CATALOG BOOKS
“การศึกษาประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ [Local history] คือการศึกษาในลักษณะประวัตศิ าสตร์มชี วี ติ [Living history] แสดงให้เห็นพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของผูค้ นในพืน้ ทีว่ ฒ ั นธรรมอันแตกต่างไปจากพืน้ ทีก่ าร ปกครองของรัฐ พื้นที่การปกครองหมายถึง ฐานในการบริหารจัดการที่สืบสานเรื่อยมาจนทุกวันนี้ ได้ท�ำลายพื้นที่วัฒนธรรมที่เคย เป็นมาแต่อดีตกาลนับพันปีขึ้นไปของผู้คนในดินแดนประเทศสยามถึงประเทศไทยในขณะนี้อย่างสิ้นเชิง การมองจากภายนอกดังกล่าวจึงแลเห็นแต่ลกั ษณะทีเ่ ป็นกายภาพ ตามจ�ำนวนผูค้ นทีอ่ ยู่ในถิน่ ฐานเดียวกัน แต่มอง ไม่เห็นคนกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่เกิดการเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่เน้น ความสัมพันธ์ระหว่างคน กับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ท�ำให้เกิดส�ำนึกร่วมของการอยู่เป็นกลุ่มเหล่าภายในพื้นที่ วัฒนธรรมเดียวกัน” เอกสารชุด “คู่มือฉุกคิด” ซึ่งประกอบไปด้วยแนวคิดพื้นฐานเรื่องราวทางสังคมและวัฒนธรรมอีกหลาย ประเด็น จัดท�ำเพือ่ เป็นแนวทางในการท�ำความเข้าใจสังคมและวัฒนธรรมในท้องถิน่ ซึง่ อาจารย์ศรีศกั ร วัลลิโภดม ใช้แนวคิดทฤษฎีทางมานุษยวิทยามาปรับใช้กบั ประสบการณ์จากท้องถิน่ ต่างๆ สร้างเป็นแนวทางพืน้ ฐานทีส่ ามารถ ท�ำความเข้าใจได้อย่างง่ายดายส�ำหรับผูส้ นใจศึกษาโดยเฉพาะประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ทีม่ คี วามเคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลง อยู่ตลอดเวลา
#1 เรืโดย่อง: :ศรีคู่มศือักรฉุกวัคิลดลิโภดม จ�ำนวนหน้า : 84 หน้า ราคาปก : 100 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-23-9
จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งในภาคใต้มาจากภาครัฐเอง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งความไม่มีเอกภาพในการท�ำงานระหว่างหน่วยงานของ ภาครัฐด้วยกัน และความไม่ซื่อตรงในการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ รัฐจ�ำนวนหนึ่งท�ำให้งานบิดเบี้ยวตั้งแต่เริ่มต้นการปฏิบัติฉาบฉวย ไม่หวังผลจริง งบประมาณสูญหายไปกับการคอร์รัปชั่นแม้เคย มีนโยบายและมาตรการที่ดีๆ อยู่บ้างก็ไม่ต่อเนื่อง และสุดท้าย ชาวบ้านซึ่งเป็นข้อต่อสุดท้ายของสายโซ่ก็เป็นผู้รับผลกระทบของ กิจกรรมเหล่านั้น ภาครัฐจึงเป็นตัวแปรส�ำคัญตัวหนึ่งในการแก้ ปัญหาชายแดนใต้ ให้ยั่งยืน และการปรับวิธีการท�ำงานของภาครัฐ จึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งเพื่อสร้าง “ความไว้วางใจ” ของชุมชน ให้คืนกลับมา มุมมองของ “คนใน” ดังกล่าวนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญในการ คลี่คลายปัญหาและแสวงหาทางออกที่เหมาะสมกับทุกฝ่ายในพื้นที่ ชายแดนภาคใต้ เป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นต้องมีในการพยายามเข้าใจท้องถิน่ ที่ ซับซ้อน มีหลากหลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ วิธอี ยูร่ ว่ มกันโดยการ อะลุ่มอล่วย [Tolerance] ทั้งหมดนี้ต้องเริ่มต้นด้วยความพร้อมของคนนอกที่จะรับฟังมุม มองใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยได้รับฟังจากคนใน ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นในการรับฟังส�ำหรับผู้อ่านที่สนใจ ต่อไป ศ.ดร.ปิยะวัฒน์ บุญ-หลง อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
#2 เรื่อง : เล่าขานตำ�นานใต้ ตำ�นาน เหตุการณ์สำ�คัญทางการเมือง สถานที่และบุคคลสำ�คัญของท้องถิ่น ------------------------ผู้แต่ง/แปล : พล.ต.ต.จำ�รูญ เด่นอุดม, อุดม ปัตนวงศ์, ศรีศักร วัลลิโภดม จ�ำนวนหน้า : 260 หน้า ราคาปก : 210 บาท ปีที่พิมพ์ : 2553 ISBN : 978-616-7070-04-9
เรื่องราวในหนังสือ “ยาลอเป็นยะลาฯ” เล่มนี้เป็นตัวอย่างที่ดี ส�ำหรับการศึกษาเรื่องท้องถิ่น โดยคนในท้องถิ่นเพื่อคนท้อง ถิ่นอย่างแท้จริง... ...เหตุทขี่ า้ พเจ้าเห็นว่าเป็นตัวอย่างทีด่ ขี องการเป็นประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นนั้นก็คือ เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของชีวิต วัฒนธรรมของผู้คนในท้องถิ่นในลักษณะองค์รวม [Holistic] ของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เรียกว่าท้องถิ่นที่สัมพันธ์เชื่อมโยง กับผูค้ นในสังคมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงเคลือ่ นไหวในช่วงเวลาทาง ประวัตศิ าสตร์อย่างมีชวี ติ ชีวา ทีจ่ ะท�ำให้แลเห็นว่า ประวัตศิ าสตร์ ท้องถิ่นคือประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต [Living history]...
