รายงานกิจกรรมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ กรณีศึกษา การแปรรูปขยะพลาสติกเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและใช้ประโยชน์

Page 1

กิจกรรม ชุดวิชา 33445 ประสบการณ์วิชาชีพการบริหาร การปกครองท้องที่ กรณีศึกษาการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และใช้ประโยชน์จากขยะพลาสติก

โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต วิชาเอกการบริหารการปกครองท้องที่ รหัส 60 จังหวัดสกลนคร ผลงานตามมาตรฐานนักบริหารการปกครองท้องที่วิชาชีพ PPGO มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปีการศึกษา 25๖๓


คานา ตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต วิชาเอกการบริหารการปกครองท้องที่ ให้นักศึกษาแต่ละจังหวัด นาเสนอผลงานตามมาตรฐานนักบริหารการปกครองท้องที่วิชาชีพ P.P.G.O จังหวัดละ ๑ ชิ้นนั้น กลุ่มนักศึกษา จังหวัดสกลนครได้ประชุมร่วมกันเพื่อหาหัวข้อในการนาเสนอผลงานตามมาตรฐานนักบริหารการปกครองท้องที่ วิชาชีพ P.P.G.O. มีความเห็นร่วมกันว่าปัญหาขยะคือปัญหาเร่งด่วนในแต่ละท้องที่กาลังประสบปัญหาอยู่ในขณะนี้ และเป็นปัญหาที่กระทรวงมหาดไทยให้ความสาคัญเป็นอันดับต้นๆจากการแลกเปลี่ยนของนักศึกษา พื้นที่ส่วนใหญ่มี การแก้ปัญหาโดยการทาธนาคารขยะชุมชน นาขยะไปขายเพื่อจัดสวัสดิการสังคมให้กับสมาชิกที่เสียชีวิต แต่ปัญหาที่ ทุกพื้น ที่ของกลุ่ ม นั กศึก ษาประสบอยู่ คื อการไม่รับ ซื้อขยะหลายชนิด เช่น ถุงพลาสติก ถุง นมโรงเรี ยน กล่ อ ง นมพลาสเจอร์ไรท์ ขวดพลาสติกสี ถุงพลาสติกสีดา เป็นต้น ทาให้ปัญหาที่เกิดจากขยะพลาสติกดังกล่าว ซึ่งเป็นขยะ ส่วนใหญ่ ยังแก้ปัญหาไม่ได้ นักศึกษาจึงร่ วมกันหาวิธีการจัดการอย่างถูกวิธี สามารถสร้างงานให้ชุมชนได้ด้วย กลุ่ม นักศึกษาจังหวัดสกลนครจึ งเลือกพื้นที่องค์การบริหารส่ ว นตาบลเหล่ าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด สกลนคร ซึ่งมีนวัตกรรมในการกาจัดขยะเหล่านี้ได้อย่างดี ซึ่งตรงกับความต้องการของกลุ่มนักศึกษาจั งหวัดสกลนคร ที่ต้องการแก้ไข เพราะพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เดิมประสบปัญหาเช่นเดียวกัน คือขวดพลาสติกสี ถุงพลาสติกใส ถุงดาเพาะกล้าไม้ กล่องนม ซองกาแฟ ทางร้านไม่รับซื้อ จึงทาให้เกิดการคิดนวัตกรรมในการกาจัด ขยะเหล่านี้ นั้นคือการนามาทาไม้กวาดขวดพลาสติก นาพลาสติกมาหลอมทาโต๊ะ เก้าอี้ ม้านั่งจากพลาสติก เป็นต้น นักศึกษากลุ่มจังหวัดสกลนคร ได้ศึกษาถึงวิธีการดังกล่าว ข้างต้นแล้ว เป็นกระบวนการที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงและสามารถนาไปขยายผลได้ จึงเลือกพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโ พนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งการันตรีความสาเร็จจากการได้รับรางวัลการบริหารจัดการโดดเด่นด้าน การจัดการขยะจากพลาสติก จากคณะกรรมการกระจายอานาจสานักนายกรัฐมนตรี ใช้เป็นพื้นที่ในการศึกษาและ นาผลที่ได้ไปขยายผลการทางานมาสู่พื้นที่ของต้นเองต่อไป


สารบัญ หน้า บทที่ ๑ บทนา ที่มาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ความรู้ที่นามาใช้ แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอย แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับการยอมรับ แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ข้อมูลพื้นฐานตาบล บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมกลุ่ม

๑ 1 1 1 2 6 8 8 9 9 13 13 16 19 19 21 22 24


สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 การอบรมให้ความรู้ การแปรรูปขยะโดยวิทยากรจาก อบต.เหล่าโพนค้อ ภาพที่ ๒ การอบรมให้ความรู้การทาไม้กวาดขวดพลาสติกและม้านัง่ ถุงพลาสติก ภาพที่ ๓ การคัดแยกและล้างขวดพลาสติก เพื่อเตรียมทาไม้กวาดขวดพลาสติก ภาพที่ 4 การตัดก้นขวดพลาสติกเพื่อเตรียมรีดเป็นเส้น ภาพที่ 5 การรีดเส้นพลาสติกจากขวดน้าอัดลม ภาพที่ 6 การม้วนเก็บเส้นใส่แผ่นไม้เพื่อนาไปต้มให้แข็งตัว ภาพที่ 7 การต้มเส้นพลาสติกในน้าเดือด นาน 20 นาที ภาพที่ 8 ตัดแต่งเส้นพลาสติกเตรียมถักกับด้ามไม้กวาด ภาพที่ 9 ถักเส้นพลาสติกกับด้ามไม้กวาด ภาพที่ 10 ไม้กวาดขวดพลาสติกทีถ่ ักสาเร็จแล้ว ภาพที่ ๑1 การเตรียมเศษพลาสติกทีเ่ หลือจากการทาไม้กวาด เพื่อทาม้านั่งถุงพลาสติก ภาพที่ ๑2 นาพลาสติกใส่แบบพิมพ์ก่อนนาไปอบให้เชื่อมติดกัน ภาพที่ ๑3 การอบพลาสติกในตู้อบด้วยแก็สเพื่อให้อ่อนตัวและเชื่อมติดกัน ภาพที่ ๑4 การขัดแผ่นพลาสติกให้เรียบเสมอกัน ภาพที่ ๑5 แผ่นพลาสติกทีข่ ัดแล้ว ภาพที่ 16 ภาพผลงานกิจกรรมกลุม่

หน้า 25 25 26 26 27 27 28 28 29 29 30 30 31 31 32 32


บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ที่มาและความสาคัญของปัญหา กลุ่มนักศึกษาจังหวัดสกลนครได้ประชุมร่วมกันเพื่อหาหัวข้อในการนาเสนอผลงานตามมาตรฐานนักบริหาร การปกครองท้องที่วิชาชีพ P.P.G.O. มีความเห็นร่วมกันว่าปัญหาขยะคือปัญหาเร่งด่ วนในแต่ละท้องที่กาลังประสบ ปัญหาอยู่ พื้นที่ส่วนใหญ่มีการทาธนาคารขยะ นาขยะไปขายเพื่อจัดสวัสดิการสังคมให้กับสมาชิกที่เสียชีวิต แต่ ปัญหาที่ทุกพื้นที่ของกลุ่มนักศึกษาประสบอยู่คือการไม่รับซื้อขยะหลายชนิด เช่น ถุงพลาสติก ถุงนมโรงเรียน กล่อง นมพลาสเจอร์ไรท์ ขวดพลาสติกสี (ขวด PET) ถุงพลาสติกสีดา เป็นต้น ทาให้ปัญหาที่เกิดจากขยะพลาสติกดังกล่าว ซึ่งเป็นขยะส่วนใหญ่ยังแก้ปัญหาไม่ได้ จึงร่วมกันหาวิธีการจัดการอย่างถูกวิธี สามารถสร้างงานให้ชุมชนได้ด้วย จึง เลือกพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จั งหวัดสกลนคร ซึ่งมีนวัตกรรมในการ กาจัดขยะเหล่านี้ได้อย่างดี ซึ่งตรงกับความต้องการของกลุ่มนักศึกษาจังหวัดสกลนครที่ต้องการแก้ไข พื้นที่องค์การ บริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ เดิมประสบปัญหาเช่นเดียวกัน คือขวดพลาสติกสี ถุงพลาสติกใส ถุงดาเพาะกล้าไม้ กล่องนม ซองกาแฟ ทางร้านไม่รับซื้อจึงทาให้เกิดปัญหาตามมาที่ต้องมีนวัตกรรมในการกาจัดขยะเหล่านี้นั้นคือการ นามาทาไม้กวาดขวดพลาสติก นาพลาสติกมาหลอมทาโต๊ะ เก้าอี้ ม้านั่งจากพลาสติก เป็นต้น นักศึกษากลุ่มจังหวัดสกลนคร ได้ศึกษาถึงวิธีการดังกล่าวข้างต้นแล้วเป็นกระบวนการที่ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงและสามารถทาตามได้ จึงเลือกพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ซึ่งการันตรีความสาเร็จจากการได้รับรางวัลการบริหารจัดการโดดเด่นด้านการ จัดการขยะจากพลาสติก เป็นพื้นที่ในการศึกษาและขยายผลการทางานมาสู่พื้นที่ต้นเองต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาวิธีการกาจัดขยะที่เกิดจากพลาสติกในชุมชนให้ลดน้อยลง 2.เพื่อหาวิธีการสร้างผลิตภัณฑ์จากขยะเพิ่มมูลค่าขยะพลาสติกในชุมชนให้สูงขึ้น 3.เพื่อให้สมาชิกกลุ่มจัดการขยะมีสวัสดิการจากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากขยะ ๑.๓ ขอบเขตการศึกษา การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและใช้ประโยชน์จากขยะพลาสติก การ นาขยะพลาสติกในพื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนครไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง เช่น การทาไม้กวาดจากขวดพลาสติกสี การทาโต๊ะ เก้าอี้จากพลาสติก เป็นต้น ๑.๔ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.๔.๑ รู้วิธีการ มีนวัตกรรมในการกาจัดขยะที่เกิดจากพลาสติกในชุมชน ๑.๔.2 สามารถสร้างผลิตภัณฑ์จากขยะและเพิ่มมูลค่าขยะพลาสติกในชุมชนให้สูงขึ้น ๑.๔.3 สมาชิกกลุ่มจัดการขยะมีสวัสดิการจากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากขยะเพิ่มขึ้น


