M.Sunisa's Portfolio

Page 1





Name : Sunisa Mingkwan Nickname : NAN Birthday : 10th November 1991 Nationality : Thailand Religion : Buddhism Sex : Female Status : Single 2004-2009 : Rajprachasamasai Phaimathayom Rachadabhisek School 2010 - Present : Bachelor of Technology Program in Educational Technology and Mass Communication King Mongkut’s University of Technology Thonburi Windows Mac os Photoshop Illustrator Indesign Corel draw Flash Dreamweaver MS Office

DE IL

Started in 2010-2012 : INDY Design&Print I have been being a graphicc designer (trainee) at INDY INDY Design&Print in every every summer summer and every long weekend.d - I have a good human relation.n - I enjoy working with others. - I have the ability to organize an event. - I can stay in high pressure and I’m good with criticism.. Address : 401 Moo 2 Prachauthit Road, Tambon Banclongsaun, Amphoee Phrasamutjedee, Samutprakarn TEL : 08-4643-8712 E-Mail : minannisa@gmail.com






ชุมชนบ้านบาตร กับวิถีชีวิตเรียบง่ายใจกลางกรุงฯ

ชุ

มชนบ้านบาตรเป็นชุมชนเก่าแก่ในเมือง หลวง คำ�ว่า “บ้านบาตร” เป็นชื่อที่ใช้เรียกสถาน ที่แห่งนี้มาตั้งแต่ต้นสมัยรัตนโกสินทร์เนื่องจากเป็น ชุมชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่มีการทำ�บาตรพระด้วย มื อ จึ ง นั บ เป็ น ความภู มิ ใ จของชาวชุ ม ชนบ้ า นบาตร ชุมชนบ้านบาตรมีพื้นที่ประมาณ 800 ตารางวา ที่ดิน เป็ น ของสำ � นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย์ เป็นชุมชนแออัด สภาพบ้านเรือนโดยทั่วไปเป็นบ้านไม้ ชั้นเดียวและสองชั้น ปลูกอยูในลักษณะแออัด มีสภาพ ทรุดโทรม ทางเดินทางเท้าเป็นคอนกรีดเชื่อมติดต่อ กันตลอด อยู่ในสภาพดี ท่อระบายน้ำ�ภายในชุมชน สามารถเชื่อมต่อกันได้ทั่วชุมชน


กว่าจะเป็น “ ย่านบ้านบาตร” บ้านบาตรตั้งขึ้นในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานที่ แน่ชัด ประมาณกันว่า ชุมชนมีอายุยาวนานกว่าสอง ร้อยปี แหล่งที่มาของชาวบ้านบาตร มีประวัติศาสตร์ บอกเล่าที่แตกต่างกัน ปรากฏคำ�บอกเล่าว่า คน บ้านบาตรเดิมเป็นชาวกรุงศรีอยุธยา อพยพมาเมื่อ ครั้งเสียกรุงใน พ.ศ. 2310 สันนิษฐานว่า บ้านบาตร อาจตั้งขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช โปรดให้สถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็น ราชธานีและขุดคลองรอบกรุงขึ้นในปี พ.ศ. 2326 ชาวบ้านบาตรจึงมาตั้งบ้านเรือนในละแวกนอกคลอง ตามที่อยู่ปัจจุบัน นอกจากนั้ น ยั ง มี คำ � บอกเล่ า ต่ อ ๆกั น ว่ า บรรพบุ รุ ษ เดิ ม เป็ น ชาวกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาที่ เ ข้ า มากั บ กองทัพไทยในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังจากนั้นได้รวมกัน มาอยู่ที่ตรอกบ้านบาตรจนกลายเป็นชุมชน เนื่องจาก พระมหากษั ต ริ ย์ มั ก นิ ย มสร้ า งวั ด ทำ � ให้ มี วั ด ใน กรุงเทพฯ จำ�นวนมาก ในชุมชนแห่งนี้มีชื่อเสียงด้าน ทำ�บาตรพระ และประกอบอาชีพนี้มานานกว่า 100 ปี


“พระพุทธศาสนาต้องดำ�เนินต่อไปถึง ๕,๐๐๐ ปี เรายังเดินได้แค่ครึ่งทางของ พระพุทธศาสนาเท่านั้น อยากจะให้มาช่วยบำ�รุงพระพุทธศาสนาด้วย”

ากใจ คุณป้ากฤษณา..

