มูล นิธิ เล็ กปร ะไพ วิริ ยะ
พัน
ธุ์
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ของสังคมที่หายไป ศรีศักร วัลลิโภดม เขียน วลัยลักษณ์ ทรงศิริ เรียบเรียง
ธุ์
ความต่างของประวัติศาสตร์ชาติและ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
พัน
! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคือประวัติศาสตร์สังคมที่
ยะ
แสดงให้เห็นความเป็นมาของผู้คนในท้องถิ่นเดียวกัน ที่อาจมีความแตกต่างทางชาติพันธุ์ก็ได้ Lแต่เมื่อเข้ามา
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
! ประวัติศาสตร์เป็นของคู่กันกับความเป็นมนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์โลกที่เป็นสัตว์สังคม ต้องอยู่ รวมกันเป็นกลุ่ม [Social group] เพื่อความอยู่รอด ! ประวั ต ิ ศ าสตร์ เ ป็ น เรื ่ อ งของมิ ต ิ ท างเวลาที ่ เปลี่ยนแปลงไป ประวัติศาสตร์ที่เขียนจากคนนอก โดยเข้ า ไม่ ถ ึ ง คนในนั ้ น แลเห็ น ได้ เ พี ย งการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นมหภาคในเวลาที่ผ่านไปแล้วในยุค สมัยใดสมัยหนึ่ง [Change through time] ต่างจาก การเปลี่ยนแปลงในการรับรู้ของคนภายในที่เป็นการ เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอย่างต่อเนื่อง [Change over time] ลั ก ษณะเป็ น จุ ล ภาคอย่ า งเป็ น ประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต ! โดยธรรมชาติแล้วพื้นที่วัฒนธรรมที่เคยเป็นมา แต่อดีตกาลซึ่งเรียกว่า ท้องถิ่น ซึ่งหมายถึงหลาย ชุ ม ชนหลายหมู ่ บ ้ า นถู ก ทำลายไปโดยพื ้ น ที ่ ก าร ปกครองของรัฐแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ลงมา โดยถูก แบ่งย่อยออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามลำดับ ทำให้การมองผู้คนกับพื้นที่ เป็นการมอง และกำหนดจากภายนอกที่ไม่สามารถจะเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้เกิดภาวะความพอเพียง และยั่งยืน ! จนไม่เห็นคนกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่เกิด การเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่เน้น ความ สัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคน กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดสำนึกร่วมของการ อยู่เป็นกลุ่มเหล่าภายในพื้นที่วัฒนธรรมเดียวกัน
ริมแม่น้ําโขง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เดียวกันตั้งแต่ ๒-๓ ชั่วคน สืบไปก็จะเกิดสำนึกร่วมขึ้นเป็นคนในท้องถิ่นเดียวกัน มีจารีต ขนบ ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ และ กติกาในทางเศรษฐกิจและสังคมร่วมกัน ! โดยมีพื้นฐานทางความเชื่อและศีลธรรมเป็นสิ่ง กำกับ ! ประวัติศาสตร์แห่งชาติคือประวัติศาสตร์สังคม ที ่ แ สดงให้ เ ห็ น ความเป็ น มาของผู ้ ค นในประเทศ เดียวกัน
[1]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
ย่อยออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้านตาม ลำดับ ! ทำให้การมอง ผู้คนกับพื้นที่ เป็นการมองและ กำหนดจากภายนอกที่ไม่สามารถจะเข้าใจ เข้าถึง และ พัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้เกิดภาวะความพอเพียงและ ยั่งยืน ทำให้ไม่เห็นคนกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่ เกิดการเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่เน้น ความ สัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคน กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดสำนึกร่วมของการ อยู่เป็นกลุ่มเหล่าภายในพื้นที่วัฒนธรรมเดียวกัน ! ท้ อ งถิ ่ น ในที ่ น ี ้ ห มายถึ ง พื ้ น ที ่ ใ นลั ก ษณะ ภูมิประเทศหนึ่งที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการ ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ อาจจะเป็นพื้นที่ี ในเขตหุบเขา พื้นที่ในบริเวณลุ่มน้ำ พื้นที่ตามชายฝั่งทะเลก็ได้ ! พื้นที่ดังกล่าวนี้มีความกว้างขวางพอที่จะทำให้ ผู ้ ค นเข้ า มาตั ้ ง ถิ ่ น ฐานเป็ น ชุ ม ชน [Community] ได้หลายชุมชน มีพื้นที่สาธารณะ [Public space] ที่ไม่เป็นของชุมชนใดชุมชนหนึ่ง เช่น บริเวณที่เป็นป่า เขา บริเวณที่เป็นหนองบึงและแม่น้ำลำคลอง เป็นที่ ลุ่มหรือทุ่งหญ้า ! พื้นที่สาธารณะเหล่านี้แม้ว่าจะไม่เป็นของชุมชน ใดชุมชนหนึ่งก็ตาม แต่ก็เป็นสิ่งที่ชุมชนทุกชุมชนใน ท้องถิ่นเดียวกันร่วมกันดูแลและใช้ประโยชน์ร่วมกัน จนมีผลทำให้กฎเกณฑ์ ประเพณีหรือจารีตที่ป้องกัน ไม่ให้มีการเอาเปรียบซึ่งกันและกัน รวมทั้งป้องกัน การรุกล้ำจากบุคคลต่างกันจากภายนอกด้วย ! การปรับตัวของคนในแต่ละชุมชนเข้ากับสภาพ แวดล้อมของท้องถิ่นตลอดจนการใช้พื้นที่สาธารณะ ร่วมกันนั้น ทำให้เกิดรูปแบบในการดำรงชีวิตและวิถี ชีวิตที่เหมือนกัน รู ป แบบดั ง กล่ า วนี ้ ค ื อ สิ ่ ง ที ่ เ รี ย ก ว่ า วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ ่ น ! และสิ่งที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เด่นชัด ก็คือบรรดาขนบประเพณี พิธีกรรม และจารีตที่ คนในทุกชุมชนของท้องถิ่นมีเหมือนกัน รวมทั้ง นิ ท านนิ ย ายท้ อ งถิ ่ น ในภาษาท้ อ งถิ ่ น ที ่ ส ื ่ อ กั น ได้ ระหว่างกัน เช่น นิทานเรื่องพระรถเมรีในท้องถิ่น
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
! หล่ อ หลอมและผลั ก ดั น ให้ ค นในดิ น แดนสยาม สมมุติชื่อเรียกตนเองอย่างหลวมๆ ว่า “คนไทย” เริ่ม มีหลักฐานตั้งแต่สมัยอยุธยา ฉะนั้น คนไทย จึงเป็น ชื่อรวมๆ ของคนในระดับ ชาติภูมิ ! ประวัติศาสตร์ชาติภูมิ จึงกลายเป็น ประวัติศาสตร์ รัฐชาติ หรือ ประวั ต ิ ศ าสตร์ แ ห่ ง ชาติ ที ่ ส ร้ า งขึ ้ น ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ ลงมา ! ต่อมาได้เจือปนกับประวัติศาสตร์อาณานิคมของ มหาอำนาจตะวันตก จนทำให้เกิดประวัติศาสตร์เชื้อ ชาตินิยม [race] ตั้งแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นต้นมา ! การมองคนไทยในลั ก ษณะของความเป็ น เลิศทางกรรมพันธุ์ได้ทำลายความเป็นคนไทยที่เป็น ชื่อสมมุติท่ามกลางความหลากหลายของชาติพันธุ์ ต่างๆ ในประเทศไทยให้หมดไป ! เป็นช่องทางให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ใช้อ้างอิงเพื่อ ความชอบธรรมในการปกครองแล้วใช้ทำลายความ สั ม พั น ธ์ ข องคนทั ้ ง คนภายในประเทศไทยและคน ภายนอกคือประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว เขมร เวียดนาม และมลายูสืบมาจนทุกวันนี้
ความหมายของ “ท้องถิ่น” ในฐานะพื้นที่ ทางวัฒนธรรม
! การศึ ก ษา ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น [Local history] คือการศึกษาในลักษณะ ประวัติศาสตร์มี ชีวิต [Living history] ที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ ทางสังคมและวัฒนธรรมของผู้คนในพื้นที่วัฒนธรรม อัน แตกต่างกันไป L เพราะเป็ น การมองจากการเปลี ่ ย นแปลงทาง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของคนภายในเป็น สำคัญ L โดยธรรมชาติแล้วพื้นที่วัฒนธรรมที่เคยเป็นมา แต่อดีตกาลที่เรียกว่า ท้องถิ่น ซึ่งหมายถึงหลาย ชุมชน หลายหมู่บ้าน ถูกทำลายไปโดยพื้นที่การ ปกครองของรัฐแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ลงมา ซึ่งแบ่ง
[2]
ยะ
พัน
ธุ์
ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นประโยชน์ในการดำรงชีพ ของมนุษย์ทั้งสิ้น ! เพราะฉะนั ้ น เมื ่ อ ไปป้ อ งกั น แต่ เ พี ย งป่ า เขาแต่ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ก็ เ ลยเปิ ด โอกาสให้ บ ุ ค คลจาก ภายนอกอาศัยอำนาจรัฐจากส่วนกลางเข้ามาบุกรุก ยึดครองและแย่งทรัพยากรธรรมชาติในระบบยังชีพ ของคนในท้องถิ่นไปได้ กรณีเช่นนี้พบในท้องถิ่นแทบ ทุกภูมิภาคของประเทศไทยในขณะนี้ ! ถ้าจะมองคำว่า “ท้องถิ่น” ให้ลึกซึ้งไปกว่านี้ ก็ใคร่เสนอว่า ! ท้ อ งถิ ่ น นั ้ น หมายถึ ง สภาพแวดล้ อ มธรรมชาติ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Ecological Niche หรือ Microenvironment ณ ที ่ ใ ดที ่ ห นึ ่ ง ที ่ ม ี ม นุ ษ ย์ พืช สัตว์ ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน ทำให้มนุษย์ต้องปรับ ตัวเองกับสภาพแวดล้อมเพื่อมีชีวิตอยู่ร่วมกัน L คนในหรือคนภายในดังกล่าวนี้จะมีการรับรู้ใน เรื่องพื้นที่วัฒนธรรมที่ตนใช้ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน เป็น ๓ ระดับ คือ ! ระดั บ ที ่ ม ี ข อบเขตกว้ า งขวางที ่ เ รี ย กในที ่ น ี ้ ว ่ า ภูมิวัฒนธรรม [Cultural landscape] L ระดั บ กลางอั น เป็ น ท้ อ งถิ ่ น ที ่ ผ ู ้ ค นหลายกลุ ่ ม หรื อ หลายชาติ พ ั น ธุ ์ เ ข้ า มาตั ้ ง ถิ ่ น ฐานเป็ น บ้ า น เป็ น เมื อ งเกิ ด ขึ ้ น นั บ เนื ่ อ งเป็ น นิ เ วศวั ฒ นธรรม [Cultural ecology] ! และระดั บ เล็ ก คื อ ระดั บ ชุ ม ชนบ้ า นเดี ย วกั น ที ่ ทำให้ แ ลเห็ น คนและวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ในการอยู ่ ร ่ ว มกั น ให้ ชุมชนที่เรียกว่า ชีวิตวัฒนธรรม [Cultural life] L ดัง นั ้น การที ่ จ ะเข้ า ใจวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของมนุ ษย์ หรื อที ่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัฒนธรรม [Culture] นั้น ต้อง ดูจากกระบวนการปรับตัวเองของมนุษย์เข้ากับสภาพ ต้องดูจากกระบวนการปรับตัวเองของมนุษย์เข้ากับ สภาพแวดล้อมดังกล่าว
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ที่ถูกนำมากำหนด สถานที่ต่างๆ ของท้องถิ่นให้เป็นเอกภาพ เช่น เมือง พระรถ ถ้ำนางสิบสอง เป็นต้น ! ในบริเวณพื้นที่สาธารณะมักจะมีการสร้างศาลผี ศาลเจ้าหรือวัดให้ผู้คนในท้องถิ่นได้กราบไหว้และ ประกอบพิธีกรรมร่วมกันและดูแลร่วมกัน ! ผู้คนในชุมชนต่างๆ มักมีประสบการณ์ร่วมกัน ในทางประวัติศาสตร์ที่ทำให้เกิดสำนึกในความเป็น คนในท้องถิ่นเดียวกันขึ้น ! ท้ อ งถิ ่ น แต่ ล ะท้ อ งถิ ่ น จะมี ข นาดและความ ซับซ้อนทางสังคมและวัฒนธรรมไม่เท่ากัน อันเนื่อง มาจากพัฒนาการของชุมชนในท้องถิ่น บางท้องถิ่น อาจประกอบด้วยชุมชนบ้าน [Villages] เพียงไม่กี่ ชุมชน ซึ่งก็มักเป็นท้องถิ่นที่ห่างไกลความเจริญของ สังคมเมือง แต่บางท้องถิ่นก็มีขนาดใหญ่ มีทั้งชุมชน บ้าน [Villages] และชุมชนเมือง [Town] อยู่ด้วยกัน ! เพราะฉะนั ้ น ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น [Local history] จึงมีได้ทั้งในระดับชุมชนบ้านและชุมชน เมือง L มีสิ่งหนึ่งเกี่ยวกับท้องถิ่น [Locality] และชุมชน [Community] ซึ ่ ง อยู ่ ใ นกระบวนการศึ ก ษาและ พัฒนาชุมชนในสังคมไทยขณะนี้ มีนักวิชาการบาง กลุ่มกำหนดพื้นที่สาธารณะที่เป็นป่าเขาว่าเป็นป่า ชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และป้องกันการตัดไม้ทำลายป่า เลยเป็นเหตุให้มีความขัดแย้งเกิดขึ้น ! ประการแรกเป็นการดึงพื้นที่ป่าเขาที่เป็นพื้นที่ สาธารณะอย่างหนึ่งให้กลายเป็นของชุมชนใดชุมชน หนึ่งไป มีผลทำให้เกิดการเป็นเจ้าเข้า-เจ้าของระหว่าง ชุมชนในท้องถิ่นเดียวกัน และประการที่สอง เป็นการ ละเลยพื้นที่สาธารณะอื่นๆ เช่น แม่น้ำลำคลอง หนองบึง และท้องถิ่นที่ลุ่ม ! พื ้ น ที ่ ส าธารณะเหล่ า นี ้ ล ้ ว นเป็ น ฐานเศรษฐกิ จ ในระบบยั ง ชี พ ของผู ้ ค นในท้ อ งถิ ่ น มาเป็ น เวลา หลายศตวรรษ เพราะเป็ น ที ่ ซ ึ ่ ง มี อ าหารและ
! ศักยภาพและกระบวนการปรับตัวเองกับสภาพ แวดล้อมทำให้เกิดรูปแบบทางวัฒนธรรมแตกต่างไป
[3]
จากท้องถิ่นอื่นที่มีสภาพแวดล้อมธรรมชาติแตกต่าง ! คำว่าชื่อบ้านนามเมืองก็เป็นการค้นเรื่องของชื่อ กันออกไป ของชุมชนเป็นสำคัญ แต่การศึกษาเกี่ยวกับชื่อสถานที่ ในที ่ น ี ้ ห มายถึ ง การศึ ก ษาบรรดาชื ่ อ สถานที ่ ต ่ า งๆ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคือการศึกษา ซึ่งคนในท้องที่รู้จักสืบทอดกันมาจนปัจจุบัน เป็น พื ้ น ที ่ ซ ึ ่ ง แต่ เ ดิ ม เป็ น นิ เ วศธรรมชาติ แ ต่ ไ ด้ ม าปรั บ ผู้คนกับพื้นที่ ! การเข้าถึงประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต้องเข้าถึงและแล เปลี่ยนเป็นนิเวศวัฒนธรรมจากการปรับตัวของผู้คน เห็นคนกับพื้นที่ ซึ่งมีลักษณะเป็นประวัติศาสตร์ ในชุมชน
พัน
ธุ์
! ดังนั้นนิเวศวัฒนธรรมจึงเป็นองค์รวมของการ ศึกษาชื่อสถานที่ เหตุที่ต้องมีการตั้งชื่อสถานที่ก็ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้คนในชุมชนท้องถิ่นต้องรู้จักร่วมกัน ซึ่งจะสื่อสารกันได้ การทำให้สถานที่ซึ่งมีความหมาย ในการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันมีชื่อนั้น ก็คือการสร้าง ความสัมพันธ์ของคนกับธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม ธรรมชาตินั่นเอง
ยะ
สังคม เพราะต้องเริ่มที่คนในพื้นที่ก่อนด้วยการศึกษา โครงสร้ า งทางสั ง คมโดยเก็ บ ข้ อ มู ล จากบุ ค คลใน ปัจจุบัน คนท้องถิ่นที่ให้ข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้น แล้ว ถามความสัมพันธ์ทางสังคมและเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนตั้งแต่ระดับครอบครัว เครือ ญาติ ชุมชนย้อนขึ้นไปยังคนรุ่นก่อนๆ จนถึงสมัย เวลาที่จำอะไรไม่ได้แล้ว
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
! ยิ่งกว่านั้นชื่อสถานที่ทุกแห่งเมื่อสร้างขึ้นโดยอาจ มีผู้หนึ่งผู้ใดตั้งชื่อก่อนก็ได้ แต่ต่อมาได้กลายเป็นสิ่ง รับรู้กันของทุกผู้คนที่อยู่ในชุมชนเคียงกัน คือ รู้ทั้ง ที่มาและความหมาย โดยเฉพาะชื่อของพื้นที่สาธารณะ เช่น หนองน้ำ ลำน้ำ ป่าเขาและท้องทุ่ง เป็นต้น ! การเก็ บ ข้ อ มู ล จากโครงสร้ า งสั ง คมดั ง กล่ า วนี ้ ! เพราะผู้คนเหล่านั้นต้องใช้ประโยชน์ร่วมกันใน ทำให้แลเห็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม-สังคม การดำรงชีวิต เช่นในเขตท้องถิ่นเมืองศรีเทพมีเขา โดดลูกหนึ่งมีชื่อว่า “เขาถมอรัตน์” ภูเขานี้ทุกคนรู้จัก นั บ เป็ น การศึ ก ษาชี ว ิ ต วั ฒ นธรรมที ่ ม ี พ ลวั ต คื อ เพราะเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ท างภู ม ิ ท ั ศ น์ เ ป็ น แหล่ ง เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่งแบบการศึกษาในเรื่องศิลป ทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าเป็นพืชพันธุ์และสัตว์ป่า วัฒนธรรม รวมทั้งเป็นภูเขาที่มีศาสนสถานที่เก่าแก่มาแต่โบราณ ! การรวบรวมข้อมูลที่เข้าถึงโครงสร้างสังคมดัง ซึ่งผู้คนถือว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ กล่ า วคื อ การเข้ า ถึ ง คน แต่ เ ป็ น กลุ ่ ม คนที ่ ไ ม่ เ ป็ น ! สถานที่แบบนี้ได้นำคนเข้าไปมีความสัมพันธ์กับ ปัจเจก หากเป็นคนที่เป็นกลุ่มหรือสังคมนั่นเอง เมื่อ อำนาจเหนือธรรมชาติที่ควบคุมความประพฤติของ เข้าถึงคนแล้วจึงเข้าถึงพื้นที่ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยและ ผู ้ ค นในการอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งมี ศ ี ล ธรรมและจารี ต ถิ่นกำเนิดของผู้คนในกลุ่มนั้น ประเพณี ! การศึกษาพื้นที่ต้องเริ่มจากบรรดาชื่อสถานที่ ! สถานที่เกือบทุกแห่งในนิเวศวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่ง ต่างๆ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและวัฒนธรรมอย่างที่มีผู้ให้ ที่มีชื่อและตำนาน [Myth] ที่ผู้คนรับรู้และถ่ายทอด ความสนใจและค้นคว้ากันในเรื่องของชื่อบ้านนาม กัน การศึกษาเรื่องชื่อสถานที่เช่นนี้คือการศึกษา เมือง เป็นต้น ประวัติศาสตร์ของพื้นที่ ซึ่งคนในท้องถิ่นร่วมกัน ! ต่อจากนั้นก็ถามลงมาถึงคนรุ่นลูกหลานของผู้ ให้ข้อมูล เพื่อเป็นการทำให้แลเห็นอดีต ปัจจุบันและ อนาคตอย่ า งต่ อ เนื ่ อ งว่ า มี ค วามเป็ น มาและ เปลี่ยนแปลงมาอย่างไร และน่าจะเป็นไปอย่างใดใน อนาคต
[4]
พัน
ธุ์
ได้ ร ั บ พระราชทานพื ้ น ที ่ ธรรมชาติ ใ ห้ เ ป็ น ที ่ ต ั ้ ง หลั ก แหล่งที่อยู่อาศัยทำกินจนเกิด เป็นชุมชนขึ้น ต่างพากันตั้งชื่อ พื้นที่สาธารณะ เช่น หนองน้ำ หรื อ ป่ า เขาที ่ อ ยู ่ ใ นนิ เ วศ วั ฒ นธรรมว่ า หนองนางสิ บ สองหรือป่าพระรถ ตาม ตำนานพระรถเมรี ที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น ดี ใ น ภาพวาดแผนที่การใช้ หมู ่ ค นลาว ทรัพยากรในอ่าวปัตตานีและ ด้วยกัน ทะเลนอกที่แหลมตาชี ภาพวาดโดยดอเลาะ เจ๊ะแต
ยะ
! ชื ่ อ เช่ น นี ้ คนนอกไม่รู้ จังหวัดปัตตานี จักยกเว้น คนใน ต่ อ มา ทางรัฐและคนนอกที่ มุ่งหวังผลประโยชน์ในเรื่อง ทรัพยากรได้ติดสินบนหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบ ออกเอกสารสิ ท ธิ ์ ใ ห้ โ ดยอ้ า งว่ า เป็ น พื ้ น ที ่ เ ปล่ า ประโยชน์และเปลี่ยนชื่อเสียใหม่แล้วเข้าครอบครอง เป็นต้น
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ชาวบ้านดาโต๊ะ อำเภอยะหริ่ง
สร้างขึ้นโดยตรง เป็นที่รู้จักกันในนามว่า “ตำนาน ท้องถิ่น” ! คำว่าตำนานจะต่างกับนิทานเพราะตำนานเป็นสิ่ง ที่คนในท้องถิ่นสร้าง รับรู้ และเชื่อว่าเป็นจริง ตำนาน คือหัวใจของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและเป็นสิ่งสร้าง สำนึกร่วมของผู้คน
! เมื ่ อ มี ข ้ อ พิ พ าทเกิ ด ขึ ้ น คนนอกก็ จ ะได้ อ าศั ย เอกสารสิทธิ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองมาเป็น หลั ก ฐานในการถื อ สิ ท ธิ ์ แต่ ถ ้ า หากมี ก ารศึ ก ษา ! สมั ย ก่ อ นเปลี ่ ย นแปลงการปกครองมาเป็ น ทำความเข้าใจกับชื่อสถานที่ในตำนานของท้องถิ่น ประชาธิปไตยแบบตะวันตก ตำนานมีความหมายมาก แล้ว คนท้องถิ่นก็อาจยืนยันอ้างสิทธิ์ที่มีอยู่ร่วมกันดัง แต่หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว รัฐและนัก ปรากฏในชื่อทางตำนานได้ วิชาการประวัติศาสตร์ได้ปล่อยให้มีการตั้งชื่อสถานที่ ! ถ้ามีการศึกษาในเรื่องชื่อสถานที่ในรูปแบบของ ขึ้นมาใหม่ เลยลบความหมายความสำคัญของตำนาน ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ั ง คมท้ อ งถิ ่ น ตามที ่ ก ล่ า วมาแล้ ว นี ้ ให้ ห มดไป และเป็ น ผลให้ ค นจากข้ า งนอกเข้ า ไป ก็อาจทำให้คนท้องถิ่นที่เคยถูกแย่งชิงทรัพยากรและ ก้าวก่ายสิทธิของพื้นที่และทรัพยากรท้องถิ่น ลิดรอนสิทธิของมนุษย์ที่มีอยู่ในจารีตท้องถิ่นนั้น ! ยกตัวอย่างเช่นคนลาวที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ถูก มีพลัง กวาดต้อนเข้ามาเป็นพลเมืองไทยแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ [5]
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น แนวคิดและวิธีการ
พัน
ตำนาน
หลวงพ่อทวดที่ชาวบ้าน
ยะ
! ข้ า พเจ้ า คิ ด ว่ า จุ ด อ่ อ นในการ ศึ ก ษาและทำความเข้ า ใจเรื ่ อ ง ประวัติศาสตร์นั้นอยู่ที่แนวคิด และวิธีการ จึงใคร่เสนอไว้ให้ คิดกันเล่นๆ ในที่นี้
ธุ์
ศรีศักร วัลลิโภดม
เชื่อถือและศรัทธาจนทำ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ประวั ต ิ ศ าสตร์ ใ นที ่ น ี ้ จ ึ ง ต้ อ ง อนุสรณ์สถานในสถานที่ ศึกษาทั้งสองอย่างคือ ต่างๆ ในท้องถิ่น ประวัติศาสตร์จากส่วนกลางและ ! ที ่ ว ่ า ให้ ค ิ ด เล่ น ๆ เพราะไม่ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ซึ่งมีแนวคิด ต้องการให้เคร่งเครียดเป็นวิชาการจน และวิธีการดังต่อไปนี้ เกินไป โดยปกติแล้วการเสนออะไรต่ออะไรใน รูปแบบทางวิชาการในประเทศไทยนั้นมีการยกทฤษฎี แนวคิด ต่างๆ หรือวิธีการต่างๆ ทางตะวันตกเข้ามาเป็นตัวนำ ในการอธิบายสร้างกรอบแนวคิดและวิธีการ การ ! แนวคิดของข้าพเจ้าคือเรื่อง “มาตุภูมิกับชาติเสนอแบบคิดเล่นๆ สบายๆ แบบที่กำลังเสนอนี้จึงไม่ ภูมิ” อันเป็นเรื่องของ “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับ ประวัติศาสตร์แห่งชาติ” โดยตรง รากเหง้ า ของ เอาแบบอย่าง ความแตกแยกและบ่อเกิดความไม่เข้าใจกันเองของ ! แต่ขอกล่าวว่าสิ่งที่ข้าพเจ้านำมาสร้างเป็นแนวคิด คนในชาติทุกวันนี้คือ การพัฒนาเศรษฐกิจการเมือง และวิธีการในที่นี้มีที่มาจากประสบการณ์ส่วนตัวที่ได้ ของรัฐบาลตั้งแต่สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เพราะ สะสมมา ข้าพเจ้าไม่มี Footnotes หรือ References เป็นการพัฒนาที่ขาดมิติของเวลาในอดีต อะไรต่างๆ นอกจาก My Feet เท่านั้น ! อดีตคือที่มาของประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นของคู่กัน ! ข้ า พเจ้ า คิ ด ว่ า ปั ญ หาในเรื ่ อ งการเรี ย นรู ้ กับความเป็นมนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นสัตว์โลกที่เป็น ประวั ต ิ ศ าสตร์ ใ นขณะนี ้ ค ื อ การขาดการศึ ก ษา สัตว์สังคมต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อความอยู่รอด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นซึ่งก็ยังไม่มีการทำความเข้าใจ แต่การพัฒนาประเทศที่เน้นแต่เศรษฐกิจทุนนิยมเสรี ว่าคืออะไร และการเน้นแต่ประวัติศาสตร์แบบเก่าๆ แบบตะวันตกอย่างกลวงๆ ได้ทำให้มนุษย์ใน ดินแดน จากส่ ว นกลางเป็ น สำคั ญ การทำความเข้ า ใจ ประเทศไทยมีสำนึกเป็นปัจเจกซึ่งเทียบได้กับการเป็น [6]
สัตว์เดรัจฉานประเภทหนึ่ง
