นี้ ผู ้ เ ขี ย น ข อ อ นุ ญ า ต ตั้ ง ข้ อ สั ง เ ก ต คาเรี ยก “สะพานแขวน” ที่ มกั พบความสับสน ในการเรี ยก ดังเช่นสะพานข้ามแม่น้ าเจ้าพระยา หลายๆ แห่ ง อาทิ สะพานพระราม ๙ สะพานภูมิพล สะพานกาญจนาภิเษก ที่นิยมเรี ยกกันว่า สะพานแขวนนั้น ในทางเทคนิคสะพานดังกล่าว คือ สะพานขึง (Cable Stayed Bridge)

น อ ก จ า ก นั้ น พ ร ะ ร า ช วั ง แ ห่ ง นี้ ยั ง เ ป็ น ที่ ซึ่ ง ล้ น เ ก ล้ า รั ช ก า ล ที่ ๖ โปรดเกล้า ฯ ให้ น ายช่ า งศิ ล ปิ น คื อ พระยาอนุ ศาสตร์ จิ ตรกร (จั น ทร์ จิ ต รกร) ทดลองเขี ย น “ภาพเทพประณม” เป็ นภาพของเทวดา มนุ ษ ย์ ครุ ฑ และนาคประณมมื อ ในลักษณะ ของงานจิ ต รกรรมฝาผนั ง แนวใหม่ ตามธรรมเนี ยมวาดภาพแบบตะวันตก โดยภาพคนมี ล ัก ษณะทางกายวิ ภ าค ที่ มี มิ ติ ส มจริ ง ไม่ เ รี ย บแบนดัง ธรรม เนียมเขียนภาพแบบดั้งเดิมของไทย ภ า พ เ ขี ย น ดั ง ก ล่ า ว จึ ง เ ป็ น ภ า พ จิ ต ร ก ร ร ม ไ ท ย ส มั ย ใ ห ม่ ที่ เขียนขึ้นเป็ นครั้งแรกบนผนังภายใน ห้อ งพระเจ้า ของพระที่ นั่ง พิม านปฐม ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารน าเทคนิ ค วิธี ดัง กล่ า ว ไปลงมื อ เขี ย นจริ งบนผนั ง ในวิ ห าร หลวงขององค์พระปฐมเจดีย ์


ถึงครำ...ตระเวนส่อง เมื่ อ ถึ ง เพลาโพล้เ พล้ข องวัน ไหว้พ ระจัน ทร์ จากเมื่ อ แรกที่ ผู ้เ ขี ย นตั้ งใจจะตรงดิ่ ง ไปยัง ชุมชนเป้ าหมาย คื อ หน้าวัดสเนหา เอาเข้าจริ ง เมื่อถึ งเวลา ด้วยสิ่ งที่ พบบนเส้นทางผ่านทาให้ ต้อ งเปลี่ ย นใจโดยพลัน ประกอบกั บ ความ คล่องตัวที่ เลือกใช้น้อง Dream แมงกาไซค์คู่ใจ ที่ รักกันมาเท่ าอายุราชการ การเปลี่ ยนใจอย่า ง ฉับพลัน จึงมิส่งผลกระทบอันใด นอกจากเวลา ที่ ต้ อ ง เ ร่ ง ใ ห้ ทั น กั บ กิ จ ก ร ร ม ป ล า ย ท า ง เรื่ องดีของการบินเดี่ยว มักเป็ นเช่นนี้อย่างเคยชิน จากทุ่ ง สิ ริ น ธรมุ่ ง หน้า เข้า เมื อ ง ด้ว ยเส้ น ทาง ถ น น ร าช ม ร ร ค า น อ ก ก่ อ น จ ะ ผ่ า น อ ดี ต โรง หนั ง ตั้ งเ ซี ยฮวดร ามา ผู ้ เ ขี ยน ได้ พ บ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นจ ากัด เอกชัย นครปฐมก่ อ สร้ า ง เป็ นบ้ า นแรกบนเส้ น ทางไหว้ พ ระจั น ทร์ จากที่ ไม่คาดคิดว่าจะยังพบการไหว้ในละแวก อื่นๆ นอกจากย่านชุมชนหน้าวัดสเนหา ใ น เ บื้ อ ง แ ร ก จึ ง มิ ร อ ช้ า ที่ จ ะ ข อ อ นุ ญ า ต ท่านเจ้าของบ้าน ซึ่งแม้ท่านจะยังจัดวางของไหว้ ไม่แ ล้ว เสร็ จ ก็ยิน ดี ใ ห้เ ก็บ ภาพ และการพูดคุ ย เล็กน้อยกับท่านเจ้าบ้าน ทาให้ทราบว่าที่ ยงั คง ธรรมเนี ย มไหว้เ นื่ อ งจากยัง มี ผู ้อ าวุ โ สของ ครอบครั วอยู่ แต่หากหมดรุ่ นอากง อาม่า แล้ว ก็ อ าจจะไม่ ไ หว้อี ก ท าให้ รู้ สึ ก เสี ย ดาย และ อดไม่ ไ ด้ที่ จ ะเว้า วอนกับ อาเฮี ย เจ้า ของบ้า น ว่า...ไหว้ เถอะๆ เดี๋ยวจะสูญหายหมด... จากจุ ด แรกนี้ ประกอบกั บ เมื่ อ ดู เ ข็ ม นาฬิ ก า และวิถี ข องพระจัน ทร์ เป็ นเหตุ ใ ห้เ ปลี่ ย นใจ ด้วยเห็นว่ายังน่าจะพอมีเวลาออนทัวร์รอบเมือง