อยากจะบอกโดยเฉพาะคนไทยว่า บ้านบาตร ยังมีการดำ�เนินวิถีชีวิต หรือยังมีการทำ�บาตรอยู่ อยากให้มาเที่ยว มาดูว่า การทำ�บาตรเป็นอย่างไร กว่าจะได้มาหนึ่งใบ ซึ่งเปรียบกับบาตรปั๊ม และอยาก ให้เอาเรื่องราวของบ้านเราไปเล่าต่อให้กับคนภายนอก ฟัง “พระพุทธศาสนาต้องดำ�เนินต่อไปถึง 5000 ปี เรายังเดินได้แค่ครึ่งทางของพระพุทธศาสนาเท่านั้น อยากจะให้มาช่วยบำ�รุงพระพุทธศาสนาด้วย”


บาตร : หัตถกรรมที่กำ�ลังโรยรา คุณป้ากฤษณา แสงไชย วิทยากรประจำ�ชุมชน บ้านบาตรผู้ที่มีความรู้ และมีความมุ่งมั่นในการรักษา พระพุทธศาสนาให้ดำ�รงอยู่ต่อไป คุณป้ากฤษณา เล่าว่า บ้านบาตรเป็นชุมชน เก่าแก่ อยู่ในตำ�บลคลองบาตรพระ ประกอบอาชีพ การทำ�บาตร เป็นคนไทย ไม่มีเชื้อสายเขมรและไม่ได้ ถูกกวาดต้อนมา ทราบว่าขึ้นเหนือแค่นครสวรรค์และ ล่องลงมาที่กรุงเทพ ซึ่งสมัยก่อนเรียกว่าพระนคร ก่อนที่จะมาอยู่ชุมชนนี้เราอยู่ในเขตกำ�แพงเมืองก่อน สาเหตุที่ต้องย้ายคือ 1.การทำ�บาตรมีเสียงค่อนข้าง ดังดังไปถึงพระราชวัง คือวัดพระแก้ว เขาก็เลยให้ ออกมาอยู่นอกกำ�แพงเมืองแล้วจัดตั้งหมวดหมู่ใน ต้นรัตนโกสินทร์แต่ไม่ทราบว่ารัชกาลใดแต่น่าจะเป็น รัชกาลที่ 3 การทำ�บาตรของชุมชนจะยึดถือหลักพระ วินัยเป็นที่ตั้ง คือ ต้องทำ�บาตรที่มีตะเข็บแปดชิ้นถูก ต้องตามพระวินัย และเป็นงานมือซึ่งเราก็ทำ�มาตลอด เลย คุณป้ากฤษณา ปัญหาที่เป็นอุปสรรคกับเรา คือมีบาตรที่ทำ�ด้วยเครื่องหรือบาตรปั๊ม บ้านบาตร ก็เลยลดการผลิตน้อยลง แต่ถามว่าเลิกไหม ก็ไม่ได้ เลิกจนถึงปัจจุบันนี้ คนที่เรียนหนังสือก็จะออกไป ทำ�งานข้างนอก เป็นส่วนใหญ่ แต่การย้อนกลับเข้ามา ของเราก็คือเริ่มอนุรักษ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 จนถึง ปัจจุบันนี้ เพื่อต้องการที่จะเล่าเรื่องราวให้กับคนข้าง นอกได้รู้ว่า วิถีชีวิตของชุมชนบ้านบาตรยังคงกระทำ� อยู่ คือไม่ได้เลือนหายไปไหนเลย วิถีชีวิตของคนในชุมชนเป็นอย่างไร? จะอยู่กันแบบพี่แบบน้อง ตกเย็นเราก็จะมานั่ง จับกลุ่มคุยกันเฮฮา เหมือนอย่างชาวบ้านทั่วไป

เมื่อมีเทคโนโลยีเข้ามา.. มีการประยุกต์การทำ�บาตรขึ้นมานิดนึง คือ สถานที่เราแออัด จากการแล่นบาตรเปลี่ยนมาเป็นการ เชื่อมบาตร นอกนั้นก็จะเป็นงานมือหมด ชุมชนบ้านบาตรเชิงท่องเที่ยว.. ลูกค้าอันดับหนึ่งวัดสายธรรมยุติ หรือ วัด ป่าและชาวต่างประเทศ คำ�ถามแรก จากนักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศ คือ บาตรใบนี้แปดชิ้นหรือเปล่า? ตอนนั้นเราทำ�เป็นแบบหกชิ้นอยู่ หลังจากนั้นเราก็เลย เปลี่ยนแนวคิดมาทำ�เป็นบาตรแปดชิ้นจนถึงปัจจุบันนี้ วัฒนธรรมและประเพณีในชุมชน ชุมชนนี้ ก็จะมีแทบตลอดทั้งปี อย่างเดือน เมษายนก็จะมีการไหว้ครูพ่อปู่ ครูบาตรที่เรานับถือ ก็ จะมีวันนึงจะมีพิธีบวงสรวง ตกเย็น จะเป็นการละเล่น ในระยะเวลา 3-4วัน ก็จะเป็นวันหยุดของพวกเรา แล้ว ก็พอถึงช่วงวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันเข้าพรรษา สำ�หรับวันสำ�คัญพวกนี้จะมีงานบุญตลอด ซึ่งจัดบน ศาลาเอนกประสงค์แห่งนี้ จะมีการจัดทั้ง 13 วันพระ ทุกวันพระจะมีเทศน์ เขาทำ�มาตั้งแต่ 100 กว่าปี จนถึง ปัจจุบันนี้ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของการทำ�บาตร ขณะนี้มันยังคงตัวอยู่ แต่หากถามว่าน้อย ลงหรือเพิ่มขึ้น ตอบไม่ได้ แต่ที่สามารถจะตอบได้ก็ จะเป็นของตัวเอง คือ สำ�หรับครอบครัวตัวเองไม่มี คนต่อยอด ในส่วนของครอบครัวเราคงจะต้อง เลือนลางหายไป แต่เตรียมแผนไว้ว่าส่วนหนึ่งจะทำ� เป็น พิพิธภัณฑ์ย่อยๆ ของเรา เพราะเครื่องไม้เครื่อง มือเก่าๆ ตั้งแต่ของรุ่นยายรุ่นทวด ก็ยังอยู่ และอาจ จะเขียนเรื่องราวเล่าให้คนรุ่นหลังได้อ่าน เพราะต่อไป อาจไม่มีใครมานั่งเล่าเรื่องราวเหมือนเรา...