ที่หลากหลายให้รวมเป็นพวกเดียวกัน เช่น มีภาษา กลางร่วมกัน มีระบบความเชื่อและประเพณีพิธีกรรม เดียวกัน มีสถาบันพระมหากษัตริย์และการปกครอง ร่วมกัน เป็นต้น
! มนุ ษ ย์ โ ดยธรรมชาติ ต ้ อ งอยู ่ ร วมกั น เป็ น กลุ ่ ม [Social Group] กลุ่มเล็กที่สุดคือครอบครัวและเครือ ญาติ (ครัวเรือน) ถัดมาเป็นชุมชนที่แลเห็นความ สัมพันธ์ทางสังคมที่เป็นรูปธรรม [Social Reality] ได้แก่ชุมชนบ้าน เหนือชุมชนบ้านขึ้นไปเป็นชุมชนทาง จินตนาการ [Imagined Community] ใช้พื้นที่หรือ แผ่นดินอันมีคนอยู่ร่วมกันบูรณาการให้เกิดสำนึก ร่วม
! การมองคนไทยในลักษณะของความเป็นเลิศทาง กรรมพันธุ์ได้ทำลายความเป็นคนไทยที่เป็นชื่อสมมุติ ท่ า มกลางความหลากหลายของชาติ พ ั น ธุ ์ ต ่ า งๆ ในประเทศไทยให้หมดไป จึงเป็นช่องทางให้เกิดกลุ่ม ผลประโยชน์ใช้อ้างอิงเพื่อความชอบธรรมในการ ปกครองแล้วใช้ทำลายความสัมพันธ์ของคนทั้งคน ภายในประเทศไทยและคนภายนอกคือประเทศเพื่อน บ้าน เช่น ลาว เขมร เวียดนาม และมลายูสืบมาจนทุก วันนี้
พัน
ยะ
! เพราะถ้ามองจากประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแล้ว คนที่ อยู ่ ใ นประเทศไทยปั จ จุ บ ั น แยกไม่ อ อกจากบรรดา ชาติพันธุ์ของผู้คนต่างๆ ในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว เขมร เวียดนาม พม่า และมาเลเซีย ฯลฯ
ปร ะไพ
วิริ
! การเกิดชุมชนสมมุติทั้ง ๒ ระดับนี้ใช้มิติของเวลา หรือประวัติศาสตร์เป็นสิ่งเชื่อมโยงให้เกิดสำนึกของ การเป็นพวกพ้องเดียวกัน เพราะฉะนั้นประวัติศาสตร์ จึงมี ๒ ระดับ คือ ระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
ธุ์
! ชุมชนทางจินตนาการหรือชุมชนสมมุติเกิดขึ้นใน พื้นที่สองระดับคือ พื้นที่อันเป็นแผ่นดินเกิดหรือ มาตุภูมิ กับพื้นที่อันเป็นประเทศชาติหรือชาติภูมิ
มูล นิธิ เล็ ก-
! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คือประวัติศาสตร์สังคมที่ แสดงให้เห็นความเป็นมาของผู้คนในท้องถิ่นเดียวกัน ที่อาจมีความแตกต่างทางชาติพันธุ์ก็ได้ แต่เมื่อเข้ามา ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เดียวกันตั้งแต่ ๒-๓ ชั่วคนสืบ ลงไปก็จะเกิดสำนึกร่วมขึ้นเป็นคนในท้องถิ่นเดียวกัน มีจารีตขนบประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อและกติกา ในทางเศรษฐกิจและสังคมร่วมกัน โดยมีพื้นฐานทาง ความเชื่อและศีลธรรมเดียวกัน เช่น ท้องถิ่น “ดงศรี มหาโพธิ” ในอำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรีมี ความเป็นมาทางชาติพันธุ์ต่างกัน คือมีทั้งมอญ เขมร ลาว จีน ฯลฯ แต่มีสำนึกความเป็นคนศรีมหาโพธิหรือ ศรีมโหสถร่วมกัน
! ประวัติศาสตร์แห่งชาติ คือประวัติศาสตร์สังคม ที ่ แ สดงให้ เ ห็ น ความเป็ น มาของผู ้ ค นในประเทศ เดียวกันเหนือระดับท้องถิ่นอันหลากหลายเป็นพื้นที่ หรื อ แผ่ น ดิ น ที ่ เ ป็ น ประเทศชาติ เ ช่ น ดิ น แดน ประเทศไทยเรียกว่า สยามประเทศ มีประวัติศาสตร์ การเมืองและเศรษฐกิจที่ยึดโยงผู้คนในระดับท้องถิ่น
วิธีการ ! ในที่นี้จะไม่พูดถึงประวัติศาสตร์แห่งชาติ เพราะมี การศึ ก ษากั น มามากแล้ ว ในเรื ่ อ งประวั ต ิ ศ าสตร์ วัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ แต่จะเน้นเพียง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแต่เพียงอย่างเดียว การเข้าถึง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต้องเข้าถึงและแลเห็นคนกับ พื้นที่ซึ่งมีลักษณะเป็นประวัติศาสตร์สังคม เพราะ ต้องเริ่มที่คนในพื้นที่ก่อนด้วยการศึกษาโครงสร้าง ทางสังคมโดยเก็บข้อมูลจากบุคคลในปัจจุบัน คน ท้องถิ่นที่ให้ข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้น แล้วถามความ สัมพันธ์ทางสังคมและเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตความเป็น อยู่ของผู้คนตั้งแต่ระดับครอบครัว เครือญาติ ชุมชน ย้อนขึ้นไปยังคนรุ่นก่อนๆ จนถึงสมัยเวลาที่จำอะไร ไม่ได้แล้ว ! ต่อจากนั้นก็ถามลงมาถึงคนรุ่นลูกหลานของผู้ ให้ข้อมูล เพื่อเป็นการทำให้แลเห็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคตอย่ า งต่ อ เนื ่ อ งว่ า มี ค วามเป็ น มาและ
[7]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
เพราะเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ท างภู ม ิ ท ั ศ น์ เป็ น แหล่ ง ทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าเป็นพืชพันธุ์และสัตว์ป่า รวมทั้งเป็นภูเขาที่มีศาสนสถานที่เก่าแก่มาแต่โบราณ ซึ่งผู้คนถือว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ ! สถานที่แบบนี้ได้นำคนเข้าไปมีความสัมพันธ์กับ อำนาจเหนือธรรมชาติที่ควบคุมความประพฤติของ ผู ้ ค นในการอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งมี ศ ี ล ธรรมและจารี ต ประเพณี ! สถานที่เกือบทุกแห่งในนิเวศวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่ง ที่มีชื่อและตำนาน [Myth] ที่ผู้คนรับรู้และถ่ายทอด กัน การศึกษาเรื่องชื่อสถานที่เช่นนี้ คือ การศึกษา ประวัติศาสตร์ของพื้นที่ซึ่งคนในท้องถิ่นร่วมกันสร้าง ขึ้นโดยตรง เป็นที่รู้จักกันในนามว่า “ตำนานท้องถิ่น” ! คำว่าตำนานจะต่างกับนิทาน เพราะตำนานเป็น สิ่งที่คนในท้องถิ่นสร้าง รับรู้และเชื่อว่าเป็นจริง ตำนานคือหัวใจของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและเป็นสิ่ง สร้างสำนึกร่วมของผู้คน ! สมั ย ก่ อ นเปลี ่ ย นแปลงการปกครองมาเป็ น ประชาธิปไตยแบบตะวันตก ตำนานมีความหมาย มาก แต่หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว รัฐ และนักวิชาการประวัติศาสตร์ได้ปล่อยให้มีการตั้งชื่อ สถานที่ขึ้นมาใหม่ เลยลบความหมายความสำคัญ ของตำนานให้หมดไป และเป็นผลให้คนจากข้างนอก เข้าไปก้าวก่ายสิทธิของพื้นที่และทรัพยากรท้องถิ่น ! เมื ่ อ มี ข ้ อ พิ พ าทเกิ ด ขึ ้ น คนนอกก็ จ ะได้ อ าศั ย เอกสารสิทธิ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองมาเป็น หลักฐานในการถือสิทธิ์ แต่ถ้าหากมีการได้ศึกษา ทำความเข้าใจกับชื่อสถานที่ในตำนานของท้องถิ่น แล้ว คนท้องถิ่นก็อาจยืนยันอ้างสิทธิที่มีอยู่รวมกันดัง ปรากฏในชื่อทางตำนานได้ ! รัฐธรรมนูญฉบับที่แล้วมาตราที่ ๔๖ นับเป็น มาตราสำคัญที่จะทำให้คนในท้องถิ่นต่อสู้ป้องกัน พื้นที่สาธารณะและทรัพยากรได้ไม่ยาก ! ข้าพเจ้าคิดว่าถ้ามีการศึกษาในเรื่องชื่อสถานที่ใน รูปแบบของประวัติศาสตร์สังคมท้องถิ่นตามที่กล่าว
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
เปลี่ยนแปลงมาอย่างไร และน่าจะเป็นไปอย่างใดใน อนาคต การเก็บข้อมูลจากโครงสร้างสังคมดังกล่าวนี้ ทำให้แลเห็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม-สังคม นั บ เป็ น การศึ ก ษาชี ว ิ ต วั ฒ นธรรมที ่ ม ี พ ลวั ต คื อ เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่งแบบการศึกษาในเรื่องศิลป วัฒนธรรม ! การรวบรวมข้อมูลที่เข้าถึงโครงสร้างสังคมดัง กล่าวคือการเข้าถึงคนแต่เป็นกลุ่มคนที่ไม่เป็นปัจเจก หากเป็นคนที่เป็นกลุ่มหรือสังคมนั่นเอง เมื่อเข้าถึง คน แล้วจึงเข้าถึงพื้นที่ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยและถิ่น กำเนิดของผู้คนในกลุ่มนั้น การศึกษาพื้นที่ต้องเริ่ม จากบรรดาชื่อ สถานที่ต่างๆ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและ วัฒนธรรมอย่างที่ก็มีผู้ให้ความสนใจและค้นคว้ากัน ในเรื่องของชื่อบ้านนามเมืองเป็นต้น ! คำว่าชื่อบ้านนามเมืองก็เป็นการค้นเรื่องของชื่อ ของชุมชนเป็นสำคัญ แต่การศึกษาเกี่ยวกับชื่อสถาน ที่ในที่นี้หมายถึงการศึกษาบรรดาชื่อสถานที่ต่างๆ ซึ่ง คนในท้องที่รู้จักสืบทอดกันมาจนปัจจุบัน เป็นพื้นที่ ซึ่งแต่เดิมเป็นนิเวศธรรมชาติแต่ได้มาปรับเปลี่ยนเป็น นิเวศวัฒนธรรมจากการปรับตัวของผู้คนในชุมชนนั้น เอง ! ดังนั้นนิเวศวัฒนธรรมจึงเป็นองค์รวมของการ ศึกษาชื่อสถานที่ เหตุที่ต้องมีการตั้งชื่อสถานที่ก็ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้คนในชุมชนท้องถิ่นต้องรู้จักร่วมกัน ซึ่งจะสื่อสารกันได้ การทำให้สถานที่ซึ่งมีความหมาย ในการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันมีชื่อนั้น ก็คือการสร้าง ความสัมพันธ์ของคนกับธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม ธรรมชาตินั่นเอง ! ยิ่งกว่านั้นชื่อสถานที่ทุกแห่งเมื่อสร้างขึ้นโดยอาจ มีผู้หนึ่งผู้ใดตั้งชื่อก่อนก็ได้ แต่ต่อมาได้กลายเป็นสิ่ง รับรู้กันของทุกผู้คนที่อยู่ในชุมชนเคียงกัน คือรู้ทั้ง ที่มาและความหมาย โดยเฉพาะชื่อของพื้นที่สาธารณะ เช่น หนองน้ำ ลำน้ำ ป่าเขาและท้องทุ่ง เป็นต้น เพราะ ผู้คนเหล่านั้นต้องใช้ประโยชน์ร่วมกันในการดำรง ชีวิต เช่น ในเขตท้องถิ่นเมืองศรีเทพมีเขาโดดๆ ลูกหนึ่งมีชื่อว่า “เขาถมอรัตน์” ภูเขานี้ทุกคนรู้จัก
[8]
มาแล้วนี้ ก็อาจทำให้คนท้องถิ่นที่เคยถูกแย่งชิง ทรัพยากรและลิดรอนสิทธิของมนุษย์ที่มีอยู่ในจารีต ท้องถิ่นนั้นมีพลังที่จะต่อต้านการแย่งชิงที่อยุติธรรม ได้ ! เลยอยากคิดต่อไปว่าพื้นที่ท้องถิ่นเกือบทั้งหมด ของกรุงเทพฯ ธนบุรี นนทบุรี และปทุมธานีนั้น เป็น พื ้ น ที ่ ซ ึ ่ ง ผู ้ ค นตั ้ ง ชุ ม ชนและบ้ า นเมื อ งกั น ริ ม ลำน้ ำ ลำคลอง ซึ ่ ง แต่ ล ะแห่ ง ต่ า งก็ ม ี ช ื ่ อ เรี ย กกั น มาแต่ โบราณ เช่น คลองบางพลัด คลองบางขวาง คลอง สามเสน อะไรต่างๆ นานา บัดนี้บรรดาคลองเก่าๆ เหล่านี้เป็นจำนวนมากถูกทางราชการและนายทุนถม ทำให้ตื้นและหมดไปเพื่อเอาพื้นที่และทรัพยากรไป เป็นของตน
! ถ้าหากได้นำชื่อต่างๆ เหล่านี้ที่มีระบุในนิราศของ สุนทรภู่ เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณบุรี มา รื้อฟื้นให้ดีแล้วก็คงจะจัดการกับการทุจริตฉ้อราษฎร์ บังหลวงของหน่วยราชการ จะคืนกรรมสิทธิ์และสิทธิ ต่างๆ ในด้านทรัพยากรและที่อยู่อาศัย ที่ทำกินให้กับ คนท้องถิ่นได้อย่างมหาศาลทีเดียว อ้างอิง
!
!
!
!
!
!
ในระบบการเมื อ งแบบประชาธิ ป ไตยเสรี น ิ ย ม สมั ย ใหม่ ท ี ่ ป ระกอบด้ ว ยกลุ ่ ม ผลประโยชน์ ห รื อ กลุ ่ ม อำนาจหลายกลุ ่ ม จะมี ก ารจั ด สรรและช่ ว งชิ ง อำนาจเหล่ า นั ้ น อยู ่ ต ลอดเวลา การกระจายอำนาจ ก็ ม ั ก จะเกิ ด ความไม่ เ ป็ น ธรรม อยู ่ เ สมอ จึ ง ต้ อ งปรั บ เปลี ่ ย นวิ ธ ี ก ารมองแต่ ประโยชน์ เ รื ่ อ ง “วั ฒ นธรรมเดี ่ ย ว” และ “รั ฐ เดี ่ ย ว” มาเป็ น “พหุ น ิ ย มทางวั ฒ นธรรม”
ปร ะไพ
เพื่อ !
วันเล็ก-ประไพรำลึก ครั้งที่ ๑๑
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ฉบับที่ ๖๙ (พฤศจิกายน -ธัันวาคม ๒๕๔๙)
มูล นิธิ เล็ ก-
มาตุภูมิ ศรีศักร วัลลิโภดม เขียน วลัยลักษณ์ ทรงศิริ เรียบเรียง เมืองไทย “สังคมพหุลักษณ์”
! ความหมายของ สังคมพหุลักษณ์ คือการให้ ความสำคั ญ แก่ ค วามหลากหลายของกลุ ่ ม คนทาง ชาติพันธุ์ สังคมและวัฒนธรรม เช่น คนมลายูมุสลิม ในจังหวัดชายแดนใต้ คนไทใหญ่ กะเหรี่ยงจาก แม่ฮ่องสอน คนมอญ คนไทลื้อ ไทยวนในภาคกลาง คนไท-ลาวในภาคอีสาน เป็นต้น รวมไปถึงความ หลากหลายทางสังคมของชนชั้น อาชีพ ความคิด อุดมคติ วิถีชีวิต การให้ความสำคัญแก่ความแตกต่าง
และบทบาทที่ถูกหลงลืมหรือละเลยในสังคมมาแต่ เดิม เช่น ในทางความคิดทางการเมือง การเรียก ร้องของกลุ่มสิทธิต่างๆ อย่างกลุ่มสตรี กลุ่มอนุรักษ์ สภาพแวดล้อม ความต่างทางอาหาร ความต่างทาง อาชีพ และเรื่องของพหุนิยมในระดับปัจเจกบุคคล เช่น การเปิดเผยตัวของกลุ่มเกย์ เลสเบี้ยน การอยู่ ก่อนแต่ง การยอมรับความเท่าเทียมของสตรี ความ เป็นตัวตนของวัยรุ่น ฯลฯ ! ในระบบการเมื อ งแบบประชาธิ ป ไตยเสรี น ิ ย ม
[9]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
มุ่งเน้นไปที่พระมหากษัตริย์ แผ่นดิน และราษฎร ทั้งนี้เพราะความชัดเจนของคำว่าชาติยังไม่ปรากฏเด่น ชัดนัก พอในสมัยรัชกาลที่ ๖ อุดมการณ์ความรัก ชาติได้ปรากฏอย่างชัดเจนขึ้น โดยใช้วรรณกรรมและ ศิลปวัฒนธรรมต่างๆ เป็นการเผยแพร่ ! แต่ชาตินิยมของไทยที่โดดเด่นคือ แนวคิด “รัฐ นิยม” ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายก รัฐมนตรี เป็นนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการปลุก ระดมความรักชาติและปรับปรุงวัฒนธรรมให้เหมือน อารยประเทศและสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ แ ก่ ประชาชนทั่วไปรวมทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ และสร้าง รากฐานการศึกษาในลักษณะแบบชาตินิยมอย่างฝัง รากลึกต่อมา ! แต่ในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เครื่องมือแพร่กระจายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ทำให้ เกิดการเชื่อมโยงทางสังคมละวัฒนธรรมที่คล้ายคลึง กัน เชื่อมโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกัน กลายมาเป็นแรง ผลักดันให้คนในสังคมหันกลับมาแสวงหา อัตลักษณ์ เพื่อใช้ยึดเหนี่ยวมากขึ้น ! ผลก็คือเกิดอัตลักษณ์แบบใหม่จากรากเหง้าเดิม เพราะความหมายของชาติพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองจะผสมผสานทั้งในรูปแบบเดิมและใน แบบสังคมหลังสมัยใหม่ที่สับสนและซับซ้อน เป็นการ ผสมผสานระหว่างศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ความ เชื่อ ในอดีตและปัจจุบัน ในสังคมที่ซับซ้อน และการ ย้ อ นกลั บ ไปหาอั ต ลั ก ษณ์ เ ดิ ม ของตนเองเพื ่ อ ประโยชน์ในทางการเมือง L จึงเกิดแนวคิดเรื่อง พหุลักษณ์ทางสังคมและ วัฒนธรรม อย่างแพร่หลาย ! ดั ง นั ้ น การพู ด ถึ ง แนวคิ ด ชาติ น ิ ย มจึ ง ถู ก นั ก วิชาการจำนวนหนึ่งมองว่าไม่สอดคล้องกับสภาพ สังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นเรื่องของคนหลงยุคที่ ทำให้เกิดความคลั่งชาติ ! ในที่สุดแนวคิดในเรื่องของชาตินิยมกลับถูกนำมา ใช้เพื่อสนับสนุนกลุ่มผลประโยชน์ที่ไม่ใช่รัฐมากขึ้น
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
สมัยใหม่ที่ประกอบด้วยกลุ่มผลประโยชน์หรือกลุ่ม อำนาจหลายกลุ่ม จะมีการจัดสรรและช่วงชิงอำนาจ เหล่านั้นอยู่ตลอดเวลา การกระจายอำนาจก็มักจะเกิด ความไม่เป็นธรรมอยู่เสมอ จึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการ มองแต่ประโยชน์เรื่อง “วัฒนธรรมเดี่ยว” และรัฐ เดี่ยวมาเป็น “พหุนิยมทางวัฒนธรรม” โดยจำเป็น ต้องมองว่า ! ไม่ ม ี ต ้ น แบบวั ฒ นธรรมเพี ย งอย่ า งเดี ย ว เช่น ไม่มีแต่วัฒนธรรมไทยที่เป็นวัฒนธรรมหลวง เป็นหลักเพียงอย่างเดียว แต่ต้องทำให้เกิดความหลาก หลายทางวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วย L ซึ่งแตกต่างจากแนวคิดรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง เพราะเชื่อว่าผู้คนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ หาก มีการเจรจาต่อรองกันอย่างสันติ ! จากปัญหาความขัดแย้งทางด้านเชื้อชาติและกลุ่ม ผลประโยชน์ต่างๆ ทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกัน การเหยียดหยาม การใช้ความรุนแรงโดยอำนาจรัฐ หรือในระบบยุติธรรม จึงควรคงสิทธิในการปกครอง ตนเองในระดับต่าง ๆ การเคารพสิทธิทางวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการเข้าร่วมและมีโอกาสได้รับความสำเร็จ ทางเศรษฐกิจ การเมือง ในสังคมไทยโดยทั่วไปเพื่อ นำไปสู่ การบูรณาการผสมผสาน [Integration] ! การบูรณาการผสมผสาน จะเป็นการแก้ปัญหา ความขั ด แย้ ง ระหว่ า งกลุ ่ ม คนชาติ พ ั น ธุ ์ ใ ห้ น ้ อ ยลง เพราะมุ่งนำสังคมไปสู่การตระหนักรู้ถึงการอยู่ร่วม กั น และความเป็ น หนึ ่ ง เดี ย วกั น ของสั ง คมทั ้ ง หมด อันหมายถึงรัฐชาติหรือประเทศนั่นเอง ! ในทางตรงกันข้าม ประเด็นที่ผูกพันกับแนวคิด พหุนิยมคือ ชาตินิยม ซึ่งถูกนำมาเป็นเครื่องมือ ทางการเมือง การปลูกฝังความเป็นชาตินิยมมาก ทำให้เกิดแนวคิดที่สุดโต่งกลายเป็น การคลั่งชาติ ซึ่ง คนไทยกำลังสับสนและหลงประเด็นว่าชาตินิยมเป็น สิ่งที่เป็นอันตรายโดยไม่ได้คำนึงถึงการสร้างความ เป็นเอกภาพในประเทศที่เกิดขึ้นจากความรักชาติ ! แนวความคิ ด เรื ่ อ งชาติ น ิ ย มเริ ่ ม นำมาใช้ ตั ้ ง แต่ รัชกาลที่ ๕ ด้วยแรงผลักดันจากการล่าอาณานิคม
[10]
ร่วม โดยใช้มิติของเวลาหรือประวัติศาสตร์เป็นสิ่ง
เชื ่ อ มโยงให้ เ กิ ด สำนึ ก ของการเป็ น พวกพ้ อ ง เดียวกัน
! บ้าน หมายถึงชุมชนทางเครือญาติและชาติพันธุ์
ยะ
พัน
ธุ์
เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนที่อยู่ รวมกันเป็นครอบครัวและชุมชน มีความสัมพันธ์กัน ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม จนทำให้เกิด สำนึกร่วมของความเป็นคนถิ่นเดียวกัน ในลักษณะที่ เป็น มาตุภูมิ ! ส่วนบ้านใดที่กลายเป็นศูนย์กลางของท้องถิ่น เพราะมีตลาด มีวัดใหญ่ มีมหาธาตุเจดีย์หรือศาสน สถานที่สำคัญตั้งอยู่และมีผู้คนซึ่งมีอำนาจหน้าที่ใน การปกครอง การบริหาร การจัดการทางประเพณี พิธีกรรมและความหลากหลายของคนต่างอาชีพ รวม ทั้งเป็นแหล่งศูนย์กลางคมนาคม ชุมชนนั้นมีขนาด ใหญ่ มีคนหลากหลายกลุ่มและอาชีพอยู่รวมกัน ชุมชนนั้นก็คือ เมือง L ชุมชนบ้านและเมืองดังกล่าวหาได้อยู่โดดเดี่ยว โดยไม่เกี่ยวข้องกัน แต่จะมีความสัมพันธ์กันในการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ทางวัฒนธรรม ถือเป็นคนท้องถิ่น เดียวกัน ที่ทำให้เกิดสำนึกร่วมของการเป็นคนถิ่นนี้ และบ้านนี้ ! ความสัมพันธ์ทางสังคมในชุมชนแบบบ้านนั้น เกิดการเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่เน้น ความ สัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคน กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดสำนึกร่วมของการ อยู่เป็นกลุ่มเหล่าภายในพื้นที่วัฒนธรรมเดียวกัน ! ชุมชนบ้านไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนครัวเรือน หาก อยู่ที่ ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบเห็นหน้าค่าตา ของคนภายในที่ไปทำบุญวัดเดียวกัน และคนใน เท่านั้นที่จะรู้ขอบเขตชุมชนของบ้านตนว่าไปถึงไหน รู้ และรับรู้ชื่อสถานที่ทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรมร่วม กัน ตัวอย่างเช่น ความเข้าใจในเทือกเขา ภูเขา ต้นน้ำ ลำคลอง ป่า หนองบึง ที่จะต้องมีความสัมพันธ์ใน การอยู่อาศัยและทำมาหากินร่วมกัน เป็นต้น
มูล นิธิ เล็ ก-
“บ้าน” และ “เมือง” ในแผ่นดินเกิด
ปร ะไพ
วิริ
ผู้คนในโลกแบบโลกาภิวัตน์อยู่ในภาวะไร้รัฐ ไร้เส้น แบ่งพรมแดนและไร้สังคมมากขึ้น ความเป็นกลุ่มผล ประโยชน์ต่างๆ ผสมกับแนวคิดเรื่องชาตินิยมแบบใน อดีต กลายเป็นเหตุผลในการรักษาผลประโยชน์ของ กลุ่มมีความหมายมากกว่าชาติหรือบ้านเกิดเมืองนอน หรือมาตุภูมิอันเป็นพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมและ การเมืองที่จะถูกลิิดรอน สั่นสะเทือนไปถึงอำนาจรัฐที่ จะกระทบกระเทือนเนื่องจากกลุ่มผลประโยชน์กลุ่ม ต่างๆ ที่มีมากขึ้น ! ภาวะที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ทุกวันนี้ จึงอยู่ ในช่วงที่กำลังสับสนว่าจะดำรงสภาพความเป็น สังคม พหุลักษณ์ ที่ให้โอกาสผู้คนในกลุ่มต่างๆ อย่างเท่า เทียม ไปพร้อมๆ กับรักษาความมั่นคงในความรู้สึก รักชาติ รักมาตุภูมิ ถิ่นฐานบ้านเกิด L โดยไม่ยอมให้กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองใช้ โอกาสที่คนในสังคมต่างคนต่างอยู่เข้ามาทำลายฐาน ทรัพยากรทางสภาพแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งมาตุภูมิอันเป็นรากฐานของชีวิตของคนใน สังคมได้อย่างไร
! เรื่องของบ้านเมืองเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออกใน ท้องถิ่นเดียวกัน ซึ่งก็มักปรากฏในคำพังเพยแต่ โบราณว่า บ้านเกิดเมืองนอน ซึ่งหมายถึง มาตุภูมิ นั่นเอง ! มนุษย์เป็นสัตว์โลกที่เป็นสัตว์สังคม ต้องอยู่รวม กันเป็นกลุ่มเพื่อความอยู่รอด แต่การพัฒนาประเทศ ที่เน้นแต่เศรษฐกิจทุนนิยมเสรีแบบตะวันตกอย่าง กลวงๆ ได้ทำให้มนุษย์ในดินแดนประเทศไทยมี สำนึกเป็นปัจเจก L มนุ ษ ย์ โ ดยธรรมชาติ ต ้ อ งอยู ่ ร วมกั น เป็ น กลุ ่ ม กลุ่มเล็กที่สุดคือครอบครัวและเครือญาติหรือครัว เรือน ถัดมาเป็นชุมชนที่แลเห็นความสัมพันธ์ทาง สังคมที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ ชุมชนบ้าน เหนือชุมชน บ้านขึ้นไปเป็นชุมชนทางจินตนาการซึ่งใช้พื้นที่หรือ แผ่นดินอันมีคนอยู่ร่วมกันบูรณาการให้เกิดสำนึก
[11]
มูล นิธิ เล็ ก-
ธุ์
พัน
ปร ะไพ