บทที่ ๒ ความรู้ที่นามาใช้ การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและใช้ประโยชน์จากขยะพลาสติก ของ องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ในครั้งนี้ ได้ทาการศึกษา ค้นคว้า โดยนาความรู้มาใช้ ดังนี้ ๒.๑ แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอย 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการยอมรับ 2.5 แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ๒.๖ ข้อมูลพื้นฐานตาบล ๒.๑ แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอย ๒.๑.๑ นโยบายป้องกันและขจัดมลพิษจากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. 2540-2559 มีความมุ่งหมายที่ จะให้มีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ควบคู่ไปกับการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อันจะยังผลให้การพัฒนาประเทศ เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนและเสริมสร้างคุณภาพแห่งชีวิต ของประชาชน โดยได้กาหนดแนวทางที่จาเป็น เร่งด่วนในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดทดแทนได้ให้เข้าสู่ สภาพสมดุลของการใช้และการ เกิดทดแทน และกาหนดแนวทางการแก้ไขขจัดภาวะมลพิษทางน้า มลพิษท าง อากาศ มลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือนมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สารอันตรายและของเสียอันตราย ตลอดจนการ กาหนด แนวทางในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติในอนาคต ดังต่อไปนี้ ๑.องค์ประกอบ องค์ประกอบที่สาคัญที่จะมีบทบาทเกี่ยวข้องเป็นตัวแปรในการ กาหนดนโยบายในช่วง 20 ปี กล่าวคือ 1.๑ประชากรที่จะเพิ่มขึ้นในฐานะผู้ทาการผู้บริโภค-อุปโภคและผู้อาศัย ๑.2 เทคโนโลยีซึ่งจะนามาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการผลิต การสื่อสารการ คมนาคมการ บริการการขจัดแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.3 บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกระดับ ซึ่งจะมีส่วนในการ บริหารและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการ เฝูาระวังและการสร้าง จิตสานึกของชุมชน 1.4 บทบาทขององค์กรเอกชนในการมีส่วนร่วมในหน่วยงานระดับต่าง ๆ ในงานด้าน สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการเฝูาระวังและการสร้างจิตสานึกของประชาชน และการระดม กาลังอาสาสมัครงานด้าน สิ่งแวดล้อม


๓ 2.เป้าหมาย 2.1 ลดหรือควบคุมการผลิตขยะมูลฝอยของประชากรในอัตรา ไม่เกิน 1.0 กิโลกรัม ต่อ คนต่อวัน 2.2 ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยในเขตกรุงเทพมหานครและชุมชน ทั่วประเทศ ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ15 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 2.3 ปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างจากการให้บริการเก็บขนในเขตจังหวัดสกลนครจะหมดไป และจะมีปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างไม่เกิน ร้อยละ10 ของปริมาณขยะ มูลฝอยที่เกิดขึ้น 2.4 ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ ถูก สุขลักษณะและมีระบบกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกสุขลักษณะครบถ้วนทุกจังหวัด 3.นโยบาย นโยบายปูองกันและขจัดมลพิษจากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ประกอบด้วยนโยบาย 4 ประการ ดังนี้ 3.1 ให้มีการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ตั้งแต่ การเก็บ กักการเก็บขน การขนส่งและการกาจัด 3.2 ควบคุมอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประชากรและส่งเสริมการนาขยะมูล ฝอย กลับมาใช้ประโยชน์ 3.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนร่วมลงทุน ก่อสร้างและ/ หรือ บริหาร และ ดาเนินระบบจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 3.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรเอกชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหา ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลมากขึ้น ๒.๑.๒ แนวทางการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลตามมติ คณะรัฐมนตรี คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ ใ นคราวประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ 22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2 548 รั บ ทราบตามที่ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอวิธีการปฏิบัติเพื่อการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย โดยให้มีการเก็บรวบรวม และกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลด้วยวิธีการที่ถูกต้อง โดยเฉพาะขยะมูล ฝอยและสิ่งปฏิกูลที่เกิดขึ้นในเทศบาลทั่ว ประเทศ ต้องได้รับการกาจัดอย่างถูกต้อง มีการเลือกใช้ เทคโนโลยีการกาจัดแบบผสมผสานหลายวิธีที่จะเน้นการนา ขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ทั้งใน รูปแบบปุ๋ยอินทรีย์และการแปรรูปเป็นพลังงาน และจะส่งเสริมให้เอกชนเข้ามา ลงทุนและดาเนินการ ให้มากขึ้นโดยมีวิธีการดาเนินการ ดังนี้ ๑.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีการคัดแยกขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์และใช้ สินค้าที่มี ส่วนประกอบของวัสดุที่ใช้แล้วหรือวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้ส่วนราชการ และหน่วยงานของรัฐเป็น หน่วยงานตัวอย่างและให้กระทรวงการคลังพิจารณาให้สิทธิประโยชน์ ทางภาษีแก่ผู้ประกอบการที่นาวัสดุใช้แล้วมา เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า เพื่อลดต้นทุนให้สามารถ แข่งขันกับการใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติได้ ๒.กาหนดเป็นแนวนโยบายให้ทุกจังหวัดต้องจัดหาสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยใน ระยะยาวและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ที่ผลิตขยะมูลฝอยมากกว่าวันละ100 ตัน ต้อง ส่งเสริมให้เอกชน เข้ามา ดาเนินการลงทุนก่อสร้างและบริหารจัดการระบบแทน โดยรัฐสนับสนุน งบประมาณเฉพาะค่าเดินระบบที่ต้องจ่าย ให้กับเอกชนในรูปแบบของงบถดถอยในช่วงระยะเวลา 3-5 ปีแรก 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลน้อย ให้ใช้ระบบกาจัด ขององค์กร


๔ ปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียง หรือรวมตัวกันหลายแห่งเพื่อสร้างสถานที่ กาจัดไว้ใช้ร่วมกันโดยรัฐ สนับสนุนงบประมาณลงทุนให้บางส่วน 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดให้มีระบบคัดแยกและรวบรวมของเสียอันตราย จากชุมชน ต่างหากจากขยะมูล ฝอยทั่วไป เพื่อนาไปกาจัดที่สถานที่กาจัดของเสียอันตรายของเอกชน ทั้งนี้ให้รัฐสนับสนุน งบประมาณแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อสร้างสถานที่รวบรวมและ สนับสนุนค่ากาจัดแบบถดถอยในช่วง ระยะ3-5 ปีแรก 5. ให้มีสถานที่กาจัดมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะศูนย์รวม ที่สามารถใช้ร่วมกับหลาย ท้องถิ่นโดย ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนและดาเนินการ 6. ให้มีระบบการอนุญาต (Permitting system) การติดตามตรวจสอบสถานที่กาจัด ขยะมูลฝอย และรายงานสู่สาธารณชนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 7. ให้การไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทยการไฟฟูานครหลวงและการไฟฟูา ส่วนภูมิภาครับซื้อ ไฟฟูาซึ่งผลิตจากสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยในราคาที่สูงกว่าทั่วไป และหน่วยงาน ของรัฐสนับสนุนการทาปุ๋ยอินทรีย์ จากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลไปใช้ประโยชน์ทั้งนี้การจัดสรร งบประมาณให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ต้องนา เงื่อนไขการบริหารงาน สิ่งแวดล้อมเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการพิจารณา ๒.๑.๓ การแบ่งประเภทขยะของกรมควบคุมมลพิษ 1. มูลฝอยอินทรีย์หรือมูลฝอยสด ได้แก่ เศษผักผลไม้เศษอาหาร ฯลฯ สามารถ นาไปกาจัด โดยการหมักทาปุ๋ยได้(Compost) หรือนาไปกาจัดโดยวิธีฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill) 2. มูลฝอยรีไซเคิลได้แก่ กระดาษลูกฟูก (กระดาษกล่อง) กระดาษแข็ง กระดาษหนังสือพิมพ์ ขวดแก้ว ได้แก่ขวดบรรจุเครื่องดื่ม เศษแก้ว พลาสติกหนา ขวดบรรจุน้ามัน ขวดบรรจุนม เหล็กและโลหะต่าง ๆ ได้แก่ เหล็กหนาหรือบางกระป๋องอลูมิเนียมบรรจุน้าอัดลม กรอบมุ้งลวดอลูมิเนียม ลวดทองแดง เป็นต้น กาจัดโดย การนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ (Recycle) หรือ ของขายได้ฯลฯ สามารถนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ (Recycle) โดย เป็นวัตถุดิบในการผลิต เยื่อกระดาษเพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวันต่อไป ๓. มูลฝอยทั่วไป หรือมูลฝอยสาหรับกาจัด ซึ่งวัสดุเหล่านี้โดยปกติจะไม่นาไปใช้ งานอีกและจะถูก ทิ้งไปที่บ่อมูลฝอย ได้แก่ถุงพลาสติกที่ไม่สะอาด ซองบะหมี่ถุงกรอบแกรบหาก ต้องนากลับมารีไซเคิลจะต้องใช้น้าใน ปริมาณที่มากในการทาให้สะอาด อีกทั้งต้องสูญเสียพลังงาน ในการรีไซเคิลสูง ไม่คุ้มเมื่อพิจารณาถึงสภาพการตลาด ของประเทศไทยในปัจ จุ บัน มูลฝอยอื่น ๆ เช่น พลาสติกบางประเภท ก็สามารถนามารีไซเคิลได้แต่ติดขัดอยู่ที่ เทคโนโลยีซึ่งยังไม่มีใน ประเทศไทยอย่างไรก็ตามยังมีมูลฝอยบางส่วนที่ไม่นามาใช้ประโยชน์ได้อีกได้แก่ ฟลอยโฟม เป็นต้น การนาไปกาจัดโดยการอั ดแท่งแล้วนาไปปรับปรุงพื้นที่ เช่น นาไปถมที่ลุ่ม แต่จะมีปัญหา ในการย่อยสลาย สาหรับพลาสติกชิ้นใหญ่ ๆ กาจัดโดยวิธีฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล(Sanitary landfill) 4. มูลฝอยอันตรายและเป็นพิษ ที่มาจากครัวเรือนแม้จะมีปริมาณน้อยแต่ก็เป็น มูลฝอยที่มี ผลกระทบในระยะยาว มูลฝอยประเภทนี้ได้แก่ หลอดไฟนีออน ที่มีสารปรอทเป็นส่วนผสมเช่นเดียวกับในแบตเตอรี่ ราคาถูก ส่วนแบตเตอรี่ชนิดอื่นที่ประกอบด้วย Cadmium และ Nickel เช่น แบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือองค์ประกอบ อื่น ๆ ที่เริ่มจะมีมากขึ้น คือ ชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ ซึ่งมีส่วนผสมของโลหะหนั กอยู่ด้วยและจาพวกสารประกอบ อินทรีย์ที่เป็นพิษ นอกจากนี้อาจพบ ภาชนะบรรจุยาฆ่าแมลง สีหรือแม้แต่น้ามันที่ใช้แล้วเพียงปริมาณเล็กน้อยที่สาร เหล่านี้ปะปนอยู่กับ มูลฝอยก็สามารถก่อให้เกิดมลภาวะต่อน้าใต้ดินอย่างรุนแรงและสามารถปนเปื้อนไปกับมูลฝอย อินทรีย์ซึ่งไม่เหมาะสมที่จะนาไปทาปุ๋ยหมัก