“ไม่ มี แ ล้ ว จริ ง” จากถนนเพชรเกษมบริ เ วณ แยก รร. ราชิ ณี ฯ ผ่ า นหน้า สถานี ต ารวจภู ธ ร และโรงเรี ยนวัดพระปฐมเจดีย ์ เข้าสู่ ถนนราชวิถี เพื่อไปยังสี่ แยกสนามจันทร์ โดยมิ ได้ขา้ มแยก ไฟแดงเข้าถนนทรงพล กาลก็เป็ นไปดัง่ คาดจึงใช้ เวลาเพีย งไม่น านกับถนน ๓ นาม บนระนาบ เส้นตรงสายนี้ จุ ด หมายต่ อ ไป คื อ ตลาดบน – ล่ า ง ฝั่ ง ถนน ซ้ า ยพระ ซึ่ งหลายคนอาจไม่ คุ ้น เคยค าเรี ยก ชื่ อ ถนน ที่ ยึด เอาพระประธานในวิ ห ารหลวง ด้า นทิ ศตะวัน ออกเป็ นหลัก ในการก าหนดชื่ อ หรื อหากจะจาให้ง่ายเข้าก็ คื อ ถนนเส้นที่ ผ่าน ห น้ า พ ร ะ ร่ วง ฯ นั่ น เ อ ง ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น กา ร ปรั บ เปลี่ ย นเส้ น ทางจราจรใหม่ ร อบตลาด พระปฐมเจดี ยน์ ้ ี แม้จะผ่านเวลามานานพอควร แต่ “คนคอนถม” ที่ เ คยชิ น เส้ น ทางมากว่ า ครึ่ งชี วิ ต อย่ า งผู ้เ ขี ย น ก็ ย งั คงมี อ าการสั บ สน เส้น ทางที่ . .. ไกลความเคยชิ น อยู่เ ป็ นระยะๆ ท าให้ ต ้ อ งตั้ง หลั ก นึ ก ทุ ก ครั้ งที่ จ ะเข้ า เมื อ ง รอบตลาด จากสี่ แยกสนามจันทร์ ผูเ้ ขียนย้อนเส้นทางเดิ ม ก ลั บ ม า บ ร ร จ บ บ ริ เ ว ณ แ ย ก โ ร ง เ รี ย น วัด พระปฐมเจดี ย ์ เพื่ อ เลี้ ย วซ้า ยมุ่ ง หน้ า ถนน หลังพระ โดยลัดเลาะเรี ย บรั้ วองค์พ ระฯ ผ่า น ประตู ด้า นทิ ศ ตะวัน ตก สั ง เกตว่ า ละแวกตึ ก ส ร้ า ง ใ ห ม่ ต ร ง ข้ า ม ร้ า น ค้ า อ ง ค์ พ ร ะ ฯ ภาคกลางคื น มี บ้า นที่ เ พิ่ ง เตรี ย มตั้ง โต๊ ะ ไหว้ ยังไม่แล้วเสร็ จราว ๑-๒ หลัง แต่ดว้ ยระยะเวลา ที่ล่วงเข้ามาทุกขณะ ผูเ้ ขียนจึงจาต้องผ่านเลยไป ยังบริ เวณตลาดบน

ก่ อนไปยังจุ ดหมายที่ ต้ งั ใจ สมองกับความเร็ ว ข อ ง พ า ห น ะ ท า ง า น ค ว บ คู่ กั น โ ด ย พ ลั น จึ ง ตั ด สิ นใจมุ่ ง เส้ น ทางที่ ค าดว่ า จะร้ า งลา ปร ะเ พณี ไป แล้ ว เ พื่ อ ไป ยล ให้ แ น่ ชั ด ว่ า ๘


จุ ด แรกที่ พ บการตั้ง โต๊ ะ ไหว้พ ระจัน ทร์ เ ป็ น ร้ าน ข้ า วส าร “เ ป๋ ง ง่ วน ฮง ” ที่ มี พี่ ส า ว วั ย ก ล า ง ค น ๒ ท่ า น ก า ลั ง จ ะ เ ริ่ ม ไ ห ว้ เมื่ อ เข้ า ไป ทั ก ท าย สวั ส ดี แ ล ะบ อ กกล่ าว ขออนุ ญ าตเก็ บ ภาพ พี่ ส าวใจดี ท าท่ า จะละมื อ จากการไหว้ใ ห้ ผู ้เ ขี ย นเก็ บ ภาพ ได้แ จ้ง ท่ า น ให้ ไ หว้ต ามสะดวก จึ ง ได้ ภ าพสวยงามเป็ น ธรรรมชาติมาฝากกัน ถัด มาเล็ ก น้ อ ย เป็ นอาเฮี ย ร้ า นขายรองเท้ า ที่ ปั จจุ บั น มี ม ากกว่ า รองเท้ า “มิ ต รวัฒ นา” พออาเฮี ย เห็ นกล้ อ งก็ เ ดิ นถอยไปตั้ งหลั ก เสี ยไกล แต่ ก็ อ อกปากอนุ ญ าตให้ เ ก็ บ ภาพ ตามสบาย ส่ ว นบ้ า นสุ ด ท้ า ยในละแวกนี้ คื อ ร้ า นขาย เตาแก๊ ส “สมรมิ ตร” ซึ่ งมี พี่ ส าว ๒ ท่ าน กาลังกุลีกจุ อจัดแต่งโต๊ะไหว้ประดับไฟสวยงาม ห นึ่ ง ใ น พี่ ส า ว ดู จ า ก เ สื้ อ ที่ ส ว ม ใ ส่ “ภาพยอดแหลม” อัน โดดเด่ นเป็ นสัญ ลัก ษณ์ ยืนยันได้ว่า พี่สาวมี สายเลื อดนครปฐมเข้มข้น จริ งๆ