! พื ้ น ที ่ ส าธารณะในท้ อ งถิ ่ น ต่ า งๆ มี ท ั ้ ง พื ้ น ที ่ วัฒนธรรม เช่น วัด ตลาด โรงเรียน สุสาน สถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ และพื้นที่ธรรมชาติ เช่น หนอง บึง ลำน้ำ แม่น้ำ ท้องทุ่ง ป่าและเขา มักมีการกำหนดชื่อร่วมกัน สร้างตำนานอธิบายความเป็นมา รวมทั้งเป็นพื้นที่ซึ่ง มี ส ิ ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ ด ู แ ลและมี ก ารเปลี ่ ย นแปลง เคลื่อนไหวผ่านยุคสมัยอย่างไม่หยุดนิ่ง ! ท่ า มกลางความเปลี ่ ย นแปลงนี ้ แต่ ค ติ แ ละ โครงสร้างดั้งเดิมยังดำรงอยู่ นั่นคือความคิดและ ความเชื่อที่ว่า ! แผ่นดิน ป่าเขา แม่น้ำ หนองบึง และลำห้วยใน ภูมิประเทศที่เป็นภูมิวัฒนธรรมของคนภายในเป็น สมบัติของอำนาจเหนือธรรมชาติในจักรวาล ! “ผู ้ ค นคื อ ผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย หาได้ เ ป็ น เจ้ า ของอย่ า ง แท้จริงไม่” L เช่นในความเชื่อของคนมุสลิมในหุบสายบุรีเขต จังหวัดนราธิวาส เมื่อกล่าวถึง “พรุลานควาย” ใกล้ ลำน้ำสายบุรีว่า ! พื ้ น ที ่ ท ุ ก อย่ า งของพรุ เ ป็ น ของพระอั ล เลาะห์ ท ี ่ เปรียบได้กับร่างกายของคน มีหัว มีตัว มีกระเพาะ มี ลำไส้และแขนขา การแบ่งแยกส่วนหนึ่งส่วนใดเอาไป เป็ น สมบั ต ิ ส ่ ว นตั ว หรื อ เพื ่ อ กิ จ การอื ่ น ๆ ที ่ ผ ิ ด ธรรมชาตินั้น คือการละเมิด L นั ่ น ก็ ค ื อ การเห็ น ว่ า พื ้ น ที ่ ส าธารณะเช่ น พรุ น ั ้ น เป็น ของส่วนรวมของพระผู้เป็นเจ้า ในขณะที่สังคม ไทย ซึ่งนับถือพุทธศาสนานั้นถือว่าที่ดิน ป่าเขา หนองบึง แม่น้ำลำห้วย เป็นของหลวงหรือของพระ มหากษัตริย์ จึงเรียกว่า พระเจ้าแผ่นดิน และพระมหา กษัตริย์พระราชทานให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ในการ อยู่อาศัยและทำมาหากินเป็นหมู่คณะ เป็นตระกูล
ยะ
“พื้นที่สาธารณะ” สมบัติส่วนรวมจากแผ่นดิน
โคตรเหง้่าและครอบครัว โดยจะไม่ให้กรรมสิทธิ์ ถาวรแก่ผู้ใดเลย เมื่อไม่ใช้ประโยชน์แล้วก็ต้องกลับ คืนเป็นของหลวงหมด ! แต่การให้กรรมสิทธิ์ถาวรนั้นเพิ่งเกิดครั้งรัชกาลที่ ๕ เมื่อพยายามสร้างประเทศให้ทันสมัยแบบยุโรป และเอาความคิดในเรื่องการจัดการปกครองและการ บริหารมาปฏิรูปการปกครองบ้านเมือง จึงเริ่มมีการ ออกโฉนดให้กับพื้นที่ซึ่งเป็นสิ่งของสาธารณะในแต่ละ ชุมชนแต่ละท้อง มาแต่เดิม จนกลายเป็นเอกสิทธิ์ ของปัจเจกบุคคลที่มีกำลังทรัพย์แบบ มือใครยาวสาว ใดสาวเอา จนแผ่นดินส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในมือ ของผู้ครอบครองเพียงไม่มากนัก ! ในท้องถิ่นต่างq องค์ประกอบที่สำคัญก็เช่น ภูเขา ที ่ ม ี ค วามโดดเด่ น กว่ า ลั ก ษณะภู ม ิ ป ระเทศอื ่ น ใด เพราะมักจะสัมพันธ์กับอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่สูงสุดของ ท้องถิ่นและจักรวาลที่มาจากเบื้องบน ในขณะที่ น้ำและพื้นดินเป็นเรื่องอำนาจข้างล่าง ! ดังนั้นภูเขาที่โดดเด่นมีรูปลักษณะพิเศษมักจะ ถูกกำหนดให้เป็นที่สถิตของอำนาจเหนือธรรมชาติ ! แม่น้ำ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งขึ้นจากการเอาชื่อ ของท้องถิ่นในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบลุ่มตอนปาก แม่น้ำก่อนออกทะเลในเขตจังหวัดสมุทรปราการมา ตั้ง เพราะชื่อเจ้าพระยานั้นดูสัมพันธ์กับความยิ่งใหญ่ ของกษัตริย์และเจ้านาย แต่ในการรับรู้ของชาวบ้านใน ท้องถิ่นรู้จักลำน้ำและแม่น้ำเฉพาะที่ผ่านท้องถิ่นของ ตนและบริเวณใกล้เคียงเป็นตอนๆ ไป เมื่อไหลผ่าน เมืองนนทบุรีก็มีชื่อเรียกว่า แม่น้ำนนทบุรี ซึ่งก็ตรง กันกับชื่อของแม่น้ำท่าจีนที่คนในท้องถิ่นแต่เดิมเรียก ตรงต้นน้ำในเขตจังหวัดชัยนาทว่า แม่น้ำมะขามเฒ่า และเมื่อไหลผ่านจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐมก็ มีชื่อว่า แม่น้ำสุพรรณบุรีและแม่น้ำนครชัยศรี ! นอกจากแม่น้ำลำน้ำก็มีหนองบึง อันเป็นพื้นที่มี น้ำขังตามธรรมชาติมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ตามฤดูกาล มีพื้นที่รับน้ำที่มาจากลำน้ำ ลำห้วยที่ไหล ลงจากที่สูงแล้วระบายออกเป็นลำน้ำสู่ที่ลุ่มต่ำลงไป อี ก ที ห นึ ่ ง สู ่ ห นองบึ ง ขนาดใหญ่ เ ป็ น จำนวนมาก
วิริ
! ชุมชนสมมุติเกิดขึ้นในพื้นที่สองระดับคือ พื้นที่ อันเป็นแผ่นดินเกิด หรือ มาตุภูมิ กับพื้นที่อันเป็น ประเทศชาติหรือ ชาติภูมิ
[12]
แผ่นดิน ป่าเขา แม่น้ำ หนองบึง และลำห้วย ในภู ม ิ ป ระเทศที ่ เ ป็ น ภู ม ิ ว ั ฒ นธรรม ของคนภายใน เป็นสมบัติของอำนาจ เหนือธรรมชาติในจักรวาล “ผู้คนคือผู้อยู่อาศัย หาได้เป็น
L
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ทั้งภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ มีความหมายอย่างสำคัญต่อการสร้างบ้านเมืองตั้งแต่ สมัยโบราณ ! เช่นที่หนองหารหลวงและหนองหานกุมภวาปีใน จังหวัดสกลนครและอุดรธานี เพราะไม่รู้ธรรมชาติ ของหนองบึ ง ที ่ ม ี ก ารเปลี ่ ย นแปลงถ่ า ยเทน้ ำ ตาม ฤดูกาล นักการเมืองจึงทำโครงการที่ทำให้น้ำใน หนองหารไม่มีการระบายตามธรรมชาติแบบเดิม เกิด ภาวะน้ำนิ่ง เกิดวัชพืชและสัตว์น้ำที่เป็นพิษมากมาย เกินความสามารถในการควบคุม ทำให้ น้ำท่วมบ้าน เรือนและที่ทำกิน สร้างความเสียหายแก่ผู้คนไปทั่ว ชาวบ้าน นินทา กันว่า การที่นักการเมืองละเมิดข้อ ห้ามหรือ ขะลำ ในตำนานแต่โบราณจึงทำให้เกิด ความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านและตัวผู้ละเมิดเองที่เลือก ตั้งก็แพ้และเสื่อมถอยในเรื่องชื่อเสียงเกียรติยศ ! การตั้งชื่อเปลี่ยนนามของสถานที่ทางธรรมชาติ รวมทั ้ ง การละเมิ ด พื ้ น ที ่ ส าธารณะแต่ ด ั ้ ง เดิ ม ถื อ เป็นการละเมิดพันธสัญญาที่ชาวบ้านเชื่อถือกันมาแต่ โบราณ นั บ เป็ น การมองจากภายนอกและเป็ น ประโยชน์อย่างยิ่งในการสร้างแผนที่และสร้างภาพ รวมทางภูมิศาสตร์และการบริหารทางการเมือง
ยะ
พัน
ธุ์
เจ้าของอย่างแท้จริงไม่”
L L แต่ เ ป็ น การทำลายความหมายความสำคั ญ ของความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับชีวิตความ เป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นอย่างสิ้นเชิง
“ภูมิวัฒนธรรม” และการอาศัยในแผ่นดินเกิด อย่างมีหลักเกณฑ์ ! พื้นที่การปกครองของรัฐแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ลงมา ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้านตามลำดับ พื้นที่การปกครองดังกล่าวเป็น พั ฒ นาการที ่ ม าจากภายนอกจากทางรั ฐ ที ่ ไ ด้ ร ั บ อิทธิพล การบริหารการจัดการแบบอาณานิคม ! พื ้ น ที ่ ก ารปกครองดั ง กล่ า วนี ้ ค ื อ ฐานในการ บริหารจัดการที่สืบสานเรื่อยมาจนทุกวันนี้ แต่ได้ ทำลายพื้นที่วัฒนธรรมที่เคยเป็นมาแต่อดีตกาลนับ พั น ปี ข ึ ้ น ไปของผู ้ ค นในดิ น แดนประเทศสยามถึ ง ประเทศไทยในขณะนี้อย่างสิ้นเชิง ได้ทำให้การมอง ผู้คนกับพื้นที่ เป็นการมองและกำหนดจากภายนอก
[13]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
เปรียบ ซึ่งก็มีทั้งคนในท้องถิ่นเองและที่มาจากนอก ท้องถิ่น ! เมื่อบรรดาพ่อค้านายทุนเข้ามาเป็นนักการเมือง มีพรรคเหล่าต่างๆ เพื่อเข้าเป็นคณะรัฐบาลในการ ปกครองและบริหารประเทศในระบอบประชาธิปไตย แบบมีรัฐสภา เกิดกลุ่มนายทุนใหญ่ๆ ทั้งในและต่าง ชาติเข้ามาลงทุนสร้างแหล่งอุตสาหกรรม โรงงาน สถานที่ท่องเที่ยวบริการ และทำเกษตรกรรมแบบ เกษตรอุ ต สาหกรรมที ่ ใ ช้ เ ครื ่ อ งจั ก รเครื ่ อ งกล แทนแรงงานคน ! ซึ ่ ง นั บ ช่ ว งเวลาตั ้ ง แต่ ส มั ย รั ฐ บาลพลเอก ชาติ ช าย ชุ ณ หะวั น กระบวนการอุ ต สาหกรรม [Industrialization] และการขยายเมื อ ง [Urbanization] ได้เปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ สภาพ แวดล้อมธรรมชาติและโครงสร้างทางกายภาพของ บ้ า นเมื อ งและชุ ม ชนเข้ า สู ่ ส ภาวะความเป็ น สั ง คม อุตสาหกรรมอย่างสิ้นเชิง ! ในด้านสังคมนั้นเกิดคนรุ่นใหม่สองรุ่นคือ รุ่นพ่อ แม่และรุ่นลูกที่ไม่รู้จักและรับรู้รากเหง้าทางสังคม แบบชาวนาแต่อย่างใด อีกทั้งเติบโตขึ้นในสภาพ แวดล้อมทางวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากสังคม อุตสาหกรรมแบบทุนนิยมเสรี ! กระแสโลกาภิ ว ั ต น์ ซ ึ ่ ง ครอบงำสั ง คมไทย ทั ้ ง ประเทศในขณะนี ้ ไ ด้ เ ปลี ่ ย นคนรุ ่ น ใหม่ ใ ห้ เ ป็ น ปัจเจกบุคคลที่ขาดความเป็นมนุษย์อย่างที่เคยมีใน อดีต ผลก็คือการขาดสำนึกในการต้องอยู่รวมกันเป็น กลุ่มทางสังคม [Social group] ที่มีบริบทของ กาลเทศะ [Space and time] ซึ่งเห็นได้จากการไม่ตั้ง หลักแหล่งที่ไหนแน่นอน สามารถเคลื่อนย้ายได้ทุก เวลาและทุกพื้นที่ ! แต่สภาพการเคลื่อนย้ายที่ไม่ดีในเวลาและพื้นที่ ดังกล่าวนี้ทำให้กลายเป็นหลักลอยร่อนเร่และไม่มี สำนึกของการเป็นคนของที่ใดที่หนึ่งและกลุ่มใดกลุ่ม หนึ่ง ซึ่งเห็นได้จากทั้งในเขตเมืองและชนบทที่เกิด แหล่งที่อยู่อาศัยสมัยใหม่ที่ต่างคนต่างอยู่ ไม่มีการ รู้จักและสัมพันธ์กันทางสังคมอย่างเท่าที่ควรจะเป็น
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
ที่ไม่สามารถจะเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมให้เกิดภาวะความพอเพียงและยั่งยืนตามพระ ราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ ! การมองจากภายนอกดั ง กล่ า วจึ ง แลเห็ น แต่ ลั ก ษณะที ่ เ ป็ น กายภาพตามจำนวนผู ้ ค นที ่ อ ยู ่ ใ น ถิ่นฐานเดียวกัน แต่มองไม่เห็นคนกับความสัมพันธ์ ทางสังคมที่เกิดการเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดสำนึกร่วม ของการอยู ่ เ ป็ น กลุ ่ ม เหล่ า ภายในพื ้ น ที ่ ว ั ฒ นธรรม เดียวกัน ! เมื่อมองภาพรวมทั้งหมดการเปลี่ยนแปลงสังคม และเศรษฐกิจตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ ๕ มาจนถึงสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่มีชนชั้นกลางและคนที่ เป็นกสิกรมากขึ้น ก็หาได้เปลี่ยนแปลงสังคมชาวนาที่ มีมาแต่เดิมให้หมดสิ้นไปไม่ หากยังคงเป็นพื้นฐาน ของความเป็นอยู่ในชุมชนและสังคมเรื่อยมา หลายๆ ท้องถิ่น ชีวิตวัฒนธรรมในชุมชนก็ยังคงเป็นแบบ สังคมชาวนา [Peasant] อยู่ แต่ก็มีหลายท้องถิ่นที่ เป็นสังคมกสิกร [Farmer] ! ปัญหาจึงเกิดขึ้นในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีที่เริ่มพัฒนาประเทศไทยให้เข้าสู่ สังคมอุตสาหกรรม ผู้ที่รับผิดชอบและมีส่วนได้เสีย ในการพัฒนาจากภายนอก โดยเฉพาะนักวิชาการ ต่างๆ ที่ได้รับการศึกษาแบบอเมริกันมา ได้มองว่า พื้นฐานสังคมของผู้คนในประเทศไทยคือพวกกสิกร แบบสังคมเกษตรกรรม [Farmer] เหมือนทางตะวัน ตก ผลที่ตามมาจึงเกิดความล้าหลังทางวัฒนธรรมใน การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่นับแต่แผนพัฒนา แผนแรกมาจนปัจจุบัน ! ภาวะความล้าหลังทางวัฒนธรรมดังกล่าวนี้คือ การปรั บ ตั ว เข้ า กั บ การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ และ สังคมที่ไม่ทัดเทียมกันของชาวบ้านและผู้คน L ผู้ที่มีความรู้สึกนึกคิดแบบเดิม กลั บ กลายเป็ น ผู้ด้อยโอกาส ในขณะคนที่มีความคิดและมีความ พร้ อ มที ่ จ ะเป็ น ผู ้ ป ระกอบการก็ ค ื อ ผู ้ ไ ด้ โ อกาสได้
[14]
L กิจกรรมทางอุตสาหกรรมรุกล้ำไปแทบทุกหน แห่ง ทั้งในพื้นที่ของชุมชนบ้าน ท้องถิ่น และ ภูมิประเทศที่เคยเป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่ เดิมอย่างไม่มีกฎกติกา จนยากแก่การจะอนุรักษ์ และพัฒนาใดๆ ในทางสังคมและวัฒนธรรมเสียแล้ว
มูล นิธิ เล็ ก-
พัน
ยะ
ปร ะไพ
วิริ
! สภาพสังคมและวัฒนธรรมของบ้านเมืองทุกวันนี้ อาจกล่าวได้ว่าในช่วงกึ่งศตวรรษที่ผ่านมา นับสองชั่ว อายุคนคือคนรุ่นพ่อแม่และรุ่นลูกทุกวันนี้ คนเป็น จำนวนมากขาดการปลูกฝังทางวัฒนธรรมที่ในศัพท์ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Cultivation, Enculturation, Socialization ! ซึ่งในสังคมไทยแต่โบราณและสังคมที่เจริญแล้ว ในที่อื่นๆ ของโลก ถือว่าเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ ควบคู่ไปกับการศึกษาให้เกิดความรู้ในด้านต่างๆ [Learning] โดยมีชุมชน [Community] เป็นฐาน รองรับ ! เพราะการจะให้เกิดกลุ่มขึ้นมาได้นั้น จำเป็นต้องมี กระบวนการอบรมทางสังคมวัฒนธรรมอันเป็นเรื่อง ของการปลูกฝัง [Cultivation] รวมอยู่ด้วย ! ในสังคมท้องถิ่นที่เคยมีมา คนในชุมชนได้เรียนรู้ ร่วมกันจากวัดและโรงเรียนที่อยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน คนรู้จักกัน เห็นหน้าค่าตากัน มีลัทธิทางศาสนา ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีเดียวกัน รวมทั้ง การอยู่รวมกันมานาน ทำให้เกิดสำนึกของความเป็น คนถิ่นเดียวกันขึ้น จึงเป็นการอยู่แบบคนที่มีกลุ่ม เหล่า ! เด็กผู้ชายที่ไปเล่าเรียนอยู่ตามวัดก็มีพระครูบา เป็นอาจารย์สอนให้ทั้งทางโลกและทางธรรม จน กลายเป็นศิษย์ร่วมรุ่นร่วมอาจารย์เดียวกัน มีการ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในเรื่องความรู้ในการทำมาหากิน และ ทำกิ จ กรรมเป็ น หมู ่ เ ป็ น คณะอย่ า งมี ค ุ ณ ธรรม จริยธรรม ที่ได้รับการอบรมร่วมกัน
ธุ์
การปลูกฝังทางวัฒนธรรม [Cultivation] กระบวนการศึกษาทางสังคมที่ขาดหาย
! ส่วนเด็กผู้หญิงที่ไม่ได้เข้าวัดก็เล่าเรียนอยู่ที่บ้าน ช่วยงานบ้านและฝึกงานฝีมือกับแม่ ตายาย ญาติพี่ น้องที่เป็นผู้หญิงในชุมชน งานต่างๆ ที่เด็กผู้หญิง เรียนรู้นั้นหาใช่เป็นงานที่ทำให้ได้เงินได้ทอง หากเป็น งานที่จะสร้างความอบอุ่นให้แก่ครอบครัวเป็นสำคัญ เด็กหญิงแม้จะไม่มีโอกาสเล่าเรียนให้อ่านออกเขียนได้ อย่างเด็กผู้ชายที่ไปเล่าเรียนที่วัด แต่ก็ได้รับการ ถ่ า ยเทอบรมจากคำบอกเล่ า และการปฏิ บ ั ต ิ ใ น กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เกิด ขึ้นตามฤดูกาลต่างๆ ในรอบปีจนกลายเป็นกำลัง สำคัญในการดำเนินการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ! การปลูกฝังทางวัฒนธรรมที่ทำให้เกิดสำนึกร่วม ของความเป็นพวกเดียวกันในท้องถิ่นเดียวกันนั้น นอกจากจะได้ ร ั บ การสั ่ ง สอนและอบรมโดยครู บ า อาจารย์ แ ล้ ว ยั ง เกิ ด จากการที ่ ม างานร่ ว มกั น ใน พิธีกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับชีวิต เช่น ประเพณีการเกิด การบวช การแต่งงาน และการตาย กับพิธีกรรมใน รอบปีที่เรียก ประเพณีสิบสองเดือน ซึ่งมักสัมพันธ์ กับการเกษตร เช่น การปลูกข้าว การเกี่ยวข้าวและขอ ฝน พิธีกรรมทางพุทธศาสนา เช่น สงกรานต์ เข้า พรรษา บวชนาค ออกพรรษา รวมทั้งพิธีกรรมเกี่ยว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์อำนาจเหนือธรรมชาติในชุมชนด้วย มักเป็นพิธีกรรมที่รักษาความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ คน (คือการอยู่เป็นครอบครัวและชุมชน) คนกับ ธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ไม่แต่ เพียงสร้างสำนึกในการอยู่ร่วมกันอย่างเอื้ออาทร แล้ว ยังเป็นการอบรมบ่มนิสัยให้มีศีลธรรมและ จริยธรรมด้วย ! แต่เมื่อมีกระทรวงศึกษาธิการที่ผูกขาดการเรียนรู้ ไว้ เ พี ย งแห่ ง เดี ย วได้ และกระทรวงวั ฒ นธรรมที ่ บีบบังคับทางวัฒนธรรม เริ่มมาแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ตั้งกระทรวง วัฒนธรรมให้เป็นกระทรวงที่สร้างวัฒนธรรมไทยให้ เป็นเอกลักษณ์ตามกระแสชาตินิยมที่แพร่หลายใน บรรดาประเทศเพื่อนบ้านสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ L เป็ น การสร้ า งวั ฒ นธรรมเชิ ง บู ร ณาการจาก
[15]
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
ข้ า งบนลงล่ า งที ่ ไ ด้ ท ำลายความเป็ น สั ง คม พหุลักษณ์ที่มีผู้คนหลายชาติพันธุ์อยู่ร่วม กั น ในท้ อ งถิ ่ น ต่ า งๆ ที ่ ผ ิ ด แผกไปจาก การบูรณาการทางวัฒนธรรมสมัย สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่ใช้ความเป็น คนในแผ่ น ดิ น สยามเป็ น ตั ว ตั ้ ง ! การปลู ก ฝั ง ความเป็ น เรื อ กอและ วั ฒ นธรรมสยามแต่ ส มั ย ที ่ ป ลายแหลมโพธิ ์ ห รื อ เปลี่ยนแปลงการ ปกครองนั้น ก็หาได้เน้น แหลมตาชี อำเภอยะหริ ่ ง ความสำคัญของ จั ง หวั ด ปั ต ตานี วัฒนธรรมส่วนกลาง เช่น จากกรุงเทพฯ เป็นหลักไม่ หากเอื ้ อ อาทรต่ อ วั ฒ นธรรม ท้ อ งถิ ่ น ที ่ ม ี ค วามหลากหลายทาง ชาติพันธุ์และประวัติศาสตร์ด้วย ! แต่ ถ ้ า ทำไม่ ไ ด้ ก ็ น ั บ เป็ น การสิ ้ น หวั ง ของคนใน ! ดังเห็นได้จากการมองคนท้องถิ่นผ่านพื้นที่ซึ่ง สังคมที่จะต้องพึ่งพารัฐบาล และจะนำไปสู่ความ เป็นบ้านเป็นเมืองแทนการเน้นการบูรณาการด้วย ขัดแย้งเพิ่มขึ้น เพราะความจริงในโลกที่เป็นโลกาวัฒนธรรมของส่วนกลางที่เรียกว่า วัฒนธรรมไทย ภิ ว ั ต น์ ใ นทุ ก วั น นี ้ เ ป็ น โลกของสั ง คมพหุ ล ั ก ษณ์ ท ี ่ ตั้งแต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มาจนทุกวันนี้ก็ แทบทุกชาติพันธุ์ต่างเรียกร้องความเป็นตัวตนทางอัต ยังเหมือนเดิม เป็นการเน้นในด้านศิลปวัฒนธรรม ลักษณ์ ท่ามกลางการอยู่ร่วมกันอย่างเสมอภาคและ ในลักษณะที่เป็นอารยธรรมที่เข้าไม่ถึงความเป็นคน มีเสรีภาพของโลกประชาธิปไตย และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์แต่อย่างใด L แต่ความเป็นประชาธิปไตยของคนไทยนั้น หาก L เป็ น การเน้ น แต่ ว ั ฒ นธรรมหลวงที ่ เ ข้ า ไม่ ถ ึ ง การปลูกฝังกันแบบจากข้างบนลงล่างที่อ้างแต่ความ วัฒนธรรมราษฎร์ อันเป็นชีวิตวัฒนธรรมของคนใน เชื่อกัน เกิดจากการลอกเลียนแบบประชาธิปไตยจาก ท้องถิ่น ทางตะวั น ตกมาแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว เพราะเป็ น L ชี ว ิ ต วั ฒ นธรรมหรื อ อี ก นั ย หนึ ่ ง ก็ ค ื อ สั ง คม ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นจากการเขียนกฎหมายและข้อ วัฒนธรรมนั้นคือ วัฒนธรรมที่คนในแทบทุกสังคม บั ง คั บ โดยคนนั ้ น ไม่ อ าจควบคุ ม ศี ล ธรรมและ ในโลกต้ อ งปลู ก ฝั ง ให้ ค นรุ ่ น ใหม่ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ จริยธรรมได้ กระทรวงวัฒนธรรมจึงน่าจะทำหน้าที่ให้เต็มที่ใน ! ดังเห็นได้จากผู้มีอำนาจทางการเมืองละเมิดสิทธิ การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้ผู้คนในท้องถิ่น มนุษยชน แก้รัฐธรรมนูญหรือเขียนรัฐธรรมนูญเพื่อ ได้ ใ ช้ ใ นการปลู ก ฝั ง วั ฒ นธรรมแก่ เ ยาวชนของตน ประโยชน์ ข องพวกตนเองกั น เรื ่ อ ยมา ความเป็ น เพื่อแบ่งเบาภาระของกระทรวงศึกษาธิการในการ ประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ต้องอาศัยธรรมาธิปไตย สนับสนุนการศึกษาที่เน้นการเล่าเรียนเป็นสำคัญ อั น มี อ ยู ่ ใ นพระพุ ท ธศาสนาจึ ง จะรั ก ษาความเป็ น มนุษย์และสิทธิมนุษยชนได้ [16]
การศึกษาสังคมไทย
ผ่าน “ภูมิวัฒนธรรม”
ศรีศักร วัลลิโภดม เขียน วลัยลักษณ์ ทรงศิริ เรียบเรียง
ยะ
พัน
ธุ์
วัฒนธรรมของมนุษย์ จึงเป็นเรื่องที่สำคัญอย่าง ยิ่ง ! การศึกษาเพื่อทำความเข้าใจ “ภูมิวัฒนธรรม” ที ่ เ ปลี ่ ย นแปลง จึ ง เป็ น การทำความเข้ า ใจสภาพ แวดล้อมในอดีตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไปในปัจจุบันจากปัจจัยต่างๆ ในฐานความคิดซึ่ง สามารถเชื่อมโยงกับชีวิตวัฒนธรรมของมนุษย์ในมิติ ต่างๆ อันจะเป็นรากฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งสภาพแวดล้อมของคน รุ่นใหม่ในท้องถิ่นอันหลากหลายหรือเป็นความรู้พื้น ฐานสำคัญที่นำไปใช้ในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นแก่ สถาบันการศึกษาต่างๆ ตลอดจนเพื่อการวางแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติที่สอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชนและเกิดจากความเข้าใจ ในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม ของท้องถิ่นต่างๆ อย่างแท้จริง
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
! การศึ ก ษา “ภู ม ิ ว ั ฒ นธรรม” [Cultural Landscape] เป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานสำคัญอัน นำไปสู่ความเข้าใจใน นิเวศวัฒนธรรม [Cultural Ecology] ของผู้คนในท้องถิ่นซึ่งมี ชีวิตวัฒนธรรม [Way of Life] ร่วมกันใน ชุมชนของชาติพันธุ์ [Ethnic Village] ! เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างคนกับพื้นที่ โดยถ่องแท้ ต้องทำความเข้าใจภูมิหลังที่มีมาแต่เดิม นับพันปีในสังคมชาวนา [Peasant Society] เพราะ ผู้คนในสังคมปัจจุบันที่เป็นคนรุ่นใหม่ มีชีวิตอยู่ใน สังคมอุตสาหกรรมจะไม่รู้จักและไม่เข้าใจในรากเหง้า ของแผ่นดินและผู้คน เพราะมองแต่สภาพแวดล้อม ใกล้ ต ั ว ในปั จ จุ บ ั น และอนาคต ทั ้ ง งานวิ จ ั ย ทาง สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ส่วนใหญ่นั้นเน้นเรื่อง พัฒนาเศรษฐกิจการเมืองและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการ มองอดีตอย่างหยุดนิ่งและเน้นแต่เรื่องปัจจุบัน ! ทุกวันนี้สภาพแวดล้อมทางภูมิวัฒนธรรมแทบทุก แห่งทุกภูมิภาคได้รับผลกระทบกระเทือนจากการ ปรับเปลี่ยนภูมิประเทศที่เป็นสังคมเกษตรมาเป็น อุตสาหกรรมอย่างยิ่ง รวมทั้งผู้คนท้องถิ่นก็เคลื่อน ย้ายออกไปอยู่ตามที่ต่างๆ จนแทบไม่อาจให้ข้อมูลถึง ความเป็นมาในอดีตได้ เป็นสิ่งที่ทำให้การรับรู้ในเรื่อง ของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม ขาดหายไป ! การศึกษาท้องถิ่นโดยพิจารณาความสำคัญของ สภาพแวดล้อม ซึ่งเชื่อมโยงกับชีวิต สังคม และ
ความหมายของภูมิวัฒนธรรม ! ภูมิวัฒนธรรม [Cultural Landscape] คือความ สัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม ซึ่งใน บริ บ ททางสั ง คม-วั ฒ นธรรมหมายถึ ง ลั ก ษณะ ภู ม ิ ป ระเทศทางภู ม ิ ศ าสตร์ [Geographical Landscape] ในอาณาบริเวณใดบริเวณหนึ่ง เช่น บริเวณป่าเขาลำเนาไพร ท้องทุ่ง หนองบึง แม่น้ำ ลำคลอง หรือปากอ่าวชายทะเล อันสัมพันธ์กับการ ตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองของผู้คนในท้องถิ่น จนเป็น
[17]
