ภาคผนวก

Page 1

ภาคผนวก ก. ศัพท์ ท่ คี วรรู้ ในงานประติมากรรม

Abstract

ความคิด + จินตนาการ = เกิดรู ปทรงใหม่

Academic

ความจริง – กฎเกณฑ์ = หลักวิชา ทฤษฎี

Aesthetic

สุนทรี ยภาพ ความรู้สกึ เกี่ยวกับความดี ความงามมีผลทางใจ

Angular

เป็ นแง่ เป็ นสัน

Assemblage

การนําวัสดุตา่ งๆ มาประกอบให้ เกิดรูปทรงใหม่

Axial

แกนถ่วงดุล

Balance

ดุลยภาพ

Bas relief

ประติมากรรมนูนตํ่า

Basic form

รูปทรงพื ้นฐาน (เรขาคณิต)

Basic line

เส้ นพื ้นฐาน

Bust

รูปคนครึ่งตัว

Carving

การแกะสลัก

Contrast

ความขัดกัน

Construction

โครงสร้ าง

Cubism

รูปทรงเรขาคณิต

Dramatic

เร้ าอารมณ์ เหมือนละคร

Dynamic

พลังพร้ อมเคลื่อนไหว

Figure

รูปคนเต็มตัว

Form

รูปทรง

Free form

รูปทรงอิสระ

Free line

เส้ นอิสระ


Harmony

ความกลมกลืน

High relief

ประติมากรรมนูนสูง

Inscribe relief

การแกะสลักภาพนูน

Line

เส้ น

Lively

เหมือนมีชีวิต

Majestic

สง่างาม ผึง่ ผาย น่าเกรงขาม สูงส่ง

Mass

มวล ครอบคลุมพื ้นที่สว่ นใหญ่

Model

ตัวอย่าง หุน่ จําลอง

Modeling

การปั น้ การสร้ างต้ นแบบ

Molding and casting

การทําแม่พิมพ์และหล่อแบบ

Monument

อนุสาวรี ย์

Movement

เหมือนเคลื่อนไหวได้

Nature form

รูปทรงธรรมชาติ

Nervous

กล้ าแข็ง

Portrait

รูปคนช่วงใบหน้ า

Realistic

รูปธรรม

Relief curving

แกะสลัก, ภาพนูน

Rhythm & direction

จังหวะและทิศทาง

Round relief

ประติมากรรมลอยตัว

Sculptor

ประติมากร

Sculpture

ประติมากรรม

Semi Abstract

กึง่ นามธรรม

Side & proportion

ขนาดและสัดส่วน


Smooth

เรี ยบ เกลี ้บง

Space

บริ เวณว่าง พื ้นที่วา่ ง

Static

ตังสถิ ้ ตอย่างมัน่ คง

Statue

ประติมากรรมลอยตัว

Stucco

เทคนิคปูนปั น้

Texture

พื ้นผิว

Volume

ปริ มาตร ระดับสูงตํ่า (ระดับเสียง)


ภาคผนวก ข. ศัพท์ ท่ คี วรรู้ ด้านการพิมพ์

2/0

วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสัน้ ๆ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 2 สี ด้ านหลังไม่พิมพ์

4/1

วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสัน้ ๆ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 4 สี ด้ านหลังพิมพ์ 1 สี

4+UV/4

วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสัน้ ๆ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 4 สี อาบ UV ด้ านหลังพิมพ์ 4 สี

C

Cyan สีฟา้ ซึง่ เป็ นแม่สีหนึง่ สี่สีในระบบการพิมพ์แบบสอดสี

C10 M20 Y100 K0

วิธีเขียนสัน้ ๆ สําหรับค่าเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของความหนาแน่นของเม็ดสกรี นของแม่สีแต่ละสี ในที่นี ้ คือ Cyan 10% Magenta 20% Yellow 100% Black 0%

CIP 4

การร่วมกันระหว่างผู้ค้า ที่ปรึกษา ผู้ใช้ ผ้ อู ยูใ่ นอุตสาหกรรมการพิมพ์ ในเรื่ องการสื่อสารเกี่ยวกับ การพิมพ์ การออกแบบ และส่วนงานที่เกี่ยวข้ อง ยังครอบคลุมไปถึงเครื่ องมือเครื่ องจักร ซอฟท์แวร์ ขบวนการต่าง ๆ

CMYK

Cyan Magenta Yellow และ Black ซึง่ เป็ นแม่สีทงสี ั ้ ่ของการพิมพ์แบบสอดสี

Color Bar

แถบสีบนแผ่นพิมพ์ซงึ่ อยูน่ อกพื ้นที่ของเนื ้องาน ทางโรงพิมพ์ใช้ สําหรับตรวจดูปริ มาณหมึกที่จ่าย ลงบนแผ่นพิมพ์ให้ อยูใ่ นเกณฑ์ อีกทังยั ้ งมีประโยชน์ในการดูคณ ุ ภาพของงานพิมพ์ด้านต่าง ๆ

Colorimeter

เครื่ องมือวัดค่าสีตามอย่างที่ตาเห็น

CTP

Computer-to-Plate เป็ นระบบที่สามารถแปลงจากไฟล์งานออกมาเป็ นเพลทแม่พิมพ์ที่มีภาพ พร้ อมใช้ พิมพ์ได้ โดยไม่ต้องทําเป็ นฟิ ล์มก่อนทําเพลท

Cure

ขบวนการทําให้ หมึกพิมพ์หรื อนํ ้ายาเคลือบต่าง ๆ แห้ งสนิท ติดกับผิวกระดาษได้ ดี ไม่หลุดลอก หรื อถลอกง่าย

Dot

ในความหมายของการพิมพ์คือเม็ดของสีที่มีการเรี ยงตัวก่อให้ เกิดภาพพิมพ์

DPI

Dots per Inch หน่วยวัดความละเอียดของภาพ เท่ากับจํานวนของเม็ดสีที่เรี ยงกันในความยาว หนึง่ นิ ้ว ค่า DPI ยิ่งสูงภาพก็จะมีรายละเอียดและความคมชัดสูง

Duotone

ภาพพิมพ์ท่ีพมิ พ์โดยใช้ หมึกพิมพ์ 2 สี มีชนของความลึ ั้ กดีกว่าพิมพ์สีเดียว หากมีการเลือกคูส่ ีที่ เหมาะสม ภาพที่ได้ จะดูสวยงามและมีคณ ุ ค่า

Feeder

ส่วนของเครื่ องพิมพ์ที่ทําหน้ าที่ปอ้ นกระดาษทีละแผ่นจากตังกระดาษเข้ ้ าไปยังหน่วยพิมพ์