๕ การกาจัดขยะมูลฝอยในแต่ละวิธีต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ฉะนั้นควรเลือกวิธีที่เหมาะสม ของแต่ละ พื้นที่ โดยกระทาควบคู่กันไปทั้งการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนากลับไปใช้ใหม่ และการกาจัดขยะมูลฝอย สิ่ง สาคัญที่ควรได้รับการส่งเสริมให้มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน คือ การลดปริมาณขยะ ซึ่งมีแผนหรือแนวคิด 5 R. R. 1 ( Reduce ) เป็นการลดปริมาณมูลฝอยที่อาจเกิดขึ้น เช่น ใช้ตะกร้าใส่ของแทนถุงพลาสติก การลดปริมาณวัสดุ ( Reduce material volume ) เป็นการพยายามเลือกใช้สินค้าที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ แทนบรรจุ ภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก เพื่อลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์ที่จะกลายเป็นขยะมูล ฝอย การลดความเป็นพิษ ( Reduced toxicit ) เป็นการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด R. 2 ( Reuse ) นาขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่อีกหรือเป็นการใช้ซ้า ใช้แล้วใช้อีก ๆ เช่น ขวด น้าหวาน น ามาบรรจุน้ าดื่ม ขวดกาแฟที่ห มดแล้ว นามาใส่ น้าตาล การนาผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ ( Product reuse) เป็นการพยายามใช้สิ่งของต่าง ๆ หลาย ๆ ครั้ง ก่อนที่จะทิ้งหรือเลือกใช้ของใหม่ R. 3 ( Repair ) การนามาแก้ไข นาวัสดุอุปกรณ์ที่ชารุดเสียหาย ซึ่งจะทิ้งเป็นมูลฝอยมาซ่อมแซม ใช้ใหม่ เช่น เก้าอี้ R. 4 ( Recycle ) การหมุนเวียนกลับมาใช้ นาขยะมาแปรรูป ตามกระบวนการของแต่ละประเภท เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมแล้วนามาใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะ ต่าง ๆ ฯลฯ นามาหลอมใหม่ นายางรถยนต์ที่ใช้ไม่ได้แล้วมาทารองเท้า นาแก้วแตกมาหลอมผลิตเป็นแก้วหรือ กระจกใหม่ การนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ ( Material recycling ) เป็นการนาวัสดุมาผ่านกระบวนการเพื่อผลิตเป็น สินค้าใหม่ R. 5 ( Reject ) การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ทาลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่น โฟม ปฏิเสธการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายยาก หลีกเลี่ยงการใช้ที่ผิดวัตถุประสงค์ ๒.๑.๔ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (๒๕๕๕-๒๕๕๙) ได้กาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาจากความหลากหลายด้านชีวภาพและการสร้างความมั่นคง ทางด้านทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริมเกี่ยวกับสิทธิชุมชน และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร ตลอดจนการพัฒนาระบบการจัดการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับยุทธศาสตร์ การสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนให้เป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ โดยการสร้างเสริมศักยภาพของ ชุมชนในการอยู่ร่วมกันกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการสงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและ พั ฒ นาการใช้ ป ระโยชน์ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การ ตลอดจนการสร้ า งกลไกการปกปู อ งคุ้ ม ครอง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ มีแนวคิดหลัก คือ มีความจาเป็นที่ต้องกาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เหมาะสม เนื่องด้วยสถานการณ์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สาคัญทั้งภายในและ ภายนอกประเทศที่จะส่งผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ผลจากการทบทวน การ พัฒนาประเทศที่ผ่านมาสะท้อนถึงปัญหาเชิงโครงสร้างไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการบริหารจัดการประเทศที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว อีกทั้งมี ความเสี่ยงหลายๆด้าน ที่อาจ ทาให้เกิดปัญหาต่างๆ รุนแรงขึ้น การพัฒนาประเทศในอนาคต จึงจาเป็น ต้องเตรียมความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกัน ประเทศให้เข้มแข็ง ภายใต้กรอบแนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ให้สามารถปรับตัวเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงในอนาคตอย่างมั่นคง ดังนั้นกรอบ แนวคิดการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ยังยึด แนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็นองค์รวมมีการเชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นทั้งด้านคน ด้าน สังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการเมือง และยังให้ความสาคัญเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนในสังคมในกระบวนการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมอย่าง รวดเร็ว มีภาวะขยะล้นเมืองและการบริหารจัดการน้าอย่างไม่เป็นระบบ ในขณะที่ความเสี่ยง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ


๖ ภูมิอากาศผัน ผวนมีความรุน แรงมากขึ้น ทาให้ กฎระเบียบของสังคมที่ เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อมมีความเข้มงวดมากขึ้น ดังนั้น การพัฒ นาประเทศ ในช่ว งแผนพัฒ นา ฉบับที่ ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) จาเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อวางรากฐานของ ประเทศในระยะยาวให้มุ่งต่อยอดผลสัมฤทธิ์ของแผนที่สอดคล้อง เชื่อมโยงกับการเจริญเติบโตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวด เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและรองรับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องกันไป ตลอด ๒๐ ปี จังหวัดนครสกลนครเป็นจังหวัดที่มีการพัฒนาในด้านต่างๆ อาทิ ด้านการท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ ท่องเที่ยวทางด้านวัฒนธรรม ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจที่มีการลงทุนจากภาคเอกชน จึง ทาให้ประชาชนเข้ามาอาศัย เป็นจานวนมาก มีรูปแบบสังคมเป็นทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบท 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม 2.2.1 ความหมายการมีส่วนร่วมของประชาชน นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์ (2527) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การเกี่ยวข้องกันทางด้านจิตใจ และอารมณ์ ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์กลุ่ม มีความเกี่ยวข้องกันเพื่อบรรลุจุดมุ่ง หมายของกลุ่ม รวมถึงการรู้สึกรับผิดชอบต่อ กลุ่มด้วย และองค์ประกอบของการมีส่วนร่วม สามารถสรุปได้ คือ การมีส่วนร่วม = ความร่วมมือร่วมใจ + การ ประสานงาน + ความรับผิดชอบ ไพรัตน์ เตชะรินทร์ (2527) ได้เสนอความหมายและหลักการสาคัญเรื่องนโยบายการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการพัฒนาว่า หมายถึง กระบวนการที่รัฐบาลทาการส่งเสริม ชักนา สนับสนุนและให้โอกาสให้ประชาชนทั้งในรูป ส่วนบุคคล กลุ่มคน ชมรม สมาคม มูลนิธิ และองค์กรอาสาสมัครรูปแบบต่าง ๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมดาเนินงานใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องรวมกันเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และนโยบายการพัฒนาตามที่กาหนดไว้ดังนี้ 1) ร่วมทาการศึกษาค้นคว้าปัญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้นในชุมชนตลอดจนความต้องการของชุมชน 2) ร่วมคิดหาวิธี สร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพื่อแก้ไขและลดปัญหาของชุมชน หรือเพื่อ 3) สร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อ ชุมชน และตอบสนองความต้องการชุมชน 4) ร่วมวางแผนนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมเพื่อขจัด แก้ไข ปัญหา และสนองความต้องการของชุมชน 5) ร่วมการตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีจากัดให้เป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 6) ร่วมจัดหรือรับปรุงระบบบริหารงานพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 7) ร่วมการลงทุนกิจกรรม โครงการของชุมชนตามขีดความสามารถ ของตนเองและของหน่วยงาน 8) ร่วมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และกิจกรรมให้บรรลุตามเปูาหมายที่วางไว้ 9) ร่วมควบคุม ติดตาม ประเมินผล บารุงรักษาโครงการและ กิจกรรมที่ได้ทาไว้ทั้งโดยเอกชนและรัฐบาลให้ใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป 2.2.2. ความสาคัญของการมีส่วนร่วม ปริศนา โกลละสุต (2534) ได้ให้ความสาคัญของการมีส่วนร่วมไว้ดังนี้ 1) จะช่วยให้ประชาชนยอมรับ โครงการมากขึ้น เนื่องจากเป็นโครงการที่ตรงกับปัญหาและความต้องการของประชาชน 2) ประชาชนมีความรู้สึก ผูกพัน และมีความรู้สึกเป็นเจ้าของมากขึ้น 3) การดาเนินโครงการจะราบรื่น และได้รับความร่วมมือจากประชาชน มากขึ้น 4) ช่วยพัฒนาขีดความสามารถของประชาชนมากขึ้น 2.2.3. ขั้นตอนการมีส่วนร่วม อคิน รพีพัฒน์ (2531) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาไว้ 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหา การพิจารณาปัญหา และจัดลาดับความสาคัญของปัญหา ขั้นที่ 2 ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการค้นหาสาเหตุของปัญหา ขั้นที่ 3 ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการค้นหา และพิจารณา แนวทางวิธีการในการแก้ปัญหา ขั้นที่ 4 ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมในการแก้ปัญหา ขั้ นที่ 5 ชาวบ้าน มีส่วนร่วมในการประเมินผลกิจกรรมการพิจารณา