! ดังนั้นการทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทาง “ภูมิวัฒนธรรม” จึงต้องศึกษาสภาพแวดล้อมในอดีต และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันจาก ปัจจัยต่างๆ ในวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้นๆ ที่เชื่อมโยง กับชีวิตวัฒนธรรมของมนุษย์ในมิติต่างๆ ! เพื่อสร้างความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคมและ วั ฒ นธรรม รวมทั ้ ง สภาพแวดล้ อ มในมิ ต ิ จ าก ภายในและภายนอกที่ชัดเจนและลึกซึ้ง
ความสัมพันธ์ในระหว่างมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และอำนาจเหนือธรรมชาติ
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
! ในโครงสร้างทางสังคมโดยพื้นฐานของมนุษย์ มี อ งค์ ป ระกอบของความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คมที ่ เ กิ ด การเกี่ยวพันของผู้คนภายในอยู่ ๓ ประการคือ ความ สัมพันธ์ระหว่างคนกับคน ความสัมพันธ์ระหว่างคน กับธรรมชาติ และความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่ง เหนือธรรมชาติ อันทำให้เกิดสำนึกร่วมของการอยู่ รวมเป็นกลุ่มภายในพื้นที่ทางวัฒนธรรมเดียวกัน ! ในภูมิวัฒนธรรมต่างๆ นั้น ความสัมพันธ์ที่เชื่อม โยงและเป็นพลวัตเหล่านี้คือ หัวใจสำคัญในการ พิจารณาสังคมของมนุษย์ในท้องถิ่นต่างๆ ! โดยเฉพาะความสั ม พั น ธ์ ก ั บ อำนาจเหนื อ ธรรมชาตินั้นคือสิ่งที่สะท้อนให้แลเห็นภูมิจักรวาลที่ อยู่เบื้องหลังของภูมิวัฒนธรรมและสัญลักษณ์ของสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ในสังคม และในความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับอำนาจเหนือธรรมชาติ โดยมีสัญลักษณ์ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของจั ก รวาลของผู ้ ค นในท้ อ งถิ ่ น นี ้ จะเชื่อมโยงและเกาะเกี่ยวให้คนในท้องถิ่นที่ต่างชุมชน และต่างเผ่าพันธุ์อยู่ร่วมกันในบ้านเมืองเดียวกันได้ อย่างราบรื่น ! นอกจากจะเป็นระบบสัญลักษณ์ที่เป็นศูนย์กลาง จักรวาลของท้องถิ่นแล้ว ยังแฝงไว้ด้วยการมีอำนาจ เหนือผู้คน ที่ดินที่น้ำ สภาพแวดล้อมและทรัพยากร ต่างๆ ของท้องถิ่นด้วย ! อำนาจเหนื อ ธรรมชาติ เ หล่ า นี ้ ท ำให้ เ กิ ด จารี ต
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
ที่รู้จักร่วมกันและมีการกำหนดนามชื่อเป็นสถานที่ ต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักร่วมกัน ในลักษณะที่เป็นแผนภูมิ หรือแผนที่เพื่อสื่อสารถึงกัน และอาจสร้างเป็นตำนาน [Myth] ขึ ้ น มาอธิ บ ายถึ ง ความเป็ น มาและความ หมายความสำคั ญ ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ สั ง คม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของสถานที่และท้องถิ่น นั้นๆ ! ดั ง นั ้ น ในภู ม ิ ว ั ฒ นธรรมจึ ง ประกอบด้ ว ยองค์ ประกอบในการศึกษาที่สำคัญ คือ ! ภู ม ิ ศ าสตร์ ท ี ่ ส ั ม พั น ธ์ ก ั บ การตั ้ ง ถิ ่ น ฐานของ มนุ ษ ย์ [Cultural Landscape] ลั ก ษณะของ ภูมิประเทศที่สำคัญในการตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองของ มนุษย์ เช่น หุบ แอ่งที่ราบ ลุ่มน้ำ ภูดอย บุ่งทาม ฯลฯ ซึ่งจะปรากฏเป็นชื่อสถานที่หรือชื่อบ้านนามเมือง เช่น สั น ทราย สั น ป่ า ตอง ซั บ จำปา ชอนสารเดช มาบตาพุด ภูกระดึง พุเตย ฯลฯ เป็นจุดเด่นที่สำคัญ ของ ชาวบ้านในท้องถิ่นหรือนักเดินทางที่เข้ามาใน พื้นที่ อย่างเช่นแหลมสิงห์ ซึ่งมีโขดหินรูปคล้ายหัว สิงห์ (ถูกฝรั่งเศสยิงเสียหายไปแล้ว) ตรงปากน้ำ จันทบุรี เขาย้อย เขาอีโก้ ซึ่งมีรูปร่างแปลกตากว่าเขา ลูกอื่นที่เพชรบุรี ! นิเวศวัฒนธรรม [Cultural Ecology] หมายถึง พื้นที่เฉพาะซึ่งมนุษย์สร้างบ้านสร้างเมืองขึ้นมาเป็น ท้องถิ่นต่างๆ แต่ละแห่งย่อมไม่เหมือนกัน ! นิเวศวัฒนธรรมในแต่ละแห่งนั้นมักเป็นการมอง จากคนภายในที่มีต่อสภาพแวดล้อมอย่างละเอียด เห็นความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลาย ทางชาติพันธุ์หลายชุมชนในพื้นที่เดียวกัน จากนั้นมี การกำหนดหรือสร้างเป็นองค์ความรู้ในการดำเนิน ชีวิต สร้างกติกาการอยู่ร่วมกัน สร้างประเพณี ความ เชื่อในพื้นที่เดียวกัน ! ชีวิตวัฒนธรรม [Way of Life] หรือโครงสร้างที่ อยู่ในชีวิตประจำวันอันเป็นวิถีชีวิตของผู้คนในชุมชน เดียวกัน ซึ่งประกอบไปด้วยโครงสร้างสังคม ความ สัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น การเป็นเครือญาติ การเป็นก ลุ่มทางสังคมต่างๆ
[18]
ประเพณี พิธีกรรมและรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ทำให้คนร่วม ท้องถิ่นเดียวกัน ต้องเชื่อต้องปฏิบัติ ! องค์ประกอบในความสัมพันธ์ทั้งสามประการ ทำให้เห็นและ เข้าใจได้ว่า “ภูมิวัฒนธรรมและนิเวศวัฒนธรรม” นั้นมีความหมาย ลึกลงไปถึงการเป็นระบบสัญลักษณ์ [Symbol] และภาพพจน์ [Image] ของภูมิจักรวาล [Cosmology] ในการรับรู้ของคนในท้อง ถิ่น [Perception] ด้วย
บ้านเมืองในนิเวศวัฒนธรรมอันหลากหลายและการ สืบทอดความรู้ผ่านระบบสัญลักษณ์
วิริ
ปร ะไพ
มูล นิธิ เล็ ก-
LOREM ORCI
ยะ
พัน
ธุ์
! ในสภาพนิเวศตามธรรมชาตินั้นประกอบด้วย แม่น้ำ ลำน้ำ ใหญ่น้อย หนอง บึง ซึ่งมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ความเข้าใจเรื่องพลวัตของธรรมชาติแวดล้อมนั้นทำให้ไม่มีการ ตัดขาดความสัมพันธ์ในระบบนิเวศจากภูเขาสูงอันเป็นต้นน้ำลำธาร ไปจนถึงลำห้วยสาขา แม่น้ำและแหล่งพักน้ำตามหนองบึงที่ไหล หมุนไปตามฤดูกาล การเชื่อมโยงของระบบนิเวศเหล่านี้ทำให้เกิด ความสมดุลและรักษาคุณภาพของระบบนิเวศอันหลากหลายที่มิใช่ มีเพียง “น้ำ” หรือ “ปลา” แต่คือสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติรวมทั้ง มนุษย์ด้วย ! ผู้คนในสมัยโบราณโดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือเป็นจำนวนมาก นิยมสร้างบ้านเมืองถิ่นฐานตามลำน้ำ เล็กๆ และริมหนองบึงขนาดใหญ่เพื่อไม่ต้องกังวลต่อการพัดพา ของน้ำที่ไหลแรงที่อาจทำให้บ้านเรือนล่มจมเสียหาย และปรากฏ อยู่ในตำนานหลายเรื่องเกี่ยวกับการสูญหายของบ้านเมืองจากภัย ธรรมชาติเช่นนี้ ! ริมหนองและบึงต่างๆ จะมีระบบนิเวศแบบน้ำท่วมที่ขึ้นและลง ตามฤดูกาล มีการปลูกข้าวทำนาแซงหรือนาทามที่มีการสร้างแนว คันดินหรือทำนบกักน้ำเพื่อปลูกข้าวและเก็บเกี่ยวเมื่อน้ำลด หรือ หากปีใดน้ำมากก็จะเสียข้าวไป แต่ได้อาหารพวกปลามาทดแทน ! ในนิเวศวัฒนธรรมเหล่านี้จะมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ควบคุมการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน โดยมีการกำหนดพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งให้เป็นพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ที่ล่วงล้ำไม่ได้ และใช้ในการทำพิธีกรรมตามประเพณีใน ฤดูกาลที่เกี่ยวข้อง สิ่งศักดิ์สิทธิ์นี้จะทำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองและ ให้คำทำนายอันเป็นหลักประกันในอนาคตเพื่อปกป้องมนุษย์ใน ธรรมชาติที่ไม่แน่นอน ซึ่งเป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ที่มนุษย์มี
ในความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับอำนาจเหนือธรรมชาติ โดยมีสัญลักษณ์เป็นศูนย์กลาง ของจักรวาลของผู้คนในท้องถิ่นนี้ จะเชื่อมโยงและเกาะเกี่ย ให้คน ในท้องถิ่นที่ต่างชุมชนและ ต่างเผ่าพันธุ์อยู่ร่วมกันในบ้าน เมืองเดียวกันได้อย่างราบรื่น
[19]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
หนองบึ ง และลำห้ ว ยในภู ม ิ ป ระเทศที ่ เ ป็ น ภู ม ิ วัฒนธรรมของคนภายใน คือสมบัติของอำนาจเหนือ ธรรมชาติในจักรวาล ผู้คนคือผู้อยู่อาศัย หาได้เป็น เจ้าของอย่างแท้จริง L นั ่ น หมายถึ ง การยกอำนาจในการดู แ ลควบคุ ม สมบัติท้องถิ่นอันได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมต่างๆ ให้แก่อำนาจเหนือธรรมชาติ นั่นเอง การแบ่งแยกส่วนหนึ่งส่วนใดเอาไปเป็นสมบัติ ส่วนตัวหรือเพื่อกิจการอื่นๆ ที่ผิดธรรมชาติคือ การ ละเมิด ผิดต่อสังคมและผู้คนที่อยู่ร่วมกัน ! เพราะแหล่งน้ำธรรมชาติเป็นแหล่งอาหารที่ใช้ ร่วมกัน จึงต้องมีการจัดสรรกันอย่างหลวมๆ แต่ ยุติธรรม ไม่ให้มีความเห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้จนเกินไป และไม่มีสิ่งใดจะดูแลได้ดีไปกว่ามอบอำนาจนี้ให้แก่ การดูแลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ ! มี ก ารกำหนดแหล่ ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ข องอำนาจเหนื อ ธรรมชาติให้เป็นศูนย์กลางภูมิจักรวาลของท้องถิ่น เพื่อผู้คนได้มาประกอบพิธีกรรมร่วมกัน เกิดสำนึก ความเป็นผู้คน บ้านและเมือง ในท้องถิ่นเดียวกันขึ้น มา โดยเฉพาะภูเขาที่สำคัญของท้องถิ่น เพราะมี ความโดดเด่นกว่าลักษณะภูมิประเทศอื่นใด มักจะ สัมพันธ์กับอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่สูงสุดและจักรวาลที่มา จากเบื ้ อ งบน ในขณะที ่ ผ ื น น้ ำ และแผ่ น ดิ น เป็ น สัญลักษณ์ของอำนาจจากเบื้องล่าง ! ภู เ ขาที ่ โ ดดเด่ น มี ร ู ป ลั ก ษณะพิ เ ศษมั ก จะถู ก กำหนดให้เป็นที่สถิต ของอำนาจเหนือธรรมชาติซึ่ง นับเป็นปรากฏการณ์สากลทั่วโลก เช่น “เขารังแมว” เป็นที่สถิตของเทพเจ้าแห่งแคว้นจามเหนือที่หมี่เซิน เวียดนาม “เขาถมอรัตน์” ที่ลุ่มน้ำป่าสัก สูงเด่นเป็น ประธานเหนือเมืองศรีเทพที่น่าจะเป็นศูนย์กลางของ แคว้นศรีจนาศะในสมัยทวารวดี ในลุ่มน้ำปิงตอนบน อันเป็นที่ตั้งเมืองเชียงใหม่ก็มี เขาดอยปุยและดอยสุ เทพ เป็นประธานของเมือง ในขณะที่บริเวณต้นน้ำปิ งมี “ดอยหลวงเชียงดาว” ซึ่งเป็นที่สถิตของเจ้าหลวง คำแดง ผู้เป็นผีใหญ่เหนือบรรดาผีบ้านผีเมืองทั้ง หลายในล้านนา ในแคว้นจำปาสักของลาวที่ตั้งอยู่ริม
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
ความผูกพันร่วมกับอำนาจเหนือธรรมชาติ ซึ่งเป็นสิ่ง ที่คนในท้องถิ่นเข้าใจร่วมกันและจดจำรวมทั้งเล่าสืบ ต่อกันมาในพื้นที่นั้นๆ ! ดังนั้นความเข้าใจใน “ภูมิวัฒนธรรม” นั้นมี ความหมายสำหรับคนในท้องถิ่น เพราะสร้างขึ้นจาก ผู้สร้างที่เป็นคนในท้องถิ่นผ่านทางตำนานเรื่องเล่า ต่างๆ [Myth] ซึ่งเป็นระบบสัญลักษณ์ ไม่ใช่เรื่องเล่า ตรงๆ สิ่งเหล่านี้เมื่อผ่านกาลเวลานานเข้าก็มีการแปร เปลี่ยนความหมายแตกต่างไปได้บ้าง ! การศึกษาภูมิวัฒนธรรมจึงต้องมีการแปลความ หมายเหล่ า นั ้ น ตามความคิ ด และจิ น ตนาการใน อดีตกาลหรือจากความคิดของผู้คนในท้องถิ่นเหล่า นั้น จึงจะเห็นความหมายและความสำคัญที่ซ่อนอยู่ เบื้องหลัง ! ตำนานคือเรื่องเล่าจากคนรุ่นหนึ่งผ่านสู่คนอีกรุ่น หนึ่ง มีทั้งที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรและจากการ บอกเล่าจากความทรงจำถ่ายทอดปากต่อปากภายใน ท้องถิ่นอย่างสืบเนื่อง ในตำนานเหล่านี้มักจะกล่าวถึง ความเป็นมาเป็นไปของสถานที่สำคัญๆ ในท้องถิ่น และไม่ได้มีการรับรู้ที่หยุดนิ่ง หากมีการเปลี่ยนแปลง ในความหมายและความสำคัญผ่านผู้คนและช่วงเวลา ของการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ตลอดเวลา อีกทั้งเมื่อมีการขยายเส้นทางคมนาคมและการตั้ง ถิ่นฐานบ้านเมืองก็มีการกำหนดชื่อใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ! ภูมิวัฒนธรรมจากตำนานจึงไม่ใช่เรื่องที่หยุดนิ่ง แต่จะมีการทบทวน บอกเล่าซ้ำไปมาและสร้างความ หมายขึ้นใหม่ตลอดเวลา ซึ่งมีความหมายต่อผู้คน ภายในที่เห็นความสัมพันธ์ในสามรูปแบบคือ ใน ระหว่างผู้คน ผู้คนกับธรรมชาติ และผู้คนกับสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ ส่วนคนจากภายนอกที่ไม่ เข้าใจนั้นก็ต้องเรียนรู้ผ่านระบบสัญลักษณ์ที่ปรากฏ จึงจะเข้าใจและรับรู้ความสัมพันธ์ดังกล่าว
ภูมิทัศน์แห่งความศักดิ์สิทธิ์ ! ในสภาพแวดล้อมต่างๆ โดยพื้นฐานแต่ดั้งเดิมมัก จะมีความคิดและความเชื่อที่ว่า แผ่นดิน ป่าเขา แม่น้ำ
[20]
ภูมิวัฒนธรรม คือความสัมพันธ์ของธรรมชาติแวดล้อม กับการปรับตัวตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
การทำความเข้าใจ
ธุ์
การเปลี่ ยนแปลงทาง
พัน
“ภูม ิวัฒ นธรรม” จึงต้อ งศึ กษา
ยะ
สภาพแวดล้ อ มในอดี ต และสภาพแวดล้ อ ม
ที ่เปลี่ ยนแปลงไปในปัจจุบั น จากปัจ จั ยต่า งๆ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ในวัฒ นธรรมท้องถิ่นนั้น ๆ ที่ เชื่อ มโยงกั บ
แม่น้ำโขงมี “ภูเก้า” เป็นประธานเหนือเขาทั้งปวง ! และลำน้ำลำธารที่ไหลจากยอดเขาเหล่านี้ก็ถือว่า เป็นสายน้ำศักดิ์สิทธิ์ของเมือง มีการกักเก็บน้ำเป็น ระบบระเบียบตามลักษณะภูมิประเทศนั้นๆ สายน้ำที่ ไหลลงจากภูเขาศักดิ์สิทธิ์ได้รับการดูแลให้เกิดความ สะอาดเพื่อใช้ในการบริโภคอุปโภค ถือเป็นทรัพยากร ที่ใช้ร่วมกัน ! ความเชื่อในเรื่องภูเขาศักดิ์สิทธิ์นั้น นับเป็นที่มา ของการสร้างศาสนสถานแบบสถูปเจดีย์หรือเทวาลัย ที่ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุ” และ “ปราสาท” ให้เป็น สัญลักษณ์ทางภูมิทัศน์ในภูมิประเทศที่ไม่มีเขาและ ที่สูงแต่เป็นที่ราบลุ่ม ทุ่งนา และแม่น้ำลำคลองเพื่อให้ ผู้คนเห็นได้แต่ไกล! ! ดังนั้นตำนานพระธาตุเจดีย์ต่างๆ ที่ปรากฏทั่วไป ทุกภูมิภาคในประเทศจึงมีความหมายเป็นอย่างมากที่ ทำให้ ค นได้ ร ู ้ ถ ิ ่ น กำเนิ ด และบ้ า นเมื อ งของตนเอง
ชี วิตวั ฒนธรรมของมนุ ษย์ในมิติ ต ่า งๆ เพื ่อ สร้า งความเข้าใจประวัติศาสตร์สังคม และวัฒนธรรมรวมทั้งสภาพแวดล้อม ในมิติจากภายในและภายนอกที่ชัดเจน และลึกซึ้ง
เพราะเป็นสิ่งที่ผู้คนในท้องถิ่นสร้างขึ้น ซึ่งจะต้อง มี ก ารแปลความในระบบสั ญ ลั ก ษณ์ ท ี ่ ป รากฏใน ตำนานเหล่านั้น ! ซึ ่ ง พื ้ น ฐานของมนุ ษ ย์ ใ นระบบดั ้ ง เดิ ม นั ้ น เห็ น ว่าพื้นที่สาธารณะ เป็นของส่วนรวม ผ่านตัวแทน ในนาม พระผู้เป็นเจ้า หรือเป็น ของหลวงหรือของ พระมหากษัตริย์ ในยุคหนึ่ง แต่มนุษย์ก็เริ่มสร้าง ความเชื่อใหม่ๆ เพื่อท้าทายอำนาจศักดิ์สิทธิ์ในการ ควบคุ ม การอยู ่ ร ่ ว มกั น มาเมื ่ อ ไม่ ก ี ่ ร ้ อ ยปี ม านี ้ ซึ่งปรากฏในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรมทางฝ่าย ตะวันตกที่มีความคิดควบคุมธรรมชาติและมนุษย์ ด้วยกันเองไปจนถึงปรากฏการณ์ในยุคอาณานิคม และโลกาภิวัตน์ตามลำดับ
[21]
มูล นิธิ เล็ ก-
ธุ์
พัน
ปร ะไพ
คนไทยขาดความรู ้ แ ละความสนใจในเรื ่ อ ง ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม ตั้งแต่ในระดับ ท้ อ งถิ ่ น ไปจนถึ ง ระดั บ ภู ม ิ ภ าคและระดั บ ประเทศ ทำให้ไม่เข้าใจถึงสภาพความเป็นจริงของสังคมไทยที่ มีความหลากหลายแตกต่างทั้งทางชีวภาพ ชาติพันธุ์ และวัฒนธรรม จึงมักเกิดความขัดแย้งทางสังคมและ การเมืองขึ้นหลายต่อหลายครั้ง เช่น ปัญหาการแย่ง ชิงฐานทรัพยากรของท้องถิ่นโดยหน่วยงานรัฐหรือ นายทุนที่ละเมิดต่อกฎเกณฑ์ที่เคยมีอยู่ร่วมกัน ! แม้การเปลี่ยนแปลงระบบวิธีคิดจากการยอมรับ โอนอ่อนในอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยไม่ให้เกิดความ ขัดแย้งจะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงในหลายพื้นที่หลาย ท้องถิ่น แต่ก็ถือว่ายังไม่อาจเปลี่ยนแปลงอย่างถอน รากถอนโคน เพราะธรรมชาติของมนุษย์ที่มีความ อ่อนแอเป็นทุนเดิม มิติความสัมพันธ์ที่ขาดหายไปใน ยุคปัจจุบันคือ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับอำนาจ ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ เ หนื อ ธรรมชาติ ก ็ ไ ม่ ไ ด้ เ ปลี ่ ย นแปลงไป ทั้งหมด แต่กลับมีรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ! เช่นที่ “หนองหานกุมภวาปี” อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี อันเป็นพื้นที่ซึ่งจะกระทบกระเทือน จากโครงการขุดเหมืองแร่โปแตสของบริษัทต่างชาติที่ ได้รับสัมปทานจากรัฐบาลไทย การทำแร่โปแตสจะ ทำให้ ช ั ้ น หิ น เกลื อ ขึ ้ น มาตามแร่ ท ี ่ ข ุ ด เป็ น จำนวน มหาศาล อาจทำให้เกิดสภาพดินเค็มอย่างควบคุมไม่ ได้ แ ละเมื ่ อ มี ก ารจั ด เวที แ สดงความคิ ด เห็ น ของ
ยะ
= การขาดองค์ความรู้เรื่อง “ภูมิวัฒนธรรม” ทำให้
ชาวบ้านในลักษณะประชาพิจารณ์ขึ้นก็มีเด็กนักเรียน ของโรงเรียนในท้องถิ่นได้ขึ้นมาอภิปรายว่า การขุดแร่ โปแตสที ่ ท ำให้ เ กลื อ ขึ ้ น มานั ้ น เป็ น เสมื อ นการกิ น กระรอกด่อน (เผือก) ในตำนานผาแดงนางไอ่ ! เพราะกระรอกด่อนหรือกระรอกขาวนั้นหมายถึง เกลื อ ที ่ อ ยู ่ ใ ต้ ด ิ น จะทำให้ บ ้ า นเมื อ งเกิ ด ความวิ บ ั ต ิ เหมือนในตำนานที่ผู้คนพากันกินกระรอกเผือกแล้ว บ้านเมืองล่มจม ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงการบอกเล่า และความเชื่อที่ถูกปรับ แต่ยังคงความหมายเดิมที่ยัง ไม่ได้สูญหายไปแต่อย่างใด ! ทุกวันนี้การรับรู้ในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับสภาพแวดล้อมขาดหายไป ผู้คนในสังคม ปั จ จุ บ ั น ที ่ เ ป็ น คนรุ ่ น ใหม่ ม ี ช ี ว ิ ต อยู ่ ใ นสั ง คม อุ ต สาหกรรมอาจไม่ ร ู ้ จ ั ก และไม่ เ ข้ า ใจในรากเหง้ า ของแผ่นดินและผู้คน เพราะมองแต่สภาพแวดล้อม ใกล้ตัวในปัจจุบันและอนาคต สภาพแวดล้อมทางภูมิ วัฒนธรรมแทบทุกแห่งทุกภูมิภาคได้รับผลกระทบ กระเทือนจากการปรับเปลี่ยนภูมิประเทศที่เป็นสังคม เกษตรมาเป็นอุตสาหกรรมอย่างยิ่ง รวมทั้งผู้คนท้อง ถิ่นก็เคลื่อนย้ายออกไปอยู่ตามที่ต่างๆ จนแทบไม่อาจ ให้ข้อมูลถึงความเป็นมาในอดีตได้ ! และการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองและวัฒนธรรม ซึ่งมองอดีตอย่างหยุดนิ่งและเน้นแต่เรื่องปัจจุบัน อาจไม่ใช่คำตอบที่หยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ การล่มสลายของสังคมท้องถิ่นได้ หากขาดเสียซึ่งมิติ ในการทำความเข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ข องมนุ ษ ย์ ก ั บ สภาพแวดล้อมและอำนาจศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ซึ่งเคยประ คับประคองสังคมมนุษย์มาทุกยุคทุกสมัย
วิริ
สังคมแห่งความหลากหลายต้องเข้าใจ ภูมิวัฒนธรรม
ภายใต้รัฐบาลของนักธุรกิจ การเมืองในยุคโลกาภิวัตน์ที่ถูก ครอบงำด้วยลัทธิและอำนาจ เศรษฐกิจการเมืองจากประเทศ มหาอำนาจทั้งทางตะวันตกและ ตะวันออก ประเทศไทยกลายเป็น ประเทศเอาไว้ขาย [For sale] [22]
ยะ
พัน
ธุ์
โอกาสในการทำงาน จนทำให้ ส ถาบั น ทางสั ง คม วัฒนธรรมที่เคยจรรโลงสิ่งที่เป็นศีลธรรม คุณธรรม และจริ ย ธรรมจนหมดความหมายและคุ ณ ค่ า ไป บั ง เกิ ด สิ ่ ง ชั ่ ว ร้ า ยในแผ่ น ดิ น ที ่ ย ากแก่ ก ารควบคุ ม ป้องกันและปราบปราม นั่นคือการทุจริตฉ้อราษฎร์ บังหลวงที่แพร่ไปทุกหนทุกแห่ง คล้ายกับการลุกลาม ของมะเร็งร้าย ! อาจกล่ า วได้ ว ่ า ทั ้ ง ประเทศชาติ แ ละสั ง คม ไทยกำลังเป็นมะเร็งระยะที่สี่ขั้นสุดท้ายก็ว่าได้ ! แต่ว่าความชั่วร้ายอย่างสุดๆ ที่เรียกว่าเป็นอนันต ริยกรรมของรัฐบาลเผด็จการทรราชของนายทุนใน ยุคโลกภิวัตน์ที่สามารถคุมเสียงส่วนใหญ่ในรัฐสภา สร้างนโยบายและการปฏิบัติการดำเนินงานบริหาร ประเทศในลั ก ษณะประชานิ ย มที ่ ม ั ก ลงเอยด้ ว ย การแจกเงินติดสินบนมอมเมาประชาชนที่ด้อยการ ศึกษาและไม่ทันโลกให้กลายเป็นทาสน้ำเงิน รับรู้การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบซื้อเสียง ขาย เสียงและระบบเศรษฐกิจทุนนิยมสามานย์ที่แพร่มา จากมหาอำนาจทางเศรษฐกิจและนายทุนข้ามชาติว่า เป็นของจริงของแท้ที่สังคมอริยะทางโลกตะวั น ตก เขาทำกัน ! จนทำให้ในทุกวันนี้ประเทศไทยที่เป็นประเทศ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดในโลกแห่งหนึ่งที่มีความ หลากหลายทางชีวภาพ มีที่ทำกิน มีอาหารอุดม สมบูรณ์กำลังกลายเป็นประเทศเพื่อขายเพื่อประมูล ของนายทุ น นานาชาติ ท ี ่ พ ร้ อ มเข้ า มาแทนที ่ ส ั ง คม เกษตรกรรมแต่เดิมที่ผู้คนมีที่ทำกินที่บ้าน มีเมือง
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
L สังคมท้องถิ่นแทบทุกภูมิภาคของประเทศไทย ล้วนอยู่บนเส้นทางของความวิบัติทางวัฒนธรรม L นับแต่การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแต่แลไม่เห็น สังคม มีแต่การเมืองแทนตั้งแต่สมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ ์ ธนะรั ช ต์ เป็ น นายกรั ฐ มนตรี ท ี ่ บ ุ ก เบิ ก กระทรวงวัฒนธรรม สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มาเป็น กระทรวงการพัฒนาที่ต่อมากลายเป็นสภา พัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติและมีแผนพัฒนาสืบมากว่า สิบแผนสิบฉบับในขณะนี้ ! ซึ ่ ง ล้ ว นเป็ น แผนพั ฒ นาประเทศชาติ ท ี ่ เ คยเป็ น สั ง คมเกษตรกรรมแบบชาวนาให้ เ ป็ น สั ง คม อุตสาหกรรม โดยใช้อำนาจรวมศูนย์อันเกิดจากการ ปกครองแบบรวมศูนย์ที่เป็นมรดกมาแต่ระบอบการ ปกครองสมบูรณาญาสิทธิราช สมัยรัชกาลที่ ๕ มา จนถึ ง สมั ย เปลี ่ ย นแปลงการปกครองเป็ น ระบอบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นพระประมุข จาก พ.ศ. ๒๔๗๕ มาจนสมัย ปัจจุบัน ที่แท้จริงก็ไม่เคยเป็นประชาธิปไตยตาม อุดมคติ หากเป็นระบอบเผด็จการของรัฐบาลทหาร และตำรวจที่มีนายกรัฐมนตรีที่เป็นคนในเครื่องแบบ กุมอำนาจในลักษณะทรราช ! แต่ในช่วงเวลาหลังราว ๒๐ ปีที่ผ่านมา ทรราชใน เครื่องแบบลดน้อยลงและเปิดทางให้บรรดาพ่อค้า นายทุ น และนั ก ธุ ร กิ จ ข้ า มชาติ ข ึ ้ น มาจั ด ตั ้ ง รั ฐ บาล ทรราชเสียเอง โดยได้สยบข้าราชการทั้งในเครื่องแบบ และไม่มีเครื่องแบบทั้งระดับสูงและระดับล่างให้เข้ามา เป็นผู้รับใช้อย่างซื่อสัตย์ด้วยอำนาจเงิน ตำแหน่งและ