Hot Stamping

กรรมวิธีที่โรงพิมพ์ทําภาพพิมพ์บนกระดาษโดยใช้ แม่พิมพ์ที่มีความร้ อนรี ดแผ่นฟิ ล์ม/ฟอล์ยลงให้ ติดผิวกระดาษให้ เกิดภาพตามแม่พิมพ์ แผ่นฟิ ล์ม/ฟอล์ยอาจมีสีหรื อลวดลายแปลก ๆ ก็ได้

Image setter

เครื่ องสร้ างภาพ (ที่ประกอบด้ วยเม็ดสกรี นที่เรี ยงตัวกัน) ลงบนแผ่นฟิ ล์มแยกตามสีแต่ละสีที่จะ นําไปใช้ ทําเพลทแม่พมิ พ์

K

Black สีดําซึง่ เป็ นแม่สีหนึง่ สี่สีในระบบการพิมพ์แบบสอดสี

Line Screen

การวัดความละเอียดของชิ ้นงานพิมพ์เป็ นจํานวนเส้ นของเม็ดสกรี นต่อหนึง่ หน่วยความยาว หาก ค่าดังกล่าวยิ่งสูง ภาพจะมีความคมชัดและมีรายละเอียดยิ่งดีขึ ้น

Lithography

ระบบการพิมพ์ที่ใช้ หลักการว่านํ ้ากับนํ ้ามันจะไม่รวมตัวกัน ในการพิมพ์ระบบออฟเซ็ท เพลท แม่พิมพ์จะผ่านลูกนํ ้าเพื่อสร้ างเยื่อนํ ้าบาง ๆ บนเพลท ผิวของเพลทจะมีสว่ นที่เป็ นเม็ดสกรี นซึง่ เคลือบด้ วยสารที่ไม่รับนํ ้า นํ ้าจึงไม่เกาะติด เมื่อเพลทผ่านลูกหมึก หมึกจะไม่ไปเกาะผิวเพลทส่วน ที่เป็ นนํ ้าแต่จะไปเกาะที่เป็ นเม็ดสกรี น ทําให้ เกิดภาพตามที่ต้องการถ่ายทอดลงบนผ้ ายางและ กระดาษในที่สดุ

LPI

Lines per Inch ความละเอียดของภาพพิมพ์เป็ นจํานวนเส้ นสกรี นต่อนิ ้ว ค่า LPI ยิ่งสูงภาพยิ่ง ละเอียด การพิมพ์บนกระดาษปรู๊ ฟโรงพิมพ์ควรใช้ ความละเอียดไม่เกิน 125 LPI กระดาษปอนด์ ไม่ควรเกิน 150 LPI กระดาษอาร์ ตปกติใช้ 175 LPI แต่มีโรงพิมพ์หลายแห่งใช้ ความละเอียดสูง กว่านี ้

M

Magenta สีชมพูซงึ่ เป็ นแม่สีหนึ่งสี่สีในระบบการพิมพ์แบบสอดสี

PMS

Pantone Matching Systems ระบบการตังรหั ้ สมาตรฐานสําหรับสีแต่ละเฉดสีเพื่อความเข้ าใจ ตรงกันของผู้ใช้ สี และทําให้ สามารถเลือกสีได้ ถกู ต้ องจากรหัสของสีนนั ้ ๆ

Resolution

ความละเอียดของภาพ มีหน่วยวัดเป็ นจํานวนเม็ดสีตอ่ หนึ่งหน่วยความยาว เช่น DPI คือ dots per inch

RIP

Rastor Image Processor เครื่ องแปลงภาษาของซอฟต์แวร์ ที่ใช้ ในการจัดทําต้ นฉบับ เช่น Postcript PDF ให้ เป็ นภาพที่มีความละเอียดสูงเพื่อนําไปพิมพ์ภาพที่เครื่ องพิมพ์ตอ่ ไป

Typesetting

การจัดเรี ยงตัวอักษร ลายเส้ นต่าง ๆ ประกอบกันขึ ้นเพื่อการจัดทําอาร์ ตเวิร์คสําหรับหน้ าหนังสือ หรื อสิง่ พิมพ์อื่น ๆ แล้ วนําไปใช้ ในการพิมพ์ตอ่ ไป

Y

Yellow สีเหลืองซึง่ เป็ นแม่สีหนึง่ สี่สีในระบบการพิมพ์แบบสอดสี

กระดาษกล่อง (Box Paper) เป็ นกระดาษที่ทําจากเยื่อไม้ บด และมักนําเยื่อจากกระดาษใช้ แล้ วมาผสม มีสีคลํ ้าไป ทางเทาหรื อนํ ้าตาล ผิวด้ านหนึง่ มักจะประกบด้ วยชันของกระดาษขาวซึ ้ ง่ อาจมีผิวเคลือบมัน


หรื อไม่ก็ได้ เพื่อความสวยงามและพิมพ์ภาพลงไปได้ หากเป็ นกระดาษไม่เคลือบ จะเรี ยก กระดาษ กล่องขาว หากเป็ นกระดาษเคลือบผิวมัน จะเรี ยก กระดาษกล่องแป้ง นํ ้าหนักกระดาษกล่องอยู่ ระหว่าง 180 – 600 กรัม/ตารางเมตร ใช้ สําหรับทําสิง่ พิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ เช่น กล่อง ป้ายแข็ง ฯลฯ กระดาษกันปลอม (Security Paper) เป็ นกระดาษที่จดั ทําขึ ้นพิเศษ มีกรรมวิธีการทําหลายอย่างเพื่อป้องกันการปลอมแปลง ใช้ ทําสิง่ พิมพ์ที่ต้องการไม่ให้ มีการลอกเลียนแบบ เช่น ธนบัตร แสตมป์ ฯลฯ กระดาษการ์ ด (Card Board)

เป็ นกระดาษที่มีความหนาและแข็งแรงประกอบด้ วยชันของกระดาษหลายชั ้ น้ ชันนอก ้ สองด้ านมักเป็ นสีขาว แต่ก็มีการ์ ดสีตา่ ง ๆ ให้ เลือกใช้ บางชนิดมีผิวเคลือบมันเรี ยบ ซึง่ เรี ยก กระดาษอาร์ ตการ์ ด นํ ้าหนักกระดาษการ์ ดอยูร่ ะหว่าง 110 – 400 กรัม/ตาราง เมตร ใช้ สําหรับทําปกหนังสือ บรรจุภณ ั ฑ์ที่มีราคา เช่นกล่องเครื่ องสําอาง

กระดาษแข็ง (Hard Board) เป็ นกระดาษหลายชันแข็ ้ งหนาทําจากเยื่อไม้ บดและเยื่อกระดาษเก่า มีผิวขรุขระสีคลํ ้า มีคําเรี ยก กระดาษชนิดนี ้อีกว่า กระดาษจัว่ ปั ง นํ ้าหนักมีตงแต่ ั ้ 430 กรัม/ตารางเมตรขึ ้นไป ใช้ ทําไส้ ในของ ปกหนังสือ ฐานปฏิทินตังโต๊ ้ ะ บรรจุภณ ั ฑ์ตา่ ง ๆ กระดาษถนอมสายตา (Book Paper) เป็ นกระดาษไม่เคลือบผิว บางที่มีสีออกนวลช่วยถนอมสายตา เหมาะสําหรับทําหนังสือ อ่าน กระดาษแบงก์ (Bank Paper)

