Bateria

Page 1

อาณาจั ก รมอเนอรา ชี ว วิ ท ยา


มอเนอรา (Monera) มอเนอรา (Monera) ประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่นิวเคลียสไม่มีผนัง ห่อหุ้ม (prokaryotic nucleus) มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น พบได้ทั่วไป ในอากาศในน้า ใน ดิน อาจเป็นเซลล์เดียวหรือต่อกันเป็นสายภายในเซลล์ไม่แสดงขอบเขตของนิวเคลียส ชัดเจน มีรูปร่างหลายแบบทังวงกลม (coccus) แท่ง(bacillus) และเกลียว(spirillum) นอกจากนียังพบมอเนอรากลุ่มวิบริโอ(Vibrio) ทีมีรูปร่างเป็นแท่งและพบแฟลเจลลัมหนึ่ง เส้น ซึ่งก่อให้เกิดกลุ่มโรคส้าคัญเช่น โรคอุจจาระร่วง มอเนอรายังสามารถอาศัยอยู่ บนหรือในพืชและสัตว์อีกด้วย มอเนอรามีกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในเซลล์ บาง กลุ่มสามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง(photosynthesis) เช่น ไซยาโน แบคทีเรีย(cyanobacteria) หรือใช้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย (sulfer bacteria) บางกลุ่มสามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่หนาวจัด ร้อนจัด ทะเลที่มีความเค็มมาก หรือสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นกรดสูง เช่น อาร์เคีย แบคทีเรีย อย่างไรก็ตามมอเนอร่าส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้

http://www.ppthi-hoo.com


มอเนอรากลุ่ ม แบคที เ รี ย รู ป ร่ า งชนิ ด ต่ า งๆ

Ex: Streptococcus

Ex: Lactobacillus

Ex: Spirillium

http://www.ppthi-hoo.com


ความหลากหลายของมอเนอรา สมาชิกในอาณาจักรมอเนอราสามารถแบ่งออกเป็นอาณาจักรย่อยได้แก่ อาณาจักรย่อยอาร์เคียโอตา และ อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย หลักเกณฑ์จ้าแนกพิจารณาเปรียบเทียบล้าดับเบสบน DNA และ RNA รวมทังโครงสร้างของผนัง เซลล์ ( cell wall )

ภาพแสดงการแบ่งสิ่ งมีชีวิตออกเป็ น 3 Domains

ภาพ แสดงรายชื่อสมาชิ กในแต่ลhttp://www.ppthi-hoo.com ะ Domain


อาณาจั ก รย่ อ ยอาร์ เ คี ย แบคที เ รี ย อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) แบคทีเรียกลุ่มนีเป็นแบคทีเรียที่ไม่ปรากฏผนัง เชลล์ที่มีส่วนประกอบของเพปทิโดไกลแคน และพบอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างรุนแรง เช่น ร้อนจัด เค็มจัด กรดจัด อาร์ เคียแบคทีเรียสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ 1. ยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) เป็นแบคทีเรียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (harophile) และสามารถสร้างแก๊สมีเทน (methanogen)ได้อาร์เคียโอตา 2. ครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่บริเวณที่มีกรดจัด(acidophile) และสามารถทนต่ออุณหภูมิสูง ได้(thermophile) 3. คอร์อาร์เคียโอตา(Korarchaeota) เป็นแบคทีเรียที่มีข้อมูลศึกษาและพบค่อนข้างน้อยมาก นักวิทยาศาสตร์แยกแบคทีเรีย กลุ่มนีออกมาเพราะมีส่วนประปอบของ RNA ที่แตกต่างจาก 2 กลุ่มแรก คอร์อาร์เคียโอตาสามารถพบได้ตามแหล่งน้าพุ ร้อน

http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยอาร์ เ คี ย แบคที เ รี ย

กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota)

กลุ่มครีนาร์เคียโอต (Crenarchaeota)

http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย(Subkingdom Eubacteria) แบคทีเรียกลุ่มนีมีความหมายหลากหลายทังชนิด จ้านวน การด้ารงชีวิต สาสมารถพบได้ทั่วไปทังน้าเค็ม น้าจืด น้ากร่อย แหล่งน้าร้อนต่างๆ อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรียสามารถแบ่ง ออกเป็นกลุ่มต่างๆได้แก่ 1. โพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) เป็นแบคทีเรียกลุ่มใหญ่ของมอเนอรา ได้แก่ แบคทีเรียก่อโรคหลาย ชนิด เช่น Escherichia coli Salmonella sp. และ Vibrio sp. นอกจากนีบางกลุ่มยังสามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนได้อีกด้วย เช่น Ghizobium sp. ในปมรากถั่ว โพรทิโอแบคทีเรียทังหมดเป็นแบคทีเรียแกรมลบ (gram negative bacteria) ที่มีเยื่อหุ้มชันนอกเป็นสารลิโพพอลิ แซคคาไรด์(lippolysaccharide) หลายชนิดมีแฟลเจลลา(flagella) ในการเคลื่อนที่บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้ (non-motile) หรื่อบางชนิดเคลื่อนที่โดยการลื่นไถล(gliding) โพรทิโอแบคทีเรียมีความหลากหลายในกระบวนการเมแทบอลิซึม บางชนิดอาศัย โดยใช้ออกซิเจน บางชนิดไม่ใช้ออกซิเจน และบางชนิดต้องการออกซิเจนเพียงเล็กน้อย นอกจากนียังพบว่าโพรทิโอแบคทีเรีย บางชนิดสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้อีกด้วย เช่น แบคทีเรียสีม่วง (purple bacteria) http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย

ปมรากถัว่

http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย การตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixsion) (Rhizobium sp.)

http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย 2. 3. 4.

5.

คลาไมเดีย(chlamydias) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ และท้าให้เกิดโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน และเยื่อตาอักเสบ สไปโรคีท(spirochetes) เป็นแบคทีเรียแกรมลบ มีรูปทรงเกลียว ด้ารงชีวิตแบบอิสระ บางสปีชีส์ เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู ไมโครพลาสมา (mycoplasma) เป็นแบคทีเรีแกรมบวกที่ไม่มีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบไป ด้วยชันไขมัน ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอืน่ แต่มีบางพวกที่ก่อให้เกิดโรคปอดบวมในคนและ วัว ไซยาโนแบคทีเรีย(cyanobacteria) เป็นแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีคลอโรฟิลล์เอแคโรที นอยด์ และไฟโคบิลิน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าเป็นพวกให้ออกซิเจนในอากาศเพิ่มมากขึนก่อให้เกิด วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน เช่น แอนาบินา (Anabaena sp.) นอสตอก (Nostoc sp.) และออสซิลลาทอเรีย(Oscillatoria sp.) สามารถตรึงแก็สไนโตรเจนในอากาศให้เป็น สารประกอบไนเตรด http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย 6. แบคทรีเรียแกรมบวก (gram positive bacteria) เป็นแบคทีเรียที่สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน เช่น Lactobacillus sp. เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได้จึงน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารได้แก่ ท้าเนย ผักดอง และโยเกิร์ต Streptomyces sp. ใช้ท้ายาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตรปโตมัยชิน ยาเตตะไซคลิน Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ท้าให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีบางชนิดเป็นสาเหตุท้าให้เกิดโรคแอนแทรกซ์(anthrax)

คลาไมเดียที่ทาให้เกิ ดโรคโกโนเรีย

แลกโตแบซิ ลลัส

สไปโรคีสก่อให้เกิ ดโรคฉี่ หนู http://www.ppthi-hoo.com


อาณาจั ก รย่ อ ยยู แ บคที เ รี ย

ไมโครพลาสมา

เอนโดสปอร์ของเชื้อแอนแทรกซ์

แอนนาบีนา

นอสตอก

สเตรปโตมัยซีสใช้ทายาปฏิ ชีวนะ

ออสซิ ลhttp://www.ppthi-hoo.com ลาทอเรีย


มอเนอรา (Monera) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนีมีความส้าคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นกลุ่มแบคทีเรียที่ท้าหน้าที่เป็นผู้ย่อย อินทรียสาร ก่อให้เกิดการหมุนเวียนของอนินทรีย์และอินทรียสารต่างๆ สาหร่ายสีเขียวแกรมน้าเงินท้าหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบ นิเวศ และสิ่งมีชีวิตสองกลุ่มนียังมีความส้าคัญในแง่เทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึน เพื่อน้าไปใช้ประโยชน์ ในด้านการเพิ่งผลผลิตทางการเกษตร การอุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษาพันธุศาสตร์ ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชากรให้ดียิ่งขึน แต่อย่างไรก็ตามมอเนอราหลายกลุ่มเป็นสาเหตุทา้ ให้เกิดโรคต่างๆ เช่น วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู

Lactobacillus

http://www.ppthi-hoo.com


THANKS! จบการนาเสนอ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.