สำวน้อยยุวชนพระจันทร์ชี้ชวนให้ผู้มำเยือนได้ชื่นชมควำมงำมของเครื่องไหว้อันสวยงำม ด้วยเส้นทางจราจรที่ ก่ ึ งบังคับกลายๆ เมื่ อผ่าน เลยจากตลาดบนมาถึ ง ตลาดล่าง ร้ านลวงต่า ง ปิ ดสนิ ท ไร้ วี่แ วว ของการไหว้พ ระจัน ทร์ จึ ง มุ่ ง หน้า บ้า นเรื อ นละแวกถนนพิ พิ ธ ประสาท ด้านในซอยริ มคลองเจดี ยบ์ ูชาตั้งแต่ ซอย ๑-๖ ซึ่ ง ไม่ พ บว่า มี ก ารไหว้เ ช่ น กัน จึ ง ตัด สิ น ใจไป ส ารวจละแวกส านัก งานการไฟฟ้ าฯ บริ เ วณ ชุมชนสวนลาไย เมื่ อ เลี้ ย วซ้า ยบริ เ วณสามแยกศาลเจ้า ต้น แจง ก็ไม่ผิดหวัง ได้พบบ้านหลังแรกที่ ต้ งั โต๊ะไหว้ ท่ า นเจ้า ของบ้า นที่ พ บเป็ นสตรี หลากรุ่ น ... ตั้งแต่วยั เด็ก...ล่วงไปจนวัยอาม่า บ้ า นหลั ง นี้ เมื่ อ เข้ า ไปขออนุ ญ าตเก็ บ ภาพ โต๊ะไหว้ พบว่ามีการจัด ของไหว้กระจุ๋มกระจิ๋ม น่ า รั ก น่ า ชม อย่ า งวุ ้น รู ปปลาคร๊ าฟที่ ก าลั ง แหวกว่ า ยในอ่ า งน้ าน้อ ย วุน้ รู ป ส้ ม ขนาดจิ๋ ว และที่สาคัญความน่ารักน่าชังของสาวน้อยยุวชน ที่ ม าต้อ นรั บ แขกแปลกหน้า พาชี้ ช วนให้ช ม ข้ า ว ข อ ง เ ค รื่ อ ง ไ ห ว้ ส ว ย ง า ม บ น โ ต๊ ะ พร้ อ มอธิ บายขยายความเสร็ จสรรพ วุน้ อะไร ใครทา หลังจากพุดคุ ยสักครู่ สาวน้อยผูพ้ ี่ก็ไป จูงมื อสาวผูน้ ้อง ว่าแล้วทั้ง ๒ นาง ก็มายืนเป็ น พรี เซนเตอร์ ยุวชนพระจันทร์ ให้เก็บภาพน่ ารั ก มาฝากให้ชม ๑๐


สี่แยกวัดกลำง...ในอดีตเคยไหว้พระจันทร์กันอุ่นหนำฝำคั่ง จากบ้ า นวุ ้น ปลาสวยงามมาจนเกื อ บตลอด เส้ น ทางถนน ๒๕ มกรา ไม่ พ บว่า มี ก ารไหว้ ที่ แ ห่ ง อื่ น อี ก กระทั่ ง ถึ ง สี่ แ ยกสมาคมพ่ อ ค้า จึงเลี้ยวขวาถนนทหารบกซอย ๓ ข้ามทางรถไฟ มุ่ ง หน้ า สี่ แ ยกวัด กลาง ที่ อ ดี ต เคยมี ป ระเพณี การไหว้พระจันทร์กนั อุ่นหนาฝาคัง่ แต่ ก่ อ นที่ จะไปถึ ง บริ เวณสี่ แยกวั ด กลาง เมื่ อผ่า นสมาคมแซ่ ลิ้ม ซึ่ ง นับเป็ นสมาคมแห่ ง ที่ ๒ บนถนนสายสั้ นนี้ สั ง เกตพบว่ า ตึ ก ฝั่ ง ขวามื อ มี บ้ า นซึ่ งมี อ าชี พ ท าข้า วแกงขาย ก าลั ง ไห ว้ พ ร ะจั น ทร์ อ ยู่ พ อ ดี จึ งจอ ดร ถ เข้าข้างทางเดินข้ามถนนไปขออนุญาตเก็บภาพ อาเจ็ ก เจ้า ของบ้า นและครอบครั ว ดู ท่ า นดี ใ จ กัน ทั้ง บ้า น ที่ มี ค นสนใจมาเก็ บ ภาพประเพณี ที่ เหลื อคนสื บทอดน้อยลงทุ กที ถึ งกับเอ่ยปาก ใ ห้ อ า ห ม ว ย ลู ก สา ววั ย รุ่ น ห น้ า ต า จิ้ ม ลิ้ ม มายืนเป็ นสาวน้อยพระจันทร์ ให้ผเู ้ ขียนเก็บภาพ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ มี พี่ ส า ว ท่ า น ห นึ่ ง ส น ใ จ มาเก็ บ ภาพเช่ น กัน อาเจ็ ก ใจดี จึ ง ชวนสมาชิ ก ทั้ ง บ้ า น ม า ยื น ป ร ะ จ า ก า ร ที่ โ ต๊ ะ ไ ห ว้ ให้ถ่ายภาพครอบครัวอบอุ่นพร้อมหน้าพร้อมตา