#3
เรื่อง : ยาลอเป็นยะลา ความ เปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและคนรุ่น ใหม่ ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา -------------------------ผู้แต่ง/แปล : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, ทรัย นุง มะเด็ง, อับดุลเร๊าะมัน บาดา จ�ำนวนหน้า : 318 หน้า ราคาปก : 245 บาท ปีที่พิมพ์ : 2553 ISNB : 978-616-7070-28-5
ในความทรงจ�ำของข้าพเจ้า เมืองยะลาหรือนครยะลาเกิดความ ไม่สงบในช่วง ๔-๕ ปีที่ผ่านมานี้ คือ เมืองภายในที่ ใหญ่โตและ ดูเจริญกว่าเมืองใดๆ ทั้งใกล้ทะเลและภายในของสามจังหวัด ภาคใต้ ซึ่งแม้แต่นครปัตตานีที่เคยเป็นศูนย์กลางของรัฐ ยะลามี ผังเมืองที่สวยงามและมีความสะอาด มีระเบียบ อันเนื่องมาจาก คุณภาพทางวัฒนธรรมของคนจีน คนไทยพุทธ และคนมุสลิม ที่นักวิจัยซึ่งเป็น “คนใน” ของหนังสือเล่มนี้ได้เสนอข้อมูลทาง สังคมที่ท�ำให้แลเห็นคนแต่ละรุ่นแต่ละกลุ่มเหล่าอย่างโดดเด่น โดยเฉพาะคนรุ่นหนุ่มสาวที่มีการเติบโตและเปลี่ยนแปลงในสมัย ปัจจุบัน อันเป็นยุคที่เกิดความวุ่นวาย เกิดความแตกแยกที่น�ำ ไปสูค่ วามล่มสลายทางศีลธรรมและมนุษยธรรมอย่างในทุกวันนี้ ...การเข้าถึงคนในปัจจุบันโดยเฉพาะคนรุ่นหนุ่มสาวในท้องถิ่นใน “มิตทิ างสังคมและวัฒนธรรม” ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงดังกล่าวนี้ คือคุณูปการของหนังสือเล่มนี้ที่จะช่วยให้ผู้อ่านได้แลเห็นค่าและ ความหมายในพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ ว่า “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” นั้นคืออย่างไร... ...แต่เพียงการมองและศึกษาจากภายนอกที่จ�ำกัดอยู่แต่เพียง เศรษฐกิจการเมืองอย่างที่ท�ำกันส่วนมากอย่างสิ้นเปลืองงบ ประมาณกันในทุกวันนี้ แล้วจินตนาการเอาเองว่าเป็นเรื่องที่จะ ท�ำให้เกิดความสมานฉันท์และสันติสุขได้นั้นเป็นได้แต่เพียงการ หลอกตัวเองของคนนอกแต่เพียงฝ่ายเดียว ส่วนหนึ่งจากค�ำน�ำของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ที่ปรึกษามูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
“เรื่องเล่าจากหมู่บ้านเชิงเขาบูโด : กรณีบ้านตะโหนด” นี้คือ ผลการวิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic research) ที่คณะวิจัยผู้เป็น คนนอกท�ำร่วมกับคนใน โดยใช้กระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันอย่าง เสมอภาค... คนในคือคนท�ำหน้าทีร่ วบรวมข้อมูลซึง่ มาจากความทรงจ�ำ การ ระลึกรู้และการสังเกตในการมีชีวิตร่วมของผู้คนในชุมชนมาช้า นาน จนทราบได้ว่าบ้านใดเมืองใดมีความเป็นมาอย่างไร มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างใด และมีความรู้สึกนึกคิดร่วมกันอย่างใด และอะไรเป็นสาเหตุแห่งความขัดแย้งที่เป็นข้อเท็จจริงในการรับ รู้ร่วมกันของคนใน...