เป็ นกระดาษบางไม่เคลือบผิว นํ ้าหนักไม่เกิน 50 กรัม/ตารางเมตร มีสีให้ เลือกหลายสี ใช้ สําหรับงานพิมพ์แบบฟอร์ มต่าง ๆ ที่มีสําเนาหลายชัน้

กระดาษปรู๊ฟ (Newsprint) เป็ นกระดาษที่มีสว่ นผสมเยื่อบดที่มีเส้ นใยสัน้ และมักนําเยื่อจากกระดาษใช้ แล้ วมาผสมด้ วย กระดาษปรู๊ฟมีนํ ้าหนักเพียง 40 – 52 กรัม/ตารางเมตร มีสีอมเหลือง ราคาไม่แพงแต่ความแข็งแรง น้ อย เหมาะสําหรับงานพิมพ์หนังสือพิมพ์ และเอกสารที่ไม่ต้องการคุณภาพมาก กระดาษฟอกขาว (Wood free Paper) เป็ นกระดาษที่ทําจากเยื่อที่ผลิตด้ วยระบบเคมีและฟอกให้ ขาว เป็ นกระดาษที่มีคณ ุ ภาพ และมีความหนาแน่นสูง การดูดซึมน้ อย กระดาษแฟนซี (Fancy Paper)

เป็ นคําเรี ยกโดยรวมสําหรับกระดาษที่มีรูปร่างลักษณะของเนื ้อและผิวกระดาษที่ตา่ ง จากกระดาษใช้ งานทัว่ ไป บางชนิดมีการผสมเยื่อที่ตา่ งออกไป บางชนิดมีผิวเป็ นลาย ตามแบบบนลูกกลิ ้งหรื อตะแกรงที่กดทับในขันตอนการผลิ ้ ต มีสีสนั ให้ เลือกหลากหลาย มีทงกระดาษบางและหนา ั้ ประโยชน์สําหรับกระดาษชนิดนี ้สามารถนําไปใช้ แทน กระดาษที่ใช้ อยู่ทวั่ ไป ตังแต่ ้ นามบัตร หัวจดหมาย ไปจนถึงกล่องบรรจุภณ ั ฑ์

กระดาษรี ไซเคิล (Recycle Paper)

เป็ นกระดาษที่ทําจากเยื่อกระดาษที่ใช้ แล้ ว แต่อาจมีการผสมเยื่อใหม่บางส่วนเพื่อความ แข็งแรง กระดาษชนิดมักมีสีไม่ขาวและมีสงิ่ ตกค้ างปนอยูด่ ้ วย


กระดาษสติ๊กเกอร์ (Sticker Paper) เป็ นกระดาษที่ด้านหลังเคลือบด้ วยกาวเพื่อนําไปพิมพ์ภาพหรื อตัวอักษรแล้ วนําไปติด บนวัตถุอื่นก่อนใช้ งานจะมีกระดาษรองด้ านล่าง ต้ องลอกกระดาษรองออกก่อนนําไปติด กระดาษสติ๊กเกอร์ มีทงแบบเคลื ั้ อบผิวด้ านหน้ าและไม่เคลือบผิว กระดาษเหนียว (Kraft Paper)

เป็ นกระดาษที่ทําจากเยื่อใยยาวผ่านกรรมวิธีทางเคมี จึงมีความเหนียวเป็ นพิเศษ มีสี เป็ นสีนํ ้าตาล นํ ้าหนักอยูร่ ะหว่าง 80 – 180 กรัม/ตารางเมตร ใช้ สําหรับทําสิง่ พิมพ์บรรจุ ภัณฑ์ กระดาษห่อของ ถุงกระดาษ

กระดาษอาร์ ต (Art Paper)

เป็ นกระดาษที่ทําจากเยื่อที่ผลิตด้ วยระบบเคมี และเคลือบผิวให้ เรี ยบด้ านเดียวหรื อทัง้ สองด้ าน การเคลือบอาจจะเคลือบมันเงาหรื อแบบด้ านก็ได้ มีสีขาว นํ ้าหนักอยูร่ ะหว่าง 80 – 160 กรัม/ตารางเมตร ใช้ สําหรับงานพิมพ์ที่ต้องการความสวยงาม งานพิมพ์สอดสี เช่นแคตตาล็อก โบรชัวร์

กระดาษเอ็นซีอาร์ (Carbonless Paper)

เป็ นกระดาษบางมีสีตา่ ง ๆ ด้ านหลังหากต้ องการให้ เกิดสีบนสําเนาแผ่นถัดไป เมื่อถูกขีดเขียนก็จะเคลือบด้ วยนํ ้ายาใสชนิดหนึ่ง ส่วนด้ านหน้ าหากเป็ นสําเนา แผ่นที่ต้องการให้ เกิดสีเมื่อถูกขีดเขียนก็จะเคลือบด้ วยสารใสอีกชนิดหนึง่

กริ๊ ปเปอร์ (Gripper)

หรื อฟั นจับ คือชิ ้นส่วนในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ทที่มีหน้ าที่จบั กระดาษแล้ วพากระดาษวิ่งไป ตามส่วนต่าง ๆ ของเครื่ องพิมพ์ ฟั นจับกระดาษมีหลายชุดส่งผ่านจากชุดหนึง่ ไปยังอีกชุดหนึง่ ตังแต่ ้ ต้นจนพิมพ์เสร็จสมบูรณ์

กลับตีลงั กา

เป็ นคําที่ใช้ ในโรงพิมพ์สําหรับเรี ยก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้ เพลท 1 ชุด พิมพ์ด้านหน้ าแล้ ว กลับกระดาษสลับด้ านฟั นจับเป็ นคนละข้ างกับหน้ าแรก วิธีนี ้ทําให้ แผ่นพิมพ์ 1 แผ่น ได้ งาน 2 ชุด เหมือนกัน

กลับนอก

เป็ นคําที่ใช้ ในโรงพิมพ์สําหรับเรี ยก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้ เพลท 2 ชุด พิมพ์ด้านหน้ า 1 ชุด พิมพ์ด้านหลังอีกหนึง่ ชุด

กลับในตัว

เป็ นคําที่ใช้ ในโรงพิมพ์สําหรับเรี ยก การพิมพ์ลงบนแผ่นพิมพ์ที่ใช้ เพลท 1 ชุด พิมพ์ด้านหน้ าแล้ ว กลับกระดาษสลับข้ างพิมพ์โดยด้ านฟั นจับกระดาษยังคงเป็ นข้ างเดียวกันกับด้ านแรก วิธีนี ้ทําให้ แผ่นพิมพ์ 1 แผ่น ได้ งาน 2 ชุดเหมือนกัน