ซึ่ งผู ้เ ขี ย นจ าได้ท่ า นหนึ่ งว่ า คื อ อาเจ้พี่ ส าว ร้านน้ าเหลี่ยงจุย้ หรื อ น้ าจับเลี้ยงที่คนส่ วนใหญ่ มัก คุ ้น ร้ า นนี้ ขายมาเก่ า แก่ ป ระจ าอยู่ใ นส่ ว น ร้ านค้าภาคกลางคื นบริ เวณองค์พระปฐมเจดี ย ์ อาเจ้และเพื่อนบ้านอี กคนแม้จะไม่ต้ งั โต๊ะไหว้ ก็มายืนจับกลุ่มพูดคุยเป็ นเพื่อนอาม่าบ้านที่ไหว้ เป็ นบรรย ากาศที่ สงบแต่ อ วล ด้ ว ยไมต รี ของเพื่อนบ้านใกล้เรื อ นเคี ยง ที่ ปัจจุ บันค่อยๆ เจือจางลงทุกทีเช่นกัน

หลัง เก็บ ภาพบ้า นข้าวแกงแล้ว ผูเ้ ขี ย นมุ่ง หน้า สี่ แ ยกไฟแดงวัด กลาง เมื่ อ เลี้ ยวซ้ า ยก็ ไ ด้พ บ อีกเพียงบ้านเดียวในย่านชุมชนนี้ ที่ยงั คงมีอาม่า ท่ านหนึ่ ง ตั้งโต๊ะไหว้เพีย งลาพัง แต่ก็ไม่ เหงา สั ก ที เ ดี ย ว เนื่ องจากมี เ พื่ อ นบ้ า นข้ า งเคี ย ง ๑๑


จ า ก บ ริ เ ว ณ ชุ ม ช น วั ด ก ล า ง ผู ้ เ ขี ย น ข้ า ม ท า ง ร ถ ไ ฟ ลั ด เ ล า ะ ผ่ า น ห ลั ง ส ถ า นี ร ถ ไ ฟ น ค ร ป ฐ ม ข้า มสะพานเจริ ญ ศรั ท ธา หรื อ สะพานยัก ษ์ อั น เ ป็ น ชื่ อ เ รี ยก ต ามง า มป ร ะ ติ มากร ร ม ยักษ์แบกประดับสะพาน ที่ชาวเมืองคุน้ เคย เ ดิ น ท า ง ย้ อ น เ ส้ น ท า ง ต ล า ด อี ก ค รั้ ง แ ต่ เ ป็ น ฝั่ ง เ ลี ย บ ค ล อ ง เ จ ดี ย์ บู ช า จากบริ เ วณแยกซอยกล างผ่ า น ตลาดบ น เ พื่ อ มุ่ ง ห น้ า สู่ ชุ ม ชนกั๋ ง บ๊ ว ย บนเส้ น ทาง ถนนพญากงนี้ พบเพียง ๑ บ้าน คือ ร้านขายส่งไข่ “การพาณิ ชย์” หรื อชื่ อจี น คื อ “จิ วกังฮะ” ที่ มี อาเฮี ย อาเจ้ รุ่ นอาวุ โ ส ๓-๔ ท่ าน ก าลั ง ทาพิธีไหว้ เมื่อเห็นผูเ้ ขียนจอดรถเที ยบฟุธบาท พร้ อ มกล้อ งคู่ ใ จ อาเจ้ ๒ ท่ า น ก็ ส่ ง ยิ้ม กว้า ง จั ด แ จ ง ป รั บ เ ป ลี่ ย น จ า ก ท่ า นั่ ง ส บ า ย ๆ มาเป็ นทางการเล็ ก น้ อ ยอย่ า งน่ า รั ก สมวั ย ดูไม่เคอะเขิน

อำเฮีย อำเจ้ รุ่นอำวุโส ไหว้พระจันทร์บนเส้นทำงถนนพญำกง

๑๒

ส ะ พ า น เ จ ริ ญ ศ รั ท ธ า ห รื อ สะพานยั ก ษ์ เป็ นชื่ อเรี ย กตาม ง า น ป ร ะ ติ ม า ก ร ร ม ปู น ปั้ น รู ปยักษ์แบกเลียนแบบศิลปะทวารวดี ชาวเมื องนครปฐมจึ ง เรี ยกชื่ อ อย่างคุ น้ เคยตามงานประดับสะพาน ว่า “สะพานยักษ์” ส ะ พ า น แ ห่ ง นี้ เ ดิ ม เ ป็ น สะพานไม้ข ้า มคลองเจดี ย ์ บู ชา จ า ก ส ถ า นี ร ถ ไ ฟ น ค ร ป ฐ ม ม า ยั ง อ ง ค์ พ ร ะ ป ฐ ม เ จ ดี ย์ รั ช กาลที่ ๖ ทรงโปรดเกล้า ให้ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริ ศรานุ วั ติ ว ง ศ์ อ อ ก แ บ บ ส ร้ า ง ใ ห ม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ และพระราชทาน นามว่ า “สะพานเจริ ญศรั ท ธา” นั บ เป็ น สะพานคอนกรี ต แห่ง แรก ของจังหวัดนครปฐม


ชุมชนหน้ำวัดเสนหำ...ขนบในกรอบ ภายหลังสิ้ นสุ ดภาระกิ จออนทัวร์ “รอบเมื อง” ถัด จากบริ เ วณตลาดบนนี้ ผูเ้ ขี ย นเร่ ง มุ่ ง หน้า เส้นทางถนนราชดาริ ห์ผา่ นโรงเรี ยนสว่างวิทยา สัง เกตบ้า นเรื อ นฝั่ งซ้า ย – ขวา ต่ า งอยู่ใ นวิถี ปกติ ร้านรวงต่างๆ บ้างปิ ดบ้างคงเปิ ดอยู่ เมื่ อ ถึ ง บริ เวณไฟแดงสี่ แยกกั๋ ง บ้ ว ย หรื อ ป ล าย ค ล อ ง เ พื่ อ เ ต รี ย ม เ ลี้ ย วข วาไ ป ยั ง ชุ ม ชนหน้ า วัด เสนหา หรื อ หน้ า โรงเรี ยน พลตารวจ ที่ชาวเมืองมักเรี ยกสั้นๆ ว่า โรงเรี ยน พลฯ ก็พบว่าการจราจรเริ่ มไม่คล่องตัว