#4
เรื่อง : เล่าจากหมู่บ้านเชิงเขาบูโด กรณีบ้านตะโหนด -------------------------ผู้แต่ง/แปล : มะอีซอ โซมะดะ, งามพล จะปากิยา, วลัยลักษณ์ ทรงศิริ จ�ำนวนหน้า : 274 หน้า ราคาปก : 230 บาท ปีที่พิมพ์ : 2553 ISBN : 978-616-7070-36-0
สิง่ ทีผ่ อู้ า่ นจะได้รบั คือข้อมูลและเรือ่ งราวของคนในจากหนังสือ เล่มนี้ ในอันดับแรกก็คือ ความสัมพันธ์ทั้งลักษณะภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมธรรมชาติ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมระหว่างบ้านกับเมือง ซึ่งในที่นี้คือ เมืองรามันกับ บรรดาชุมชนหมู่บ้าน โดยเฉพาะบ้านตะโหนดที่อยู่ ในพื้นที่ท้อง ถิ่นรอบเขาบูโด ผู้คนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่มีระบบความเชื่อ ทั้ง ศาสนาและไสยศาสตร์ทเี่ คยมีมาก่อน มีความขัดแย้งทางศาสนาใน ปัจจุบนั ทีม่ กี ารแบ่งเป็นศาสนาใหม่และเก่า เรือ่ งของความคิดและ ความเชือ่ ในเรือ่ งกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ในสภาพแวดล้อมร่วมกัน รวมทั้งกฎกติกาตามจารีต ตระกูล ของผูน้ ำ� และคนส�ำคัญในท้องถิน่ บุคคลศักดิส์ ทิ ธิท์ ผี่ คู้ นให้ความ เคารพเชื่อฟัง การท�ำมาหากิน เช่น การเพาะปลูก การท�ำเหมือง แร่ การติดต่อกับภายนอกและความสัมพันธ์กับคนข้างนอกใน ท้องถิ่นอื่นๆ แต่ทสี่ ำ� คัญคือการสะท้อนให้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงทีม่ าจากข้าง นอกทีม่ ผี ลกระทบต่อชีวติ วัฒนธรรมในแต่ละช่วงเวลาจากการ เรียนรูแ้ ละรับรูข้ องคนในทัง้ หลายแหล่เหล่านี้ ล้วนเป็นข้อมูลและ ความรูท้ จี่ ะท�ำให้คนนอกพอเข้าใจคนในได้อย่างในพระราชด�ำรัสที่ ว่า “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ได้อย่างมหาศาลทีเดียว... ส่วนหนึ่งจากค�ำน�ำของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ที่ปรึกษามูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ความเป็นพืน้ ทีท่ างวัฒนธรรมในระดับทีเ่ ป็นภูมวิ ฒ ั นธรรมนัน้ แลเห็น ได้จากความเป็นอ่าวปัตตานีทม่ี ที งั้ ทะเลในภายในอ่าวและทะเลนอกทีเ่ ป็น ชายหาด เชือ่ มโยงไปยังบ้านเมืองชายทะเลใกล้เคียงทัง้ ทางสงขลาและ นราธิวาส มีการก�ำหนดพื้นที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของ ผู้คนในลักษณะชื่อบ้านนามเมือง พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม อันเป็นทีร่ บั รูข้ องคนทัว่ ไปทีเ่ ป็น “คนใน” การก�ำหนด ชื่อต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนมีความเป็นมาในรูปของต�ำนานและความเชื่อที่ ท�ำให้เห็นว่า ความเป็นภูมิวัฒนธรรมนั้น หาใช่สิ่งที่สร้างขึ้นหรือก�ำหนดขึ้นโดย คนนอกที่เป็นนักวิชาการ ข้าราชการ และใคร ๆ ก็ได้ เพียงท�ำแผนที่ ภาพถ่ายดาวเทียมมาแยกแยะและขีดเขียนขึ้น หากเป็นของที่สร้างขึ้น จากประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันของคนท้องถิ่นในมิติของเวลา ไม่ต�่ำกว่า 3 ชั่วอายุคน มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมและสืบเนื่องมาจน ปัจจุบัน...
#5
ความทรงจำ�ในอ่าวปัตตานี ------------------------ผู้แต่ง/แปล : ดอเลาะ เจ๊ะแต, มะรอนิง สาและ, วลัยลักษณ์ ทรงศิริ จ�ำนวนหน้า : 348 หน้า ราคาปก : 250 บาท ปีที่พิมพ์ : 2553 ISBN : 978-616-7070-14-8
เพราะฉะนัน้ ผูท้ ี่ได้อา่ น “ความทรงจ�ำในอ่าวปัตตานี” เรือ่ งนีอ้ นั เป็นงาน วิจัยของคนใน คงได้เห็นภาพลักษณ์ของสังคมปัตตานีที่เป็น “สังคม พหุลกั ษณ์” ทีเ่ คยมีความสงบสุขทีแ่ ตกต่างไปจาก “สังคมเอกลักษณ์” ทีค่ นนอกทีช่ อบโอ่ตวั ว่าเป็น “คนไทย” ทีม่ เี ผ่าพันธุเ์ ชือ้ ชาติเดียวกันมา แต่สมัยสุโขทัยอย่างไรบ้าง (ส่วนหนึ่งจากค�ำน�ำของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ที่ปรึกษามูลนิธิ เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์)
#6
เรื่อง : พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย จ�ำนวนหน้า : 142 หน้า โดย : ศรีศักร วัลลิโภดม ราคาปก : 200 บาท ปีที่พิมพ์ : 2556 ISBN : 978-616-9155-90-4