ศรีศักร วัลลิโภดม
พื ้ น ที ่ ท างวั ฒ นธรรม
การโต้ กลั บ ทางภู ม ิ ป ั ญ ญาของคนใน [23]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
ทั้งในแนวพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น พวก เน้นเศรษฐกิจ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเรื่อง ของอาหาร ยารักษาโรค และสุขภาพของการเป็นอยู่ กับแนวทางฟื้นฟูชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งก็มี ทั้งในรูปแบบของการเข้าไปมีส่วนร่วมบ้าง หรือ ดำเนินโครงการเสียเองจนเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้ง และถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกมือที่สามเข้าไปปลุกปั่น ยุยงให้เกิดความขัดแย้งกับรัฐและคนภายนอก ! มูลนิธิเล็ก–ประไพ วิริยะพันธุ์ ก็อยู่ในขบวนการ เคลื่อนไหวทางปัญญาที่ช่วยเหลือสังคมชายขอบและ สังคมที่ด้อยโอกาสตามท้องถิ่น แต่ไม่ได้ลงไปยัง ชุมชนในลักษณะของการดำเนินโครงการให้ในการ พัฒนาทางวัตถุ หากเป็นการเข้าไปช่วยเสริมและ สนับสนุนให้ชุมชนรู้จักตัวเอง มีสติปัญญาในการ เรี ย นรู ้ แ ละสร้ า งความรู ้ ท างสั ง คมวั ฒ นธรรมเพื ่ อ พัฒนาตนเองและปรับตัวให้ทันโลกในกระแสโลกาภิวัตน์ ที่ได้ทำลายชีวิตวัฒนธรรมของผู้คนนับแต่ ครอบครัว ชุมชน จนถึงท้องถิ่นอยู่ในขณะนี้ ! งานของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ทุกวันนี้จึง เป็นงานในลักษณะเสริมความรู้และสนับสนุนความ เข้มแข็งของชุมชน [Empowerment] เพื่อคนในชุมชน ท้ อ งถิ ่ น ได้ ม ี ค วามรู ้ ค วามสามารถในการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมด้วยตนเองในลักษณะที่เป็นท้อง ถิ่นวัฒนา [Localization] ซึ่งเป็นการพัฒนาจากข้าง ล่างขึ้นบน [Bottom up] เพื่อต่อรองกับการพัฒนา เศรษฐกิจการเมืองจากข้างบนคือจากรัฐบาลและจาก ทุนที่มาจากภายนอก ! แต่สิ่งที่เป็นรูปธรรมที่สุดที่มูลนิธิฯ ได้ดำเนิน งานมาก็ ค ื อ การสนั บ สนุ น และแนะนำให้ ผ ู ้ ค นใน ชุมชนสร้างความรู้ประวัติศาสตร์สังคมของผู้คนใน ท้องถิ่นในรูปของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ! เป็ น ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ี ่ เ ป็ น เรื ่ อ งราวของชี ว ิ ต วัฒนธรรมของผู้คนในท้องถิ่นที่มีอยู่หลายชุมชน หลายครอบครั ว หลายเหล่ า หลายตระกู ล หลาย ชาติพันธุ์และศาสนาที่โยกย้ายถิ่นเข้ามาอยู่ในพื้นที่ เดียวกันคือ “ท้องถิ่น” เกิดสำนึกร่วมกันว่าเป็นคนที่
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
เป็นชุมชนมนุษย์มาช้านาน ให้เปลี่ยนไปเป็นสังคม อุ ต สาหกรรมที ่ น ายทุ น ต่ า งชาติ เ ข้ า มาเป็ น เจ้ า ของ แผ่นดิน เจ้าของกิจการอุตสาหกรรมหนัก เกิด แหล่ ง ที ่ อ ยู่อาศัยแบบบ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม นิ ค มอุ ต สาหกรรมที ่ ม ี ค นไทยแต่ เ ดิ ม กลายเป็ น แรงงานที่อยู่ไม่ติดที่ ต้องโยกย้ายถิ่นฐานไม่สามารถ สร้างสิ่งที่มนุษยชาติพึงมีคือ ครอบครัวและชุมชน ส่วนคนที่ไม่เป็นแรงงานเป็นกรรมกร แม้จะไม่กลาย เป็ น คนพลั ด ถิ ่ น ที ่ ก ็ ก ลายเป็ น ลู ก จ้ า งหรื อ ทาสติ ด ที่ดินให้กับพวกนายทุนและคนต่างชาติไป ! ภายใต้รัฐบาลทรราชของนักธุรกิจการเมืองที่ชั่ว ร้ า ยในยุ ค โลกาภิ ว ั ต น์ ท ี ่ ถ ู ก ครอบงำด้ ว ยลั ท ธิ แ ละ อำนาจเศรษฐกิจการเมืองจากประเทศมหาอำนาจทั้ง ทางตะวันตกและตะวันออก ประเทศไทยกลายเป็น ประเทศเอาไว้ขาย [For sale] ทรัพยากรทั้งธรรมชาติ และวัฒนธรรมรวมทั้งผู้คนที่ถูกบรรดานักวิชาการ ข้ามชาติให้ความสำคัญว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ก็มีไว้ เพื่อขายเพื่อเลหลัง จนในไม่ช้าพื้นที่แทบทุกตารางนิ้ว ของประเทศก็คงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของคนต่างชาติไป หมด โดยที่ผู้ที่เรียกว่าคนไทย คือทาสติดที่ดิน นี่เป็น ความรู ้ ส ึ ก นึ ก คิ ด ของข้ า พเจ้ า ที ่ ม ี ม านานกว่ า สาม ทศวรรษ และบุคคลผู้เป็นกัลยาณมิตรอีกเป็นจำนวน มาก ! ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวทางปัญญา [Intellectual movements] เกิดขึ้นเพื่อให้บรรดาผู้คนในท้องถิ่น ต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศได้มีสติปัญญาและ ความรู ้ ท างสั ง คมวั ฒ นธรรมและความเป็ น มนุ ษ ย์ ปลดแอกจากการรุ ก รานครอบงำทั ้ ง ในความคิ ด อุดมการณ์ ค่านิยม และการมองโลกแบบวัตถุนิยม และบริโภคนิยมออกจากการเป็นเหยื่อของลัทธิและ ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยสาธารณ์และ เศรษฐกิจทุนนิยมสามานย์ที่ทำลายความเป็นสัตว์ สั ง คมหรื อ สั ต ว์ ม นุ ษ ย์ ใ ห้ เ ป็ น เพี ย งแค่ ส ั ต ว์ ป ั จ เจก เดรัจฉาน ! การเคลื ่ อ นไหวของกลุ ่ ม ปั ญ ญาชนดั ง กล่ า ว มีความแตกต่างทั้งในด้านแนวทางและรูปแบบ คือมี
[24]
ยะ
พัน
ธุ์
พิธีกรรมที่ยังมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมขึ้น มาใหม่ ทั้งหลายแหล่เหล่านี้ถือได้ว่าเป็นการดึงคนใน ชุมชนโดยเฉพาะผู้ที่เป็นเยาวชนได้เกิดสำนึกร่วมและ ความภูมิใจในท้องถิ่นอันเป็นแผ่นดินเกิดขึ้น อีกทั้ง เป็นกลไกในการบูรณาการให้คนที่เข้ามาอยู่ใหม่ใน ท้องถิ่นได้รับรู้และกลายเป็นคนในท้องถิ่นขึ้น ! ในเรื่องนี้มูลนิธิฯ ได้เข้าไปมีส่วนร่วมเป็นอย่าง มากในการให้ ค ำปรึ ก ษาแนะนำในทางจั ด ตั ้ ง พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จนเกิดกระแสการสร้างพิพิธภัณฑ์ ขึ้นแพร่หลายไปในที่ต่างๆ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา แต่ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหลายแห่งที่เกิดขึ้นก็หาได้ประสบ ความสำเร็จเหมือนกันไม่ เพราะมีเป็นจำนวนมากที่ เป็นที่แสดงศิลปวัตถุเพื่อความสวยงาม เพื่อความเก่า แก่ที่หาดูยากอะไรทำนองนั้น หาได้ให้ความหมายที่จะ สื ่ อ ไปให้ ค นในท้ อ งถิ ่ น เข้ า ใจไม่ เพราะมั ก เป็ น พิพิธภัณฑ์ที่จัดตั้งโดยคนนอกที่รับทุนจากราชการ จากมูลนิธิฯ และกองทุนเอกชนที่มุ่งให้กลายเป็น แหล่งท่องเที่ยวของชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้จากการ ท่องเที่ยว ซึ่งสวนทางกับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่เกิดจาก กระบวนการเรียนรู้ของคนในเพื่อให้คนในชุมชนโดย เฉพาะเยาวชนได้ ร ู ้ จ ั ก ตั ว เองและมี ค วามรู ้ ท าง ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดกันมาช้านาน เพื่อการดำรงชีวิต รอดร่วมกัน ! มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ สนับสนุนการจัด พิพิธภัณฑ์ที่มาจากความต้องการและความสำเร็จ จากคนในด้วยการชักชวนและแนะนำให้คนในท้อง ถิ่นทั้งผู้รู้และเยาวชนได้สร้างประวัติศาสตร์สังคม วัฒนธรรมของท้องถิ่นขึ้นเพื่อเป็นผลงานวิจัยพื้น ฐาน [Basic research] เพื่อเป็นองค์ความรู้ที่จะนำไป กำหนดเรื่องราว และเลือกเฟ้นสิ่งของที่มีความหมาย มาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ เพราะประวัติศาสตร์ท้อง ถิ ่ น เป็ น เรื ่ อ งทางสั ง คมวั ฒ นธรรมที ่ ค นนอกไม่ สามารถทำได้ ต้องเป็นเรื่องของคนในเท่านั้น ! องค์ความรู้ดังกล่าวนี้ได้เกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย ในท้องถิ่นที่ยังมีความเป็นชุมชนอยู่ และคนในท้อง ถิ่นได้ใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างสำนึกร่วม สร้าง
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
เกิดในถิ่นหรือพื้นที่เดียวกัน เช่นในบรรดาผู้คนและ ชุมชนที่อยู่ริมแม่น้ำลำคลองก็จะมีท้องถิ่นที่เรียกว่า บาง เช่น บางแม่หม้าย บางขันหมาก บางระมาด บางยี่ขัน อะไรทำนองนั้น หรือพื้นที่ซึ่งคนอยู่อาศัย ร่วมกันในเขตเมืองเช่น กรุงเทพฯ ธนบุรี ก็เรียกว่า ย่าน เช่น ย่านพระโขนง ย่างบางลำพู ย่านแม้นศรี จักรวรรดิ เป็นต้น ! ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ดั ง กล่ า วนี ้ ก ็ ค ื อ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ข องผู ้ ค นในสั ง คมที ่ อ ยู ่ ใ นพื ้ น ที ่ วัฒนธรรมเดียวกันนั่นเอง ปัจจุบันการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ-การเมืองของรัฐแบบจากบนลงล่างนั้น สร้างพื้นที่ทางเศรษฐกิจการเมืองลงไปแทนที่พื้นที่ วัฒนธรรมของท้องถิ่นด้วยการกำหนดเป็นเขตขึ้น แทนย่าน และเขตตำบลและอำเภอ อันเป็นพื้นที่การ บริหารขึ้นแทน ซึ่งมีผลกระทบไปถึงความเป็นชุมชน ของคนที่อยู่ในพื้นที่วัฒนธรรมแต่เดิม หลายแห่งเกิด การล่มสลายตั้งแต่ครอบครัวไปถึงชุมชนท้องถิ่น และ สิ ่ ง ที ่ ค ื บ คลานเข้ า มาแทนที ่ ใ นยุ ค โลกาภิ ว ั ต น์ ก ็ ค ื อ บรรดาบ้านจัดสรร ทาวน์เฮ้าส์ คอนโดมิเนียม สถาน ที่บริการการค้าต่างๆ นานาที่ไม่ใช่ชุมชน ! จากประสบการณ์ของข้าพเจ้าและมูลนิธิฯ พบว่า ท่ามกลางการล่มสลายของครอบครัวและชุมชนที่ เป็นอัตลักษณ์ของความเป็นมนุษย์นั้น หลายแห่ง หลายท้องถิ่นและชุมชนยังหาหมดสิ้นไปไม่ แหล่ง ไหนที่ยังมีคนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่ที่ยังรู้จักความเป็น มาของชุมชนตนเองก็มีการเคลื่อนไหวทางปัญญา เกิดขึ้น เพื่อยึดพื้นที่วัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น คืนมา ซึ่งถึงแม้จะเอาคืนมาไม่ได้เหมือนเดิมก็เอาคืน ทางด้านสัญลักษณ์ที่ทำให้ผู้คนในท้องถิ่นได้รู้จักได้ สำนึกและมีสติปัญญาที่จะจัดการตนเอง นำความเป็น ชุมชนและความเป็นมนุษย์คืนมา ! อย่างเช่นคนในชุมชนติดกันรวบรวมโบราณวัตถุ ทางชาติพันธุ์ของท้องถิ่นมาร่วมสร้างพิพิธภัณฑ์เพื่อ ให้ เ ยาวชนได้ เ รี ย นรู ้ ว ั ฒ นธรรมและภู ม ิ ป ั ญ ญาใน อดีต หรืออนุรักษ์พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ อาคารบ้านเรือน เก่าๆ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และสร้างฟื้นฟูประเพณี
[25]
พระธาตุ ห ้ ว ยงู หมู ่ บ ้ า นกะเหรี ่ ย งที ่ เ วี ย งป่ า เป้ า เพื ่ อ เป็ น ประธานในการปกป้ อ ง ผื น ป่ า จากการเข้ า มาทำไร่ ข ้ า วโพด
ธุ์
โดยรอบหมู ่ บ ้ า น
ปร ะไพ
วิริ
ยะ
พัน
Type to enter text
มูล นิธิ เล็ ก-
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่มีความหมายและมีชีวิต แต่ที่ สำคัญที่สุดก็คือการใช้เป็นสิ่งต่อรองเชิงอำนาจใน ลักษณะประชาพิจารณ์ในยามที่ท้องถิ่นถูกคุกคาม จากรัฐและนายทุนที่รุกล้ำเข้ามาแย่งพื้นที่ยึดครอง และแย่งทรัพยากร ข้าพเจ้าเรียกการเคลื่อนไหวเพื่อ การตอบโต้ แ ละการต่ อ รองอำนาจทางการเมื อ ง เศรษฐกิจจากรัฐและจากทุนอันมาจากภายนอกนี้ว่า การโต้ ก ลั บ ของคนในท้ อ งถิ ่ น ด้ ว ยพลั ง ทางสั ง คม วัฒนธรรม [Countervailing power] ซึ่งจะเป็น อำนาจทางสังคมในทางติชมและตรวจสอบ [Social sanction] ! ปัจจุบันบ้านเมืองและท้องถิ่นที่ยังมีรากเหง้าทาง วัฒนธรรมเกือบแทบทุกภูมิภาคที่ถูกรุกรานและรุก ล้ำจากภายนอกทั้งจากทางรัฐ ทางราชการ และกลุ่ม ทุนในทางเศรษฐกิจและการเมืองได้มีการเคลื่อนไหว โต้กลับทางวัฒนธรรมเพื่อรักษาพื้นที่วัฒนธรรมมาก ขึ้นเรื่อยๆ ในลักษณะที่เป็นการร่วมมือของผู้คนใน
ภาคประชาสังคม [Civil society] ที่มีลักษณะเป็น เครือข่าย มีการเรียนรู้ร่วมกัน และเข้าไปช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน ! ดังตัวอย่างเช่นการเคลื่อนไหวของประชาคมคน เมืองสกลนครที่ ออกมาต่อต้านคณะสงฆ์ธรรมกาย เข้ายึดครองถือกรรมสิทธิ์ในพื้นที่ดอนสวรรค์อันเป็น พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในตำนานที่คนหนองหารสกลนคร ถือว่าเป็นสมบัติร่วมของท้องถิ่นตามจารีต หาใช่ กรรมสิทธิ์ของรัฐที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจใน การออกเอกสารสิทธิ์ให้กลุ่มคนภายนอกเช่นคณะ สงฆ์ธรรมกายไม่ การรณรงค์ต่อต้านครั้งนี้เป็นผลให้ ผู้รุกรานจากภายนอกต้องหยุดยั้งและผู้ว่าราชการ จังหวัดก็ยอมเลิกถอนคำสั่ง ! หรือในย่านตลาดน้ำอัมพวา สมุทรสงครามที่มี นายทุนต่างถิ่นเข้ามากว้านซื้อที่บ้านเรือนและร้านค้า ของผู้คนในชุมชนที่เคยอยู่กันมาช้านาน เพื่อก่อสร้าง อาคารสูงทันสมัยให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อหารายได้
[26]
ยะ
พัน
ธุ์
มีศาลหลักเมืองและหอพระพุทธรูปตั้งอยู่ในบริเวณ นั้นด้วย ! พระเจ้าพรหมผู้สร้างเมืองเวียงพางคำซึ่งเป็นเมือง เก่ า ในเขตอำเภอแม่ ส ายเป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ใ น ตำนานโยนกนาคพันธุ์ที่ประวัติศาสตร์ไทยสมัยหนึ่ง เคยยกย่องว่าเป็นพระมหาราชองค์แรกของชาติไทย ทรงเป็นเชื้อสายของพระยาสิงหนวัติกุมารผู้นำชนชาติ ไทยเคลื่อนย้ายจากตอนใต้ของประเทศจีนมาสร้าง บ้านแปงเมืองในแอ่งเชียงราย ทรงขับไล่พวกขอมที่ เคยมีอำนาจในดินแดนมาก่อนและสร้างเมืองโยนก นาคพันธุ์ขึ้นเป็นเมืองหลวงที่ต่อมาตัวเมืองเชียงแสน ในประวัติศาสตร์ไทยรุ่นก่อนยกย่องว่า พระเจ้าพรหม กุมารทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์เชียงราย ซึ่ง เป็ น ต้ น ราชวงศ์ ข องพระเจ้ า อู ่ ท องผู ้ ส ร้ า ง พระนครศรีอยุธยาและขึ้นครองราชย์ในพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ พระเจ้าพรหมกุมารจึงได้ รับการยกย่องว่าทรงเป็นมหาราชองค์แรกของชาติ ไทยในสมัยแรกๆ ตามที่กล่าวมาแล้ว ! แต่ในการรับรู้และการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ของกลุ ่ ม คนชาติ พ ั น ธุ ์ ไ ทใหญ่ ซึ ่ ง พระเจ้ า พรหม กุมารคือผู้นำวัฒนธรรมของคนยวนหรือโยนกที่เข้า มาตั้งหลักแหล่งสร้างบ้านแปงเมืองในแอ่งเชียงราย โดยการเคลื ่ อ นย้ า ยมาจากต้ น น้ ำ สาละวิ น ในพม่ า ตอนเหนือ ผ่านเขตอำเภอฝางมาตามลำแม่น้ำกก และเข้ามาตั้งรกรากอยู่ที่หนองหล่ม สร้างบ้านแปง เมืองขึ้นเป็นรัฐและอาณาจักร ! คนยวนหรื อ โยนกนี ้ แ ท้ จ ริ ง คื อ กลุ ่ ม ชาติ พ ั น ธุ ์ ไทใหญ่เคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งหลักแหล่งบนที่ราบลุ่ม และรั ง สรรค์ ก ั บ คนชาติ พ ั น ธุ ์ ล ั ว ะบนที ่ ส ู ง ซึ ่ ง มี พั ฒ นาการสร้ า งบ้ า นแปงเมื อ งและลงมาตั ้ ง หลั ก แหล่ ง ในที ่ ร าบลุ ่ ม เชี ย งรายในนามของคน ชาติพันธุ์ลื้อ ! คนลื ้ อ มี ผ ู ้ น ำวั ฒ นธรรมในตำนานที ่ ส ำคั ญ คื อ ปู่เจ้าลาวจก ลวจัก ราช ลาวเก้าแก้วมาเมือง และ ขุนเจือง ที่เป็นกษัตริย์ยิ่งใหญ่เสมอพระเจ้าพรหม กุมาร
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
และกำไรให้กับตนเองก็ได้รับการต่อต้านขับไล่ และไม่ เห็นด้วยจากประชาคมคนแม่กลองที่ถือว่าพื้นที่ริม ลำคลองและย่านตลาดเป็นพื้นที่วัฒนธรรมของคนแม่ กลองก็ ท ำให้ ผ ู ้ ท ี ่ เ ป็ น นายทุ น ต้ อ งเลิ ก ราไปก่ อ น เหตุการณ์จะบานปลาย ! หรือที่อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีนายก เทศมนตรีที่เป็นคนต่างถิ่นคบกับนักธุรกิจในอำเภอ ทำโครงการเปลี่ยนพื้นที่สาธารณะของเมืองที่อยู่หน้า วัดม่วยต่อซึ่งเป็นวัดมหาธาตุให้เป็นสถานท่องเที่ยวใน นามของญี่ปุ่นน้อย [Little Japan] เพื่อดึงดูดให้นัก ท่องเที่ยวและนักลงทุนเข้ามาลงทุน โดยที่พื้นที่ดัง กล่ า วเป็ น ลานวั ฒ นธรรมหรื อ ลานคนเมื อ งที ่ ค น เมืองขุนยวมใช้ในงานประเพณี พิธีกรรม และเป็น แหล่ง หย่อนใจ จึงเกิดการต่อต้านขึ้นโดยการรวมตัว ของคนเมืองที่นำเอา ความรู้ในเรื่องความเป็นมาใน ชีวิตวัฒนธรรมที่เคยมีมาแต่อดีตในรูปประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นขึ้น ต่อต้านและต่อรองจนโครงการญี่ปุ่นน้อย ต้องระงับไป และเปิดโอกาสให้คนเมืองเข้ามาร่วมดูแล และจัดการในส่วนของประชาคม ! ตัวอย่างที่ยกมากล่าวนี้เป็นเรื่องของการที่ทั้ง ราชการ นายทุน และองค์การจากภายนอกอ้างสิทธิ์ และอำนาจทางกฎหมายของรัฐเข้ามา รุกล้ำพื้นที่ทาง วัฒนธรรมอันเป็นมรดกและสมบัติร่วมโดยจารีตของ คนท้องถิ่นทั้งสิ้น แต่ในขณะนี้ก็มีหลายท้องถิ่นที่มี ความเป็นชุมชนที่ทั้งกลุ่มประชาคม ฝ่ายบริหาร เช่น นายกเทศมนตรี นายอำเภอ และฝ่ายเศรษฐกิจ เช่น สภาหอการค้าร่วมกันพัฒนาวัฒนธรรมเพื่อปกป้อง การรุกล้ำทางเศรษฐกิจการเมืองจากภายนอกเพื่อ รักษาพื้นที่วัฒนธรรมของท้องถิ่นและชุมชนไว้ ! เช่นที่เมืองแม่สาย จังหวัดเชียงราย ที่อยู่ติด ชายแดนประเทศพม่าในตำบลท่าขี้เหล็ก ได้มีการ ฟื ้ น ฟู ต ำนานและความเชื ่ อ เรื ่ อ งพระเจ้ า พรหม มหาราชขึ้นมาเป็นผู้นำวัฒนธรรม แสดงอัตลักษณ์ ของคนชาติไทใหญ่ ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ใน ท้ อ งถิ ่ น ประดิ ษ ฐานอยู ่ ก ลางลานหน้ า ที ่ ว ่ า การ อำเภอแม่ ส ายอั น อยู ่ บ ริ เ วณใจกลางของเมื อ ง
[27]
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
จากถิ่นต่างๆ ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และทุกวัยจะพากัน ออกมาจัดขบวนแห่ไปสักการะรูปปั้นพระเจ้าพรหม ร่ ว มกั น ไปยั ง ลานวั ฒ นธรรมที ่ ม ี ร ู ป ปั ้ น ผู ้ น ำ วัฒนธรรมเป็นประธาน มีงานฉลอง มีการแสดง ต่างๆ นานา รวมทั้งนำผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของท้องถิ่น มาจำหน่ายโดยคนท้องถิ่น แต่ที่โดดเด่นก็คืออาหาร พื้นเมืองแม่สายซึ่งเป็นอาหารแบบไทยใหญ่ เช่น ข้าวฟืมแบบต่างๆ เป็นต้น รวมทั้งบรรดาศิลปะ ลวดลายและสิ่งประดับต่างๆ ก็เป็นแบบที่สืบเนื่อง มาจากวัฒนธรรมไทยใหญ่เกือบทั้งสิ้น สังคมไทย ใหญ่เป็นสังคมที่มีลายลักษณ์อักษรเป็นสิ่งที่แสดง ถึงการเป็นสังคมที่มีอารยธรรมมาแต่โบราณ ! การเคลื ่ อ นไหวทางวั ฒ นธรรมเกี ่ ย วกั บ ผู ้ น ำ วัฒนธรรมของคนเมืองแม่สายนั้นมีความหมายทั้ง ในด้านบูรณาการวัฒนธรรมให้คนที่อยู่แม่สายทั้ง เก่าและใหม่ได้สังสรรค์กัน เกิดสำนึกร่วมถึงการ เป็นคนเมืองเดียวกัน นับเป็นการตอกย้ำอัตลักษณ์ และการมีอยู่ของพื้นที่วัฒนธรรม และแสดงการ ตอบโต้การรุกล้ำของพื้นที่เศรษฐกิจและการเมือง ที่มาจากภายนอก ที่จะส่งผลไปถึงการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมที่จะเกิดผลประโยชน์แก่คนเมืองอันเป็น ผลพลอยได้ที่ตามมา ! การเคลื ่ อ นไหวทางวั ฒ นธรรมในเรื ่ อ งผู ้ น ำ วัฒนธรรมนี้กำลังแพร่หลายไปในชุมชนท้องถิ่นอีก หลายแห่งในภาคเหนือของประเทศไทยเช่นที่จังหวัด น่านเป็นต้น ! นอกจากแม่ ส ายแล้ ว ก็ ย ั ง มี ก ารเคลื ่ อ นไหวใน เรื ่ อ งการอนุ ร ั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาพื ้ น ที ่ ว ั ฒ นธรรมของ เมืองเชียงของที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขงให้เป็น “เมือง ประวัติศาสตร์มีชีวิต” [Living historic city] โดย ภาคประชาสังคมเมืองเชียงของ ซึ่งทั้งข้าราชการเช่น นายอำเภอและสภาหอการค้าซึ่งมีนักธุรกิจอันเป็น คนท้องถิ่นกำลังร่วมมือกันเพื่อป้องกันการรุกล้ำ ทางเศรษฐกิจ การเมืองที่จะมาจากคนจีนที่จะแห่ กันมาทั้งเที่ยวและลงทุนที่เชียงของ และที่อื่นๆ ใน ลุ่มน้ำอิง
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
เมืองแม่สายเดิมในตำนานเป็นเมืองที่สร้างโดยลว จักราชในนามหิรัญนครเงินยาง แต่เมื่อกลุ่มคนยวน เข้ามาครอบครองในระยะหลังเปลี่ยนมาเป็นเมืองพาง คำของพระเจ้าพรหมมหาราชไป ปัจจุบันคนไทยใหญ่ เป็นชนกลุ่มใหญ่ที่อยู่ในเมืองนี้มานานหลายชั่วคน ได้สร้างตำนานเมืองให้เป็นประวัติศาสตร์ถ่ายทอดให้ คนรุ ่ น หลั ง ๆ ที ่ แ ม้ จ ะมี ค วาม หลากหลายทาง ชาติพันธุ์เข้ามาตั้งถิ่นฐานกลายเป็นคนแม่สายได้รับ รู้เรื่อยมาทั้งในการถ่ายทอดจากการบอกเล่าและการ ร่วมกิจกรรมทางสังคมในด้านประเพณี พิธีกรรม ทั้ง ในพุ ท ธศาสนาและการนั บ ถื อ ผี แ ละอำนาจเหนื อ ธรรมชาติ ทำให้เกิดชื่อบ้านนามเมืองและสถานที่ทั้ง เก่าและใหม่ล้วนเกี่ยวข้องกับตำนานพระเจ้าพรหม กุมาร ! ปัจจุบันเมื่อเมืองแม่สายหรืออำเภอแม่สายใน ขณะนี้ตั้งอยู่ติดชายแดนพม่า ได้กลายเป็นเมืองการ ค้าชายแดนที่มีการเติบโตขยายตัวของการค้าชายแดน ที่ทั้งหลายชาติพันธุ์และทุนใหญทั้งในชาติและข้ามชาติ เข้ามาดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในเมืองแม่สาย เกิดสถานการค้า สถานที่บริการ และแหล่งที่อยู่อาศัย ของผู ้ ค นร้ อ ยพ่ อ พั น แม่ เ กิ น กำลั ง ที ่ โ ครงสร้ า ง วัฒนธรรมและจารีตประเพณีจะบูรณาการให้คนที่เข้า มาใหม่กลายเป็นคนแม่สายและมีสำนึกในบ้านเกิด แผ่นดินเกิดได้ ! กลุ ่ ม ผู ้ อ าวุ โ สที ่ ม ี ท ั ้ ง ผู ้ ท ี ่ เ ป็ น ครู บ าอาจารย์ ข้าราชการ และนักธุรกิจ สภาหอการค้าซึ่งเป็นคน แม่ ส ายร่ ว มกั น รื ้ อ ฟื ้ น ตำนานพระเจ้ า พรหมกุ ม าร ที ่ โ ดดเด่ น คื อ รู ป ปั ้ น ของพระเจ้ า พรหมในลั ก ษณะ ประทับยืนออกศึกเป็นประธานอยู่ท่ามกลางพื้นที่ ซึ ่ ง เป็ น ลานวั ฒ นธรรมของคนเมื อ ง รู ป ปั ้ น ของ พระเจ้าพรหมมีลักษณะยกแท่นสูงแบบอนุสาวรีย์ที่ เป็นสากล แต่เป็นอนุสาวรีย์ที่ศักดิ์สิทธิ์ เพราะเป็น ที ่ ผ ู ้ ค นไปกราบไหว้ ส ั ก การะได้ ต ลอดเวลา แต่ ท ี ่ สำคัญจะกำหนดวันเวลาในการประกอบพิธีกรรม ฉลองในรอบปี ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นประเพณีสิบสอง เดือนที่เกิดขึ้นใหม่ ทุกครั้งที่มีประเพณีพิธีกรรม เป็นงานฉลองสมโภชหรืองานประจำปี คนแม่สาย