ระยะใกล้ ถึ งประตู บ้ า น เพื่ อ ขออนุ ญาต เก็บภาพ จึ งได้พบอาเฮี ย กับอาเจ้ นั่งรอเวลา ธู ป ที่ ปั กไหว้แล้ว อย่า งสงบเสงี่ ย มอยู่ใ นบ้า น บ้ า น ห ลั ง นี้ มี เ พี ย ง ผู ้ สู ง วั ย ๒ ท่ า น ทราบภายหลังว่าท่านเป็ นพี่น้องกันเมื่อผูเ้ ขียน กาลังจะกลับ หลังจากเสร็ จสิ้นภาระกิจ ด้วยพบ พี่ชายอีกท่านหนึ่ งเพิ่งมาปั กธู ปไหว้ที่หน้าบ้าน จึงทักทายพูดคุย ทราบว่าท่าน เป็ นสามีของอาเจ้ เพิ่ ง เสร็ จ ภารกิ จ การงานมาถึ ง บ้า น ที่ ภ รรยา และน้องเขยไหว้นาไปไกลกว่าครึ่ งทางแล้ว

ผู ้ เ ขี ยน เลี้ ย วร ถมาตามเส้ น ท างไ ด้ เ พี ย ง ไม่ ถึ ง ๓๐๐ เมตร ก็ จ าต้อ งสละรถจอดไว้ หน้าบ้านหลังแรก “เจริ ญเทคนิ ค” ที่ พบอากง อาม่า และหลานสาวตัวน้อย อีก ๑ คน ตั้งโต๊ะ ไหว้พระจันทร์กนั ตามธรรมเนียมปกติ ภายหลั ง เก็ บ ภาพบ้ า นหลั ง แรกในชุ ม ชน หน้าวัดเสนหาซึ่ งเป็ นชุมชนเป้ าหมาย ผูเ้ ขี ยน เดิ น ถัด มาอี ก ไม่ ไ กลนัก ก็ พ บว่า มี อี ก ๑ บ้า น ที่ เ ห็ น โต๊ ะ ตั้ง ไหว้แ ต่ ไ ร้ ผู ้ค น จนเมื่ อ เข้า ไป

๑๓


ชุมชนหน้ำวัดเสนหำ...ขนบนอกกรอบ

เดิ น ถัด จากบ้า น ๒ หลัง ที่ ย งั คงการไหว้พ ระจัน ทร์ ต ามขนบประเพณี อย่างเรี ยบง่ายมาเพียงอึดใจเดียว ผูเ้ ขียนก็ตอ้ งอุทานเบาๆ ในใจ

"อู้ววว...แม่เจ้า" นี่ผู้คนเค้ามาดูมหกรรมอะไรกันรึ? ภาพผูค้ นจ านวนไม่ น้อ ยที่ ต่ า งเป็ น “ไทยมุง ” บ้า งยืน ชม บ้า งถ่ า ยภาพ กัน รั ว ๆ เซลฟี่ บ้า ง เก็ บ ภาพข้า วของที่ ท่ า นเจ้า บ้า น “ร้ า นปุ ย โอสถ” บรรจงประดิษฐ์ประดอยทา และนามาตบแต่งประดับประดา ตั้งแต่โต๊ะแรก ที่ แ ม้จ ะดู เ หมื อ นออเดิ ร์ ฟ แต่ ก็ มี story เป็ นรายละเอี ย ดที่ มี แ ง่ คิ ด มุ ม งาม เตือนใจไม่ควรมองข้าม

๑๔


ไ ห ว้ พ ร ะ จั น ท ร์ ร้ ำ น ปุ ย โ อ ส ถ... scene & theme มหำกำพย์ เ รื่ อ งเล่ ำ ถั ด จ าก โ ต๊ ะ แ ร กม าถึ ง โ ต๊ ะ ก ลา ง ซึ่ ง เ ป็ น โ ต๊ ะ ไห ว้ ของครอบครั ว ที่ ง ดงามและอลั ง การไม่ น้ อ ย กระทั่ ง โต๊ ะ สุ ด ท้ า ยที่ เ ห็ น แล้ ว อยากอุ ท านอี ก ครั้ งด้ ว ยเสี ยงที่ ดั ง กว่ า เดิ ม เพราะโต๊ ะ นี้ ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ ข ้ า วของประดั บ ประดาสวยงามธรรมดา หากแต่มีเรื่ องเล่า...ชนิ ดมหากาพย์ ด้วย scene & theme ฉากที่บรรจงตบแต่งด้วยกลิ่นอายของชุมชน “ถนนคนเดิ น” อัน เป็ นชุ ม ชนที่ อ ยู่ใ กล้เ คี ย งถัด ไปบริ เ วณหน้า วัด พระงาม มี บ รรดาร้ า นรวง ข้า วของหลายสิ่ งมากอย่า งประดิ ษ ฐ์เ ป็ น ของจิ๋ ว จ าลอง ฝี มื อ ท่ า นเจ้ า ของบ้ า นที่ น ามาประดั บ จัด วางเรี ย งรายตามความยาวโต๊ ะ ที่ ย าวเกิ น กว่า ๓ เมตร ผสานด้ ว ยประเด็ น ร่ วมสมั ย “Bike for mom” สร้ า งแรง ดึ ง ดู ด ให้ ผู ้ค นที่ ต้ ัง ใจมาเก็ บ เกี่ ย วความสุ ข แบ่ ง ปั น เล็ ก ๆ ได้อย่างน่าสนใจมาก ไม่เว้นแม้แต่ตวั ผูเ้ ขียนเอง