การพิมพ์ระบบออฟเซ็ท

ระบบการพิมพ์ที่ไม่ได้ ถ่ายทอดภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ลงบนชิ ้นงานโดยตรง แต่จะผ่านตัวกลางขัน้ หนึง่ ก่อน กล่าวคือ ภาพพิมพ์ของหมึกจะถูกถ่ายจากเพลทลงผ้ ายางแล้ วจึงส่งผ่านไปยังกระดาษ โรงพิมพ์สว่ นใหญ่จะใช้ เครื่ องพิมพ์ออฟเซ็ทในการพิมพ์งาน


การแยกสี (Color Separation)

การแยกสีจากงานอาร์ ตเวิร์คสีออกมาเป็ นภาพ 4 ภาพสําหรับแม่สีแต่ละสี เมื่อนําไปทํา เป็ นเพลทแม่พิมพ์ 4 แผ่น ทางโรงพิมพ์ก็สามารถใช้ พิมพ์ด้วยแม่สีแต่ละสีซ้อนทับกันได้ ภาพสอดสีเหมือนต้ นฉบับ

ขัดเงา

การทําให้ ผิวกระดาษเรี ยบเงาวาวขึ ้นโดยวิธีการขัดผิว

ขึ ้นเส้ น (Score)

เป็ นกรรมวิธีที่ทางโรงพิมพ์ทําเส้ นลึกบนกระดาษ เพื่อสะดวกต่อการพับในแนวที่ต้องการและช่วย ไม่ให้ ผิวกระดาษ หมึกเกิดการแตกตามรอยพับ

เข้ าเล่ม (Binding)

ขันตอนในโรงพิ ้ มพ์ เป็ นการรวมแผ่นพิมพ์ให้ เป็ นเล่ม เริ่มจากการตัดเจียนแผ่นพิมพ์หลังจากพิมพ์ เสร็จ พับ เก็บรวมเล่ม ยึดติดเป็ นเล่ม ซึง่ อาจใช้ การเย็บมุงหลังคา หรื อไสสันทากาว หรื อเย็บกี่ทา กาว หรื อเย็บกี่ห้ มุ ปกแข็ง เสร็จแล้ วตัดเจียนให้ เสมอกัน (ยกเว้ นใช้ วิธีห้ มุ ปกแข็ง)

เข้ าห่วงเหล็ก/พลาสติก

เป็ นวิธีการเข้ าเล่มโดยใช้ หว่ งเหล็ก/พลาสติกร้ อยเข้ าไปในรูด้านข้ างด้ านหนึง่ ของหนังสือ/ปฏิทินที่ เจาะเตรี ยมไว้ ทําให้ แผ่นพิมพ์ไม่หลุดจากกัน

เครื่ องพิมพ์ตดั สอง

เครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ทที่สามารถพิมพ์กระดาษที่มีขนาดใหญ่สดุ ไม่เกิน 25 x 38 นิ ้ว

เครื่ องพิมพ์สี่สี

สําหรับโรงพิมพ์หมายถึงเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ทที่สามารถพิมพ์เที่ยวละสี่สีโดยมีหน่วยพิมพ์ใน เครื่ องอยู่ 4 หน่วย ทําให้ การพิมพ์แม่สี 4 สี เสร็จภายในการพิมพ์ 1 เที่ยวพิมพ์

เคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV)

การเคลือบเงาเฉพาะบางบริเวณของแผ่นพิมพ์ เช่นตัวอักษรสําคัญ ภาพที่ต้องการเน้ น ลูกค้ าของโรงพิมพ์มกั ให้ เคลือบพีวีซีด้านทังแผ่ ้ นก่อนเคลือบเฉพาะจุด ซึง่ ทําให้ ชิ ้นงาน ออกมาดูดี

เคลือบพีวีซีเงา

เคลือบผิวกระดาษด้ วยฟิ ล์มพีวีซีที่มีผิวมันวาว ให้ ความเรี ยบและเงาสูง และเงากว่าการเคลือบ แบบยูวี แต่ต้นทุนสูงกว่า มีลกู ค้ าโรงพิมพ์ใช้ พอสมควร

เคลือบพีวีซีด้าน

เคลือบผิวกระดาษด้ วยฟิ ล์มพีวีซีที่มีผิวด้ านคล้ ายผิวของกระจกฝ้าแต่สามารถมองผ่านทะลุถงึ ภาพพิมพ์ได้ ให้ ผลลัพธ์ที่ดีและนิยมใช้ กนั มาก ลูกค้ าของโรงพิมพ์มกั ให้ ทําเคลือบเงาเฉพาะจุด ควบคูไ่ ปด้ วย

เคลือบยูวี

เคลือบผิวกระดาษด้ วยนํ ้ายาเงาและทําให้ แห้ งด้ วยแสงยูวี ให้ ความเงาสูงกว่าแบบวานิช ลูกค้ า ของโรงพิมพ์นิยมเคลือบกล่องบรรจุภณ ั ฑ์และปกหนังสือ

เคลือบยูวีด้าน

เคลือบผิวกระดาษแบบเคลือบยูวีแต่ให้ ผิวออกมาดูด้าน

เคลือบวาร์ นิช

เคลือบผิวกระดาษให้ เงาด้ วยวาร์ นิช ให้ ความเงาไม่สงู มาก โรงพิมพ์แนะนําใช้ เพื่อป้องกันหมึก พิมพ์และผิวกระดาษจากการการเสียดสีและให้ ความเงางาม


เคลือบวาร์ นิชด้ าน

เคลือบผิวกระดาษด้ วยวาร์ นิชแบบหนึง่ ทําให้ ดผู ิวด้ าน ซึง่ ผลลัพธ์ที่ได้ ไม่คอ่ ยให้ ความแตกต่าง จากวานิชธรรมดาเท่าใดนัก ลูกค้ าและโรงพิมพ์จงึ ไม่คอ่ ยนิยมใช้ กนั

เคลือบวาร์ นิชแบบ water based varnish

เคลือบผิวกระดาษให้ เงาด้ วยวาร์ นิชชนิดใช้ นํ ้าเป็ นตัวทําละลาย

เจาะขาว

ตัวอักษรหรื อลายเส้ นเป็ นสีขาว (ไม่มีเม็ดสี) ภายในพื ้นหรื อภาพที่เป็ นสีเข้ ม ตัวอักษรที่ เล็กและบางหากเจาะขาวด้ วยอาจสร้ างปั ญหาในการพิมพ์ให้ กบั โรงพิมพ์

เจาะปรุ (Perforate)