๗ 2.2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ศักดิ์สิทธิ์ แย้มศรี (2543) กล่าวถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ไว้ดังนี้ 1) ความศรัทธา ความเกรงใจต่อสิ่งที่เคารพนับถือ 2) สถานภาพทางสังคม 3) สถานภาพทางเศรษฐกิจ 4) สถานภาพทางอาชีพ 5) ที่อยู่อาศัย นเรศ สงเคราะห์สุข (2542) ได้สรุปประสบการณ์การทางานที่ถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชนไว้ 2 ประการ คือ 1) การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) ในการจัด กระบวนการเรียนรู้สามารถทาได้โดย จัดเวทีวิเคราะห์สถานการณ์ของหมู่บ้านเพื่อทาความเข้าใจ และเรียนรู้ร่วมกัน ในประเด็นต่าง ๆ , จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์หรือจัดทัศนศึกษาดูงานระหว่างกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ภายในชุมชน และระหว่างชุมชน , ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเฉพาะด้านต่าง ๆ , ลงมือปฏิบัติจริง , ถอดประสบการณ์และสรุป บทเรียนที่จะนาไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทางานที่เหมาะสม 2) การพัฒนาผู้นาเครือข่าย เพื่อให้ผู้นาเกิดความ มั่นใจในความรู้ความสามารถที่มีอยู่จะช่วยให้ริเริ่มกิจกรรมการแก้ไขปัญหาหรือกิจกรรมการพัฒนาได้ ซึ่งสามารถทา ได้โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ นาทั้งภายในและภายนอกชุมชน , สนับสนุนการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง และสนับสนุนข้อมูลข่าวสารที่จาเป็นอย่างต่อเนื่อง , แลกเปลี่ยนเรียนรู้และดาเนินงานร่วมกันของเครือข่าย อย่างต่อเนื่อง จะทาให้เกิดกระบวนการจัดการและจัดองค์กรร่วมกัน กรมปกครอง (2539) กล่าวถึงแนวทางการสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชนในการ แก้ไขปัญหาขยะ ไว้ดังนี้ 1) รณรงค์สร้างจิตสานึกให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา โดยการทา โปสเตอร์ แผ่นพับ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน 2) หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บขยะมูลฝอย ควรจัดทาแผนการ ดาเนินงานการจัดเก็บขยะเพื่อประชาสัมพันธ์เพื่อขอความร่วมมือให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่มีขยะตกค้าง 3) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายรวมถึงทราบบทลงโทษที่จะได้รับหากมีการฝุาฝืนไม่ ปฏิบัติตามกฎหมาย วิธีกระตุ้นให้เกิดการรวมตัว กันของผู้แทนประชาชนจากกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ 1) ให้ร่วมคิดร่วมทาเรื่องที่เป็น ประเด็นปัญหาใกล้ตัว และแนวทางการพัฒนาที่ไม่ยากนักในพื้นที่อันนั้นก่อน 2) หากิจกรรมให้ร่วมคิด ร่วมทาใน การแก้ไขปัญหา เช่น ปัญหายาเสพติด การรณรงค์การเลือกตั้ง การจัดทาแผนชุมชน ฯลฯ ไปอย่า งต่อเนื่อง 3) การ สร้างบรรยากาศให้เกิดการรับฟังปัญหาชาวบ้านและในบางกรณีที่กาลังของชาวบ้านไม่สามารถแก้ไขให้เป็นรูปธรรม ได้ โดยชี้แนะเท่าที่จาเป็น แต่ไม่ชักนาโดยเด็ดขาด 4) การร่วมคิดร่วมทาในกิจกรรมจากง่ายไปหายาก ที่ค่อย ๆ ประสบความสาเร็จ จะนาไปสู่การเรียนรู้ ความมั่นใจ และชุมชนที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืนในอนาคต 2.2.5 เงื่อนไขการมีส่วนร่วม ฉลาดชาย รมิตานนท์ (มปป.) กล่ าวถึงเงื่อนไขส าคัญของการมี ส่ ว นร่ว ม คือ การกระจายอ านาจทาง การเมืองออกไปในทุกระดับโดยผู้นาเป็นเงื่อนไขสาคัญต่อความสาเร็จของการพัฒนาชุมชนทั้งนี้ผู้นาจะต้องมีประวัติ การทางานเพื่อส่วนรวม มีความตั้งใจจริงในการทางาน ชาวบ้านให้การยอมรับนับถือและกระตุ้นให้ชาวบ้านเห็น ปัญหา อนุภาพ ถิรลาภ (2528) กล่าวถึงเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ได้แก่ สภาพทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการกระจายอานาจการตัดสินใจให้ประชาชนในการกาหนดกิจกรรมการพัฒนา สากล สถิตวิทยานันท์ (2532) มีความเห็นว่าการมีส่วนร่วมเกิดจาก ความสนใจร่วม ความเดือดร้อนร่วม และการร่วมเปลี่ยนแปลงกาหนดทิศทางการพัฒนาไปสู่สิ่งที่พึงปรารถนา


2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ 2.3.1 ความหมายการเรียนรู้ พรวิไล เลิศวิชา (2532) ให้ความหมายของกระบวนการเรียนรู้ คือกระบวนการอันมีรากฐานอยู่ที่ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น ไม่แยกส่วนระหว่างการเรียนรู้กับวิถีชีวิต การรู้และการปฏิบัติจึงถือได้ว่าเป็นการรวมเนื้อหาและ กระบวนการเรี ยนรู้ให้เป็น หนึ่ งเดีย วเพื่อให้ มนุษย์มีศักยภาพในการพัฒนาสามารถพึ่งตนเองได้ท่ามกลางความ เปลี่ยนแปลง 2.3.๒ การสร้างกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน ประเวศ วะสี และ ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม (2537) กล่าวการสร้างกระบวนการเรียนรู้ไว้ว่า การพัฒนาจะไม่ สาเร็จโดยผู้เชี่ยวชาญเข้าไปดูปัญหา บอกวิธีแก้ปัญหา และทาการแก้ปัญหา ปัญหาสังคมไม่สามารถแก้ได้โดยความรู้ วิชาการแต่อย่างเดียว จะต้องอาศัยการเรียนรู้ร่วมกันแบบปฏิสัมพันธ์จากการกระทา (Interactive learning through action) นั่นคือ การเรียนรู้วิชาเพียงอย่างเดียว ไม่พอเพียงที่จะนามาพัฒนาได้สาเร็จ เนื่องจากการพัฒนา เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ซับซ้อนและเข้าใจยาก จึงจาเป็นต้องเรียนรู้จาการกระทา เมื่อมีการกระทาจริงจึงจะเกิดเป็น ความรู้เกี่ยวกับโลกของความเป็นจริง ไม่ใช่ทฤษฎีหรือจินตนาการ และเป็นการเรียนรู้ที่ทุกฝุายต้องเกี่ยวข้อง เช่น ฝุายประชาชนเอง ฝุายข้าราชการ ฝุายองค์กรพัฒนาเอกชน ฯลฯ ซึ่งถื อเป็นตัวละคร (Actor) ที่สาคัญอาศัยการ เรียนรู้ร่วมกันแบบปฏิสัมพันธ์ จากการกระทาเช่นนี้ทาให้เกิดปัญญาที่มีคุณภาพเพียงพอในการพัฒนาสังคมได้ กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนา (New development paladigm) เป็นกระบวนความคิดและการปฏิบัติที่ ทุกฝุายเข้ามาเรียนรู้ร่วมกันโดยการทางานร่วมกัน ใช้ความพยายามร่วมกันและไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกัน เป็นกระบวน ความคิดที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝุาย ได้แก่ ฝุายประชาชนเอง ฝุายข้าราชการ ฝุายองค์กรพัฒนาเอกชน ภาคธุรกิจ ฯลฯ เข้ามาร่วมมือในกระบวนการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างพลังของแต่ละฝุายให้เข้มแข็งโดยการคิดและ เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีปฏิสัมพันธ์ โดยการปฏิบัติอย่างจริงจังบนพื้นฐานของความรักความเมตตาและไม่เป็นปฏิปักษ์ ต่อกัน การส่งเสริมให้คนมีความรักและมีการเรียนรู้ร่วมกันในการกระทาได้นั้น มีการค้นคว้าวิธีการโดยพัฒนาและ วิจัยมากกว้า 50 ปี จนกลายเป็นเครื่องมือที่เรียกว่า AIC ซึ่งได้ผ่านการวิจัยและทดลองใช้ และมีการพัฒนาอย่าง สม่าเสมอ 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการยอมรับ ความหมายของการยอมรับ การยอมรับนั้นมีความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ใน ด้านที่เป็นตัวทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นการที่บุคคลยอมรับสิ่งใหม่ซึ่ งนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเรื่องที่มี ความสัมพันธ์ทางบุคลิกภาพ ความรู้ ความเข้าใจ และค่านิยมของปัจเจกบุคคลและกลุ่มคนในสังคม Foster (1973) ได้ให้ความหมายของการยอมรับว่า หมายถึง การที่ประชาชนได้รับการเรียนรู้ผ่าน การศึกษาโดยผ่านขั้นการรับรู้ การยอมรับจะเกิ ดขึ้นได้หากมีการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้นั้นจะได้ผลก็ ต่อเมื่อบุคคลนั้นได้ทดลองปฏิบัติ เมื่อเขาเข้าใจแล้วว่า สิ่งประดิษฐ์นั้นสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างแน่นอนเขาจึง กล้าลงทุนซื้อสิ่งประดิษฐ์นั้น Roger (1968) ได้ให้ความหมายของกระบวนการยอมรับนวัตกรรมว่า เป็นกระบวนการที่แต่ละบุคคลจะ ผ่านขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มรับรู้ว่านวัตกรรม และเกิดเจตคติอันนาไปสู่การตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม จนถึงขั้นยืนยันการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรมนั้น