๑๕


๑๖


๑๗


คิดงำม...อย่ำงผู้ให้ การเดิ น ชมพร้ อ มเก็ บ ภาพรายละเอี ย ดการ ไหว้พระจันทร์ของร้านปุยโอสถเพียงอย่างเดียว ไหนเลยจะรู ้ สึ ก ซาบซึ้ งและเข้า ใจหากมิ ไ ด้ มี โ อกาสร่ วมพู ด คุ ย สอบถามถึ ง เบื้ องหลั ง ความอลังการเช่นนี้ บั ง เอิ ญ โชคดี ได้ พ บนั ก ข่ า วมื ออาชี พ คื อ พี่ ส มศัก ดิ์ แห่ ง เคเบิ้ ล ที วีน ครปฐม ที่ ท ราบว่า พี่ ท่ าน มั ก แวะเ วี ย น มาเก็ บภาพ มิ ไ ด้ ข าด เป็ นประจาทุกปี เช่นกัน เมื่อมีมืออาชี พสัมภาษณ์แล้ว หน้าที่ของผูเ้ ขียน จึ ง เพี ย งร่ วมฟั ง และจดๆๆ จากการพู ด คุ ย เพี ย งสั้ นๆ ท าให้ ท ราบเบื้ อ งหลั ง ความคิ ด อัน งดงามของคุ ณ วรชาติ ชมชื่ น ใจ สมาชิ ก ของครอบครัวร้านปุยโอสถ ปั จ จุ บัน ท่ า นท างานในต าแหน่ ง หั ว หน้า ช่ า ง ของโรงงานยาสู บ กระทรวงการคลัง อาศัยอยู่ ในกทม. ท่ า นได้ ก ล่ า วถึ ง แรง บั น ดาลใจ ในการจัดพิธีไหว้พระจันทร์ ของครอบครัวท่าน ว่า เป็ นการสื บต่ อประเพณี ม าจากรุ่ น พ่อ - แม่ ซึ่ งใน แต่ ล ะปี พี่ น้ อ งทุ ก คนก็ จ ะมี โ อกาส ไ ด้ ม า พ บ ป ะ กั น ใ น โ อ ก า ส พิ เ ศ ษ ต่ า ง ๆ รวมทั้งเทศกาลไหว้พระจันทร์ ซึ่ งปฏิ บตั ิกนั มา มิได้ขาดนี้ดว้ ย

ขนาดว่าหากขยายขนาดชิ้นงานให้เท่าของจริ ง เผลอๆ อาจมีคนหลงอยากชิมหมูไก่บนโต๊ะไหว้ เข้าจริ งๆ ก็เป็ นได้ ส่ ว น ก า ร น า ข้ า ว ข อ ง ม า ป ร ะ ดั บ จั ด ว า ง ในแต่ ล ะปี ก็ จ ะหมุ น เวี ย นเปลี่ ย นแนวคิ ด ไป ตามยุ ค สมั ย ส าหรั บ ปี นี้ เป็ นโอกาสพิ เ ศษ ในการฉลองวันแม่ ท่านจึงนามาเป็ นจุดไฮไลท์ ของฉากถนนคนเดิ นหน้าวัดพระงาม อันเป็ น ชุมชนในกระแสเป็ นที่นิยมในปั จจุบนั แต่ เ หนื อ อื่ น ใดนอกจากเบื้ อ งหลัง ความคิ ด และความสร้ า งสรรที่ ต ้อ งลงทุ น และลงแรง ไม่ น้อ ยของคุ ณ วรชาติ คื อ ความรู ้ สึ ก ที่ ท่ า น ถ่ า ยทอดเพี ย งประโยคสั้ นๆ ประมาณว่ า ... สิ่ ง ที่ ท่ า น ตั้ ง ใ จ ท า แ ค่ เ พี ย ง ไ ด้ เ ห็ น ผู ้ ค น ที่ ม า เ ฝ้ า ดู มี ค ว า ม สุ ข ท่ า น ก็ ดี ใ จ แ ล้ ว . . . ผู ้เ ขี ย นเองได้ รั บ ถ่ า ยทอดความรู ้ สึ กเช่ น นี้ กลับยิ่งรู ้สึกปิ ติเป็ นทวีคูณ... งคมน่าอยู.่ ..เพราะ คนเล็กๆ แต่มีใจยิง่ ใหญ่เยีย่ งนี้เอง

เบื้องหลังความคิด และความสร้างสรร ที่ตอ้ งลงทุน... ลงแรงไม่นอ้ ย ของคุณวรชาติ ชมชื่นใจ นอกจากการสืบต่อประเพณี จากพ่อ - แม่ คือ ความรู ส้ ึกที่ถา่ ยทอด “ สิ่งที่ท่ำนตัง้ ใจทำ แค่เพียงได้เห็น ผู้คนที่มำเฝ้ำดู มีควำมสุข ท่ำนก็ดีใจแล้ว “ สังคมน่าอยู.่ .. เพราะคนเล็กๆ แต่มใี จยิ่งใหญ่ เยี่ยงนี้เอง