ชาวบ้านบาตรฟื้นตำ�นาน ร่วมขับขานเพลงรำ�วง

นอกจากชื่อเสียงด้านการทำ�บาตรแล้ว ชุมชน บ้านบาตรยังมีบทเพลงรำ�วงอันเป็นวัฒนธรรมชุมชน ที่ เ กื อ บจะเลื อ นหายไปกั บ รอยอดี ต แต่ ยั ง มี ลู ก หลาน ของคนในชุมชนที่ยังเห็นคุณค่าของบทเพลงรำ�วง ซึ่ง สะท้อนวิถีชีวิตของชุมชน ได้รวบรวมสมาชิกในชุมชน ร่วมอนุรักษ์และฟื้นฟูบทเพลงรำ�วงบ้านบาตรที่มีอยู่เดิม ให้คืนกลับมา จากความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าของชาว ชุมชน ที่ได้ร่วมกันฝึกซ้อมเพลงรำ�วงอย่างต่อเนื่อง เพลงรำ�วงบ้านบาตรจึงได้ปรากฏสู่สายตาของคนไทย อย่างยิ่งใหญ่ในงาน“7ทศวรรษลูกทุ่งไทยน้อมใจถวาย พระพร” ที่ได้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม 2554 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ชุมชนบ้านบาตรได้ แสดงการรำ�วงในเพลงบ้านบาตรสามัคคี และ เพลงมนต์ อันเป็นบทเพลงที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งสามารถเรียกความสนใจและเสียงปรบ มือจากผู้ชมได้อย่างท้วมท้น

























Rough and ready fabrics meet the street with a laidback approach to an urban wardrobe. Make sure your look has an edge this spring.


1. Nineties knits This rugged black knit is toughened up with a pair of stone-coloured trousers a touch of 1990s gives this a hint of timeless masculine style. 2. Dressing up, dressing down Think dark denim with this loosefitting indigo shirt, and match with slim-cut utility trousers for a look that's perfectly 3. Shorts suit Khaki greens are arranged into stripes for a two-piece utilitarian look that still feels great on the street. 4. Lightweight and loose Utility gets a new spin for guys with cropped shorts and boots and an always-essential light jacket in



1.GUCCI Interlocking watch medium black PVD case 2.GUCCI Large rectangle frame sunglasses with bamboo effect. 3.MARC JACOBS Striped scuba-jersey maxi dress $4,899.37 4. Saint Laurent Tribtoo white and black leather 23,360 THB 5. BALMAIN open striped blazer 74,600 THB 6.GUCCI Emily black soft leathe chain choulder bag


A BASIC UNISEX T-SHIRTS



1.Oversize T-shirt ลายทางสีขาว-ดำ� 500 บาท 2.Basic Oversize T-shirt ลายจุดขาว-ดำ� 500 บาท 3.Basic Long Sleeve T-shirt เสื้อยืดแขนยาวลายทางสีขาว-ดำ� 450 บาท


THE NEW COLLECTION


Oversize T-shirt ลายทางสีขาว-ดำ� 500 บาท


Maxi Length Longsleeve

เดรสสีดำ� ตัดต่อแขนยาวสีขาว 700 บาท

Maxi Length T-shirt เดรสลาย ทางสี ขาว-ดำ� 650 บาท


Maxi Length T-shirt เดรสตัด ต่อช่วงเอว ขาว-ดำ� 700 บาท


Cropped T-shirt เสื้อยืดตัว สั้นลายทาง ขาว-ดำ� 400 บาท



Basic T-shirt (Unisex) เสื้อยืดสีน้ำ�เงิน, สีแดง,สีเหลือง ตัดต่อแขนสีขาว 350 บาท


Escada Getaway Escada taps the lovely Kendra Spears for its spring 2013 campaign, lensed by Claudia Knoepfel & Stefan Indlekofer. The American beauty poses near the beach wearing tailored separates, colorful swimwear and elegant dresses.






Dorothea Barth Jorgensen models H&M’s new Conscious Exclusive collection made from sustainable materials. The Swedish beauty looks flawless in pleated skirts and embellished tops made from organic cotton, recycled polyester, recycled polyamide and TENCEL. The collection is meant to be worn for parties and events as H&M’s head of design Ann-Sofie Johansson describes, “I love how this collection has pure glamour and style, and is made from more sustainable materials. For us at H&M, it’s natural to think about sustainability, and to have it at the heart of our work.”


minannisa@gmail.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.