[28]
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
และขุนนางที่เสด็จประพาสและตามเสด็จ ประพาสป่ า ผ่ า นย่ า นที ่ อ ยู ่ อ าศั ย ของคน กะเหรี่ยง ! มาถึงสมัยรัฐบาลเชื้อชาตินิยมของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม และรัฐบาล ประชาธิปไตยแบบทรราช ล้วน มองคนกะเหรี ่ ย งว่ า ไม่ ใ ช่ ค น ไทยและเป็นพลเมืองอันดับ บ้ า นห้ ว ยหิ น ลาดใน สองหรือสาม มีการเคลื่อน อำเภอเวี ย งป่ า เป้ า ย้ายถิ่นฐานทำไร่เลื่อนลอย จั ง หวั ด เชี ย งราย ตั ด ไม้ ท ำลายป่ า ค้ า ของ เถื่อน ไม่ให้ประโยชน์อันใด แก่ประเทศชาติ จึงเกิดการรุก ล้ำถิ่นฐานของคนกะเหรี่ยงเข้าไปยึด ครองที่ดินทำเกษตรกรรมอุตสาหกรรม ! แต่การเคลื่อนไหวรายสุดท้ายในบทความนี้ก็คือ “การประกาศพื้นที่วัฒนธรรม” ของผู้คนในชุมชน สร้างพื้นที่อุตสาหกรรมจนคนกะเหรี่ยงที่อยู่กันเป็น กะเหรี่ยงบ้านห้วยหินลาดใน เขตอำเภอเวียงป่าเป้า ชุ ม ชนมาก่ อ นโดยโคตรเหง้ า ของนายทุ น และ จังหวัดเชียงราย คนกะเหรี่ยงเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็น ข้าราชการที่บุกรุกจะเกิดการรุกล้ำแบบทำลายโดยคน ชนชาติเช่นเดียวกับคนมอญที่เคลื่อนย้ายเข้ามาตั้ง เมือง ข้าราชการ และนายทุนจากส่วนกลางนี้ เช่น ถิ่นฐานในประเทศไทยอันเนื่องจากการรุกรานและ การบุกเข้าไปล่าสัตว์ในทุ่งใหญ่นเรศวร ตัดไม้ทำลาย กดขี่ของพม่าในสมัยกรุงเทพฯ ตอนต้น แต่ไม่ได้เข้า ป่ารวมทั้งเกิดขบวนการค้าของเถื่อน ยาเสพติดเหล่า มาแบบลี้ภัย หากเข้ามาเป็นพลเมืองและเป็นทหาร นี้ ผู้มีอำนาจในบ้านเมืองก็มักจะโทษว่าเป็นคน เป็นกำลังให้แก่ไทยในการสู้รบขับไล่กองทัพพม่าที่ กะเหรี่ยงทั้งสิ้น รุกรานไทยอย่างหนักแต่สมัยกรุงธนบุรีจนถึงสมัย ! แต่คนกะเหรี่ยงก็ยังอยู่แบบรักสงบ มีขันติ และ รัชกาลที่ ๑ สติปัญญา รวมทั้ง ต่อรอง ต่อต้าน การรุกล้ำรังแก ! ทั ้ ง กะเหรี ่ ย งและมอญคื อ กำลั ง สำคั ญ ที ่ ข ั บ ไล่ อย่างอหิงสา โดยสร้างเครือข่ายของคนกะเหรี่ยงนี้ กองทั พ พม่ า จนพ่ า ยแพ้ แ ละเข็ ด หลาบไม่ ก ล้ า เข้ า กระจายกันอยู่ตามภาคต่างๆ ของประเทศ เช่น ทาง มาอีก ทั้งรัชกาลที่ ๑ และสมเด็จฯ กรมพระราชวัง ภาค ตะวันตกและภาคเหนือให้รักษาความเป็นคน บวรทรงปูนบำเหน็จให้แหล่งที่อยู่อาศัยเป็นชุมชน กะเหรี่ยงที่รักป่า อยู่กับป่า ไม่ทำลายป่า สื่อสารให้ เป็ น บ้ า นเมื อ งตามชายแดนด้ า นตะวั น ตกของ บรรดาปัญญาชนทั้งหลายที่มีมนุษยธรรมได้รับรู้และ ประเทศ แต่งตั้งหัวหน้าคนกะเหรี่ยงและมอญให้ เผยแพร่ ส ั ง คมและวั ฒ นธรรมกะเหรี ่ ย งให้ ร ั บ รู ้ เป็ น ขุ น นางเป็ น เจ้ า เมื อ ง มี ศ ั ก ดิ ์ ม ี ต ระกู ล คน กันทั่วไป กะเหรี่ยงคือคนที่รักสงบอยู่กับธรรมชาติ รักป่ารัก ! ข้ า พเจ้ า เป็ น คนหนึ ่ ง ที ่ ร ั บ รู ้ แ ละเรี ย นรู ้ จ ั ก เขาและถิ่นฐาน อยู่กันด้วยเศรษฐกิจแบบยังชีพและ คนกะเหรี ่ ย งทำให้ ไ ด้ เ ห็ น ว่ า คนกะเหรี ่ ย งล้ ว นเป็ น พอเพียง นับถือทั้งผีและพุทธ ดังเห็นได้จากพระราช มนุ ษ ย์ ท ี ่ ม ี ช ุ ม ชน มี ว ั ฒ นธรรมที ่ เ ข็ ม แข็ ง และมี นิพนธ์และพระนิพนธ์ของพระมหากษัตริย์ เจ้านาย ปั ญ ญาเหนื อ ชุ ม ชนชาติ พ ั น ธุ ์ อ ื ่ น ๆ ควรมี ค นใน [29]
พัน
ธุ์
! ไร่หมุนเวียนอันเป็นอัตลักษณ์ของคนกะเหรี่ยง เป็นสิ่งที่อยู่ในพื้นที่ซึ่งคนกะเหรี่ยงอยู่กันมานานกว่า ร้อยปี หลายชั่วคนที่แลเห็นความสัมพันธ์ระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับอำนาจเหนือ ธรรมชาติอย่างมีดุลยภาพ ! เป็นพื้นที่ที่เรียกว่า “นิเวศวัฒนธรรม” นั่นเอง ! คนกะเหรี่ยงบ้านห้วยหินลาดในกำลังประกาศ สิ ท ธิ ธ รรมในการปกป้ อ งแผ่ น ดิ น เกิ ด ในนามของ “พื้นที่วัฒนธรรม” เพื่อตอบโต้ “เขตวัฒนธรรม พิเศษ” ที่ทางรัฐบาลโดยเฉพาะกระทรวงวัฒนธรรม ที่กำหนดขึ้นมาโดยไม่รู้ว่าคืออะไร [What] ทำไม [Why] และจะทำอย่างไร จัดการได้อย่างไร [How] ให้เป็นรูปธรรมขึ้นมา นอกจากประกาศออกมานาน และก็เงียบไปจนทุกวันนี้
วิริ
ยะ
สังคมเมืองยุคโลกาภิวัตน์ที่กำลังอยู่ในภาวะวิบัติ ได้เรียนรู้ให้เกิดสติปัญญา ! โดยเฉพาะเยาวชนซึ ่ ง กำลั ง จะเป็ น พลเมื อ ง คุณภาพต่ำที่สุดในประเทศกลุ่มอาเซียนในอนาคต ควรได้เรียนรู้ถึงชีวิตความเป็นอยู่ของคนกะเหรี่ยงที่ บ้านห้วยหินลาดใน ชุมชนที่กำลังสร้างวาทกรรม เรื ่ อ งไร่ เ ลื ่ อ นลอยที ่ ท างรั ฐ ทรราชและทุ น ข้ า มชาติ กล่าวว่าเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อมและทำให้โลกร้อน นั้น แท้จริงคือไร่หมุนเวียนที่เป็นอัตลักษณ์ของ เศรษฐกิจแบบยังชีพและเพียงพอ หาใช่ไร่เลื่อนลอย แบบที่กล่าวหา แท้จริงแล้วเป็นเพียงวาทกรรมของ บรรดาข้าราชการและนายทุนที่ชั่วช้าหมายบุกรุกที่ป่า เขาทำไร่ ถ าวรเพื ่ อ ผลิ ต ข้ า วโพดให้ ก ั บ โรงงานของ บรรดานายทุนข้ามชาติ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
การศึกษาวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคล้ายกับการศึกษาประวัติ ข องค รอ บค รั ว หรื อ สาย ตร ะก ู ล ซึ ่ ง ชาว บ้ า นธรรมดาๆ ก็ ส ามา ร ถทำไ ด ้ โ ด ยไม ่ ต ้ องมี ป ระ สบการณ์ ก ารศึ ก ษาทางประว ั ต ิ ศ าสตร์ อ ย่ า ง เป็ นทา ง กา ร
[30]
ทะเลสาบสงขลา บริเวณเกาะยอ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
พัฒนาการโดยย่อ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
ธุ์
(บทความนี้เขียนขึ้นเมื่อหลายปีมาแล้ว ข้อมูลจึงบกพร่อง อยู่มาก กำลังอยู่ในระหว่างการแก้ไขเพิ่มเติม จึงไม่ควร นำไปใช้อ้างอิงอย่างเป็นทางการ)
มูล นิธิ เล็ ก-
ยะ
ปร ะไพ
วิริ
ศึกษาประวัติศาสตร์ในพื้นที่ทางกายภาพขนาดเล็กๆ เช่น หมู่บ้าน เมืองเล็กๆ แคว้น มณฑล หรือเป็นท้องถิ่น ในการจัดรูปแบบใหม่ทางการปกครองเช่น อำเภอ หรือ จังหวัดก็อาจ นับได้ ! การศึ ก ษาวิ จ ั ย ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น คล้ า ยกั บ การศึกษาประวัติของครอบครัวหรือสายตระกูลซึ่งชาว บ้ า นธรรมดาๆ ก็ ส ามารถทำได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งมี ประสบการณ์การศึกษาทางประวัติศาสตร์อย่างเป็น ทางการในสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย ! เพราะโดยธรรมชาติของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นนั้น มักเริ่มขึ้นจากเรื่องราวบอกเล่าภายในของผู้คนในท้อง ถิ่นที่ยังคงมีเรื่องราวให้จดจำได้ และนักวิจัยท้องถิ่น สามารถเรียนรู้ได้จากความชำนาญเท่าที่จำเป็น ! การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นริเริ่มอย่างจริงจัง ที่อังกฤษในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ โดยเฉพาะ หนังสือของ W. G. Hoskins เรื่อง The Making of the English Landscape พิมพ์ครั้งแรกในปี ๑๙๕๕ ทำให้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นที่แพร่หลาย ! ในการศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น นั ้ น บั น ทึ ก เอกสารสำคั ญ ที ่ เ ก็ บ รั ก ษาไว้ ห รื อ ตกทอดสู ่ ล ู ก หลาน และผู ้ อ าวุ โ สในสั ง คมสามารถให้ ค ำแนะนำกระตุ ้ น และเป็นหลักฐานหรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ อีกทั้งการ เรียบเรียงและรูปแบบการเขียนเปิดกว้างมาก จึ ง มี ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจำนวนมากที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้าน แต่เป็นผู้ที่อยู่ในพื้นที่และรู้เรื่องราวและ รับรู้ในประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นของตนเอง ! นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นทั้งหมดใช้กระบวนการที่ เริ่มจากเก็บข้อเท็จจริงพื้นฐานจากหลักฐานในท้อง ถิ่น แล้ววิเคราะห์รายละเอียดที่มีอยู่มากมาย เช่น เรื่องราวชีวิตประจำวันกว้างๆ บริบททางภูมิศาสตร์ ความรู้ความชำนาญเฉพาะ เช่น อาชีพประจำท้องถิ่น การทำเกษตรกรรม การค้าขาย เป็นต้น แต่ก็มีอยู่ บ้างที่ บางคนใช้วิธีการศึกษาที่มีทฤษฎีวิเคราะห์ร่วม เพิ่มเติม ! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในต่างประเทศหลายๆ แห่ง มักดำเนินได้โดยการสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น ที ่ เ ป็ น หน่ ว ยงานการปกครองอย่ า งเป็ น ทางการและ สมาคมภาคเอกชน รวมทั้งผู้คนในชุมชน ! นอกจากการ ค้นคว้า การสัมมนาหรือจัดประชุมใน ระหว่างนักประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นด้วยกัน กิจกรรม หลักอื่นๆ ที่ส่งเสริมงานประวัติศาสตร์ท้องถิ่นให้มี ชีวิตชีวาและรับใช้ชุมชนก็คือ การจัดสร้างห้องสมุด, หอจดหมายเหตุ, พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น, การทำสินค้าที่ ระลึกในพิพิธภัณฑ์รวมไปถึงหนังสือประวัติศาสตร์ของ ท้องถิ่น, CD เพลงพื้นบ้าน, ข้าวของที่ระลึกต่างๆ บาง แห่งรวมเอาศูนย์ผลิตภัณฑ์สินค้าหัตถกรรมของกลุ่ม ชาวบ้านไว้ในสถานที่เดียวกันหรือในบริเวณเดียวกัน ตลอดจนการจัดการท่องเที่ยวเพื่อชมวิถีชีวิต พื้นที่ หรือสถานที่ เช่น อาคารเก่าเพื่อการค้าหรือที่อยู่อาศัย ที่อนุรักษ์แล้ว
พัน
! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น [Local History] คือการ
[31]
พิจารณาโดยย่อ ดังนี้ ประวัติศาสตร์อนุภาค [Micro History]
! ประวั ต ิ ศ าสตร์ อ นุ ภ าคเป็ น สาขาหนึ ่ ง ของวิ ช า
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
ประวั ต ิ ศ าสตร์ ซึ ่ ง พั ฒ นาเริ ่ ม แรกในช่ ว งทศวรรษ ที่ ๑๙๗๐ การศึกษาประวัติศาสตร์อนุภาคเน้นศึกษา ในขอบเขตเล็กๆ เช่น เมืองขนาดเล็กหรือหมู่บ้าน โดยศึกษาข้อมูลในระดับปัจเจกและเน้นเรื่องราวที่มี ความสำคัญรองลงมาจากเหตุการณ์ใหญ่ เนื่องจากการ วิ เ คราะห์ ภ าพเหตุ ก ารณ์ ห รื อ เรื ่ อ งราวที ่ เ ป็ น องค์ประกอบต่างๆ นั้น เป็นรากฐานที่นำไปสู่ความเข้าใจ ในเหตุการณ์สำคัญๆ ได้ ! Micro History เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการ ศึกษาประวัติศาสตร์แบบใหม่หรือ New History เน้น ศึกษาเรื่องที่มีคุณค่าและได้รับความสนใจภายในชุมชน ท้องถิ่นนั้น ! ด้วยเหตุนี้เองด้านหนึ่งงานของ Clifford Geertz นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที ่ ถ ู ก จั ด ในกลุ ่ ม มานุ ษ ยวิ ท ยา วัฒนธรรม [Cultural Anthropology] ที่ใช้การศึกษา ระบบสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมอธิบายการติดต่อสื่อสาร ของผู้คน เพิ่มความเข้าใจในสิ่งที่มนุษย์ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับชีวิตของพวกเขา! ! แนวคิ ด ทฤษฎี ี ท างวั ฒ นธรรมและสั ง คมเหล่ า นี ้ ส่ ง อิ ท ธิ พ ลต่ อ นั ก ภู ม ิ ศ าสตร์ นั ก นิ เ วศวิ ท ยา นั ก รัฐศาสตร์ นักมนุษยศาสตร์จนถึงนักประวัติศาสตร ในกรณีเดียวกัน ! ประวัติศาสตร์แบบใหม่หรือ New History เป็นคำ เดี ย วกั บ Nouvelle Histoire เกิ ด ขึ ้ น จากกลุ ่ ม นักประวั ต ิ ศ าสตร์ ฝ รั ่ ง เศสสกุ ล แอนนาล [Annales School] รุ่นที่ ๓ ในทศวรรษที่ ๑๙๗๐ ! เมื ่ อ กล่ า วถึ ง New History จึ ง ต้ อ งอ้ า งถึ ง นักประวัติศาสตร์ในสกุลแอนนาล [Annales School] ซึ ่ ง ใช้ ก ารตี ค วามทางประวั ต ิ ศ าสตร์ แ บบทุ ก แง่ ม ุ ม [Total History] ! ซึ่งเป็นสกุลประวัติศาสตร์ที่ได้ชื่อมาจากวารสาร ทางวิชาการคือ Annales d'histoire conomique et sociale ที่ก่อตั้งโดย Marc Bloch และ Lucien Febvre ในปี ค.ศ. ๑๙๒๙ โดยใช้ ว ิ ธ ี ก ารศึ ก ษาแบบ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
! เช่น “สมาคมประวัติศาสตร์ท้องถิ่นญี่ปุ่น” [The Japanese Local History Association] ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. ๑๙๕๐ ซึ่งเป็นองค์กรกลางและมีบทบาทหลักในการ เชื่อมประสานในหมู่นักวิจัยท้องถิ่น นักวิชาการ ภัณฑารักษ์ และนักประวัติศาสตร์ รวมทั้งองค์กรทางวิชาการ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นทั่วญี่ปุ่น ! ในกรณีของประเทศญี่ปุ่นนั้นหน้าที่ความรับผิดชอบ อย่างสำคัญขององค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นไม่ว่าจะระดับ ใดก็ตาม ก็คือมีหน้าที่ในการสร้างสถานที่และดำเนินการ รวมทั้งกิจกรรมที่มีความต่อเนื่อง เช่น พิพิธภัณฑ์ ห้อง สมุด พิพิธภัณฑ์ศิลปะ สวนสาธารณะ City Hall โรง ละคร ลดหลั ่ น กั น ไปตามสถานะทางเศรษฐกิ จ ของ จังหวัด เมือง หรือชุมชนต่างๆ ! ในญี่ปุ่น “ความแตกต่างในความเป็นหนึ่งเดียว” สนับสนุนความหลากหลายทางชีวิตวัฒนธรรมย่อยๆ ที่ แสดงออกจากเรื่องราวความเป็นมาหรือประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ระบบสัญลักษณ์ของกลุ่มตระกูล การใช้ภาษา และสำเนียงการพูด บ้านเรือน อาหารการกิน เครื่องนุ่ง ห่มและวิธีแต่งกายเนื่องในกาละเทศะต่างๆ ! และกลายเป็นฐานความรู้สำคัญเมื่อเกิดการจัดการ ท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น และสินค้าต้นกำเนิดโอทอ ปตามฤดูกาล ซึ่งเป็นพื้นฐานที่แตกต่างไปจากการดำเนิน การสร้าง OTOP (โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) ในท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศไทยที่เพียงตัดยอดรูปแบบ ที่มิได้คงความหมายของความแตกต่างหลากหลายทาง วัฒนธรรมของท้องถิ่น ตามแนวทางที่ต ้องใช้ค วาม หลากหลายของท้องถิ่นเป็นอัตลักษณ์ของสินค้าตามที่ ควรจะเป็น ก่อนเป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทย
! จากการสำรวจเพื่อทำความเข้าใจเบื้องต้นถึงความ หมายของการใช้ ค ำว่ า ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ใน ประเทศไทย และพบว่า การศึกษาประวัติศาสตร์ท้อง ถิ ่ น สั ม พั น ธ์ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษาทางสั ง คมศาสตร์ หลายประการ ! จึ ง เลื อ กลั ก ษณะรู ป แบบการเขี ย นงานทาง ประวั ต ิ ศ าสตร์ บ างประการที ่ น ่ า จะมี อ ิ ท ธิ พ ลต่ อ การ สร้างงาน “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทย” มา
[32]
ยะ
พัน
ธุ์
! ความต่างของนักประวัติศาสตร์แบบดั้งเดิมกับนัก ประวัติศาสตร์สังคมก็คือ นักประวัติศาสตร์แต่เดิมจะ เน้นการพรรณนา เช่น ใคร ทำอะไร ที่ไหน ส่วนนัก ประวัติศาสตร์สังคมนั้นจะเน้นการตั้งคำถาม เช่น ทำไม จึงเกิดความเคลื่อนไหวเกิดขึ้น และเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ประเด็นสำคัญอะไรที่สนับสนุนให้เกิดเหตุการณ์เช่น นั ้ น วิ ธ ี ก ารศึ ก ษาเช่ น นี ้ ท ำให้ น ั ก วิ ช าการสามารถ อภิปรายได้อย่างเต็มที่สำหรับแง่มุมที่ยังไม่ได้ให้ความ สำคัญหรือมีการศึกษา มากนัก ! ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ั ง คมมั ก ถู ก อธิ บ ายว่ า เป็ น ประวัติศาสตร์จากรากหญ้า หรือ ประวัติศาสตร์แบบ รากหญ้ า [History from Below] การศึ ก ษา ประวัติศาสตร์เช่นนี้เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ สังคม พัฒนามาจากการศึกษาแบบสกุลแอนนาลและ เป็นที่นิยมศึกษากันในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๖๐ มุ่งเน้นไป ที ่ ม ุ ม มองของบุ ค คลธรรมดาภายในสั ง คมและอาณา บริเวณ ซึ่งถูกมองว่าไม่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ นั่นหมายรวมเรื่องราวของกลุ่มผู้หญิง กลุ่มรักร่วมเพศ กลุ่มผู้ใช้แรงงานหรือบ้านเมืองในอาณานิคมของชาว ตะวันตกที่ห่างไกล ฯลฯ ! เพราะเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของผู้คนและกลุ่ม คนจำนวนมาก ซึ่งคนเหล่านี้เป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ มากเสียยิ่งกว่าผู้นำX นอกจากนี ้ ย ั ง มี อ ิ ท ธิ พ ลจาก แนวคิ ด แบบมาร์ ก ซิ ส เรื ่ อ ง ชนชั ้ น ทางสั ง คมและ เศรษฐกิ จ คื อ สิ ่ ง ที ่ ท ำให้ เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงใน ประวัติศาสตร์ การเขียนงานแบบมาร์กซิสทำให้เกิด ประวัติศาสตร์ของชนชั้นแรงงานที่เรียกว่า วัตถุนิยม ทางประวัติศาสตร์ [Historical Materialism] ที่ศึกษา การกดขี่ครอบงำการจัดการทรัพยากรพื้นฐานด้วยทุน และรัฐ โดยใช้วิธีวิทยาของ ประวัติศาสตร์จากรากหญ้า ! แนวคิ ด แบบมาร์ ก ซิ ส คื อ หนึ ่ ง ในกุ ญ แจสำคั ญ ที ่ ม ี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ ใ นสกุ ล แอนนาล และมี อ ิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากต่ อ การเขี ย นงานแบบ ประวัติศาสตร์สังคม
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
สั ง คมศาสตร์ อ ย่ า งเป็ น ระบบมาใช้ ใ นการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์ผนวกกับความรู้ทางภูมิศาสตร์ และ ปฏิเสธการครอบงำของการเขียนประวัติศาสตร์ที่เน้น เรื่องราวทางการเมือง การทูต และการสงคราม รวม ทั ้ ง วิ ธ ี ก ารเขี ย นพรรณนาทางประวั ต ิ ศ าสตร์ โ ดยใช้ เอกสารทางราชการเป็นแหล่งข้อมูลหลักแบบนักประ วัติศาสตร์์ ในยุคศตวรรษที่ ๑๙ ! แม้ ว ่ า จะมี น ั ก ประวั ต ิ ศ าสตร์ บ างคนยั ง คงทำงาน ภายใต้รูปแบบการศึกษาของสกุลแอนนาล แต่ทุกวันนี้ วิ ธ ี ก ารศึ ก ษาแบบแอนนาลก็ ม ี ค วามต่ า งน้ อ ยลงตาม ลำดับเมื่อเปรียบเทียบกับนักประวัติศาสตร์ที่ทำงานใน ด้ า นประวั ต ิ ศ าสตร์ ว ั ฒ นธรรมและประวั ต ิ ศ าสตร์ เศรษฐกิจ [Cultural History and Economic History] X ในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๔๐ และ ๑๙๕๐ Fernand Braudel เป็นนักวิชาการชั้นนำในสกุลแอนนาล งาน ของเขาจั ด ว่ า อยู ่ ใ นช่ ว งที ่ ส องของการเขี ย นงาน ประวัติศาสตร์แบบที่ใช้ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ขนาดใหญ่มาร่วมวิเคราะห์ เขามีอิทธิพลอย่างมาก ต่อนักประวัติศาสตร์ต่างๆ ทั่วโลก จนถึงกับยกให้เขา เ ป ็ น น ั ก ป ร ะ ว ั ต ิ ศ า ส ต ร ์ คนสำคั ญ ในกลุ ่ ม นั ก ประวัติศาสตร์ยุคใหม่ ! โดยเฉพาะงานหนึ่งในสามเรื่องที่ใช้เวลาการค้นคว้า อย่างละเอียดและยาวนานคือ เมดิเตอเรเนียนในยุคพระ เจ้าฟิลิปที่ ๒ แห่งสเปน พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ และตีพิมพ์ต่อมาอีกหลายครั้ง, La Méditerranée et le Monde Méditerranéen à l'Epoque de Philippe II (1949) (The Mediterranean and the Mediterranean World in the Age of Philip II) L วิ ธ ี ก ารศึ ก ษาแบบประวั ต ิ ศ าสตร์ อ นุ ภ าคนั ้ น ใช้ ก ารศึ ก ษาทางด้ า นสั ง คมหรื อ ประวั ต ิ ศ าสตร์ สังคม [Social History] ซึ่งใช้การวิเคราะห์หลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ จาก มุมมองพัฒนาการทางสังคม ซึ่งรวมเอาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ ชนชั้น การวิเคราะห์ในแง่มุมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ประชาสังคมแสดงถึงวิวัฒนาการของบรรทัดฐานทาง สังคม พฤติกรรม ฯลฯ ซึ่งต่างไปจากประวัติศาสตร์ การเมื อ งหรื อ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท างการทหาร และ ประวัติศาสตร์ของวีรบุรุษหรือมหาบุรุษในรูปแบบการ เขียนประวัติศาสตร์แบบเดิมๆ
ประวัติศาสตร์บอกเล่า [Oral History]
! เป็นการเล่าเรื่องผ่านปากคำจากคนรุ่นหนึ่งสู่คน
อี ก รุ ่ น หนึ ่ ง และเป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของ “ประเพณี บ อก เล่า” หรือ Oral Tradition ประวัติศาสตร์บอกเล่า
[33]
ความรู้เฉพาะอย่าง เช่น ความรอบรู้เรื่องภาษาศาสตร์ ความเข้าใจปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมในหนทางที่จะ สร้ า งการวิ เ คราะห์ ใ นแนวลึ ก ได้ ม ากกว่ า นั ก ประวัติศาสตร์โดยทั่วไป ! ประวั ต ิ ศ าสตร์ ช าติ พ ั น ธุ ์ ค ื อ ความพยายามศึ ก ษา อย่างมากให้อยู่บนฐานของการศึกษาแบบองค์รวม/ Holistic เป็นวิธีก ารศึก ษาแบบประวัติศาสตร์ที่ม ี ความคุ้มค่ามากที่สุด เมื่อมันสามารถ “รวมเอาความ ทรงจำและเสี ย งของผู ้ ค นที ่ ย ั ง มี ช ี ว ิ ต อยู ่ เ ข้ า ไป ด้วย” [Simmons, William S. 1988. Culture Theory in Contemporary Ethnohistory / Ethnohistory] ประวัติศาสตร์สภาพแวดล้อม
พัน
ธุ์
[Environmental History]
วิริ
ยะ