คุ ณวร ชาติ รั กใน การ สร้ าง สร ร งานฝี มื อ และสนใจการทาของจิ๋ ว จึงได้เริ่ มสร้างชิ้นงาน สะ ส ม ม า เ ป็ น ล า ดั บ แ ต่ ก็ มี บ้ า ง ที่ ห า ซื้ อ ของจิ๋ ว ส าเร็ จ รู ปมาประกอบ แต่ ส่ ว นใหญ่ เป็ นของที่ ประดิ ษฐ์ข้ ึนเอง ไม่ว่าจะเป็ นอาหาร คาวหวาน ของ กิ นหลากชนิ ด ตลอดไ ป จนกระทัง่ โต๊ะจาลองการไหว้เจ้าที่เพรี ยบพร้อม ทั้ ง โ ง่ ว ก้ ว ย โ ง่ ว แ ซ ที่ ดู ค ล้ า ย ข อ ง จ ริ ง ๑๘


“เต็ง” วังเจ ้าแม่กวนอิม Cr ภาพจาก http://goo.gl/8FoC1D

สุขใจผู้ให้...อิ่มใจผู้รับ ถัด จากร้ า นปุ ย โอสถเพี ย งตรอกเล็ ก คั่น เป็ นการจัด โต๊ะ ไหว้พ ระจัน ทร์ ข อง ร้านข้าวต้ม ต้องขออภัยอย่างแรงผูเ้ ขียนไม่ทราบชื่อร้านที่เป็ นทางการ แต่มกั ได้ ยินเรี ยก “ร้านข้าวต้มบาทเดียว” การจัดโต๊ะไหว้ของร้านข้าวต้มนี้งดงามน่าสนใจ เช่ นกัน แม้ความอลังการอาจจะไม่เที ยบได้ แต่ก็นับว่าไม่น้อยหน้าเลยที เดี ยว ด้ ว ย scene & theme เรื่ องราวของเจ้ า แม่ ก วนอิ ม หรื อ พระธิ ด าเมี่ ย วซ่ า น ตามความเชื่ อ ของชาวจี นส่ ว นหนึ่ งว่า เจ้าแม่ กวนอิ ม เป็ นเทพประจ าเทศกาล ไหว้พระจันทร์ ดังจะเห็นบางแห่ งมีการไหว้เครื่ องกระดาษที่เรี ยกว่า “เต็ง” คือ วังเจ้าแม่กวนอิมด้วย การจัด โต๊ ะ ไหว้ข องร้ า นข้า วต้ม นี้ นอกจากที่ บ รรจงสร้ า งเขาที่ พ านัก ของ เจ้าแม่กวนอิมพร้อมแต่งเติมบรรยากาศด้วยแสงสี และหมอกควันแล้ว จุดที่ดึงดูด ความสนใจอย่างยิ่งในการจัดไหว้พระจันทร์ ของร้านนี้ คือ การให้ผูม้ าเยี่ยมชม ทุ ก คนได้ร่ ว มแบ่ ง ปั น ความสุ ข จากการช้อ นไข่ แ ลกของรางวัล เล็ก ๆ น้อ ยๆ ที่สร้างรอยยิม้ ให้ลูกเด็กเล็กแดง ไม่เว้นแม้แต่วยั แรกรุ่ น หรื อวัยรุ่ นแรก ที่ต่างก็ได้ ร่ ว มสนุ ก ไปกับ การแบ่ ง ปั น ความสุ ข ของท่ า นเจ้า ของบ้า น ในบรรยากาศที่ เป็ นกันเอง จนผูเ้ ขียนเองแม้มิได้ร่วมเสี่ ยงโชค ก็อดยิม้ อิ่มใจกับผูใ้ ห้และผูร้ ับทุกๆ ท่านมิได้ การบิ นเดี่ ยวกั บ ทริ ปเบาๆ เพื่ อ ตามหาประเพณี การไหว้ พ ระจั น ทร์ ที่ ยงั คงหลงเหลื ออยู่ไม่มากนัก ของเมื องนครปฐมครั้งนี้ นอกจากความอิ่ มใจ ที่ได้พบ ได้เห็ น และได้สัมผัสบรรยากาศของความสุ ขแบ่งปั นแม้เพียงเล็กน้อย ในช่วงขณะหนึ่ ง แต่ดว้ ยความตั้งใจของผูไ้ หว้และความสนใจของผูช้ ม ที่ ต่าง ก็เป็ นแรงหนุนส่งให้กนั และกัน ในบรรยากาศของประเพณี ปรับปรน อย่างน้อย ก็พอทาให้รู้สึกอุ่นใจอยู่บา้ งว่า จะเป็ นนิ มิตรหมายที่ ดี ที่ ปีหน้าฟ้ าใหม่ เราต่าง จะได้มีโอกาสมาพบกันในคืนวันไหว้พระจันทร์อีก

๑๙


๒๐


รอวัน...คืนกลับ จัง หวัด นครปฐม มี ผู ้ค นหลากชาติ พ ัน ธุ์ ผ สมผสานอยู่ร่ ว มกัน มากถึง ๗ เชื้ อชาติ คือ ไทย ลาว โซ่ ง กะเหรี่ ยง มอญ ยวน และจี น โดยในส่ วนของลาวและจี นนั้น ยังแยกย่อยออกไปตามภาษาพูด เฉพาะกลุ่มอีก คือ ลาวเวียง ลาวครั่ง ลาวใต้ และจีนแต้จิ๋ว จีนแคะ จี นกลาง ซึ่ งในวิ ถี ข องแต่ ล ะชนชาติ น้ ั นต่ า งมี เ อกลั ก ษณ์ แห่งวัฒนธรรมประเพณี เป็ นการเฉพาะ การสื บต่อวัฒนธรรมประเพณี จากรุ่ นสู่รุ่น ในสภาวะปั จจัยแวดล้อม ที่ ส่ ง ผลกระทบทั้ง โดยตรงและโดยอ้อ ม ที่ มี ท้ ัง ส่ ว นสร้ า งสรร และบั่น ทอน ท าให้ว ฒ ั นธรรมประเพณี อ ัน ดี ง ามหลายสิ่ ง ยัง คง ดารงอย่างมัน่ คง ขณะที่บางสิ่ งบางอย่างบ้างสู ญสลาย บ้างจืดจาง ไปอย่างยากจะหวนคืนดังเดิม ผู ้ เ ขี ยนในฐานะลู ก ยอดแหลมคนหนึ่ ง ได้ แ ต่ ห วั ง ให้ ผู ้ ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ไม่วา่ จะเป็ นหน่วยงานด้านวัฒนธรรม ด้านการศึกษา หรื อหน่วยงานอื่นๆ อันมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ อย่า งยิ่ง ชาวชุ ม ชนโดยรากเหง้า ซึ่ ง เป็ นเจ้า ของ ประเพณี น้ ัน ๆ ให้ หั น กลั บ มอง และร่ วมกั น ลงมื อ ชุ บ ชี วิ ต คื น ลมหายใจ แก่วฒั นธรรมแห่งตนให้ดารงสื บไป