หนังสือเล่มนี้จัดท�ำแบบเฉพาะกิจเพื่อสร้างความเข้าใจในรากเหง้าและความเป็นมาของบ้านเมืองขนาดใหญ่และ ส�ำคัญที่สุดในเขตอีสานเหนือ “เมืองหนองหารหลวง” ที่ต่อมาได้กลายเป็นเมืองสกลนคร และมีความส�ำคัญในฐานะที่ เป็น “ถิ่นพุทธธรรม” อันเป็นที่มั่นของพระอริยสงฆ์สายพระป่าที่ ใช้การปฏิบัติวิปัสนากรรมฐานเป็นพื้นธรรม จนกลาย เป็นอัตลักษณ์ของความเป็นมหาวนาสีแห่งภูพานกรณีการคัดค้านการออกโฉนดทับซ้อนลงบนพื้นที่สาธารณะ โดยฝ่าย ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ น�ำไปสู่กระบวนการเรียกร้องเพื่อการกระท�ำที่ถูกต้อง เมื่อต้นเดือนกันยายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา เพื่อรักษาสมบัติสาธารณะ [Common property] “ดอนสวรรค์” ดอนที่สมบูรณ์ ในเชิงนิเวศและ มีความหมาย ต่อชีวิตและสังคมของคนสกลนครทั้งมวล มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ จึงถือโอกาสอันดีที่พี่น้องชาวสกลนครสร้างปรากฏการณ์ “รักษาบ้านเกิดเมือง นอน” จัดพิมพ์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์และในการเป็นเมืองโบราณที่เป็นถิ่นฐานอันเก่าแก่ ใน การประดิษฐานพระพุทธศาสนาแบบอรัญวาสี เพื่อสืบทอดรากเหง้าและรักษาอัตลักษณ์ ในความเป็นเมืองริมหนองน�้ำ ธรรมชาติขนาดใหญ่และถิ่นมั่นในพุทธธรรมให้คงอยู่เป็นขวัญของบ้านเมืองสืบไป
ความเคลื่อนไหวทางสังคมในการฟื้นฟูหรือสร้างสรรค์ผู้น�ำวัฒนธรรมที่มีทั้งผีพุทธ และคนที่มีชีวิตที่บ�ำเพ็ญ บารมี ในเรื่องคุณธรรมนั้น ล้วนเป็นมิติทางวิญญาณที่เกิดขึ้นเพื่อมนุษย์ ในฐานะเป็นสัตว์สังคม เกิดความรู้สึก ถึงความไม่มั่นคงในชีวิตวัฒนธรรม อันเนื่องมาจากการรุกเร้าและบีบคั้นจากอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่มาจากภายนอก โดยเฉพาะสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์ที่ถูกครอบง�ำด้วยอิทธิพลประชาธิปไตยสาธารณ์ และ เศรษฐกิจทุนนิยมจากตะวันตกนั้นก�ำลังท�ำให้คนในท้องถิ่นที่ปรับตัวเองให้ทันกับระบบสังคมและระบบนิเวศไม่ได้ก็ รูส้ กึ ว่าก�ำลังพึง่ รัฐพึง่ กฎหมายไม่ได้ ถูกรุกรานแย่งทรัพยากรแย่งทีท่ ำ� กิน เมือ่ รัฐไม่อาจเป็นทีพ่ งึ่ ได้ จึงต้องพึง่ ผี พึ่งพระ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติดีกว่า
ในชุด “พอเพียงเพื่อแผ่นดินเกิด” #7 หนัเรื่องงสือ: หนึผู้น่ง�ำทางวั ฒนธรรม โดย : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 204 หน้า ราคาปก : 215 บาท ปีที่พิมพ์ : 2556 ISBN : 978-616-9155-92-8
โลกาภิวัตน์ ในทุกวันนี้ที่ก�ำลังท�ำให้คนทั่วโลกอยู่ ในภาวะโลกาวิบัติ อันเนื่องมาจากการที่คนยอมรับและรับรู้วิถี ทางตะวันตกที่มาจากระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย ซึ่งท�ำให้มีการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้งสมาชิก ผู้แทนราษฎรเพื่อผลประโยชน์ของตนเองและพรรคพวก ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจเสียหายก่อให้เกิดการแย่งชิง แข่งขัน ท�ำลายล้างกันอย่างไม่มีส�ำนึกของคนที่อยู่ ในชาติภูมิเดียวกัน แต่การที่คนมีสติปัญญาในชาติจะหลุดพ้น จากการครอบง�ำของโลกาภิวัตน์นั้นจ�ำต้องฟื้นวิถีตะวันนออกและเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมาต่อรอง เพื่อชาติภูมิ “สยามประเทศ
#8
หนังสือหนึ่งในชุด “พอเพียงเพื่อแผ่นดินเกิด” เรื่อง : เพื่อแผ่นดินเกิด โดย : ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 167 หน้า ราคาปก : 225 บาท ปีที่พิมพ์ : 2556 ISBN : 978-616-9155-91-1
ความเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม การพัฒนา การเข้าไม่ถงึ คนในหรือชาวบ้านในท้องถิน่ ซึง่ เป็นปัญหาของรัฐ ไทยในทุกวันนี้ ชาวบ้านท้องถิน่ นัน้ ต่างมีสภาพแวดล้อมทีอ่ ยูก่ บั ภูเขา ต้นน�ำ้ ล�ำธาร แม่นำ ้� ห้วยคลองหนองบึง อ่าว และท้องทะเลต่างปรับตัวเพื่อท�ำมาหากินในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่องยาวนานแต่กระบวนการที่เรียกว่า “การพัฒนา จากภายนอก” ที่เปลี่ยนรูปแบบการผลิตจากยังชีพมาเป็นการผลิตจ�ำนวนมากเพื่อการส่งออก ส่งผลกระทบต่อ วิถชี วี ติ และวัฒนธรรมอย่างรุนแรงจนผูค้ นในท้องถิน่ บางแห่งก็ปรับตัวได้ และมีอกี เป็นจ�ำนวนมากไม่สามารถรับ การเปลี่ยนแปลงนี้ได้ อีกทั้งท�ำให้เกิดผลกระทบกับ “นิเวศวัฒนธรรม” ไม่ว่าจะการสร้างเขื่อนพลังน�้ำ การสร้าง ถนนหนทาง แหล่งอุตสาหกรรม ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ท�ำลายสภาพแวดล้อมและพื้นที่ทางวัฒนธรรมของผู้คนในท้อง ถิน่ เราคงต้องหันมาศึกษา ความสัมพันธ์ของคนกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติดงั กล่าวนี้ มีความส�ำคัญอย่าง ยิ่งต่อการด�ำรงอยู่ของสังคมบ้านและเมืองในอดีตอย่างไร