! คือการศึกษามนุษย์และธรรมชาติกับความสัมพันธ์ ระหว่ า งกั น ที ่ ม ี ม าในอดี ต แม้ จ ะใช้ ว ิ ธ ี ว ิ ท ยาทาง ประวั ต ิ ศ าสตร์ แต่ ม ั ก จะหยิ บ ยื ม จากงานของนั ก วิทยาศาสตร์และนักวิชาการในสาขาอื่นๆ ! ประวัติศาสตร์สภาพแวดล้อมโยงใยถึง ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ภาพแวดล้ อ มทางวั ต ถุ และ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ภาพแวดล้ อ มเชิ ง วั ฒ นธรรม ภูมิปัญญา ซึ่งเน้นที่ภาพตัวแทนของสภาพแวดล้อ ม ที ่ ส ั ม พั น ธ์ ก ั บ สั ง คม ประวัติศาสตร์สภาพแวดล้อ ม ทางการเมื อ ง เกี ่ ย วกั บ กฎเกณฑ์ ข องรั ฐ บาล กฎหมาย และนโยบายของรัฐ ! การศึ ก ษาทั ้ ง หมดเน้ น เรื ่ อ งผลกระทบต่ อ ปั จ จั ย ทางสภาพแวดล้ อ มที ่ ม ี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาสั ง คม การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและมนุษย์ที่เป็นตัวแทน ในการเปลี ่ ย นแปลง แต่ ก ็ ม ั ก จะติ ด อยู ่ ก ั บ การ เปลี่ยนแปลงแบบโรแมนติกที่เอาแต่โศกเศร้าเสียใจ ! พัฒนาการของสกุลอันนาลในช่วงทศวรรษที่ ๒๐ มี อ ิ ท ธิ พ ลมากต่ อ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ภาพแวดล้ อ มใน ฐานะที ่ เ น้ น ต่ า งไปจากประวั ต ิ ศ าสตร์ ก ารเมื อ งและ ภู ม ิ ป ั ญ ญาผ่ า นทางการศึ ก ษาเรื ่ อ งเกษตรกรรม ประชากร และภูมิศาสตร์ ! ประวั ต ิ ศ าสตร์ ส ภาพแวดล้ อ มสมั ย ใหม่ เ กิ ด ขึ ้ น ในยุคทศวรรษที่ ๖๐ และต้นทศวรรษที่ ๗๐ พร้อม กั บ ขบวนการเคลื ่ อ นไหวทางสั ง คมเกี ่ ย วกั บ สภาพ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
สามารถบั น ทึ ก ปากคำหรื อ อธิ บ ายเหตุ ก ารณ์ ท าง ประวั ต ิ ศ าสตร์ ร ่ ว มสมั ย ต่ า งๆ แต่ ส ำหรั บ นั ก ประวัติศาสตร์บางคนถือว่าเป็นหลักฐานที่เอาแน่เอานอน ไม่ได้ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มเห็นว่ามี ความหมายที่คงอยู่และมีการส่งผ่านความหมายนั้น ! เพราะในแต่ละช่วงเวลาผู้คนสร้างความทรงจำขึ้นมา ใหม่ๆ ตลอดเวลา ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในความทรง จำนั้น แต่เนื้อเรื่องหลักยังคงอยู่ ! นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที ่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ประวั ต ิ ศ าสตร์ บ อก เล่าต้องใช้ความชำนาญและถือคติว่า ต้องหลีกเลี่ยงที่ จะถามนำ เพราะคนส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะพูดในสิ่งที่ คนสั ม ภาษณ์ ต ้ อ งการให้ พ ู ด อยู ่ แ ล้ ว การทำงาน ประวัติศาสตร์บอกเล่าจึงจำเป็นต้องใจเย็นและสามารถ รอได้เพื่อจะได้คำตอบที่ส่งผ่านมาจากเจ้าของเรื่องราว นั ้ น โดยตรง ปราศจากอคติ ข องผู ้ ส ั ม ภาษณ์ เ ข้ า ไป เกี่ยวข้อง ! นั ก ประวั ต ิ ศ าสตร์ บ อกเล่ า พยายามที ่ จ ะบั น ทึ ก ความทรงจำของผู้คนมากมาย แต่ละคนอาจจะจำผิด พลาดหรือบิดเบือนด้วยเหตุผลส่วนตัว เอกสารทาง ประวั ต ิ ศ าสตร์ จ ึ ง ถู ก นำมาพิ จ ารณาให้ เ ป็ น ตั ว ช่ ว ย มากกว่ า ที ่ จ ะเชื ่ อ ถื อ ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล เพี ย งคนเดี ย ว ประวัติศาสตร์บอกเล่ามักใช้เป็นวิธีการศึกษาเมื่อทำการ ศึกษาประวัติศาสตร์จากรากหญ้า [History from below] ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ [Ethnohistory]
! การศึกษาวัฒนธรรมทางชาติพันธุ์และธรรมเนียม ของคนพื ้ น เมื อ งโดยการบั น ทึ ก ตั ว อย่ า งทาง ประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ ของกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่างๆที่อาจจะหรืออาจจะไม่มีอยู่ ทุกวันนี้ วิธี การศึกษาใช้ทั้งแนวทางเช่นศึกษารวบรวมข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์และข้อมูลทางชาติพันธุ์วรรณนา ! ผู้ศึกษาจะใช้เครื่องมือ เช่น แผนที่ ดนตรี ภาพวาด ภาพถ่าย เรื่องเล่า ประเพณีบอกเล่า สภาพนิเวศ พื้นที่ โบราณต่างๆ โบราณสถานและโบราณวัตถุ สิ่งของ เครื่องใช้ที่เก็บรวบรวมในพิพิธภัณฑ์ ประเพณีที่ยังคง อยู่ ภาษา ชื่อสถานที่ เป็นต้น ! นักประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์จึงมีการเรียนรู้ที่จะใช้
[34]
แวดล้อมงานช่วงแรกๆ เน้นไปที่สังคมก่อนอุตสาหกรรมและความ สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากการเมืองระดับประเทศ และในท้ อ งถิ ่ น ที ่ ก ารทำลายความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ ก ั บ สิ ่ ง แวดล้อมที่เคยมีมา เป็นต้น ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม [Cultural History]
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
! มี ก ารกล่ า วถึ ง คำจำกั ด ของประวั ต ิ ศ าสตร์ ว ั ฒ นธรรมมาตั ้ ง แต่ ทศวรรษที ่ ๗๐ ซึ ่ ง รวมเอาวิ ธ ี ก ารศึ ก ษาแบบมานุ ษ ยวิ ท ยาและ ประวัติศาสตร์เพื่อนำมาศึกษาวัฒนธรรมประเพณีแบบ Popular Culture ซึ่งคาบเกี่ยวกับวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบ Mentality ใน ฝรั่งเศสที่เราเรียกกันว่า New Historyและในอเมริกาที่ใกล้เคียงกับการ ศึกษา American Studies X ส่วนใหญ่จะศึกษาปรากฏการณ์ร่วมกันของกลุ่มคนที่ไม่ใช่ชนชั้น นำ เช่น งานคาร์นิวัล งานเทศกาล และพิธีกรรมสาธารณะ การแสดง เรื่องราว วิวัฒนาการทางวัฒนธรรมในความสัมพันธ์ของมนุษย์ (แนวคิด วิทยาศาสตร์ ศิลปะ เทคนิควิธี) และความเคลื่อนไหวทาง สังคมที่แสดงออกทางวัฒนธรรม เช่น ชาตินิยม ! แนวคิดหลักทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรม เช่น อำนาจ อุดมการณ์ ชนชั้น วัฒนธรรม อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ทัศนคติ เชื้อชาติ มุม มอง และวิธีการของประวัติศาสตร์แนวใหม่ เช่น การแสดงออกของ เรื่องราวทางร่างกาย ! ซึ ่ ง การศึ ก ษาจำนวนหนึ ่ ง พิ จ ารณาในเรื ่ อ งการปรั บ ตั ว ของ วัฒนธรรมแบบประเพณีไปสู่ยุคแห่งการสื่อสารมวลชน เช่น ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสาร ภาพโปสเตอร์ จากการพิมพ์สู่แผ่น ฟิล์ม และอินเตอร์เน็ต ฯลฯ ที่เป็นวัฒนธรรมของทุนนิยมมีที่มาจาก งานแบบประวัติศาสตร์ศิลป์ งานศึกษาสกุลอันนาล สกุลศึกษาแบบ มาร์กซิส ประวัติศาสตร์แบบอนุภาค และประวัติศาสตร์วัฒนธรรม แบบใหม่ ! ผู ้ ท ี ่ ถ ู ก กล่ า วถึ ง และอ้ า งอิ ง ผลงานบ่ อ ยครั ้ ง ในการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม คือ Jürgen Habermas ในเรื่องพื้นที่ สาธารณะ (Public sphere) เขาเป็นที่รู้จักจากแนวคิดเรื่อง 'เหตุผล การสื่อสาร' (Communicative rationality) และ Clifford Geertz ในเรื่อง Thick description ซึ่งหมายถึงพฤติกรรมของมนุษย์ที่ไม่ เพียงแต่จะอธิบายเฉพาะเพียงแค่พฤติกรรม แต่ต้องศึกษาบริบท แวดล้ อ มด้ ว ยการพิ จ ารณาดั ง กล่ า ว พฤติ ก รรมเหล่ า นั ้ น จึ ง จะมี ความหมายต่อคนภายนอก
ประวั ต ิ ศ าสตร์ ช าติ พ ั น ธุ ์
คื อ ความพยายามศึ ก ษา อย่ า งมากให้ อ ยู ่ บ นฐาน ของการศึ ก ษาแบบ องค์ ร วม [Holistic] เป็ น วิ ธ ี ก ารศึ ก ษาแบบ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ี ่ ม ี ค วาม คุ ้ ม ค่ า มากที ่ ส ุ ด เมื ่ อ สามารถ “รวมเอาความทรงจำ และเสี ย งของผู ้ ค น ที ่ ย ั ง มี ช ี ว ิ ต อยู ่ เข้ า ไปด้ ว ย”
[35]
มูล นิธิ เล็ ก-
ธุ์
พัน
ยะ
ปร ะไพ
L เมื่อประมวลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาพ เคลื่อนไหวของการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในรอบ กว่า ๓๐ ปีที่ผ่านมา ประเมินจากงานศึกษาที่ปรากฏแล้ว จำนวนหนึ่ง เช่น งานของอาจารย์ธงชัย วินิจจะกูล “The Changing Landscape of the past : new histories in Thailand since 1973” [Journal of Southeast Asian Studies. Volume: 26. Issue: 1. Publication Year: 1995] ! รายงานวิ จ ั ย “โครงการประมวลวิ เ คราะห์ แ ละ สั ง เคราะห์ ค วามรู ้ เ พื ่ อ เขี ย นตำราเรื ่ อ งการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไทย” ของ อาจารย์ยงยุทธ ชูแว่น เสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. ๒๕๔๘ “การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” ของ อาจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ และ “สถานะของการ ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” อาจารย์ฉลองนำสนทนา “จากการเมืองทางปัญญาสู่ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” ของ อาจารย์ธิดา สาระยะ ใน “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น”, (สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๒๙) “สังคมไทยในความ คิดและความใฝ่ฝันของอาจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภา” ของอาจารย์อานันท์ กาญจนพันธุ์ (สำนักเศรษฐศาสตร์ การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๙) ทำให้ เข้ า ใจพั ฒ นาการของประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ใน ประเทศไทยได้ดังนี้X X การเขี ย นประวั ต ิ ศ าสตร์ น ิ พ นธ์ แ บบพงศาวดาร ตั้งแต่ต้นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ก็เพื่อวัตถุประสงค์ใน การฟื้นฟูบ้านเมือง เพราะพระราชพงศาวดารไปจนถึง การชำระพระราชพงศาวดารของเหตุการณ์บ้านเมืองใน สมัยอยุธยาคือการสร้างแผ่นดินให้กลับมั่นคงดังเดิม การแต่งและแปลวรรณคดี ตลอดจนชำระเอกสารต่างๆ จึงมีความจำเป็นตลอดมาในช่วงรัชกาลที่ ๑ ไปจนถึง รัชกาลที่ ๓ ! การเคลื ่ อ นไหวเรื ่ อ งประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น เริ ่ ม ชัดเจนตั้งแต่รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา เพื่ออ้างสิทธิ์ใน ยุคอาณานิคมที่ต้องมีพรมแดน อาณาเขตที่ชัดเจนและ เป็นส่วนหนึ่งของการก่อตัวรัฐชาติ ! การเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมและการเมืองในช่วง รัชกาลที่ ๔ และ ๕ นำมาซึ่งการเติบโตของปัญญาชนที่เป็นสามัญชน ประวัติศาสตร์ที่ผูกขาดการสร้างโดย
ชนชั้นนำเริ่มขยับขยายไปสู่คนธรรมดาที่มีการศึกษา ทั ้ ง ในท้ อ งถิ ่ น และที ่ ศ ู น ย์ ก ลาง แต่การเปลี่ยนแปลง สภาพสังคมจากรัฐแบบโบราณจนกลายเป็นรัฐชาติใน ช่ ว งเวลาดั ง กล่ า ว ส่ ง ผลการผู ก ขาดการสร้ า ง ประวัติศาสตร์ของชนชั้นนำมากเกินไป ประวัติศาสตร์ถูก นำมารับใช้ชนชั้นนำ เช่น ประวัติศาสตร์ในสกุลดำรง ราชานุภาพและประวัติศาสตร์แบบหลวงวิจิตรวาทการ ! สำหรับประเทศไทย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นคำ ที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ ๒๕๑๐ มีหลักฐานการใช้คำ ว่ า “ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ” ในคำนำหนั ง สื อ ประวัติศาสตร์อีสาน ฉบับพิมพ์ครั้งแรกของ เติม วิภาคย์พจนกิจ โดยอาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ (ค.ศ. ๑๙๗๐) ! กระบวนการเคลื่อนไหวของนักศึกษามีผลกระทบ ต่อสังคมหลังเหตุการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ และ พ.ศ. ๒๕๑๙ ทำให้เกิดกระแสตื่นตัวทางปัญญาโดย เฉพาะการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นอย่างกว้างขวาง มีการสร้างประวัติศาสตร์แบบใหม่หรือ New History ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ คือผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเศรษฐกิจในประเทศไทยนับแต่เริ่มใช้แผนพัฒนา สังคมและเศรษฐกิจแห่งชาติในทศวรรษที่ ๕๐ เป็นต้น มา พลั ง ของประวั ต ิ ศ าสตร์ แ บบใหม่ ไ ด้ เ ผชิ ญ หน้ า กับสังคมและรัฐไทยแบบใหม่ ! แม้จะได้รับอิทธิพลวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์จาก ตะวั น ตก ซึ ่ ง หมายถึ ง ประวั ต ิ ศ าสตร์ แ บบใหม่ ห รื อ New History ที่มีการศึกษาหลายแนวทาง เช่น ประวัติศาสตร์จากรากหญ้า ประวัติศาสตร์แบบใหม่ ประวัติศาสตร์สังคม ประวัติศาสตร์ สภาพแวดล้อม แต่ในประเทศไทยก็ยังคงใช้คำว่า “ประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่น” แบบรวมๆ และคลุมเครือ ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด ความสับสนเมื่อต้องนำวิธีวิทยาทั้งทางประวัติศาสตร์ที่ ยั ง อยู ่ ใ นกระแสวาทกรรมและในทางสั ง คมศาสตร์ เช่น มานุษยวิทยามาใช้ร่วมกัน ! การเกิดขึ้นของประวัติศาสตร์นอกศูนย์กลางหรือ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คลี่คลายจนมีแนวทางศึกษาอีก หลายด้าน เช่น ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ สังคม และประวัติศาสตร์วัฒนธรรม เกิดแนวทางการ ศึกษาที่กลายเป็นการวิเคราะห์การสร้างวาทกรรมทาง ประวัติศาสตร์ในอดีต โดยต้องการตอบโต้ “ประวัติ-
วิริ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทย
[36]
ศาสตร์แบบจารีต” [Conventional History] สร้างวิธี การศึกษาโดยปฏิเสธ ต่อต้าน รื้อประวัติศาสตร์แบบรวม ศูนย์ แบบมหาราช แบบการสงคราม จนกลายเป็นการ ศึกษาเรื่องอื่นๆ ที่ไม่ได้มุ่งเน้นแต่เพียงเฉพาะแต่ความ สนใจแบบเดิมๆ ดังที่เคยเป็นมา New History ในประวัติศาสตร์ไทย การต้านสกุลดำรงฯ และ Total History แบบ
มูล นิธิ เล็ ก-
พัน
ยะ
ปร ะไพ
วิริ
! อาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ เห็นว่าประวัติศาสตร์แบบ สกุ ล ดำรง-ราชานุ ภ าพเน้ น ในเรื ่ อ งศู น ย์ ก ลางของ ประวัติศาสตร์ที่เมืองหลวงและทำให้ท้องถิ่นหายไป ประวัติศาสตร์ไทยจึงไม่มีอะไรนอกไปจากการเมืองใน ราชวงศ์ของกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ อาจารย์นิธิอยากให้ สอบสวนศึกษาและวิพากษ์วิจารณ์มากกว่านี้ เป็น ประวัติศาสตร์แบบทุกด้าน หรือ Total History ศึกษา ทุกอย่างในบริบทของพื้นที่และเวลา ประวัติศาสตร์ ของอาจารย์นิธิมีในหลายทิศทาง เช่น การศึกษา ประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ใน ปลายศตวรรษที่ ๑๘, บรรยากาศของปัญญาชนหลัง การเสียกรุง, โลกทัศน์ของชนชั้นนำ, การเมืองแบบ เชิดชูสถาบันกษัตริย์ [Machiavellian Politics] ในการ สร้างประวัติศาสตร์เพื่อรับใช้ราชวงศ์ใหม่ แต่ละเรื่อง ล้วนเป็นเรื่องหลักของประวัติศาสตร์แบบเก่า ! แต่เมื่ออยู่ในมือของอาจารย์นิธิกลับสามารถสร้าง มุ ม มองได้ อ ย่ า งรอบด้ า นสำหรั บ งานเขี ย นเรื ่ อ งของ พระเจ้าตาก อาจารย์นิธิทำให้ประวัติศาสตร์ในช่วงเวลา นี้เปลี่ยนรูปแบบไป โดยดำรงอยู่ในบริบททางสังคมและ การเมือง งานชิ้นนี้ถือว่าทำได้อย่างดี แต่อาจารย์ธงชัย วินิจจะกูลให้ความเห็นจากรายงานการวิจัยของเขาว่า เป็ น เรื ่ อ งที ่ น ่ า แปลกสำหรั บ ในแง่ ว ิ ช าการทาง ประวัติศาสตร์ที่ไม่ปรากฏว่ามีการถกเถียงใดเลย โดย ให้ความเห็นว่าพลังอำนาจในการเขียนของผู้เขียนและ และงานชิ้นนี้ทำให้กลายเป็นเรื่องเบ็ดเสร็จเกินไป
ธุ์
นิธิ เอียวศรีวงศ์
เมื่อผนวกเข้ากับความรู้ทางมานุษยวิทยาสังคม ทำให้ เกิดการศึกษาเฉพาะตน ซึ่งจัดเข้ากลุ่มเข้าประเภทกับ แนวทางการศึกษาที่กล่าวมาแล้วได้ยาก แต่เป็นการ ผสมผสานเพื ่ อ ทำความเข้ า ใจสั ง คมวั ฒ นธรรมของ มนุษย์ในปัจจุบัน โดยผ่านสภาพแวดล้อม ตำนาน ประวัติศาสตร์บอกเล่า งานโบราณคดี และเอกสารทาง ประวัติศาสตร์ต่างๆ ! งานของอาจารย์ ศ รี ศ ั ก รเสนอว่ า ผู ้ ค นและ วั ฒ นธรรมในดิ น แดนที ่ เ รี ย กว่ า ประเทศไทยทุ ก วั น นี ้ คื อ คนสยาม โดยเน้ น ย้ ำ ว่ า นี ่ ค ื อ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ข อง “สยามประเทศ” ซึ่งตรงกันข้ามกับประวัติศาสตร์ไทยที่ เป็นประวัติศาสตร์ของเชื้อชาติ “ประวัติศาสตร์ชาติ ไทย” เพราะอาจารย์ไม่เคยคิดเรื่องการค้นหาต้นกำเนิด ของคนไทยในเรื่องเชื้อชาติ “ไต” ซึ่งเป็นเรื่องเสียเวลา เปล่า ! อดีตของคนสยามในความคิดของอาจารย์ศรีศักร ไม่ใช่ทั้งเรื่องการอพยพเคลื่อนย้ายของชนชาติใดๆ ที่ ถูกมองว่าเป็นอื่นและไม่เป็นแนวเส้นตรงจากช่วงสุโขทัย จนถึ ง กรุ ง เทพฯ แต่ ค ื อ กระบวนวิ ว ั ฒ นาการในการ สั ง สรรค์ ท างสั ง คมมนุ ษ ย์ แ ละระหว่ า งมนุ ษ ย์ ก ั บ สิ่งแวดล้อม จากยุคการตั้งถิ่นฐานแรกๆ ในช่วงก่อน ประวัติศาสตร์จนถึงชุมชนขนาดเล็กๆ เมือง หน่วย ทางการเมืองและอาณาจักร จากสังคมหาอาหารป่า ล่าสัตว์ สู่สังคมเกษตรกรรมและการค้า จากระบบเครือ ญาติแบบง่ายๆ ไปสู่ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ซับซ้อน ! อาจารย์ธงชัย วินิจจะกูล กล่าวในรายงานการศึกษา ว่า ความสนใจที่เพิ่มขึ้นเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่ผ่าน มาคือผลลัพธ์จากมุมมองทางประวัติศาสตร์ของอาจารย์ ศรีศักรเป็นส่วนสำคัญ เพราะเป็นแนวทางศึกษาเพื่อจะ สร้างรัฐแบบไม่รวมศูนย์หรือเป็นประวัติศาสตร์แบบไม่ เป็นเส้นตรงดังที่เคยศึกษากันมา ข้อมูลจากท้องถิ่นที่ ผ่านการสำรวจและการค้นคว้าอย่างต่อเนื่องจึงทำให้เกิด กระแสความสนใจในงานศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ทั่วประเทศ ! ความคาดหวั ง ของอาจารย์ ศ รี ศ ั ก รเกี ่ ย วกั บ ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น มุ ่ ง เน้ น ไปที ่ ก ารศึ ก ษาสั ง คม ชาวนา [Peasant Society] เพราะเห็นว่าสังคมพื้นฐาน ของผู้คนในท้องถิ่นในประเทศไทยอยู่ในสังคมชาวนา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมใหญ่ [Part Society]
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแบบศรีศักร วัลลิโภดม ]
อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม เติบโตทางวิชาการมา ทางสายงานศึกษาประวัติศาสตรแบบโบราณคดีและเมื่อ
[37]
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของสุเทพ สุนทรเภสัช
! จากบทความเรื่อง “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น : การ
วิริ
ยะ
พัน
ธุ์
ศึกษาประวัติศาสตร์ระดับจุลภาค” เป็นบทความที่เสนอ ในงานสัมมนาเรื่อง “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” จัดโดย สมาคมประวัติศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๒ อาจารย์สุเทพสรุป ว่า ! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคือประวัติศาสตร์สังคม ของ ชุ ม ชนท้ อ งถิ ่ น ซึ ่ ง ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาในระดั บ ชุ ม ชน [Community] ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในอาณาเขตที่แน่นอน มีความผูกพันร่วมกัน เช่น ระบบความเชื่อหรือพิธีกรรม ต่างๆ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นการศึกษาแบบ Micro History ! อีกทั้งเสนอว่านักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่จะทำงานได้ ดีที่สุด จำเป็นต้องมีลักษณะบางประการ เช่น มีความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติอย่างเพียงพอ ! หมายถึงเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นกับ ภายนอก ควรจะต้ อ งมี ส ำนึ ก เกี ่ ย วกั บ ภู ม ิ ป ระเทศ [Topographic Sense] และควรมีความสามารถด้านการ ประพันธอย่างดี ซึ่งข้อเสนอในขณะนั้น ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกำลังเป็นแนวทางการ ศึกษาประวัติศาสตร์ที่ใหม่ที่สุดในประเทศไทย
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
X อาจารย์ศรีศักรเห็นว่า ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคือ ประวัติศาสตร์สังคม ที่แสดงให้เห็นความเป็นมาของ ผู ้ ค นในท้ อ งถิ ่ น เดี ย วกั น ที ่ อ าจมี ค วามแตกต่ า งทาง ชาติพันธุ์ก็ได้ แต่เมื่อเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ตั้งแต่ ๒-๓ ชั่วคนแล้ว ก็จะเกิดสำนึกร่วมขึ้นเป็นคนใน ท้องถิ่นเดียวกัน มีจารีตขนบประเพณี พิธีกรรม ความ เชื่อ และกติกาในทางเศรษฐกิจและสังคมร่วมกัน โดยมี พื้นฐานทางความเชื่อและศีลธรรมเดียวกัน ! การเข้าถึงประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต้องเข้าถึงและเห็น คนกับพื้นที่ซึ่งมีความสัมพันธ์กันโดยศึกษาโครงสร้าง สั ง คม เก็ บ ข้ อ มู ล จากบุ ค คลในปั จ จุ บ ั น ให้ เ ห็ น อดี ต ปัจจุบัน และอนาคตอย่างต่อเนื่องว่ามีความเป็นมาและ เปลี่ยนแปลงอย่างไร และน่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต ! การเก็บข้อมูลจากโครงสร้างสังคมดังกล่าวนี้ ทำให้ เห็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม-สังคม นับเป็นการ ศึกษาชีวิตวัฒนธรรมที่มีพลวัต เมื่อเข้าถึงคนแล้วจึงเข้า ถึงพื้นที่ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยและถิ่นกำเนิดของผู้คนใน กลุ่มนั้น ! การศึ ก ษาพื ้ น ที ่ ต ้ อ งเริ ่ ม จากชื ่ อ สถานที ่ ท ั ้ ง ที ่ เ ป็ น ธรรมชาติและวัฒนธรรม การศึกษาเกี่ยวกับชื่อสถานที่ หมายถึงการศึกษาบรรดาชื่อสถานที่ต่างๆ ซึ่งคนในท้อง ที่รู้จักสืบทอดกันมาจนปัจจุบัน เป็นพื้นที่ซึ่งแต่เดิมเป็น นิเวศธรรมชาติ แต่ได้มาปรับเปลี่ยนเป็นนิเวศวัฒนธรรม จากการปรับตัวของผู้คนในชุมชนนั้นเอง ! ดั ง นั ้ น งานของอาจารย์ ศ รี ศ ั ก รจึ ง ไม่ ไ ด้ ย ึ ด ติ ด แต่ เพียงการล้มวิธีการศึกษาในประวัติศาสตร์ราชวงศ์หรือ ประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง แต่เป็นการนำเอาแนวคิด ทางมานุษยวิทยาสังคมที่ให้ความสำคัญกับ ! การเก็บข้อมูลโครงสร้างของสังคมโดยพื้นฐานตาม ท้ อ งถิ ่ น ต่ า งๆ มาใช้ ศ ึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ข องคนกั บ ธรรมชาติ คนกั บ คนด้ ว ยกั น เองและคนกั บ สิ ่ ง เหนื อ ธรรมชาติหรือความเชื่อ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ครอบคลุมการ ศึกษาทุกมิติในสังคมของมนุษย์ที่อยู่เป็นชุมชน จึงอาจ กล่าวได้ว่า ! ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของอาจารย์ศรีศักรคือ การ ศึกษาสังคมท้องถิ่นนั้นเป็นประวัติศาสตร์สังคมของท้อง ถิ่นต่างๆ นั่นเอง!