๙ เสถียร เชยประทับ (2531) กล่าวว่า การยอมรับหมายถึง การตัดสินใจในการนาเอานวั ตกรรมไปใช้อย่าง เต็มที่ เพราะคิดว่านวัตกรรมนั้นเป็นวิถีทางที่ดีกว่ามีประโยชน์กว่า ตั้งแต่ขั้นความรู้จนถึงขั้นการยืนยันใช้นวัตกรรม นั้นอาจกินเวลาหลาย ๆ ปีก็ได้ 2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ความหมายของการจัดการสิ่งแวดล้อม สมภพ คชินธนานันท์ (2541) กล่าวถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมไว้ คือ การดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม สามารถอ านวยให้ ม วลมนุ ษ ย์ สั ต ว์ และพื ช อื่ น มี ค วามถาวรต่ อ ไป ดั ง นั้ น กระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมอาจสรุปความหมายได้ว่า เป็นกระบวนการดาเนินงานอย่างมีระบบในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่สนองความต้องการของมนุษย์ ด้วยการสร้างกลไกควบคุมโดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการมีใช้ต่อไปในอนาคต โดยใช้หลักการจัดการแบบบูรณาการ (Integrate approach) ในการ จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ประสบผลสาเร็จอยู่ที่การจัดการมนุษย์ เนื่องจากปัญหา สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติจะมีการปรับคืนสภาพได้เองในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ส่วนปัญหา สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์มักเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง การฟื้นฟูใช้ระยะเวลานานและทาได้ยาก มีค่าใช้จ่ายสูงจึงอาจกล่าวได้ว่าการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนต้องเกิดจากการจัดการที่มนุษย์ให้มีจิตสานึกมี ความต้องการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ๒.๖ ข้อมูลพื้นฐานตาบล 1.สภาพทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง ตาบลเหล่าโพนค้อ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอาเภอโคกศรีสุพรรณ มีระยะทางห่างจากอาเภอโคก ศรีสุพรรณ ประมาณ 10 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนครประมาณ 30 กิโลเมตร 1.2 เนื้อที่ ตาบลเหล่าโพนค้อ มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 22,500 ไร่ เป็นพื้นที่ทาการเกษตร 9,787 ไร่ 1.3 ภูมิประเทศ ตาบลเหล่าโพนค้อมีสภาพทางกายภาพเป็นที่ราบเชิงเขา มีพื้นที่เป็นสภาพปุาที่ไม่สมบูรณ์ ขนาด 100 ไร่ และมีอ่างเก็บน้า 2 แห่ง คือ อ่างเก็บน้าห้วยโท-ห้วยยาง และอ่างเก็บน้าห้วยน้อย เป็นแหล่งต้นน้าลาห้วย 1 สาย และมีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จดพื้นที่ตาบลแมดนาท่ม อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทิศใต้ จดเทือกเขาภูพาน อ.เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ทิศตะวันออก จดพื้นที่ตาบลหนองบ่อ อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดพื้นที่ตาบลตองโขบ อาโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร


๑๐ 1.4 จานวนหมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ มี 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ชื่อหมู่บ้าน โพนค้อ โพนไฮ ดง หนองเหียน เหล่า ห้วยยาง เหล่าเหนือ ดงน้อย ห้วยยางเหนือ โพนสูง น้อยหนองไผ่สวน รวม

จานวนครัวเรือน จานวนประชากร 209 695 64 280 99 312 176 665 153 456 244 922 110 393 112 355 240 840 228 635 60 226 1,695 5,779

ชาย 328 146 166 323 218 477 186 160 434 334 110 2,882

หญิง 367 134 146 342 238 445 207 195 406 301 116 2,897

หมายเหตุ ข้อมูลสานักทะเบียนอาเภอโคกศรีสุพรรณ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.25๖3 2.สภาพทางเศรษฐกิจ 2.1 อาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การทานา ทาสวน ทาไร่ เลี้ยงสัตว์ และ อาชีพเสริม คือ รับจ้างทั่วไป 2.2 หน่วยงานธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ - โรงแรม แห่ง - ปั๊มน้ามันและแก๊ส 3 แห่ง - โรงสี แห่ง 3.สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา - โรงเรียนประถมศึกษา/ขยายโอกาส 3 แห่ง - โรงเรียนมัธยมศึกษา แห่ง - ที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน 7 แห่ง - ห้องสมุดประชาชน แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง 3.2 สถาบันและองค์การทางศาสนา - วัด/สานักสงฆ์ - มัสยิด - ศาลเจ้า

8/1 -

แห่ง แห่ง แห่ง


๑๑ 3.3 สาธารณสุข - โรงพยาบาล - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล - สถานพยาบาลเอกชน - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน

1 2

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง

3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - สถานีดับเพลิง - ศูนย์ อปพร.ประจาตาบล - ทีมกู้ภัยประจาตาบล - ทีมหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน

1 1 1

แห่ง แห่ง ทีม ทีม

4. การบริการขั้นพื้นฐาน 4.1 การคมนาคม ตาบลเหล่าโพนค้อ มีระยะทางห่างจากอาเภอโคกศรีสุพรรณ ประมาณ 10 กม.และห่างจากจังหวัดสกลนคร 30 กม. ตาบลเหล่าโพนค้อมีถนนลาดยางระยะทาง 11.1 กม. (ลาดยางสายโพน ค้อ-โพนงาม 5.1 กม./โพนค้อ-โพนไฮ 6 กม.) 4.2 การโทรคมนาคม - สถานีโทรคมนาคม แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ 11 แห่ง 4.3 การไฟฟ้า ตาบลเหล่าโพนค้อ มีหมู่บ้านที่ใช้ไฟฟูา 11 หมู่บ้าน มีจานวนที่ใช้ไฟฟูาทั้งหมด 1,695 ครัวเรือน 4.4 แหล่งน้าธรรมชาติ - ลาห้วย,ลาน้า 2 แห่ง - บึง,หนอง และอื่น ๆ 7 แห่ง 5.ข้อมูลอื่น ๆ 5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ มีทรัพยากรปุาไม้ ประมาณ 3,500 ไร่ ซึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติภูพาน 5.2 มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน รุ่นที่ 6779/1 จานวน 288 คน , รุ่นที่ 2 จานวน 120 คน , รุ่นที่ 3 จานวน 50 คน - ไทยอาสาปูองกันชาติ รุ่นที่ 1242/2528 จานวน 300 คน - กองหนุนเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ จานวน คน - อาสาสมัครปูองกันภัยฝุายพลเรือน 2 รุ่น จานวน 113 คน - อาสาสมัครสาธารณะสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) จานวน 108 คน - ชมรมผู้สูงอายุ จานวน 164 คน


๑๒ 6.ศักยภาพในตาบล ก. ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตาบล 1. จานวนบุคลากร ตาแหน่งในสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ตาแหน่งในส่วนการคลัง ตาแหน่งในส่วนโยธา 2. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 3. รายได้ขององค์การบริหารส่วนตาบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๒ รวมเป็นเงิน แยกเป็น รายได้ที่ อบต. เก็บเอง รวมเป็นเงิน รายได้ที่ส่วนราชการต่าง ๆ เก็บให้ รวมเป็นเงิน เงินอุดหนุนจากรัฐบาล รวมเป็นเงิน

จานวน จานวน จานวน จานวน

20 12 5 3

ราย ราย ราย ราย

จานวน จานวน จานวน จานวน

3 14 3

ราย ราย ราย ราย

37,772,420.54

บาท

478,961.28 17,050,056.26 20,243,403

บาท บาท บาท


๑๓

บทที่ ๓ ขัน้ ตอนวิธีการปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา จากสภาพปัญหาที่ทุกพื้นที่ประสบปัญหาเช่นเดียวกันในการจัดการขยะ โดยเฉพาะ ขยะที่เป็นขวด พลาสติกสีที่พ่อค้าไม่รับซื้อ และขยะทั่วไป เช่นซองขนม ถุงพลาสติกที่ถูกนาไปเผา หรือฝัง ซึ่งคิดเป็นประมาณ ๙ เปอเซนต์ของขยะทั้งหมด สมาชิกกลุ่มทุกคนได้เล็งเห็นปัญหานี้ร่วมกัน ที่จะร่วมกันศึกษา หาวิธีปฏิบัติแก้ไขปัญหา เพื่อการนาใช้ประโยชน์ ในการแก้ไขปัญหาของแต่ละชุมชนที่ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน โดยมีแนวคิดว่า ควรมีการ นาขยะที่ขายไม่ได้ หรือขยะที่ราคาตกต่ามาแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และผลิตเป็นสินค้าจาหน่าย ซึ่งมีหน่วยงานที่ ประสบความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาที่หลายชุมชนกาลังประสบปัญหาในเรื่อง ขวดพลาสติกสี และขยะทั่วไปที่ขายไม่ได้ นามาทา ไม้กวาดขวดพลาสติก และม้านั่งถุงพลาสติก ผลิตเป็นสินค้าจาหน่าย สมาชิกใน กลุ่มจึงได้มีมติร่วมกันที่จะศึกษาหาความรู้ ในการจัดการขยะที่ตนเองกาลังประสบอยู่เหล่านี้ โดยการจัดฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการให้สมาชิกในกลุ่มได้มีความรู้ในการแปรรูปขยะ และฝึกปฎิบัติการทาไม้กวาดขวดพลาสติก การทาม้า นั่งถุงพลาสติกเพื่อนาความรู้ที่ได้ไปขยายผลในชุมชนของตนเองต่อไป