#9
หนังสือหนึ่งในชุด “พอเพียงเพื่อแผ่นดินเกิด” เรื่อง : นิเวศวัฒนธรรมในความเปลี่ยนแปลง โดย : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 222 หน้า ราคาปก : 270 บาท ปีที่พิมพ์ : 2556 ISBN : 978-616-9155-93-5
ท่ามกลางความล่มสลายของครอบครัวและชุมชนทีเ่ ป็นอัตลักษณ์ของความเป็นมนุษย์นนั้ หลายแห่งหลายท้องถิน่ และชุมชนยังหาหมดสิน้ ไปไม่ แหล่งไหนทีย่ งั มีคนรุน่ เก่าและรุน่ ใหม่ทยี่ งั รูจ้ กั ความเป็นมาของชุมชนตนเองก็ทำ� ให้เกิด มีการเคลื่อนไหวทางปัญญาเพื่อยึดเอาพื้นที่วัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นคืนมา ซึ่งถึงแม้จะเอาคืนมาไม่ได้เหมือน เดิมก็เอาคืนทางด้านสัญลักษณ์ที่ท�ำให้ผู้คนในท้องถิ่นได้รู้จัก ได้ส�ำนึก และมีสติปัญญาที่จะจัดการตนเอง น�ำความ เป็นชุมชนและความเป็นมนุษย์คืนมา การรวบรวมความหลากหลายทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นทุกภาคในประเทศไทยและมีเรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับ สร้างพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในอดีต และอนุรักษ์พื้นที่ศักด์สิทธิ์ อาคารบ้าน เรือนเก่าๆ เหล่านี้เป็นการดึงคนในชุมชนโดยเฉพาะผู้ที่เป็นชุมชนได้เกิดส�ำนึกร่วมและความภาคภูมิใจในท้องถิ่นอัน เป็นแผ่นดินเกิดขึ้น..
#10
หนังสือหนึ่งในชุด “พอเพียงเพื่อแผ่นดินเกิด” เรื่อง : ฟื้นพลังความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดย : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 204 หน้า ราคาปก : 300 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-9155-94-2
“ทุ ก วั น นี้ สั ง คมไทยอยู ่ ในภาวะวิ ก ฤตมากกว่ า สมั ย ใดใน ประวัติศาสตร์ นับแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ ที่สิทธิและอ�ำนาจสูงสุดในการปกครอง แผ่ น ดิ น อยู ่ ท่ี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ม าเป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตยแบบ ฝรั่งตะวันออก ที่อ�ำนาจสูงสุดอยู่ที่กฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นเป็น พัฒนาการของสังคมทีล่ ะเมิดกฎหมาย การละเมิดกฎหมายได้กลาย เป็นนิสัยประจ�ำชาติ ซึ่งอาจเรียกให้เข้ากับวิธีคิดของพวกโพสต์โม เดิร์นว่า ‘เป็นอัตลักษณ์ของชาติ’ ก็ว่าได้”
#11
หนังสือหนึ่งในชุดคู่มือฉุกคิด จ�ำนวนหน้า : 89 หน้า เรื่อง : ผู้มีบารมี ผู้แพ้บารมี ราคาปก : 100 บาท โดย : ศรีศักร วัลลิโภดม ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-03-1
่งในชุดคู่มือฉุกคิด #12 หนัเรื่องงสือ: หนึความล้ มเหลวในการศึกษาของชาติ โดย : ศรีศักร วัลลิโภดม
จ�ำนวนหน้า : 77 หน้า ราคาปก : 100 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-04-8
..แก่นของความคิดที่เป็นวาทกรรมอย่างหนึ่งก็คือ “การเรียน โดยการกระท�ำ” คือการเรียนโดยการปฏิบัติหรือเรียนอย่างมี ประสบการณ์นั้นเอง เมื่อปฏิบัติและมีประสบการณ์นั่นแหละจะ สามารถท�ำให้คิดได้และท�ำได้เป็นผลตามมา แต่ดูเหมือนบรรดา นักการศึกษาใหญ่ๆ ของไทยถอดรหัสแก่นแท้ของความหมายนี้ ไม่ได้ เพราะขาดความเข้าใจในบริบทของความเป็นมนุษย์และสังคม จึงมาคิดเป็นโครงสร้างและ ระบบเชิงเทคนิคที่ห่างความจริงไป นั่นคือการท�ำให้เด็กเรียนรู้อย่างเป็นปัจเจกบุคคล ซึ่งก็เป็นสิ่งที่น่า กลัวมากว่าเด็กในยุคต่อไปจะเรียนเก่งหรือท�ำอะไรเก่งๆ ก็เป็นเรือ่ ง เฉพาะตัวเท่านั้น เมื่อเกิดขึ้นก็เท่ากับเป็นการขานรับค่านิยมในเรื่อง ปมด้อยปมเด่นทีส่ ร้างความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมอย่างไม่มที สี่ นิ้ สุด..