กรรมวิธีที่ทางโรงพิมพ์ทําเส้ นปรุ กงึ่ ขาดบนกระดาษ เพื่อสะดวกต่อการฉีกในแนวที่ต้องการ

เจาะรูร้อยห่วงเหล็ก/พลาสติก

วิธีการเข้ าเล่มโดยทางโรงพิมพ์จะเจาะรูสนั หนังสือ/ปฏิทินตามจํานวนข้ อของห่วงที่จะ ร้ อย เสร็จแล้ วนําห่วงเหล็ก/พลาสติกมาร้ อยเข้ ารูเหล่านี ้

ฉาก

เส้ นเล็ก ๆ สัน้ ๆ สองเส้ นที่ตงฉากกั ั้ น ใช้ สําหรับยึดเป็ นหลักในการออกแบบ การพิมพ์ การ ซ้ อนทับของสี การตัดเจียน การพับ และขันตอนอื ้ ่น ๆ ในโรงพิมพ์

ชาร์ ตสี (Colour Chart)

ตารางแสดงผลของเฉดสีตา่ ง ๆ อันเกิดจากการกําหนดความหนาแน่นของเม็ดสกรี นของแม่สีทงสี ั้ ่ ที่ปริ มาณต่าง ๆ กัน ช่วยให้ ผ้ อู อกแบบและโรงพิมพ์ใช้ เทียบสี

ซับหลัง

อาการที่หมึกพิมพ์บนแผ่นพิมพ์แผ่นหนึง่ ซึง่ ยังไม่แห้ งพอไปติดอยูบ่ นแผ่นพิมพ์อีกแผ่นที่อยูต่ ิดกัน ทําให้ เลอะบนแผ่นพิมพ์นนั ้

ตัดเจียน

การตัดเจียนในโรงพิมพ์หมายถึงการใช้ เครื่ องตัดกระดาษตัดตังกระดาษให้ ้ ขาดจากกัน อาจตัด เข้ าไปในขอบกระดาษเพียงเล็กน้ อยเพื่อให้ กระดาษทังตั ้ งเสมอกั ้ น เรี ยกว่าการเจียน

ตัดตก

ในการออกแบบอาร์ ตเวิร์ค จําเป็ นต้ องขยายพื ้นที่ภาพพิมพ์ใหญ่กว่าขนาดจริ งเล็กน้ อย เป็ นการ เผื่อความคลาดเคลื่อนในการทํางานภายในโรงพิมพ์ เช่นการจัดเจียน เรี ยกการเผื่อนี ้ว่าเผื่อตัดตก

แถบสี (Color Bar)

แถบสีบนแผ่นพิมพ์ซงึ่ อยูน่ อกพื ้นที่ของเนื ้องาน ทางโรงพิมพ์ใช้ สําหรับตรวจดูปริ มาณหมึกที่จ่าย ลงบนแผ่นพิมพ์ให้ อยูใ่ นเกณฑ์ อีกทังยั ้ งมีประโยชน์ในการดูคณ ุ ภาพของงานพิมพ์ด้านต่าง ๆ

นํ ้าหนักกระดาษ

หน่วยการวัดนํ ้าหนักของกระดาษ สําหรับโรงพิมพ์และผู้เกี่ยวข้ องในเมืองไทยจะใช้ หน่วยเป็ น "กรัมต่อตารางเมตร" และมักเรี ยกสัน้ ๆ ว่า "กรัม"

นํ ้าแห้ ง

คําที่ช่างพิมพ์ในโรงพิมพ์เรี ยกอาการที่เยื่อนํ ้าบนแผ่นเพลทน้ อยจนทําให้ หมึกพิมพ์ไปเกาะอยู่ ทัว่ ไปของเพลทแทนที่จะเกาะเฉพาะบริเวณที่เป็ นเม็ดสกรี น งานพิมพ์จงึ ดูเลอะหมึกตามไปด้ วย

เนกาตีฟ (Negative)

ภาพบนแผ่นฟิ ล์มที่มีแสงสีตรงข้ ามกับความเป็ นจริง ที่สว่างจะมืด ที่มืดจะกลับสว่าง

แนวขวางเกรนกระดาษ

แนวของกระดาษทิศที่ตงฉากกั ั้ บแนวเกรนของกระดาษ แนวทิศนี ้กระดาษจะโค้ งตัวมากกว่าและ ยืดตัวมากกว่าแนวเกรน


แบบปั๊ ม

แม่พิมพ์ที่ทําขึ ้นมาเพื่อนําไปใช้ ในการปั ม้ ลึก หรื อปั ม้ นูน หรื อปั ม้ ไดคัทแล้ วแต่ลกั ษณะของ แม่พิมพ์

ใบแทรก

ความหมายคล้ ายกับหน้ าแทรก ต่างกันตรงที่ใบแทรกมักไม่ถกู ติดยึดอยูก่ บั สันหนังสือ หรื อมี ขนาดเล็กกว่าตัวเล่มหนังสือ

ปรู๊ฟจากพริน้ เตอร์

การพิมพ์ภาพด้ วยเครื่ องพริ น้ เตอร์ ก่อนนําไปพิมพ์จริ ง ปกติมกั ใช้ ดขู ้ อความ รูปแบบคร่าว ๆ แต่ สีสนั ไม่สามารถใช้ เป็ นบรรทัดฐานได้

ปรู๊ฟดิจิตลั

การพิมพ์ภาพด้ วยเครื่ องริน้ เตอร์ ขนาดใหญ่ (ใหญ่กว่าขนาดเพลทที่จะใช้ พิมพ์จริ ง) เพื่อใช้ ตรวจสอบความถูกต้ องก่อนพิมพ์ สีที่ได้ พอใกล้ เคียงกับการพิมพ์จริง

ปรู๊ฟแท่น

การพิมพ์ภาพด้ วยเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ทซึง่ อาจเป็ นเครื่ องพิมพ์จริงหรื อเครื่ องขนาดย่อม ออกแบบมาเพื่อใช้ ในการปรู๊ฟซึง่ พิมพ์ทีละหนึง่ สีจงึ ต้ องพิมพ์หลายเที่ยวจนครบสี งานที่ได้ สามารถใช้ เป็ นบรรทัดฐานสําหรับเปรี ยบเทียบได้

ปั๊ มไดคัท (Diecutting)

วิธีการที่โรงพิมพ์ขึ ้นรูปกระดาษโดยการกดทับกระดาษให้ ขาดตามรูปแบบที่ฝังใบมีดบนแม่พิมพ์

ปั๊ มนูน (Embossing)

วิธีการที่โรงพิมพ์ขึ ้นรูปกระดาษโดยการกดทับกระดาษให้ นนู ขึ ้นได้ รูปลักษณ์ตามแบบของ แม่พิมพ์ที่ใช้ กดทับ

ปั๊ มฟอล์ยเงิน/ทอง (Foil/Hot Stamping)