ประวัติศาสตร์เน้นมวลชน / ประวัติศาสตร์ จากรากหญ้า ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของ อาจารย์ธิดา สาระยา
! ความพยายามสร้างแนวคิดและการหาคำอธิบาย
เรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็นข้อเสนอทางวิชาการ จากอาจารย์ธิดา สาระยา ซึ่งยกคุณค่าทางการเมืองให้ แก่ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยเสนอการต่อสู้ของผู้อยู่ เบื้องล่าง หรืออาจจะเรียกได้ว่าผู้เป็นรากหญ้าของ สังคมที่สร้างประวัติศาสตร์ของตนเองจากยุคปลาย คริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ จนถึงช่วงของ “จิตร ภูมิศักดิ์” ในช่วงทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ! อาจารย์ ธ ิ ด าเสนอว่ า ประวติ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น เป็ น ประวัติศาสตร์ของมวลชน เพราะประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่นคือประวัติศาสตร์ของสังคมท้องถิ่นซึ่งมวลชนเป็น ตัวละคร โดยประวัติศาสตร์สังคมที่เน้นในเรื่องมวลชน ในความหมายของอาจารย์ มวลชนก็คือ “ท้องถิ่นที่อยู่
[38]
ู่ในชนบท” ! แต่มีนักวิชาการหลายท่านเห็นว่างานประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นของอาจารย์ธิดาไม่ได้ลงลึกและมีรายละเอียดไป ถึงมวลชนหรือรากหญ้าแต่อย่างใด ! สำหรั บ ในความคิ ด ของอาจารย์ ธ ิ ด า สาระยา ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น แม้ จ ะเป็ น การโต้ ต อบกั บ ประวัติศาสตร์กระแสหลัก แต่ก็ไม่ได้ปฏิเสธ แต่ได้ยึดไว้ เป็นหลัก แต่ก็มุ่งหวังว่าจะสามารถข้ามไปให้พ้นและใช้ วิธีแบบสหวิทยาการหรือ Interdisciplinary โดยรอ คอยผู้มีฝีมือที่จะใช้ศาสตร์เหล่านี้อย่างช่ำชองในการ แสวงหาความจริง
ธุ์
สำนักคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองแนว
การเปิดประเทศ (สนธิสัญญาเบาริ่ง-พ.ศ. ๒๓๙๘) โดยมองภาพของอดี ต และรั ฐ ไทยนั ้ น ไม่ ม ี ส ิ ่ ง ใดต้ อ ง ชื่นชมยกย่อง เพราะทำลาย ขัดขวาง และเป็นจุดเริ่ม ต้นของความอ่อนแอของชุมชนชาวบ้านในปัจจุบัน ! วาทกรรมในการศึกษาของอาจารย์ฉัตรทิพยเรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคล้ายกับของอาจารย์ธิดา แต่ที่ เหมือนกันคือ “ท้องถิ่นหมายถึงมวลชน” แต่ชัดเจนกว่า ตรงที่ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจะต้องเรียนรู้จากชุมชน หมู่บ้าน การศึกษาจากภายในมักจะเสนอมุมมองของ ชาวรากหญ้า ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นนำ ท้อง ถิ่น และศูนย์กลางเป็นเรื่องภายนอกที่ไม่ได้รับความ สนใจ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจะต้องเป็นตัวอย่างของ พัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจของชุมชน ! และสำหรับอาจารย์ฉัตรทิพย์ ประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่นคือประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของหมู่บ้าน การวิจัย ที่หมู่บ้านในคีรีวงศ์โดยอาจารย์ฉัตรทิพย์และนักวิชาการ ในกลุ่ม เช่น พรพิไล เลิศวิชา เสนอทฤษฎีอนาธิปัตย์ ของการพัฒนา ซึ่งเป็นแนวคิดแบบสังคมนิยมแบบ หนึ่งที่เน้นในอุดมติแบบพื้นบ้านและองค์กรขนาดเล็ก การต่ อ ต้ า นอำนาจรั ฐ และการพั ฒ นาจากเมื อ งหลวง โดยชู แ นวคิ ด วั ฒ นธรรมชุ ม ชนคื อ อนาธิ ป ั ต ย์ น ิ ย ม [Anarchism] แม้จะใช้ทฤษฎีแบบมาร์กซิส แต่ก็เป็นที่ วิพากษ์วิจารณ์กันมากว่า ไม่มีหมู่บ้านแบบนั้นจริงๆ ใน โครงสร้างทางสังคมในอดีตและปัจจุบันของประเทศไทย ! แต่ ส ำหรั บ อาจารย์ น ิ ธ ิ เอี ย วศรี ว งศ์ ปฏิ เ สธ แนวคิดในเรื่อง กึ่งฟิวดัล/กึ่งอาณานิคม ของอาจารย์ ฉัตรทิพย์และคนอื่นๆ โดยการศึกษาเรื่อง “วัฒนธรรม กฎุมพี” ของอาจารย์นิธิโต้แย้งว่า บริเวณกรุงเทพฯ และ ที่ราบภาคกลางเป็นพื้นที่ซึ่งมีความเคลื่อนไหวสูงมาก่อน ค.ศ. ๑๘๕๕ แล้ว (หมายถึงก่อนสยามเซ็นสนธิสัญญา เบาวริ่งกับอังกฤษ) ชนชั้นกลางก่อนยุคทุนนิยมมีอยู่และ มีพลวัตอย่างชัดเจน ปี ค.ศ. ๑๘๕๕ เป็นเพียงการ เปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดชนชั้นกลางอย่างเป็นกลุ่มก้อน ซึ่งทั้งสองประการนี้ท้าทายต่อแนวคิดเรื่องสังคมวิถีการ ผลิตแบบเอเชีย [Asiatic mode of Production] ที่อาจารย์ฉัตรทิพย์นำทฤษฎีนี้มาใช้ ! สำหรับประวัติศาสตร์หมู่บ้าน อาจารย์นิธิกล่าวว่า ในขณะที่นักมานุษยวิทยาชี้ให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลง ของหมู่บ้าน ที่เผชิญกับพลังใหม่ๆ ที่มาจากภายนอก
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
วิริ
! อาจารย์ฉัตรทิพย์มักประกาศตนว่า มีการทำงาน
ยะ
พัน
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนของ
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
แบบ สกุลฉัตรทิพย์ ในเวทีทางวิชาการจนกลายเป็นที่ ยอมรับกันทั่วไปว่ามีการทำงานศึกษาประวัติศาสตร์ใน สกุลฉัตรทิพย์ ซึ่งแตกต่างจากนักวิชาการท่าอื่นอยู่บ้าง งานของสกุลฉัตรทิพย์ต่อต้านงานเขียนประวัติศาสตร์ แบบชาติและราชวงศ์ จนทำให้พลัดเข้ามาสู่งานศึกษาทาง ประวัติศาสตร์ ! โดยการใช้ประเด็นหัวข้อ subjects ในการศึกษาใหม่ ใช้วิธีวิทยาแบบจิตร ภูมิศักดิ์ ในการศึกษาศักดินาไทย แต่ ข ณะที ่ จ ิ ต รโต้ แ ย้ ง และต่ อ ต้ า นทางการเมื อ งอย่ า ง ชั ด เจน สกุ ล ฉั ต รทิ พ ย์ ม ี ล ั ก ษณะแบบนั ก วิ ช าการที ่ เคร่งครัดและเป็นระบบมากกว่าโดยไม่มีนัยทางการเมือง ปรากฏชัดแต่อย่างใด ! อดีตของไทยจึงกลายเป็นเรื่องการผลิตชนชั้นทาง เศรษฐกิจ ภาษีชาวนา ชนชั้นกลาง ทุน ระบบเจ้าที่ดิน วีรบุรุษของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชก็กลายเป็นผู้ผูกขาด การค้นหารูปแบบการเช่า กาฝากของระบบทุน และการ เป็นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนา ! พงศาวดารและจดหมายเหตุก็ให้ข้อมูลอีกทางหนึ่ง ในเรื่องการค้า ภาษี การค้าสำเภา การค้าทั่วไป เชื้อพระ วงศ์ผู้มีอำนาจ เป็นการแบ่งช่วงอดีตอยู่บนพื้นฐานของ ลักษณะการผลิตและรูปแบบของระบบทางเศรษฐกิจ สังคมซึ่งมีลักษณะซ้ำๆ เป็นแบบเดียวกันในช่วงก่อน
[39]
พัน
ธุ์
! การศึ ก ษามานุ ษ ยวิ ท ยาและประวั ต ิ ศ าสตร์ ใ น ประเทศไทยในเบื้องต้นพบว่ามีความคล้ายคลึงและเชื่อม โยงการศึกษาไว้ด้วยกันอย่างแยกไม่ออก เพียงแต่วิธี การนำหลักฐานและวิธีการศึกษานั้นจะเน้นไปที่เอกสาร คำบอกเล่า การใช้โครงสร้างสังคมหรือหลักฐานอื่นใด ! ก่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๐๒ ไม่นาน มี การศึกษาของนักมานุษยวิทยาที่ศึกษาหมู่บ้านของไทย เช่น งานของ Lauriston Sharp ที่บางชันในปี ๑๙๕๓, Jack Potter เรื่องโครงสร้างสังคมของชาวนาไทยในปี ๑๙๗๖ แต่ก็ขาดมิติทางประวัติศาสตร์ ! งานประวัติศาสตร์สังคมและเศรษฐกิจที่ชัดเจนช่วง แรกๆ คือ การศึกษาสังคมชาวนาที่บางชัน ชานเมือง กรุงเทพฯ Bang Chan : Social History of a Rural Community ในปี ๑๙๗๘ ของ Lauriston Sharp และ Lucien Hanks, งานของ Moreman เรื่อง Chiangkam’s Trade and the “old days” ในปี ๑๙๗๕ และ Rural Society and the Rice Economic in Thailand (1880-1930) ในปี ๑๙๗๕ ของ Davis Bruce Jonhston ! จากนั้นก็มีผลงานของ ดร.ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ โดย มีการนำเอาแนวคิดทางมานุษยวิทยาไปวิเคราะห์ข้อมูล ทางประวัติศาสตร์ เรื่อง การศึกษาองค์กรทางสังคมของ ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การศึกษาโลกทัศน์และ แนวการเขี ย นประวั ต ิ ศ าสตร์ ล ้ า นนาไทยของอาจารย์ อานันท์ กาญจนาคพันธุ์ เป็นต้น ดังนั้นการศึกษาทั้งสอง ศาสตร์ น ี ้ จ ึ ง ไม่ ค วรถู ก แยกออกจากกั น อย่ า งเด็ ด ขาด แต่สามารถนำมาใช้เพื่อการศึกษาท้องถิ่นและอดีตของ ท้องถิ่นร่วมกันได้อย่างมีพลัง X นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในกรณีของความเป็นมา และมิติทางสังคมของสภาพแวดล้อม เนื่องจากสัมพันธ์ กับการต่อสู้ของท้องถิ่นในเรื่องอำนาจและสิทธิในการใช้ ทรัพยากรที่ถูกเอาเปรียบจากรัฐและทุนต่างๆ โดยการ ผลักดันเพื่อทรัพยากรจะได้กลับมาเป็นสมบัติของชุมชน “ดังที่เคยเป็นมาในประวัติศาสตร์”
ปร ะไพ
การศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ในมิ ต ิ ท าง
ปัญหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในปัจจุบัน
ยะ
! จนทำให้งานในกลุ่มนี้สร้างความเคลือบแคลงสงสัย และดูไม่น่าเชื่อถือในสภาพสังคมที่ชาวบ้านผู้อยู่ในชุมชน อย่างแท้จริงลุกขึ้นมาทำงานหรือเขียนประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่นของตนเองอย่างคึกคัก และเริ่มตรวจสอบข้อมูลของ นักวิชาการต่างๆ และพบความคลาดเคลื่อนที่ชัดเจน ปรากฏอยู่
ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในมิติทางวัฒนธรรม, งานที่ เป็นตัวอย่างคือ “พิธีไหว้ผีเมืองและอำนาจรัฐในล้านนา” ที่พิมพ์ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗)
วิริ
แต่ อ าจารย์ ฉ ั ต รทิ พ ย์ ไ ม่ ต ้ อ งการอธิ บ ายว่ า เศรษฐกิ จ หมู่บ้านไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เพราะกำลัง พยายามอธิ บ ายว่ า เศรษฐกิ จ ไม่ ไ ด้ เ ปลี ่ ย นแปลงไป อย่างไร ! แม้ว่าการศึกษาแบบสกุลฉัตรทิพย์จะแม่นยำและ ใช้ทฤษฎีมากกว่าผู้ใด แต่ไม่เคร่งครัดสำหรับระเบียบ วิธีวิจัยที่ชัดเจน เช่น มองข้ามข้อจำกัดของการใช้ ข้อมูลจากปากคำของชาวบ้าน และมองข้ามระบบความ สัมพันธ์ภายในและภายนอก เนื่องจากกักขังตนเองอยู่ กับปากคำของชาวบ้านมากเกินไป
วัฒนธรรม : ข้อเสนอของอานันท์ กาญจนพันธุ์
! อาจารย์อานันท์ กาญจนพันธุ์ เสนอว่าการศึกษา
มูล นิธิ เล็ ก-
ท้องถิ่นอาจเริ่มจากประวัติศาสตร์วัฒนธรรมได้ เพราะ เผยให้ เ ห็ น โลกของการต่ อ สู ้ แ ละการผสมผสานทาง วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการให้ความหมาย คุณค่า และ ชีวิตจิตใจของชาวบ้าน ! มิ ต ิ ท างวั ฒ นธรรมหมายถึ ง การเคลื ่ อ นไหวทาง ความคิดที่มนุษย์พยายามสร้างความหมายเกี่ยวข้อง กั บ ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง อำนาจที่ทำให้เกิดการครอบงำ อุดมการณ์หลัก L การศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ในมิ ต ิ ท าง วัฒนธรรม หมายถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ของการ ต่อสู้ทางความคิดเกี่ยวกับอำนาจในสังคม โดยเห็นผ่าน วาทกรรมหรื อ การแสดงออกทางสั ญ ลั ก ษณ์ อ ย่ า งใด อย่างหนึ่งแต่สื่อความหมายที่มีนัยต่างกัน เช่น ชาติพันธุ์ ชนชั้น และเพศ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น ๒ แนวทาง ใหญ่ๆ คือ ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์ุ, Ethnohistory และ ชาติพันธุ์วรรณนา, Ethnography หรือมานุษยวิทยา เชิงประวัติศาสตร์, Historical Ethnography หรือ Historical Anthropology (แนวความคิ ด และวิ ธ ี ก าร
! ข้ อ เสนอเหล่ า นี ้ แ พร่ ห ลายไปสู ่ แ นวคิ ด ของกลุ ่ ม
[40]
ยะ
พัน
ธุ์
! อาจารย์ธงชัย วินิจจะกูล สังเกตว่า ในขณะที่นัก วิชาการจากกรุงเทพฯ มักใช้วิธีวิทยาทางประวัติศาสตร์ แบบสมั ย ใหม่ แต่ น ั ก วิ ช าการท้ อ งถิ ่ น ยั ง คงใช้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ แห่งชาติโดยไม่มีความขัดแย้งหนักแต่อย่างใด ! ภายหลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นยังคงเป็นเรื่องราวที่มี พลวัตของผู้มีอำนาจทางการเมือง ไม่ใช่เป็นเพียงเรื่อง ราวทางสังคมหรือเป็นสิ่งที่นิยมกันเท่านั้น โดยวิจารณ์ไว้ ว่า การสัมมนาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมีพลังในการท้าทาย รัฐไทย ซึ่งไม่ใช่การต่อต้าน แต่ในฐานะที่ร่วมเข้าเป็นส่วน หนึ่งของการเล่าเรื่องของชาติ และตอบสนองทางการ เมืองแก่รัฐบาลเพื่อสร้างฐานะทางเศรษฐกิจเพื่อการท่อง เที่ยว และสร้างภาพว่าประเทศไทยคือประเทศที่ร่ำรวย ทางวัฒนธรรม ! ความผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้นหลายครั้งแต่ไม่มีใคร สนใจ เพราะข้อเท็จจริงที่ว่านักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหรือ นักประวัติศาสตร์อื่นๆ นั้นเป็นชนชั้นกลาง มีชีวิตที่ถูก ครอบงำโดยประวัติศาสตร์ราชวงศ์และประวัติศาสตร์ชาติ ! น่าสนใจมากที่เห็นประวัติศาสตร์ทำให้เกิดประเด็น ปัญหาได้ เช่น ประวัติศาสตร์ปัตตานี สมาชิกคนหนึ่งของ ที่ประชุมเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแนะนำว่า จะเกิดอะไร ขึ้นถ้ามุมมองของผู้ต้องการแบ่งแยกดินแดนนั้นรวมอยู่ ด้วย ซึ่งในปัจจุบัน เมื่อเวลาผ่านไปจากการวิจารณ์ของ อาจารย์ธงชัย วินิจจะกูล ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแบบผู้ ก่อการรุนแรงที่ไม่ได้ถูกตรวจสอบความถูกต้องแบบการ ศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ แต่ ถ ู ก นำมาใช้ บ อกเล่ า ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกดขี่เป็นอันดับแรกในการสร้าง ความรู ้ ส ึ ก ร่ ว มในขบวนการ RKK หรื อ Runda Kumpulan Kecil เป็นหน่วยรบขนาดเล็กที่เรียกว่า หน่วย คอมมานโดของขบวนการก่อความไม่สงบใน ๓ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ! การสั ม มนาประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ในพื ้ น ที ่ ต ่ า งๆ ก็ทำให้เห็นตัวตนของผู้สนใจในประวัติศาสตร์ตามพื้นที่ ต่างๆ ทั่วประเทศ ที่อาจจะไม่เคยปรากฏขึ้นมาก่อนใน หน้ า ของการเขี ย นหรื อ ศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ ข อง ประเทศไทย
ปร ะไพ
วิริ
นักพัฒนาเอกชนในภาคเหนือและเคลื่อนไหวไปสู่ภูมิภา คอื่นๆ ด้วย เช่น การศึกษาประวัติของชุมชนตามลุ่มน้ำ ต่างๆ โดยเน้นศึกษาเรื่องการจัดการทรัพยากรของชาว บ้าน พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ และมนุษย์กับมนุษย์ ซึ่งอาจจะจัดเป็น Environmental History ด้วย เช่น งานศึกษาการฟื้นฟูและจัดการลุ่มน้ำ แม่ตาช้าง เป็นต้น ! งานชิ้นเริ่มต้นที่พยายามสำรวจสถานภาพการศึกษา นิเวศประวัติศาสตร์ในประเทศไทย โดยใช้ระบบนิเวศและ สภาพแวดล้อมเป็นฐานหลักในการศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่อง นิเวศประวัติศาสตร์ : พรมแดนความรู้ (๒๕๔๕) อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ ในช่วงที่ี สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศกลายเป็นความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ใน นโยบายสาธารณะที่สัมพันธ์ทั้งในระดับรัฐและชุมชน แต่ ก็ยังเป็นเพียงการเร่ิมต้นศึกษาที่ไม่มีฐานข้อมูลจำนวน มากรองรับแต่อย่างใด จนอาจจะไม่สามารถอ้างอิงได้ว่า สภาพการณ์ของประวัติศาสตร์ในเชิงสิ่งแวดล้อมปรากฏ เป็นดังที่นำเสนอเท่านั้น ปรากฏการณ์ สัมมนาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
มูล นิธิ เล็ ก-
! แรงกระเพื่อมของความสนใจในประวัติศาสตร์ท้อง ถิ ่ น คื อ ปรากฏการณ์ ท ี ่ ส ำคั ญ ที ่ ส ุ ด ของวิ ช าการทาง ประวัติศาสตร์ในประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ ๘๐ ! ช่ ว งปี พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๓๔ มี ก ารสั ม มนา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ๔๖ ครั้ง ใน ๓๒ จังหวัดหรือ มากกว่านั้น และนักวิชาการจากกรุงเทพฯ มักเข้าร่วมและ แสดงบทบาทที่สำคัญ อาจารย์ศรีศักรถูกเชิญไปมากกว่า ๒๐ ครั้ง ตามด้วย ดร.ประเสริฐ ณ นคร สุจิตต์ วงษ์เทศ ธิดา สาระยา และนิธิ เอียวศรีวงศ์ ! ! ! หัวข้อการสัมมนามีรูปแบบที่คล้ายกัน เริ่มจากสภาพ ภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อม การตั้งถิ่นฐานโบราณหรือ เมืองโบราณในพื้นที่ การสัมมนาเน้นไปที่พื้นที่ในจังหวัด ที่มีเรื่องราวก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์เป็น ส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แห่งชาติ อาจจะพิเศษไปบ้าง ถ้าจังหวัดนั้นมีบทบาทเด่นชัดในประวัติศาสตร์แห่งชาติ ในช่วงนั้นๆ หลังจากนั้นคือประวัติศาสตร์การเมือง ประวั ต ิ ศ าสตร์ เ ศรษฐกิ จ วรรณกรรมท้ อ งถิ ่ น สถาปัตยกรรม ศิลปะ งานช่าง ประเพณีท้องถิ่น และมี ประเด็นที่มีลักษณะพิเศษของท้องถิ่นนั้นๆ อีกนิดหน่อย
[41]
มูล นิธิ เล็ ก-
ธุ์
ปร ะไพ
๑๙๘๐ รัฐไทยปลอดภัยจากความรู้สึกถูกรุกล้ำจาก เพื่อนบ้าน มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจมากขึ้น ภายใต้ บริบทของผู้คนที่หลากหลายและวัฒนธรรมของความ อดทนอดกลั้น วัฒนธรรมแบบรวมศูนย์และความทรง จำเริ่มที่จะเปิดพื้นที่สู่ท้องถิ่นมากขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอ เมื ่ อ พิ จ ารณากลั บ ไปเหตุ ก ารณ์ ค วามรุ น แรงใน ๓ จังหวัดภาคใต้ ที่ยังไม่ได้มีการศึกษาและทำความเข้าใจ ผู ้ ค นและท้ อ งถิ ่ น จนสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ก ั บ ประวัติศาสตร์ของผู้ที่ถูกมองและคิดว่าตนเอง “เป็นอื่น” และนำเอาประวัติศาสตร์ส่วนที่ถูกตัดทอนและคัดเลือก ไปใช้ เ พื ่ อ อบรมให้ เ กิ ด ความบี บ คั ้ น อั น เนื ่ อ งมาจาก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นอย่างรุนแรง เช่นนี้มาก่อนในประวัติศาสตร์ของสยามประเทศหรือ ประเทศไทยในเวลาต่อมา ! แต่อย่างไรก็ตาม รัฐไทยปล่อยให้มีความนิยมแบบ พหุลักษณ์มากขึ้น ซึ่งยังคงเป็นแนวคิดหลักในทุกวันนี้ ! ผู ้ ท ี ่ ม ี ส ่ ว นในโครงการประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้มีภูมิปัญญาของท้องถิ่น การศึกษาท้องถิ่นไม่เป็นเพียงการทำลายการเล่าเรื่อง แบบศูนย์กลางเท่านั้น แต่เป็นการเล่าเรื่องมาจากภายใน โดยแม้ว่าการฟื้นอัตลักษณ์ท้องถิ่นอาจจะเป็นส่วนหนึ่ง ของการระลึกถึงอดีตมากกว่าที่จะเป็นการอ้างอัตลักษณ์ ที่ต่างออกไป เพราะยังไม่มีการจัดการ วิพากษ์วิจารณ์ และสร้างความหมายใหม่ให้เกิดขึ้นแก่ประวัติศาสตร์ท้อง ถิ่นเหล่านั้นในหมู่คนในท้องถิ่นเอง ! กลายเป็ น ว่ า ประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ที ่ ค วรมี ี พ ลั ง เชิดชูพลังของชุมชนท้องถิ่นแบบที่อาจารย์ฉัตรทิพย์ และอาจารย์นิธิคาดหวัง กลายเป็นผลผลิตของการหวน หาอดี ต ที ่ ค รอบงำเท่ า นั ้ น เพราะความรู ้ ท าง ประวัติศาสตร์นำมาซึ่งการเปิดตลาดของชนชั้นนำในการ สร้างผลผลิตสู่สาธารณะ การมีส่วนร่วมและการบริโภค ชั่วครู่ชั่วยาม กระแสที่เกิดขึ้นจากการสร้างอดีตหรือการ หวนหาอดีตให้เป็นการค้าไม่ได้นำไปสู่การสร้างความเข้ม แข็งในการทำวิจัยหรือแม้แต่ความเข้มแข็งในหมู่ผู้คน ท้องถิ่นแต่อย่างใด
พัน
! ในช่ ว งท้ า ยๆ ของสงครามเย็ น ในทศวรรษที ่
ยะ
วัฒนธรรมชุมชนและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
! ความต้ อ งการแบบประวั ต ิ ศ าสตร์ พ ร้ อ มสร้ า ง สำหรั บ การบริ โ ภคสาธารณะนั ้ น ไม่ ใ ช่ ก ารทำงาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่แท้จริง ขณะที่ประวัติศาสตร์ที่ เป็นการค้าเพิ่มขึ้นและประวัติศาสตร์ถูกทำให้เป็นที่นิยม แต่นักศึกษา หลักสูตรการเรียน อาชีพ ทุน ถูกสั่นคลอน ด้ ว ยความรู ้ ท างประวั ต ิ ศ าสตร์ แ บบการค้ า และ อุตสาหกรรมของการหวนหาอดีต สภาพแบบฟองสบู่ เช่น การนิยมในตลาดเก่า ตลาดโบราณ การสร้างตลาด น้ำแบบปลอมๆ หรือการท่องเที่ยวหรือสร้างที่พักแบบ โฮมสเตย์ เป็นแนวโน้มทั้งที่รัฐสนับสนุน (โครงการสร้าง มูลค่า Creative Thinking) และชาวบ้านในท้องถิ่นใช้ เพื่อการสร้างรายได้ให้กับตนเอง ! นโยบายการให้ทุนวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและ การสร้ า งองค์ ค วามรู ้ เ รื ่ อ งประวั ต ิ ศ าสตร์ ท ้ อ งถิ ่ น ใน ปัจจุบันทุกวันนี้ ไม่มีแนวทางแน่ชัดในสถาบันการศึกษา ระดับชาติ แต่ปรากฏในสถาบันการศึกษาระดับท้องถิ่นที่ พยายามสร้ า งองค์ ค วามรู ้ ท ี ่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ซึ่งสุ้มเสียงเหล่านี้เงียบหายไป อย่ า งเห็ น ได้ ช ั ด หลั ง จากปรากฏการณ์ ส ั ม มนา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหมดลง ทั้งที่มีการเปิดสถาบันการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นมาอีกเป็นจำนวนมากก็ตาม ! อย่างไรก็ตามการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยในระยะหนึ่ง (ราวสิบปีที่ผ่านมานี้) ทำให้เห็นการกระจายของทุนสู่การศึกษาประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นในกลุ่มท้องถิ่นต่างๆ ทั้งนักวิชาการในสถาบัน กลุ่มองค์กรชาวบ้านมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และมัก ควบคู่ไปกับกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่นต่างๆ ! การหยุดชะงักของงานทดลองเพื่อสร้างความรู้แบบ งานวิจัยลงไปสู่ท้องถิ่น แม้จะมีองค์กรรองรับที่จะศึกษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหรือการนำเอาการศึกษาท้องถิ่นไป ใช้ เช่น การสนับสนุนให้จัดสร้างพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นใน ชุมชน แต่ก็ก้าวหน้าไปได้ช้าๆ เนื่องจากรูปแบบของการ ทำงานแบบนักวิชาการที่เน้นวิธีวิทยามากกว่าเนื้อหาจาก เหตุการณ์ ! การใช้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการเมืองของผู้ถูก กดขี่ ในกรณีของสามจังหวัดภาคใต้ที่ถูกยกขึ้นมาเป็น ข้ อ อ้างทำให้เกิดความรุนแรงของผู้ต่อต้านรัฐ สร้าง
วิริ
เครื่องมือทางการเมืองและเศรษฐกิจ
[42]
ยะ
พัน
ธุ์
ศรีศักร วัลลิโภดม ไปใช้เพื่อการทำงานของนักพัฒนาใน องค์กรเอกชนของท้องถิ่น สร้างมิติความรู้ความเข้าใจใน ท้องถิ่น บ้านเมืองของตนเอง ในเรื่องของ “มาตุภูมิหรือ แผ่นดินเกิด” ให้เข้าใจในสิ่งที่ตนเองเป็นและคงอยู่ เข้าใจ ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบกับความเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและวัฒนธรรมภายใน (ดูตัวอย่างได้จาก โครงการ ของกลุ่มรักษ์เชียงของ เช่น ๓ ปีการเรียนรู้ฟื้นฟูชุมชน ดอยยาว-ผาหม่น : การสร้างสุขด้วยประวัติศาสตร์นิเวศ วั ฒ นธรรม http://www.mekonglover.com/ news_pop.asp?NewsId=275) L นั บ เป็ น การปกป้ อ งรั ก ษาท้ อ งถิ ่ น ของตนเองด้ ว ย ความเข้าใจอย่างแท้จริง ถือเป็นการคลี่คลายเพื่อนำเอา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไปใช้งานเพื่อสังคมท้องถิ่นอย่าง ชั ด เจน และน่ า จั บ ตามองพั ฒ นาการของความ เคลื่อนไหวเหล่านี้ต่อไป บรรณานุกรม ฉลอง สุนทราวาณิชย์, ผู้วิจัยร่วมและอื่น ๆ. รายงานการวิจัย เรื่องสถานภาพงาน วิจัยสาขาประวัติศาสตร์ใน ประเทศไทยระหว่าง ! พ.ศ ๒๕๐๓-๒๕๓๕. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ, ๒๕๓๖. ธิดา สาระยะ. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เมืองโบราณ, = ๒๕๒๙. ยงยุทธ ชูแว่น. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นไทย :ครึ่งศตวรรษแห่ง การค้นหาและเส้นทางสู่อนาคต กรุงเทพฯ : สำนักงาน กองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.), ๒๕๕๑. อานันท์ กาญจนพันธุ์” รายงานการวิจัย สังคมไทยตามความคิด และความใฝ่ฝันของอาจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โครงการ ศึกษา “เมืองไทยในความใฝ่ฝันของนักคิดอาวุโส” สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๒๙. The Changing Landscape of the past : new histories in Thailand since 1973 Journal of Southeast Asian Studies. Volume: 26. Issue: 1. Publication Year: 1995] .
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
สถานการณ์อย่างไร และจะมีการแก้ไขในประเด็นเหล่า นี ้ อ ย่ า งไร เปรี ย บกั บ สถานการณ์ ใ นแพร่ ซ ึ ่ ง ใช้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อรองเพื่อสร้างโอกาสและราย ได้แก่ตนเองและต่อรองเพื่อสร้างประวัติศาสตร์ใหม่แก้ ต่างแก่สายตระกูลของอดีตเจ้าเมืองและคนชั้นนำใน จังหวัด ในลำพูนมีการศึกษา การ จัดกิจกรรมและเขียน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแบบท้องถิ่นนิยม โดยเฉพาะกรณี ชาติพันธุ์นิยมกลุ่มคนยองที่ครอบงำความเป็นคนลำพูน กำลังจะนำไปสู่ความขัดแย้งภายในอย่างไรหรือไม่ก็น่า จะรอดูคำตอบความเปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหวนี้ต่อไปใน อนาคต ! ปัจจุบันนี้สินค้าทางประวัติศาสตร์ของการหวนหา อดีตไปรับใช้การเมืองท้องถิ่น เช่น การสร้างงบ ประมาณในการก่ อ สร้ า งอาคารสถานที ่ เ พื ่ อ รองรั บ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น หรือการจัดสร้างตลาดน้ำ ตลาด โบราณเพื่อรองรับการท่องเที่ยว โดยไม่มีเนื้อหาหรือ ความเข้ า ใจความเป็ น มาในท้ อ งถิ ่ น ของตนเองแต่ อย่างใด แต่เป็นการจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้จ่ายใน โครงการต่างๆ เท่านั้น ! การเชื่อมต่อของนักวิชาการส่วนกลางหรือภายใน พื้นที่กับความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจการเมืองในท้อง ถิ่นยังไม่พบกัน เพราะต่างฝ่ายต่างใช้ประโยชน์โดยที่ยัง ไม่มีการต่อรองและปรับตัวร่วมกัน ข้อมูลทางวิชาการ ประวัติศาสตร์ถูกนำไปใช้เพื่อตอบสนองนักการเมืองและ ผู้มีโอกาสในสังคมท้องถิ่นมากกว่า ซึ่งการศึกษาเหล่านี้จะ ไม่ เ ป็ น การทำงานเพื ่ อ นำไปสู ่ ก ารศึ ก ษาอย่ า งจริ ง ๆ แต่เพียงเติมเต็มเอาความหวนหาอดีตให้ยาวนานขึ้นและ การสร้างผลกำไรที่มากขึ้นเท่านั้นเอง ! ความเคลื่อนไหวทางสังคมในหลายปีที่ผ่านมาที่ผู้คน ในท้องถิ่นหวนกลับไปทบทวนตนเองเพื่อทำความรู้จัก ตนเองใหม่ กลายเป็ น แนวโน้ ม ของการศึ ก ษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่น่าจับตามอง เพราะเริ่มมีการนำ เอาแนวคิดของนักวิชาการ เช่น จากงานของอาจารย์
[43]
! เมื่อเกือบ ๒๐ ปีที่แล้ว มูลนิธิฯ ได้ริเริ่มและจุดประกายในการจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นจนทำให้ เกิดขึ้นแล้วทั่วประเทศ หลังจากนั้นจึงริเริ่มทำงานวิจัยท้องถิ่น โดยการสร้างนักวิจัยที่เป็นชาวบ้านชาว เมืองใน ท้องถิ่นต่างๆ ร่วมทำงานร่วมกับนักวิจัยจากมูลนิธิฯ จนสามารถเขียนรายงานจาก ประสบการณ์ทำวิจัยที่เป็นกระบวนการทำงานร่วมกัน และสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่น รวมทั้งปฏิบัติ การฟื้นพลังของคนในสังคมท้องถิ่นจากการศึกษาสังคมและบ้านเกิดของตนเอง โดยสามารถเข้าใจถึง สาเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลงภายในท้องถิ่น รวมทั้งเข้าใจในรากฐานของตนเอง ทำให้เกิดความมั่นใจใน การศึกษาด้วยตนเองโดยการเรียนรู้ขั้นตอนการสร้างงานวิจัยและสังเคราะห์ผลจากการวิจัยนั้นได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
พัน
ธุ์
! ต่อมาในงานวันเล็ก-ประไพ รำลึกปีก่อนๆ จึงได้อบรมเยาวชนและชาวบ้านในท้องถิ่นให้เข้าใจ แนวทางการศึกษาและเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการศึกษาท้องถิ่น เช่น การทำงานแบบประวัติศาสตร์ บอกเล่า, การเรียนรู้เรื่องแผนที่ แต่การอบรมดังกล่าวนั้นยังขาดสิ่งสำคัญมากเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และสรุปการศึกษาต่างๆ คือ “กระบวนการสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่น”
มูล นิธิ เล็ ก-
ปร ะไพ
วิริ
ยะ
! เพื่อความต่อเนื่องในการทำงานเผยแพร่สร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจในท้องถิ่นให้เพิ่มขึ้นจากสิ่งที่ เคยทำมาแล้ว มูลนิธิฯ จึงจัดงานอบรมเพื่อสร้างกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อสามารถ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากการเก็บรายละเอียดในชุมชนหรือในท้องถิ่นต่างๆ นำมาเขียนบรรยาย เป็นงานศึกษาวิจัย งานเขียนเชิงสารคดี หรืองานเขียนเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เขียนเพื่อจัดแสดงใน งานพิพิธภัณฑ์ เขียนเพื่องานนิทรรศการ หรือเขียนเพื่อสร้างหลักสูตรสำหรับเยาวชน โดยจะเน้นการ บรรยายและนำเสนอแนวทางแบบเบื้องต้น และแลกเปลี่ยนความรู้กับกลุ่มท้องถิ่นต่างๆ ที่เข้าร่วม อบรมและรับฟังปัญหาในการจัดการสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของตนเอง ! โดยจะนำข้อมูลจากการอบรมนี้มาสังเคราะห์ข้อมูลและปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการสร้าง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสำหรับเผยแพรแก่สาธารณะต่อไป
ปฏิบัติการ
๑. ให้ความรู้แนวคิดเบื้องต้นในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อให้แนวทาง และวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ๒. นำเสนอข้อมูล รูปแบบ และวิธีการสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนแต่ละ กลุ่ม ๓. จัดกลุ่มอภิปรายปัญหาจากการทำงานปฏิบัติการประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่ท้อง ถิ่นพบและบันทึกเป็นข้อมูลสำหรับเผยแพร่เป็นงานศึกษาแนวทางการสร้างและ ปัญหาในการปฏิบัติการประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
[44]
มูล นิธิ เล็ กปร ะไพ วิริ ยะ พัน
ธุ์