๒๑


เรือ ่ งและภาพประกอบ: นฤมล บุญญานิตย์ บรรณารักษ์ ชานาญการ ศูนยข ้อมูลภาคตะวันตก มหาวิทยาลัยศิลปากร http://www.snc.lib.su.ac.th/west www.facebook.com/thaiwesterncenter.su

ข้อมูลอ้างอิง โครงการภาษาไทย และศูนย์ส่งเสริ มและบริ การทางวิชาการแก่สังคม มหาวิทยาลัยศิลปากร. (๒๕๒๗). พระราชกรณี ยกิจเกี่ยวกับภูมิภาคตะวันตกใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว. นครปฐม: ม.ป.พ. จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (๒๕๓๘). ตึ่งหนั่งเกีย้ . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์กรุ งเทพ. จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (๒๕๕๔). คู่มือไหว้ เจ้ ายุคใหม่ ไหว้ อย่ างไรให้ โชคดี. กรุ งเทพฯ: จิตรา. เทศกาลไหว้ พระจันทร์ . (๒๕๕-). เรี ยกใช้เมื่อ ตุลาคม ๒๕๕๘ จาก ชมรมคนรักภาษาจีน: http://www.lovechineseclub.com/zhongqiuj นายรอบรู้. (๒๖ กันยายน ๒๕๕๘). เครื่ องสาอางบนโต๊ ะไหว้ พระจันทร์ . เรี ยกใช้เมื่อ ตุลาคม ๒๕๕๘ จาก nairobroo.com: http://www.nairobroo.com/ nairobroo-take-flight/tips-travelers/1639-เครื่ องสาอาง-บนโต๊ะไหว้พระจันทร์.html ประยงค์ อนันทวงศ์. (๒๕๒๕). แลหลังจีน. กรุ งเทพฯ: รวมสาส์น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยศาสนศึกษา . (๒๕๕-). นานาสาระเกี่ยวกับศาสนา "พิธีกรรมของชาวจีนและชาวไทยเชื ้อสายจีน ในประเทศไทย". เรี ยกใช้เมื่อ ตุลาคม ๒๕๕๘ จาก มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยศาสนศึกษา : http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/ceremony_thaichainese.htm ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๕). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. ร้านปุยโอสถ. (๑๐ กันยายน ๒๕๕๘). การไหว้พระจันทร์ของชุมชนหน้าวัดเสนหา นครปฐม. (นฤมล บุญญานิตย์, ผูส้ ัมภาษณ์) วรชาติ ชมชื่นใจ. (๒๗ กันยายน ๒๕๕๘). ไหว้พระจันทร์ที่นครปฐม. (สมศักดิ์ นครปฐม เคเบิล้ ทีว,ี ผูส้ ัมภาษณ์) วันทิพย์ สิ นสู งสุ ด. (๒๕๔๙). จีน เทศกาลและวันสาคัญ. กรุ งเทพฯ: สายใจ. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อhttp://eit.or.th/5.pdf. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘). โครงการสัมมนาเรื่ องสะพานข้ ามแม่ นา้ เจ้ าพระยา ที่ อ.พระสมุทรเจดีย์ ควรเป็ นสะพานขึง หรื อ สะพานแขวนดี . เรี ยกใช้เมื่อ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จาก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระ บรมราชูปถัมภ์: http://eit.or.th/5.pdf วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (5 พฤศจิกายน ๒๕๕๘). โครงการสัมมนา เรื่ อง สะพานข้ ามแม่ นา้ เจ้ าพระยาที่ อ.พระสมุทรเจดีย์ ควร เป็ นสะพานขึงหรื อสะพานแขวนดี. เข้าถึงได้จาก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์: http://eit.or.th/5.pdf ศาลเจ้าแม่กวนอิมองค์ใหญ่. (๒๕๕-). ประวัติและตานานเจ้ าแม่ กวนอิม. เรี ยกใช้เมื่อ ตุลาคม ๒๕๕๘ จาก ศาลเจ้าแม่กวนอิมองค์ใหญ่: http://www.guanimongyai.com/index.php?mo=10&art=146029 สมทรง บุรุษพัฒน์ และคนอื่นๆ. (๒๕๕-). แผนที่กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. เรี ยกใช้เมื่อ ตุลาคม ๒๕๕๘ จาก มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย: http://www.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/20272/17614 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ฝ่ ายศาสนสถานและควบคุมทะเบียนวัด. (๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗). บัญชี รายชื่ อวัดทั่วประเทศ ของสานักงาน พระพุทธศาสนาแห่ งชาติ. เข้าถึงได้จาก สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ: http://www.onab.go.th/Wad/NakhonPathom.pdf ๒๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.