กรรมวิธีที่โรงพิมพ์ทําภาพพิมพ์บนกระดาษโดยใช้ แม่พิมพ์ที่มีความร้ อนรี ด แผ่นฟอล์ยเงิน/ทองลงให้ ติดผิวกระดาษให้ เกิดภาพตามแม่พิมพ์ แผ่นฟอล์ยที่ ใช้ อาจมีสีหรื อลวดลายเป็ นอย่างอื่นก็ได้

ปั๊ มลึก (Debossing)

วิธีการที่โรงพิมพ์ขึ ้นรูปกระดาษโดยการกดทับกระดาษให้ ลกึ ลงได้ รูปลักษณ์ตามแบบของแม่พิมพ์ ที่ใช้ กดทับ

ปี กปก

บางครัง้ ลูกค้ าของโรงพิมพ์มีการออกแบบให้ มีสว่ นของปกยื่นออกมาใหญ่กว่าขนาดของเล่มแล้ ว พับส่วนที่ยื่นออกมาทําให้ ปกเสมอกับตัวเล่ม ส่วนที่ยื่นออกมานี ้เรี ยกว่าปี กปก

โปซิทีฟ (Positive)

ภาพบนแผ่นฟิ ล์มที่มีแสงสีตรงกับความเป็ นจริง

ผ้ ายาง

ผ้ ายางที่ใช้ ในโรงพิมพ์เป็ นแผ่นหนามีผิวนอกเป็ นยางด้ านหลังเป็ นผ้ า ในระบบการพิมพ์แบบออฟ เซ็ท ผ้ ายางเป็ นตัวรับภาพของหมึกพิมพ์จากเพลท (แม่พิมพ์ภาพ) แล้ วถ่ายทอดต่อไปยังกระดาษ ที่ต้องการพิมพ์ภาพ

พับสองตอน

การพับแผ่นพับ 1 ครัง้ ได้ กระดาษ 2 ส่วน หักพับ 2 ครัง้ ในแนวขนานกัน จะได้ เป็ น 3 ส่วน เรี ยกว่า พับสามตอน


พิมพ์สอดสี

การพิมพ์ด้วยแม่สี 4 สีโดยพิมพ์ภาพพิมพ์ของแม่สีแต่ละสี (ภาพพิมพ์ซงึ่ ประกอบด้ วยเม็ดสกรี น เล็ก ๆ มีความหนาแน่นต่าง ๆ กันตามลักษณะของภาพ) ทีละสีซ้อนทับกันจนได้ เป็ นภาพพิมพ์ หลายหลากสีเลียนแบบภาพต้ นฉบับ

พิมพ์สี่สี

การพิมพ์ด้วยสี 4 สีซงึ่ มักจะหมายถึงแม่สีทงสี ั ้ ่โดยพิมพ์ทีละสีซ้อนทับกันเพื่อให้ เกิดภาพพิมพ์ หลายหลากสีเลียนแบบภาพต้ นฉบับ

พิมพ์สีเหลื่อม

อาการของการพิมพ์ที่สีบางสีทบั ซ้ อนคลาดเคลื่อนจากตําแน่งที่ถกู ต้ อง ทําให้ ภาพพิมพ์ไม่คมชัด และเห็นสีที่พิมพ์เหลื่อมออกมา

เพลท

แผ่นอลูมิเนียมใช้ เป็ นแม่พิมพ์ภาพที่เกิดจากเม็ดสกรี น ทําหน้ าที่รับหมึกจากลูกหมึกส่วนที่เป็ น เม็ดสกรี นจะมีหมึกมาเกาะ แล้ วถ่ายทอดภาพต่อไปยังผ้ ายาง

เพลทตัดสอง

ขนาดของเพลทซึง่ ทางโรงพิมพ์สามารถนําไปใช้ พิมพ์แผ่นพิมพ์ขนาดตัดสองได้ คือขนาด 25 x 36 นิ ้ว

เพลทหลุด

อาการที่ช่างพิมพ์ในโรงพิมพ์เรี ยกเพลทที่มีเม็ดสกรี นบางส่วนหลุดออกจากเพลท ทําให้ ไม่ สามารถรับหมึกในบริเวณนัน้ ภาพที่พิมพ์ออกมาจึงไม่สมบูรณ์

ภาพหลอน (Ghosting)

ปรากฏการณ์การเกิดเงาของภาพที่ไม่พงึ ประสงค์บนชิ ้นงานพิมพ์ มักจะเกิดกับภาพที่เป็ นพื ้นสีมี ช่องปราศจากสีเจาะอยูภ่ ายใน

เม็ดสกรี น

เม็ดของสีที่เรี ยงตัวกันก่อให้ เกิดภาพพิมพ์

เม็ดสกรี นบวม (Dot Gain) อาการของการพิมพ์ที่เม็ดสกรี นบนแผ่นพิมพ์มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดสกรี นบนเพลท โดยปกติจะมี ขนาดใหญ่กว่าเพียงเล็กน้ อย แต่ถ้าใหญ่มากจะทําให้ สีของงานพิมพ์ผิดเพี ้ยนไปและความลึกของ ภาพจะน้ อยลงโดยเฉพาะบริเวณที่มืด โมเร่ (Moire)

การเกิดลายเสื่อ เป็ นปรากฏการณ์ที่รูปแบบของเม็ดสกรี นเมื่อพิมพ์สีทบั ซ้ อนกันมีความผิดเพี ้ยน ไปเนื่องจากพิมพ์สีเหลื่อมฉากไของบางสีซ้อนไม่ตรงกัน หรื อองศาของเม็สกรี นบางสีผิดไป หรื อ เม็ดสกรี นมีการเคลื่อนตัวหรื อไหวตัวหรื อมีรูปบิดเบี ้ยว

โมลผ้ ายาง

เพลากระบอกกลมในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ท มีไว้ เพื่อพันผ้ ายางรอบกระบอกนี ้ เมื่อหมุนผ่าน กระบอกเพลทจะรับภาพจากเพลทแล้ วถ่ายทอดภาพที่ได้ ไปกระดาษที่ใช้ พิมพ์

โมลเพลท

เพลากระบอกกลมในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ท มีไว้ เพื่อพันเพลทรอบกระบอกนี ้ เมื่อหมุนผ่านลูก หมึกจะเกิดภาพหมึกแล้ วถ่ายทอดภาพที่ได้ ไปยังกระบอกผ้ ายาง

โมลเหล็ก

เพลากระบอกกลมในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ท มีไว้ เพื่อให้ กระดาษที่วิ่งผ่านพันรอบกระบอกนี ้ เมื่อผ่านกระบอกผ้ ายางก็จะรับภาพจากผ้ ายางให้ ปรากฏบนกระดาษที่ใช้ พิมพ์