๓.๑ ขั้นตอนวิธกี ารปฏิบัติ ๓.๑.๑ ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อศึกษาปัญหาที่สมาชิกทุกคนล้วนประสบปัญหาในชุมชนเหมือนกัน ๓.๑.๒ กาหนดหัวข้อปัญหา และศึกษาวิธีการปฏิบัติแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๓.๑.๓ เชิญหน่วยงานที่มีความรู้ในการแก้ไขปัญหาที่กาหนดร่วมกันมาให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ ๓.๑.๔ จัดทาผลงานเพื่อนาเสนอรายงาน

๓.๒ การแก้ไขปัญหา ๓ . ๒ . ๑ ก า ร น า ข ว ด พ ล า ส ติ ก สี ที่ ข า ย ไ ม่ ไ ด้ ม า แ ป ร รู ป เ ป็ น ไ ม้ ก ว า ด ข ว ด พ ล า ส ติ ก จ า ห น่ า ย จากการจัดตั้งธนาคารขยะในหลายชุมชน เพื่อรับซื้อขยะรีไซเคิลจากสมาชิก แล้วนามาคัดแยกประเภท ขยะอีกครั้งก่อนจาหน่ายให้กับร้านรับซื้อของเก่า และเมื่อขยะรีไซเคิลไปจาหน่ายปรากฏว่ามีขวดพลาสติก(PET) ที่มี สีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสีเขียว สีม่วง สีส้ม สีชมพูเป็นต้น ทางร้านรับซื้อของเก่าจะไม่รับซื้อขวดพลาสติกดังกล่าว ซึ่งเป็น ปัญหาเหมือนกันทุกชุมชน จากแนวทางหลักการ 3Rs คือ Reduce (การลดปริมาณการใช้) Reuse (การนากลับมา ใช้ซ้า) Recycle (การแปรรูปนากลับมาใช้ใหม่) ที่องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร นามาใช้ โดยได้ดาเนินแปรรูปขวดพลาสติกสีที่ขายไม่ได้มาทาเป็นไม้กวาดขวดพลาสติกจาหน่าย โดยนาขวดพลาสติก (PET) มารีดเป็นเส้นใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนวัสดุธรรมชาติที่ใช้ในไม้กวาดทั่วไป อาทิ ไม้กวาดทางมะพร้าว ไม้กวาดดอกหญ้า โดยคิดค้นประดิษฐ์เครื่องมือรีดเส้นจากขวดพลาสติก โดยเน้นที่อุปกรณ์ที่ หาง่าย ประหยัด สะดวกสบาย และทนทาน คุ้มค่าต่อการใช้งาน หลังจากนั้นได้นาเอาเส้นที่รีดจากขวดพลาสติกไป ผ่านขบวนให้ความร้อนเพื่อยืดเส้นที่รีดจากขวดพลาสติกให้เป็นเส้นตรง แล้วนาไปถักเป็นไม้กวาดขวดพลาสติก เหมือนกับภูมิปัญญาในการจักสานไม้กวาดทางมะพร้าว และไม้กวาดดอกอ้อในชุมชน เมื่อดาเนินการเสร็จจะได้ไม้ กวาดจากขวดพลาสติก ที่มีความสวยงาม ทนทาน ใช้งานได้จริง ทั้งกวาดฟื้น ปัดฝุ​ุน ใช้ไล่น้า ขัดพื้น ขัดห้องน้า ปัด กวาดหยากไย่ โดยไม้กวาดที่ทาจากเส้นรีดจากขวดพลาสติกมีคุณสมบัติพิเศษคือมีความเหนียว ทนทานและมีอายุ การใช้งานสูง คุ้มค่า สามารถกวาดขยะ ฝุ​ุน เศษใบไม้ กวาดน้าท่วมขังได้ และสามารถดัดแปรงเป็นแปรงไม้กวาดขัด พื้นหรือคราบสกปรกในห้องน้าได้ด้วย เมื่อใช้งานเสร็จแล้วสามารถนาไปล้างน้าทาสะอาด ตากแดด และนามาเก็บไว้ ในที่ร่ม อีกทั้งเป็นการนาวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือน และสามารถนาไปเผยแพร่ต่อยอด


๑๔ ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นาไปใช้เป็นเครื่องมืออุปกรณ์ทาความสะอาดบ้านเรือน ผลิตจาหน่าย และส่งเสริมอาชีพรายได้ให้กับชุมชนได้อีกด้วย ขั้นตอนการทาไม้กวาดขวดพลาสติก ๑. ขวดพลาสติกที่คัดแยกแล้วมาตัดก้นขวดออก ด้วยเครื่องตัดก้นขวด ๒. ขวดพลาสติกใส่ในเครื่องรีดเส้นพลาสติก โดยให้เส้นพลาสติกที่รีดได้มีความกว้างประมาณ ๐.๓ – ๐.๕ เซนติเมตร ยาว ๔๐ เซนติเมตร ๓. นาเส้นพลาสติกที่รีดได้มาพันใส่กับแผ่นไม้ขนาดความกว้าง ๒๐ เซนติเมตร ยาว ๔๐ เซนติเมตร หนา ๑.๕ – ๒ เซนติเมตร ๔. นาเส้นพลาสติกที่พันใส่แผ่นไม้แล้ว มาต้มในน้าร้อน ๒๐ นาที และจุ่มในน้าเย็น ๕ นาที เพื่อทาให้เป็น เส้นตรง ๕. นาเส้นพลาสติกที่รีดเป็นเส้นตรงแล้วมาตัดเพื่อทาเป็นมัดๆละประมาณ ๒ ขีด หรือ ๒๐๐ เส้น ๖. นาเส้นพลาสติกที่มัดแล้วไปประกอบใส่ด้ามโดยใช้ด้ามละ ๒ มัด มัดประกบ บน ล่าง ๗. ใช้เส้นเชือกหรือเส้นพลาสติกถักยึดให้เส้นพลาสติกยึดกันเป็นแผงติดกับด้ามแล้วตัดแต่งปลายเส้นพลาสติก ให้เสมอกันก่อนนาไปใช้งานหรือจาหน่าย ๓.๒.๒ การทาม้านั่งถุงพลาสติก ภายใต้แนวคิด “ขยะทุกชนิด คือ ทรัพยากรที่มีค่า” สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ไม่รูปแบบใดก็รูปแบบหนึ่ง เมื่อเกิดปัญหาขยะประเภทถุงพลาสติก plastic bag ที่ไม่มีพ่อค้ารับซื้อ จึงนาไปสู่การเรียนรู้ศึกษา จากหน่วยงานที่ ประสบความส าเร็ จ ในการแปรรู ป ขยะพลาสติ ก เพื่อ สร้า งมูล ค่า เพิ่ม โดยแปรสภาพ ขยะประเภท พลาสติ ก ถุงพลาสติก พร้อมกับใส่ไอเดียสร้างสรรค์ ออกมา เป็นม้านั่ง ที่มีสีสันหลากสี ตามชนิดของพลาสติกประเภทต่างๆ มี ความแข็งแรง ทนทานกว่าม้านั่งที่ทาจากไม้ทั่วไป นับว่าเป็นการนา ขยะประเภทถุงพลาสติกมาใช้ใหม่ ตามหลักการ ๓Rs เพื่อให้เกิดการลด นากลับ มาใช้ใหม่ และแปรรูป จนก่อเกิดเป็นผลงานนวัตกรรม “ม้านั่งจากถุงพลาสติก (Plastic bag stool)” นับได้ว่าเป็นกระบวนการชะลอการเกิดขยะ ลดปริมาณถุงพลาสติกที่จะนาไปกาจัด และ สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับของเหลือใช้ได้ ให้เป็นไปได้มากกว่าขยะเหลือทิ้ง รวมทั้งสร้างรายได้ สร้างอาชีพให้กับผู้ที่ ว่างงาน ในหมู่บ้าน ชุมชน ได้นาขยะมาแปรรูปเป็นสินค้า ด้วยความพยายามที่จะใช้ประโยชน์จากขยะทั่วไปที่ขายไม่ได้ เช่นถุงพลาสติก รวมทั้งเศษพลาสติก ฝาขวดที่ เหลือจาก การทาไม้กวาดขวดพลาสติก พบว่า สามารถนามาอบด้วยความร้อน ให้อ่อนตัว แล้วนามาบีบอัดขึ้นรูปใน แม่พิมพ์ รูปทรงกลม หรือ สี่เหลี่ยม จากนั้นปล่อยให้แข็งตัว แล้วเกาะออกจากแม่พิมพ์ นามาขัด กลึง ตกแต่ง ให้ เรียบร้อยสวยงาม แล้วนาไปประกอบขาตั้ง ก็สามารถนาไปใช้งานได้ และสามารถดัดแปลงแผ่นพลาสติกที่ขึ้นรูป อัดเป็นแผ่นแล้ว ตัด ตกแต่ง เป็นแท่นวาง สิ่งของ อาทิ ม้านั่ง โต๊ะ เป็นต้น วัสดุอุปกรณ์ ๑. ขยะประเภทถุงพลาสติก เศษพลาสติก ที่เป็นพลาสติกประเภท LDPE (Low Density Polyethylene) และ พลาสติกประเภท HDPE (HIGH Density Polyethylene) ๒. เตาอบความร้อน แบบใช้แก๊ส ๓. เครื่องบีบอัดแรงดันมือหมุน