#13
หนังสือชุด “คู่มือฉุกคิด” เรื่อง “คนไทยไม่มี ใครท�ำร้ายก็ตายเอง” ผู้แต่ง ศรีศักร วัลลิโภดม จ�ำนวนหน้า : 148 หน้า ราคาปก : 180 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-05-5
สถาบันทางศาสนาก็ไม่เหมือนเดิม เพี้ยนไปทางไสยศาสตร์และบริโภค นิยมในหมู่อลัชชีที่แย่งที่อยู่อาศัยและขับไล่ผู้คนในชุมชนที่อยู่มาแต่ ดั้งเดิม สถาบันที่รักษาความมั่นคงภายในเช่นต�ำรวจก็เป็นมิจฉาชีพ ใน ขณะที่สถาบันทหารที่มีหน้าที่ปกป้องแผ่นดินและอ�ำนาจอธิปไตยก็ขาย แผ่นดิน ยินยอมให้ศัตรูเข้ามาครอบครองและจับผู้คนไปขังคุก ดังเช่น กรณีเขาพระวิหารและพื้นที่ ในเขตจังหวัดทางภาคตะวันออก สถาบัน ศาลและตุลาการก็ขาดความรู้และความเข้าใจจนตัดสินเอาผู้คนที่รัฐ ออกเอกสารสิทธิ์ทับที่ท�ำกินไปขังคุกจนเจ็บป่วยล้มตาย “หาได้ ใครหา เอา ไพร่ฟ้าเศร้าเปล่าอุรา ผู้ที่มีอาญา ไล่ตีด่าไม่ปรานี” ทุกวันนี้แทบ ทุกพื้นปฐพีของบ้านเมืองถูกทุนเหนือรัฐและเหนือตลาดเข้ามาครอบ ครอง จนผูค้ นแทบไม่มที อี่ ยูอ่ าศัยเหมือนกับข้อความทีว่ า่ “ผีปา่ มากระ ท�ำ มรณกรรมชาวบูรี น�้ำป่าเข้าธานี ก็ไม่มีที่อาไศรย” ในขณะที่บรรดา เดรัจฉานทั้งหลายคือ “ข้าเฝ้าเหล่าเสนา หนี ไปหาพาราไกล ชีบาล่าลี้ ไป ไม่มี ใครในธานี” คงไม่นานเกินรอ โอ้! สยามประเทศ…
#14 หนังสือชุด “คู่มือเพื่อปฎิบัติการศึกษาท้องถิ่น” มีทั้งหมด ๓ เล่ม เรื่อง : ปฏิบัติการประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ผู้แต่ง : ศรีศักร วัลลิโภดม,วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 70 หน้า ราคาปก : 100 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-26-0
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็น เรื่องของมิติทางเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปในพื้นที่ทางวัฒนธรรมแห่งใดแห่งหนึ่ง ประวัติศาสตร์ที่เขียนโดยคนที่เข้าไม่ถึงคนในนั้น แลเห็นได้เพียงการเปลี่ยนแปลงที่เป็นมหภาคในเวลาที่ผ่านไปแล้ว ในยุคสมัยใดสมัยหนึ่ง ต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้ของคนภายในที่เป็นการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา อย่างต่อเนื่องในลักษณะเป็นจุลภาคอย่างเป็นประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต โดยธรรมชาติแล้วพื้นที่วัฒนธรรมที่เคยเป็นมาแต่อดีตกาลซึ่งเรียกว่า ท้องถิ่น ซึ่งหมายถึงหลายชุมชนหลาย หมู่บ้านถูกท�ำลายไปโดยพื้นที่ที่การปกครองของรัฐแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ลงมา โดยถูกแบ่งย่อยออกเป็นจังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล และหมู่บ้าน ตามล�ำดับ ท�ำให้การมอง ผู้คนกับพื้นที่ เป็นการมองและก�ำหนดจากภายนอกไม่สามารถ จะเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้เกิดภาวะความพอเพียงและยั่งยืน จนไม่เห็นคนกับความสัมพันธ์ทางสังคมที่เกิดการเกี่ยวดองกันของผู้คนจากข้างในที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ อันท�ำให้เกิดส�ำนึกของการอยู่เป็นกลุ่มเหล่าภายในพื้นที่ วัฒนธรรมเดียวกัน
#15
หนังสือชุด “คู่มือเพื่อปฎิบัติการศึกษาท้องถิ่น” มีทั้งหมด ๓ เล่ม เรื่อง : ประวัติศาสตร์บอกเล่าเพื่อเด็กรักษ์ถิ่น ผู้แต่ง : ศรีศักร วัลลิโภดม,วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 48 หน้า ราคาปก : 100 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-24-6