เย็บกี่ทากาว

กรรมวิธีในการยึดเล่มหนังสือให้ ติดกัน เริ่ มจากการจัดเก็บหน้ าหนังสือเป็ นชุด ๆ เย็บที่สนั แต่ละชุด ด้ วยด้ ายให้ ติดกัน เก็บรวมชุดทังหมดให้ ้ ครบเล่ม แล้ วทากาวหุ้มปก

เย็บกี่ห้ มุ ปกแข็ง

กรรมวิธีคล้ ายกับเย็บกี่ทากาว ต่างกันตรงที่มีขนตอนการนํ ั้ ากระดาษแข็งหนามาหุ้มด้ วยกระดาษ บางที่มีภาพพิมพ์หรื อกระดาษ/ผ้ าสําหรับทําปก แล้ วจึงนําปกมาติดกับตัวเล่ม

เย็บมุงหลังคา

กรรมวิธีการยึดเล่มหนังสือให้ ติดกันโดยใช้ ลวดเย็บที่สนั หนังสือด้ วยเครื่ องเย็บ ปกติโรงพิมพ์จะ แนะนําเย็บ 2 จุดโดยมีระยะห่างกันพอประมาณเพื่อไม่ให้ เนื ้อในแต่ละแผ่นขยับไปมา

รี ม

หน่วยวัดจํานวนแผ่นกระดาษ เท่ากับ 500 แผ่น กระดาษที่บรรจุขายและส่งให้ โรงพิมพ์จะถูกห่อ และขายเป็ นรี ม

ลูกกาว ลูกกลิ ้ง (Roller)

ในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ท มีหน้ าที่นําพาหมึกจากรางหมึกผ่านชุดลูกกลิ ้งนี ้ซึง่ จะกระจายหมึก คลึงหมึกและส่งต่อหมึกให้ มีความหนาของหมึกที่สมํ่าเสมอไปยังโมลเพลทเพื่อสร้ างภาพต่อไป

ลูกนํ ้า ลูกกลิ ้ง (Roller)

ในเครื่ องพิมพ์ระบบออฟเซ็ท มีหน้ าที่นําพาเยื่อนํ ้าส่งต่อให้ โมลเพลทเพื่อกระจายไปตามบริ เวณที่ ไม่ต้องการให้ หมึกมาติดผิวของเพลทเพื่อการสร้ างภาพต่อไป

สกัม (Scum)

อาการที่เยื่อนํ ้าบนแผ่นเพลทน้ อยจนทําให้ หมึกพิมพ์ไปเกาะอยูบ่ นบริ เวณทัว่ ไปของเพลทแทนที่ จะเกาะเฉพาะบริเวณที่เป็ นเม็ดสกรี น งานพิมพ์จงึ ดูเลอะหมึกตามไปด้ วย

สีซีด

ภาพพิมพ์บนชิ ้นงานบางครัง้ ดูซีดกว่าที่ควรเป็ นเมื่อเทียบกับปรู๊ฟ แม้ ช่างพิมพ์จะพยายามจ่าย หมึกเพิ่ม ปั ญหานี ้อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ ประการหนึ่งคือ ปล่อยเยื่อนํ ้าบนเพลทมาก เกินไป จนหมึกจากลูกหมึกไม่สามารถส่งผ่านลงมาที่เพลทได้ เท่าที่ควร

ไสสันทากาว

กรรมวิธีในการยึดเล่มหนังสือให้ ติดกันโดยการไสสันหนังสือด้ วยเลื่อยเหล็ก เสร็จแล้ วทากาวที่สนั นําปกมาหุ้มติดกับตัวเล่ม ปั จจุบนั โรงพิมพ์จะใช้ เครื่ องไสสันทากาวอัตโนมัติ

หน้ าแทรก

ในที่นี ้หมายถึงหน้ าที่ถกู นํามาแทรกเข้ าไปในหน้ ายกตอนเก็บเล่มหนังสือ การมีหน้ าแทรกอาจเป็ น เพราะใช้ กระดาษคนละชนิดกันหรื อภาพพิมพ์มีจํานวนสีพิมพ์ไม่เท่ากัน หน้ าแทรกทําให้ การเก็บ เล่มลําบากและใช้ เวลา

หน้ ายก

การพิมพ์หนังสือในโรงพิมพ์ หน้ ายกคือจํานวนหน้ าที่ได้ จากการพับแผ่นพิมพ์ 1 แผ่นซึง่ มีขนาด 15.5 x 21.5 นิ ้ว หรื อ 17.5 x 24 นิ ้ว หากพับ 1 ครัง้ ได้ 4 หน้ าเรี ยก 4 หน้ ายก หากพับ 2 ครัง้ ได้ 8 หน้ า เรี ยก 8 หน้ ายก ฯลฯ

หมึกนํ ้ามันพืช

หมึกที่ใช้ นํ ้ามันพืชเป็ นสารพื ้นฐานในการทําหมึกแทนการใช้ นํ ้ามันปิ โตรเลียม ถือว่าเป็ นหมึกที่ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม ต่อช่างพิมพ์ในโรงพิมพ์ สัมผัสอาหารได้ และง่ายต่อการกําจัด


หมึกสะท้ อนแสง

หมึกทีมีสว่ นผสมของสารสะท้ อนแสง เมื่อโรงพิมพ์นําไปใช้ พิมพ์งานภาพที่มีสีสะท้ อนแสงจะสว่าง ตามแสงที่สอ่ งกระทบไป มีเฉดสีให้ เลือกหลายเฉดสี

หมึกสีพิเศษ

หมึกที่ใช้ ในโรงพิมพ์ปกติจะเป็ นหมึกของแม่สี 4 สีเพื่อพิมพ์ภาพได้ สีเหมือนจริงตามต้ นฉบับ แต่ใน บางครัง้ จะมีความต้ องการพิมพ์สีที่ตา่ งออกไปสําหรับงานพิมพ์สีเดียว สองสี สามสี หรื อพิมพ์เป็ น สีที่ห้าเพิ่มจากแม่สีทงสี ั ้ ่ สีพิเศษนี ้ ถ้ าใช้ น้อยทางโรงพิมพ์จะเป็ นผู้ผสมจากแม่สี ถ้ าใช้ ปริ มาณมาก มักจะสัง่ จากผู้ผลิตหมึกพิมพ์

อัดเพลท

การสร้ างภาพเม็ดสกรี นลงบนเพลทโดยนําฟิ ล์มแยกสีมาทาบบนเพลทที่เคลือบนํ ้ายาแล้ วฉายแสง นําเพลทไปล้ างส่วนที่ไม่เป็ นไม่สกรี นจะถูกกัดลึกลงไป ทําให้ เกิดภาพสกรี นขึ ้นแล้ วนําไปใช้ พิมพ์ งานต่อไป