๑๕ ๔ . แ บ บ พิ ม พ์ ขึ้ น รู ป พ ล า ส ติ ก ท ร ง ก ล ม แ ล ะ สี่ เ ห ลี่ ย ม ข น า ด เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ล า ง ๓ ๐ ๕. เครื่องขัดกระดาษทราย ๖. เหล็กสาหรับทาขาม้านั่งจากถุงพลาสติก ขั้นตอนการจัดทาม้านั่งถุงพลาสติก จัดเตรียมนาถุงพลาสติก เศษพลาสติก ฝาขวด ล้างทาความสะอาดถ้าเป็นชิ้นใหญ่พับเป็นชิ้นเล็กๆ ๒. นาเศษพลาสติก ถุงพลาสติก ฝาขวดใส่ในแบบแม่พิมพ์ ๓. นาเข้าเตาอบความร้อนด้วยแก๊ส ๒ ชั่วโมง ๔. เมื่อพลาสติกอ่อนตัวนามาบีบอัดให้พลาสติกเชื่อมติดกัน ๕. นาออกมาทิ้งไว้ให้เย็นหรือจุ่มในน้า ๖. แกะออกจากแม่พิมพ์และนามาขัดด้วยกระดาษหยาบและละเอียดตามลาดับ ๗. เคลือบด้วยเรซิ่นเมื่อแข็งตัวนาไปประกอบกับขาตั้งเพื่อใช้งานหรือจาหน่าย


๑๖

บทที่ ๔ ผลการดาเนินงาน จากการประชุมกลุ่ มเพื่อศึกษาปั ญหาที่สมาชิกในกลุ่มประสบปัญหาคล้ายๆกัน คือปัญหาขยะในชุมชน สมาชิกได้มีมติตรงกันที่จะเลือกพื้นที่ กรณีศึกษา คือ พื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบขององค์การ บริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ ที่ประสบความสาเร็จในการจัดทาโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัด แยกขยะที่ต้นทาง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับคัดเลือกจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นหน่วยงานต้นแบบ ในการจัดการขยะสู่การเรียนรู้แบบพอเพียง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับรางวัลรอบคัดเลือก นวัตกรรมการจัดการขยะมูล ฝอยที่ต้นทาง ผลงาน เครื่องรีดเส้นไม้กวาดขวดพลาสติก ปี พ.ศ.๒๕๖๒ ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดนวัตกรรม การจั ดการขยะมู ล ฝอยชุ มชน ประเภท พลาสติก และโฟม ผลงาน ม้ านั่ง ถุงพลาสติก และ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เช่นเดียวกัน ได้รับการคัดเลือกให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น ด้านการบริหารจัดการ ขยะ จากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการ บริหารจัดการที่ดี ประเภทโดดเด่น รางวัลที่ ๒ เงินรางวัล ๔ ล้านบาท จากการเลือกพื้นที่ศึกษา และเชิญวิทยากรจากองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อให้ความรู้ในการจัดการ ขยะ และแปรรู ป ขยะ เพื่อสร้ างมูล ค่าเพิ่มโดยจัด ทาเป็นสิ น ค้าจาหน่า ย โดยกลุ่ มเลื อกศึก ษา การแปรรูปขวด พลาสติก เป็นไม้กวาดขวดพลาสติก การแปรรูปจากขยะพลาสติก เศษพลาสติกที่เหลือจากการผลิตไม้กวาด ทาเป็น ม้านั่งถุงพลาสติก โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ การจัดทาผลงานแปรรูปขยะเพื่อทาเป็น ผลิตภัณฑ์ ดังนี้ ๑. กลุ่มล้างขวดพลาสติก ทาความสะอาด ๑.๑ นางขันตี สีเนตร ๑.๒ นางสาววรญา ทุมวงศ์ ๑.๓ นางสาวปติยดา อินทวรรณ ๑.๔ นายรุ่งโรจน์ นันทราช ๑.๕ นางชยา ประชายุ่น ๑.๖ นายชาญชัย ใจวัน ๒. กลุ่มตัดก้นขวด ๒.๑ นายชุตินัส คิดโสดาพงษ์ ๒.๒ นายกิตติพงษ์ นารินรักษ์ ๒.๓ นายวิษณุ เขตบ้าน ๒.๔ นายเรืองฤทธิ์ บุญรอด ๒.๕ นายวิรัตช์ มอมุงคุณ ๒.๖ นายวิสุทธิ์ รอดเหลา ๓. กลุ่มรีดเส้น ๓.๑ นายสมชาย อมาตยกุล ๓.๒ นายสุพจน์ ศรีจุลโพธิ์ ๓.๓ นายผดุงชัย ชาชัย ๓.๔ นางกันธิมา สีทอง


๑๗ ๓.๕ นางใจทิพย์ สีทอง ๓.๖ นายองอาจ อุประ ๔. กลุ่มม้วนเก็บเส้นเพื่อขึ้นรูปเส้นไม้กวาด ๔.๑ นางสาวประภารัตน์ แสนอุบล ๔.๒ นายขวัญวิชญ์ ศรีประไหม ๔.๓ นายสมาน ภาวงศ์ ๔.๔ นายประยงค์ แก้วบุญมา ๔.๕ นางบุญเพ็ง หลอดเหลา ๔.๖ นางสาววิไลลักษณ์ ศรีโคตร ๕. กลุ่มต้มเส้นพลาสติกเพื่อให้เป็นเส้นตรง ๕.๑ นายสุขี มณีกัน ๕.๒ นายสมบูรณ์ จรหาพล ๕.๓ นายรักษ์ ไชยเลิศ ๕.๔ นายอภิสิทธิ์ ยศสมพงษ์ ๕.๕ นายนัฐพล โอสถานุเคราะห์ ๕.๖ นายสุขปัญญา ไชยศรี ๖. กลุ่มตัดแต่งเส้นประกอบด้าม ๖.๑ นายวงศ์สง่า คาตะลา ๖.๒ นายสมพร โคตรแสง ๖.๓ นายวิเชียร หล่าชาญ ๖.๔ นายสมพร ลุนจักร ๖.๕ นายจันทะยุทธ ราชไรกิจ ๖.๖ นายยุทธยา ต้นสาย ๗. กลุ่มศึกษาเรียนการทาม้านั่งถุงพลาสติก ๗.๑ นายคาหล้า ครุตตาคา ๗.๒ นายเสริมสุข สุพล ๗.๓ นายจาลอง อินธิแสง ๗.๔ นายกงจักร ปัตตะเน ๗.๕ นายดารง แสนสอน ๗.๖ นายลักษชัย สีไวพัตน์ ๗.๗ นายสาราง โหน่งที ๗.๘ นายไพทูรย์ รีทาสี ๗.๙ นายจิตติศักดิ์ พรหมศรี ๗.๑๐ นางพาดี แสงพรหมชาลี


๑๘ ๗.๑๑ นางมยุรี ใจทัศน์ ๗.๑๒ นายวสันต์ หงส์วิเศษ ๘. กลุ่มจัดทาเอกสาร วีดีทัศน์ ๘.๑ นายธิระพงษ์ ฝีปาก ๘.๒ นางจุฬารัตน์ เผ่าผม ๘.๓ นางเยาวรัตน์ สายื่น ๘.๔ นายสิน อินทรสิทธิ์ ๘.๕ นายศรายุทธ ทิพย์สูตร ๘.๖ นายจาลอง อินธิเสน จากผลการแบ่งกลุ่มกันศึกษาเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการแปรรูปขยะพลาสติกเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มโดยทาเป็นไม้ กวาดขวดพลาสติก และม้านั่งถุงพลาสติก จะได้ไม้กวาดขวดพลาสติก ที่มีความยาวเส้นพลาสติก ๔๐ เซนติเมตร ด้ามยาว ๑.๒๐ เมตร ในหนึ่งด้ามใช้เส้นพลาสติกขนาดกว้าง ๐.๕ เซนติเมตร ยาว ๔๐ เซนติเมตร จานวน ๔ ขีด หรือ ๔๐๐ เส้น ซึ่งทาจากขวดน้าอัดลมทุกชนิด ที่เป็นขวด pet มีความแข็งแรงทนทาน ล้างน้าได้ ใช้แทนไม้กวาด ทางมะพร้าว ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติได้ โดยใช้เป็นไม้กวาดลาน กวาดไล่น้า กวาดหยากไหย่ กวาดสนามหญ้า ส่วนขวด pet สกรีน ขวดน้าดื่ม นามาทาเป็นไม้กวาดบ้านได้ โดยรีดเป็นเส้นขนาด0.2 เซนติเมตร ความยาว ๓๐ เซนติเมตร ใช้เส้นจานวน ๔ ขีด หรือ ๔๐๐ เส้น เท่ากัน ในส่วนของการทาม้านั่งถุงพลาสติก จะใช้เศษพลาสติกฝาขวด ถุงพลาสติก จานวน ๑.๒ กิโลกรัมต่อแบบพิมพ์ 1 แบบซึ่งมีทั้งแบบกลมและแบบเหลี่ยม เมื่อนาเข้าอบด้วยความร้อนโดยใช้แก๊ส นาน ๒ ชั่วโมงปล่อยให้เย็นหรือจุ่ม ในน้าเย็นแล้วแกะออกจากแบบนามาขัดแล้วเคลือบด้วยเรซิ่น ก่อนนาไปประกอบขาเพื่อใช้งานหรือจาหน่ายต่อไป