เพื่อความต่อเนื่องในการท�ำงานเพื่อศึกษาท้องถิ่นและเผยแพร่สร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจในท้องถิ่นให้ เพิ่มขึ้นจากสิ่งที่เคยท�ำมาแล้ว มูลนิธิฯ ตระหนักว่า เด็ก การศึกษา โรงเรียน องค์กรทางศาสนา รวมทั้งการมี พี่เลี้ยงมาเป็นผู้ ใหญ่ของชุมชนที่เอาใจใส่คือ “องค์ประกอบส�ำคัญส�ำหรับอนาคตของสังคมท้องถิ่น” จะก้าวหน้า หรือถอยหลังขึน้ อยูก่ บั กระบวนการสร้างของการเรียนรูข้ นาดเล็กอย่างเป็นธรรมชาติ แต่สามารถเข้าใจภาพรวม ของการเปลีย่ นแปลงทางสังคมท้องถิน่ ในทุกมิตทิ งั้ ในทางทีด่ แี ละเป็นอันตรายด้วยการเรียนรูป้ ระสบการณ์จากผู้ อาวุโสในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง กระบวนการเรียนรูด้ งั กล่าวควรใช้การศึกษาประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น การท�ำโครงการ ประวัติศาสตร์บอกเล่า [Oral history] เพราะนอกจากจะฝึกฝนเทคนิควิธี ในการท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม การหัด ตั้งค�ำถามการเข้าสมาคมสื่อสารกับผู้ ใหญ่ ในชุมชน การเขียน การพูด ไปจนถึงการสร้างองค์ความรู้เพื่อน�ำไปใช้ ในการเรียนการสอนของท้องถิ่น ตลอดจนการสร้างเนื้อหาในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหากมีการด�ำเนินการอย่างต่อ เนื่องอีกด้วย
#16
หนังสือชุด “คู่มือเพื่อปฎิบัติการศึกษาท้องถิ่น” มีทั้งหมด ๓ เล่ม เรื่อง : เรียนรู้จากแผนที่เพื่อรู้จักท้องถิ่น ผู้แต่ง : ศรีศักร วัลลิโภดม,วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
จ�ำนวนหน้า : 52 หน้า ราคาปก : 100 บาท ปีที่พิมพ์ : 2557 ISBN : 978-616-7811-25-3
การไม่รู้จักแผนที่และอ่านแผนที่ไม่เป็นในทุกวันนี้ นับเป็นความล้าหลังทางวัฒนธรรม [Culture Lag] อย่างยิ่ง ของประเทศไทยที่มักอ้างตนว่าทันสมัยเป็นสมัยใหม่ บรรดานักวิชาการที่ ใช้แผนที่ก็ยังมองการใช้งานในลักษณะ เป็นข้อมูลและข้อเท็จจริงมากกว่าเป็นเพียงเครือ่ งมือ ดังเห็นได้จากการใช้แผนการด�ำเนินโครงการเพือ่ การพัฒนา ต่างๆ ที่เป็นโครงการของความเป็นไปได้(Feasibility study)และดครงการศึกษาผลกระทบ (EIA) ที่มักท�ำให้ เกิดความขัดแย้งกับผู้คนในท้องถิ่นในเรื่องคุกคามสภาพแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและการละเมิดสิทธิมนุษย ชนของคนท้องถิ่นเป็นประจ�ำ ในปัจจุบนั บรรดาแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศและอะไรต่างๆ นานาในเรือ่ ง Remote sensing ทีม่ ลี กั ษณะเป็นเพียง เครื่องมือเหล่านี้ ไม่ควรที่ทางราชการเห็นว่าเป็นของต้องห้าม ไม่น่าจะเป็นสิ่งที่ผูกขาดโดยฝ่ายรัฐและราชการอีก ต่อไป ควรเปิดโอกาสและส่งเสริมอย่างเต็มที่ ให้คนทั่วไปได้รู้ได้ ใช้ โดยเฉพาะฝึกเด็กและเยาวชนให้ได้เรียนรู้เพื่อน�ำ ไปสู่การศึกษาค้นคว้าและรับรู้ข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงด้วยตนเอง
#17 เรื่อง : ลุ่มเจ้าพระยา รากเหง้าแห่ง สยามประเทศ ผู้แต่ง : ศรีศักร วัลลิโภดม และ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ จ�ำนวนหน้า : 274 หน้า ราคาปก : 230 บาท ปีที่พิมพ์ : 2560 ISBN : 978-616-7811-33-8
ในยุคที่ระบบทุนนิยมเข้ามามีอิทธิพลต่อการก�ำหนด แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ท�ำให้การคมนาคม ทางบกกลายเป็นพื้นฐานของการสัญจร ส่งผลก ระทบต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น ชุ ม ชนลุ ่ ม แม่ น�้ ำ ต้ อ ง เปลี่ ย นแปลงไปพร้ อ มกั บ การพั ฒ นาบ้ า นเมื อ ง หนังสือทีจ่ ะอธิบายรากเหง้าการตัง้ ถิน่ ฐานและความ เป็นสังคมชาวน�ำ้ ในลุม่ เจ้าพระยา “ลุม่ เจ้าพระยา ราก เหง้าแห่งสยามประเทศ” . การรวบรวมบทความต่ า งวาระที่ ก ล่ า วถึ ง ผลก ระทบทางวิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรมของคนใน“ลุ ่ ม น�้ ำ เจ้าพระยา” ของอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ผู้เห็น และเข้าใจชีวิตของผู้คนในการตั้งถิ่นฐานในลุ่มน�้ำ เจ้าพระยามาทั้งชีวิตในความเป็นนักมานุษยวิทยา และโบราณคดี โดยมีบทความของ วลัยลักษณ์ ทรง ศิริ ที่น�ำเสนอข้อมูลในประเด็น “ลุ่มน�้ำเจ้าพระยา” เช่นเดียวกัน กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและ สภาพแวดล้อมสังคมของคนในลุ่มน�้ำเจ้าพระยาน�ำ มาสู่สังคมที่ไม่รู้จักวิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมแบบ เดิมไปแล้วในช่วงระยะกว่า ๕๐ ปีที่ผ่านมา . รวมบทความ “ลุ่มเจ้าพระยา รากเหง้าแห่งสยาม ประเทศ” ที่น�ำเสนอเกี่ยวกับวิถีชีวิตวัฒนธรรม คนในลุ่มน�้ำเจ้าพระยาในมิติด้านวัฒนธรรมเล่มนี้ ควรเป็นจุดเริม่ ต้นให้เกิดการพิจารณาถึงผลกระทบ ทั้งทางสิ่งแวดล้อมและชีวิตวัฒนธรรมในยุคสมัย ที่ก�ำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้แม่น�้ำเจ้าพระยา อย่างถอนรากและถึงแก่นเช่นทุกวันนี้
“ข้ า พเจ้ า คิ ด ว่ า เหตุ ใ หญ่ ที่ ท� ำ ให้ ศ าสนาผี ค รอง เมืองนั้น อยู่ที่การด�ำเนินงานของรัฐเอง ตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมามีการเคลื่อนไหวที่ท�ำให้ พระพุทธศาสนาบริสุทธิ์ ด้วยการเน้นการสอนและ เผยแพร่ไปในทางที่เป็นปรัชญาจนเกินไป จนบดบัง ความส�ำคัญของศาสนาอันเป็นเรื่องของความเชื่อ ในอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ” . การเน้นพุทธในท�ำนองที่เป็นปรัชญานั้น จะเป็นผล ส�ำเร็จได้ก็เฉพาะกลุ่มชนที่มีการศึกษาและมีปัญญา เท่านั้น ซึ่งเป็นไปไม่ได้ส�ำหรับคนส่วนใหญ่ ในสังคม ของประเทศ เพราะคนส่วนใหญ่ก็ยังมองพุทธเป็น เรือ่ งของความเชือ่ ทีเ่ กีย่ วกับอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ อยู่ จึงเข้าทางของศาสนาผีที่ไม่เน้นในเรื่องปรัชญา แต่เน้นความเชือ่ ในสิง่ เหนือธรรมชาติในทางประเพณี พิธีกรรมที่มักเป็นเรื่องทางไสยศาสตร์ เลยท�ำให้ผี กับไสยศาสตร์ ไปกันได้ แต่พุทธไปไม่ได้ . คัดบางตอนจาก “พุทธศาสนาและความเชือ่ ในสังคม ไทย” // ศรีศักร วัลลิโภดม
#18 เรื่อง : พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย โดย : ศรีศักร วัลลิโภดม จ�ำนวนหน้า : 255 หน้า ราคาปก : 230 บาท ปีที่พิมพ์ : 2560 ISBN : 978-616-7811-32-1
#19
เรื่อง : “นึกนอกรั้ว” ข้อคิดเห็นเชิงประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมผ่านการเดินทางห่างสยามประเทศ โดย : วลัยลักษณ์ ทรงศิริ จ�ำนวนหน้า : 393 หน้า ราคาปก : 310 บาท ปีที่พิมพ์ : 2560 ISBN : 978-616-7811-31-4
“นึกนอกรั้ว” ข้อคิดเห็นเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมผ่านการเดินทางห่างสยามประเทศ . รวมบทความทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น และข้อสังเกตปรากฎการณ์ทางสังคมที่ได้จากการ เดินทางในประเทศเพื่อนบ้านในระยะทางที่ไม่ห่างไกลบ้านเมืองของเรานัก โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ ที่เขียนลงพิมพ์ ในจดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ์ เป็นระยะเวลามากกว่า ๑๐ ปี ถูกรวบรวมในหนังสือเล่มนี้ อธิบายถึง ปรากฏการณ์ทางสังคมที่หลากหลาย และแนวคิดในมิติทางประวัติศาสตร์และข้อมูลและข้อคิดเห็นที่แตกต่างไปจาก แนวคิดทางโบราณคดีหลายประเด็น ประสบการณ์ที่ได้พบเห็นมาในบทความหลากหลายนี้ น่าจะเป็นฐานข้อมูลและสร้าง แนวคิดให้แก่ผสู้ นใจในการศึกษาทางสังคม ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดีทกี่ ำ� ลังน�ำไปใช้เปรียบเทียบเพือ่ สร้างองค์ความ รู้แก่ท้องถิ่นของตนเองได้