ภาคผนวก ค. ขนาดกระดาษมาตรฐานสากล ISO 216 มาตรฐานรหัสชุด A


มาตรฐานรหัสชุด B


มาตรฐานรหัสชุด C


ภาคผนวก ง. ตํารั บยาที่มีเห็ดเป็ นส่ วนประกอบตามภูมปิ ั ญญาพืน้ บ้ านอีสาน

• ยาย้ ายตุม่ หมากสุก เป็ นตุม่ ชนิดหนึง่ สีเหมือนหมากสุก เกิดเมื่อมีไข้ 1. ฮากแข้ งขม (มะแว้ ง) (Solanum indicum) 2. เห็ดขี ้ควาย (Psilocybe cubensis) 3. ขนบัว่ ไก่ขาว (ขนที่มีลกั ษณะเป็ นเส้ นฝอยเล็กๆ ของไก่ขาว) ฝนใส่นํ ้าหน่อไม้ ส้ม (หน่อไม้ ดอง) ทาดีแล • ยาแก้ ตมุ่ บ่ขึ ้น เมื่อเป็ นไข้ แล้ วควรมีตมุ่ ออกมาตามผิวหนังตามมา แต่ปรากฏว่าไม่มี ให้ กระทุ้งด้ วยยาตํารับนี ้ ยานี ้ให้ เอาไข่เป็ ด เห็ดขี ้ควาย (Psilocybe cubensis) แช่นํ ้าทาดีแล • ยาแก้ กินผิด กินของมีพิษ เช่น เห็ด พืช 1. ฮาก (ราก) ถัว่ เฮื ้อ 2. ฮากแตงหนู (Mukia maderaspatana) 3. เห็ดเกิดกลางตอ (Ganoderma sp.) 4. ฮากหมาน้ อย (Cissampelos pareira var. hirsuta) 5. ฮากย่านาง (Tiliacora triandra) เอาทังหมดฝนใส่ ้ นํ ้าแล้ วดื่ม • ยาแก้ ฝีหวั ควํ่า 1. ฮากปอ (Colona sp.) 2. ฮากตาเสือ (Aphanamixis polystachya) เอาฮากทังสองแช่ ้ นํ ้าดื่มดีแล ผิว่ามันแตกแล้ วให้ เอาเห็ดพิมาน ฝนดื่มดีแล


• ยาแก้ ทํามะลาตัวผู้จบั กลางคอ ทํามะลาเป็ นอาการที่เป็ นตุม่ ภายในหรื อภายนอกคอ 1. เห็ดพิมาน (Phellinus rimosus) 2. หัวอิลมุ ปุมเป้า (ว่านพระฉิม) (Dioscorea bulbifera) 3. ฮากตดหมา (Paederia thorelii) 4. ปลวกจับลําไม้ 5. เขืองใหญ่ (Smilax sp.) 6. ฮากหมากแตก (กระทงลาย) (Celastrus paniculata) 7. ฮากหวดข้ า (มะหวด) (Lepisanthes rubiginosa) ยานี ้ให้ เอาฝนทาดีแล

• ยาแก้ กะบูนลม เป็ นโรคที่เป็ นได้ ทงหญิ ั ้ งและชาย มีอาการเป็ นก้ อนลมในท้ อง 1. เปลือกประดงแดง (Dalbergia lanceolaria var. errans) 2. เห็ดแดง (Ischnoderma benzoinum) แช่นํ ้า ใช้ ทงดื ั ้ ่มและอาบ • ยาแก้ สะเออะ (สะอึก) หายใจติดขัด กะบังลมหดตัว 1. ลูกขอขอด (ขอแขวนคอวัวควาย) 2. ตีนเห็ดกระด้ าง (Lentinus polychrous) 3. ใบแสงเบื่อ (แสลงใจ) (Strychnos nux-vomica.) 4. หนังแฮด (หนังแรด) ฝนดื่มดีแล • ยาแก้ สะเออะ (สะอึก) เอาเห็ดพิมาน ฝนดื่มดีแล


• ยาแก้ เจ็บในท้ อง 1. ตีนเห็ดบด (เห็ดที่ยงั สดอยู)่ (Lentinus polychrous) 2. เกล็ดเต่าเพ็ก ต้ มดื่มดีแล • ยาแก้ เจ็บในท้ อง 1. ตีนเห็ดปลวก (Termitomyces albiceps) 2. เห็ดตากฝนหรื อเห็ดโต่งฝน (เป็ นชื่อเห็ดครี บชนิดหนึง่ ดอกมีขนาดใหญ่ ยังไม่ได้ ทําการจําแนกชนิด) แช่นํ ้าหรื อฝนใส่นํ ้าเหล้ าดื่มดีแล • ยาแก้ ฟกชํ ้าภายใน อาการธาตุพิการ หรื อการชํ ้าภายใน 1. ฝุ่ นบก (แก่นต้ นกะบกที่บดเป็ นผง) 2. เห็ดบก (เห็ดที่เกิดกับตอต้ นกะบกที่ตายแล้ ว) 3. หัวบัวบก 4. บกคาย 5. บกหวาน 6. เครื ออีเลี่ยน (ชะเอมป่ า) แช่ดื่มและอาบ • ยาแก้ งขู บ ยาให้ เอาเห็ดกระด้ าง เคี ้ยวเป่ าตังแต่ ้ หวั ถึงเท้ า • ยาแก้ ขี ้เข็บขบ (ตะขาบกัด)


ยาให้ เอา เห็ดกระด้ าง ฝนทาดีแล • ยาแก้ คนเบื่อ (โดนยาสัง่ ) 1. เล็บม้ า 2. เห็ดตอขาม (Ganoderma spp.) เป็ นเห็ดที่เกิดกับตอต้ นมะขาม 3. เห็ดกับแก้ ที่เกิดกับไม้ ไผ่ (Schizophyllum commune) เอาทัง้ 3 มาฝนใส่นํ ้าดื่มดีแล • ยาแก้ ลอ่ งแก้ ว เป็ นโรคผิวหนังชนิดหนึง่ มีลกั ษณะเป็ นวงกลม ขอบสูง มีนํ ้าเหลืองไหลซึมไม่ขาด นํ ้าเหลืองนันมี ้ สีใส 1. เห็ดพิมาน (Phellinus rimosus) 2. ฮากหนามขี ้แฮด 3. ฮากก้ างปลา 4. ฮากตาไก้ 5. ฮากหยิกบ่ถอง 6. ฮากเครื อคันคาก 7. เยื่อหมาก 8. ใบบัว เอาทังหมดบดให้ ้ เผาไฟ บดให้ แหลกเอานํ ้ามันงาเป็ นนํ ้ากระสาย ทาดีแล • ยาแก้ เบื่อเห็ด กะปู (ปูนา) แช่นํ ้าดื่มดีแล • ยาแก้ เบื่อเห็ด เอากล้ วยทะนีออง (นํ ้าหว้ า) มาตําหมากส้ ม (ใส่มดแดง) ให้ กิน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.