๑๙

บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึกษาเรื่อง การส่งเสริมการแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มขยะพลาสติกในครัวเรือน กรณีศึกษา การทาไม้กวาดขวดพลาสติก และทาม้านั่งถุงพลาสติก จากพื้นที่ที่ประสบความสาเร็จในการแปร รูปและใช้ประโยชน์จากขยะ ตาบลเหล่าโพนค้อ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการขยะในพื้นที่เพื่อเป็นกรณีตัวอย่าง และ เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไข ปัญหาและแปรรูปขยะเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการทาไม้กวาดขวดพลาสติก และม้านั่งถุงพลาสติก จากผลการศึกษา การดาเนินงานบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลเหล่าโพนค้อ โดยส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง จัดตั้งธนาคารขยะเพื่อรับซื้อขยะรีไซเคิลจากสมาชิกเพื่อนาไป จาหน่าย แต่กลับประสบปัญหา ไม่มีร้านรับซื้อขวดพลาสติกสี รวมทั้งถุงพลาสติก จึงได้มีการคิดค้นนวัตกรรม ในการทาไม้กวาดขวดพลาสติก จากขวดพลาสติกสี การทาม้านั่งจากถุงพลาสติกและขยะทั่วไปที่ขายไม่ได้ ในการทาไม้กวาดขวดพลาสติกนั้น ขวดพลาสติก ๒ กิโลกรัมสามารถทาไม้กวาดได้ ๓ ด้าม ไม้กวาด ขวดพลาสติก ๑ ด้ามใช้เส้นพลาสติกจานวน ๔ ขีด ส่วนเศษพลาสติกที่เหลือในส่วนของการทาไม้กวาดขวด พลาสติก อาทิ ฝาขวด สติกเกอร์ นาไปทาม้านั่งถุงพลาสติก นับว่าเป็นการลดปริมาณขยะที่ต้นทาง ก่อนนาไป กาจัดได้ดี และยังช่วยสร้างรายได้ให้กับชุมชน จากการแปรรูปขยะเป็นไม้กวาดจาหน่ายได้อีกด้วย ซึ่งมีการ จ าหน่ ายทั้งในตลาดทั่ว ไปและในตลาดออนไลน์ ตั้งแต่ร าคาด้ามละ ๘๐ – ๑๐๐ บาทส่ ง ผลให้ ร าคาขวด พลาสติกสีจากที่ไม่มีราคา ไม่มีคนซื้อราคาถีบตัวสูงขึ้นถึงกิโลกรัมละ ๑๐ – ๑๕ บาท ส่วนการทาม้านั่งถุงพลาสติก ม้านั่ง ๑ ตัว จะใช้พลาสติกปริมาณ ๑.๒ กิโลกรัม ถ้าใช้ฝาขวดอย่าง เดียวใช้จานวน ๕๕๐ ฝา น้าหนักประมาณ ๑.๕ กิโลกรัม นับว่าเป็นการลดขยะทั่วไป ขยะพลาสติกที่ขายไม่ได้ ก่อนนากาจัดได้อีกทางหนึ่ง โดยเมื่อทาเป็นม้านั่งเสร็จแล้ว สามารถจาหน่ายได้ถึงตัวละ ๕๙๐ บาท ข้อเสนอแนะ ๑. การทาไม้กวาดขวดพลาสติกเพื่อให้ ได้ปริมาณขวดที่เพียงพอต่อการผลิตควรรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อ รวบรวมขวดจากสมาชิก ก่อนนาไปจาหน่ายให้ร้านหรือนาไปกาจัด ๒. ควรมีการประชาสัมพันธ์การรับซื้อขวดพลาสติกสีให้ทราบโดยทั่วกันเนื่องจากยังมีหลายพื้นที่ที่ไม่ สามารถจาหน่ายขวดพลาสติกสีได้ ๓. ขบวนการผลิตส่วนใหญ่เป็นการผลิตด้วยมือควรมีการใช้เครื่องจักร เข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มปริมาณการ ผลิตต่อวัน ๔. ปัญหาที่พบจากด้ามไม้กวาดมักเป็นมอดทาให้อายุการใช้งานสั้น ควรมีการแช่น้ายากันมอดหรือใช้ วัสดุอย่างอื่นแทน อาทิ ท่อ พีวีซี หรืออลูมิเนียมแทน ๕. น้าเสียที่เกิดจากการต้มเส้นพลาสติกหรือแช่เส้นพลาสติกควรมีการบาบัดก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ๖. การทาม้านั่งถุงพลาสติก ขบวนการที่ใช้เวลามากที่สุดคือการอบพลาสติกให้อ่อนตัวใช้เวลานานถึง ๒ ชั่วโมง ควรมีการบดพลาสติกให้ชิ้นเล็กลงและขดลวดไฟฟูาให้ความร้อนแทนแก๊สเพื่อลดเวลาใน การอบ ๗. ควรมีการปูองกันมลพิษที่เกิดจากการอบพลาสติก


๒๐ ๘. สถานที่ในการขัดพลาสติกควรเป็นห้องมิดชิดเพื่อปูองกันฝุ​ุนควัน รวมทั้งมีหน้ากากปูองกันฝุ​ุนควัน จากการปฏิบัติงาน ปัจจัยที่นามาสู่ความสาเร็จ ๑. ผู้บริหารให้อานาจประชาชนเต็มที่ในการบริหารจัดการกลุ่ม ๒. ผู้นาหมู่บ้านต้องมีความเข้มแข็งและอุทิศตนให้หมู่บ้าน ผู้นาและคณะกรรมการหมู่บ้าน อสม.มี ความจริงจังในการทางาน มีการเชิญชวนประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนร่วมมือในการช่วยกันบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน ๓. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการจัดการขยะและนาเสนอแนวคิดและหาแนวทางร่วมกันใน การแก้ไขปัญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน ๔. ปฏิบัติตามกฎและปฏิญญาที่ร่วมกันตั้งไว้ ก่อนที่จะมีการดาเนินกิจกรรมมีการประชุมและกาหนด ระเบียบหรือปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งสมาชิกทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด


๒๑

ภาคผนวก


๒๒

ภาคผนวก ก รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ๑.นายสุพจน์ ศรีจุลโพธิ์ ประธานกลุ่ม ๒. นางขันตี สีเนตร ๓. นางสาววรญา ทุมวงศ์ ๔. นางสาวปติยดา อินทวรรณ ๕. นายรุ่งโรจน์ นันทราช ๖. นางชยา ประชายุ่น ๗. นายชาญชัย ใจวัน ๘. นายชุตินัส คิดโสดาพงษ์ ๙. นายกิตติพงษ์ นารินรักษ์ ๑๐. นายวิษณุ เขตบ้าน ๑๑ นายเรืองฤทธิ์ บุญรอด ๑๒. นายวิรัตช์ มอมุงคุณ ๑๓. นายวิสุทธิ์ รอดเหลา ๑๔. นายสมชาย อมาตยกุล ๑๕. นายผดุงชัย ชาชัย ๑๖. นางกันธิมา สีทอง ๑๗. นางใจทิพย์ สีทอง ๑๘. นายองอาจ อุประ ๑๙. นางสาวประภารัตน์ แสนอุบล ๒๐. นายขวัญวิชญ์ ศรีประไหม ๒๑. นายสมาน ภาวงศ์ ๒๒. นายประยงค์ แก้วบุญมา ๒๓. นางบุญเพ็ง หลอดเหลา ๒๔. นางสาววิไลลักษณ์ ศรีโคตร ๒๕. นายสุขี มณีกัน ๒๖. นายสมบูรณ์ จรหาพล ๒๗. นายรักษ์ ไชยเลิศ ๒๘. นายอภิสิทธิ์ ยศสมพงษ์ ๒๙. นายนัฐพล โอสถานุเคราะห์ ๓๐. นายสุขปัญญา ไชยศรี ๓๑. นายวงศ์สง่า คาตะลา ๓๒. นายสมพร โคตรแสง ๓๓. นายวิเชียร หล่าชาญ ๓๔. นายสมพร ลุนจักร ๓๕. นายจันทะยุทธ ราชไรกิจ


๒๓ ๓๖. นายยุทธยา ต้นสาย ๓๗. นายคาหล้า ครุตตาคา ๓๘. นายเสริมสุข สุพล ๓๙. นายจาลอง อินธิแสง ๔๐. นายกงจักร ปัตตะเน ๔๑. นายดารง แสนสอน ๔๒. นายลักษชัย สีไวพัตน์ ๔๓. นายสาราง โหน่งที ๔๔. นายไพทูรย์ รีทาสี ๔๕. นายจิตติศักดิ์ พรหมศรี ๔๖. นางพาดี แสงพรหมชาลี ๔๗. นางมยุรี ใจทัศน์ ๔๘. นายวสันต์ หงส์วิเศษ ๔๙. นายธิระพงษ์ ฝีปาก ๕๐. นางจุฬารัตน์ เผ่าผม ๕๑. นางเยาวรัตน์ สายื่น ๕๒. นายสิน อินทรสิทธิ์ ๕๓. นายศรายุทธ ทิพย์สูตร ๕๔. นายจาลอง อินธิเสน


๒๔

ภาคผนวก ข ภาพถ่ายกิจกรรมกลุ่ม


๒๕

ภาพที่ 1 การอบรมให้ความรู้ การแปรรูปขยะโดยวิทยากรจาก องค์การบริหารส่วนตาบลเหล่าโพนค้อ

ภาพที่ ๒ การอบรมให้ความรู้การทาไม้กวาดขวดพลาสติกและม้านั่งถุงพลาสติก


๒๖

ภาพที่ ๓ การคัดแยกและล้างขวดพลาสติก เพื่อเตรียมทาไม้กวาดขวดพลาสติก

ภาพที่ 4 การตัดก้นขวดพลาสติกเพื่อเตรียมรีดเป็นเส้น


๒๗

ภาพที่ 5 การรีดเส้นพลาสติกจากขวดน้าอัดลม

ภาพที่ 6 การม้วนเก็บเส้นใส่แผ่นไม้เพื่อนาไปต้มให้แข็งตัว


๒๘

ภาพที่ 7 การต้มเส้นพลาสติกในน้าเดือด นาน 20 นาที

ภาพที่ 8 ตัดแต่งเส้นพลาสติกเตรียมถักกับด้ามไม้กวาด


๒๙

ภาพที่ 9 ถักเส้นพลาสติกกับด้ามไม้กวาด

.

ภาพที่ 10 ไม้กวาดขวดพลาสติกที่ถักสาเร็จแล้ว


๓๐

ภาพที่ ๑1 การเตรียมเศษพลาสติกที่เหลือจากการทาไม้กวาด เพื่อทาม้านั่งถุงพลาสติก

ภาพที่ ๑2 นาพลาสติกใส่แบบพิมพ์ก่อนนาไปอบให้เชื่อมติดกัน


๓๑

ภาพที่ ๑3 การอบพลาสติกในตู้อบด้วยแก็สเพื่อให้อ่อนตัวและเชื่อมติดกัน

ภาพที่ ๑4 การขัดแผ่นพลาสติกให้เรียบเสมอกัน


๓๒

ภาพที่ ๑5 แผ่นพลาสติกที่ขัดแล้ว

ภาพที่ 16 ภาพผลงานกิจกรรมกลุ่ม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.