มคอ 4 ปี56 ฉบับe book

Page 1

คู่มือวิชาปฏิบัติ

การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น Children and Adolescent Nursing Practicum สาขาวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


1

คานา คู่มือรายวิชา6033802 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น จัดทาสาหรับอาจารย์นักศึกษา แหล่ง ฝึกเพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครบถ้วนตามหลักสูตร มีการปรับให้สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา(TQF)ระดับปริญญาตรี เนื้อหาคู่มือประกอบด้วย วัตถุประสงค์ การพัฒนาผลการเรียนรู้ รายละเอียดเกี่ยวกับการเรียนการ สอน ทักษะที่นักศึกษาต้องเรียนรู้ การประเมินผล หน้าที่ของนักศึกษาและอาจารย์ การวางแผนและการ เตรียมการ แนวทางการผลิตนวตกรรม การศึกษารายกรณี แบบฟอร์มกระบวนการพยาบาล แบบประเมิน ตารางการฝึกปฏิบัติ รายชื่อและโทรศัพท์อาจารย์ประจาตึกและ แหล่งฝึก สาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 กันยายน2556


2

สารบัญ หัวข้อ คานา

หน้า 1

หมวด 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 2. จานวนหน่วยกิตหรือจานวนชั่วโมง 3. หลักสูตรและประเภทรายวิชา 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร

5

6.วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณ์ ภาคสนามครั้งล่าสุด หมวด 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

6

1. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม 2. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม หมวด 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5. หมวด 4

คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลักษณะและการดาเนินการ 1. 2. 3. 4. 5.

7

คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา กิจกรรมของนักศึกษา รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา5. หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรม ในภาคสนาม

13


3

หัวข้อ

หน้า 6.หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ 7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา 8. สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม/สถานประกอบการ

หมวด 5

การวางแผนและการเตรียมการ 1. 2. 3. 4. 5.

หมวด 6

21

การกาหนดสถานที่ฝึก การเตรียมนักศึกษา การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก การจัดการความเสีย่ ง

การประเมินนักศึกษา 1. หลักเกณฑ์การประเมิน 2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา 3. ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา 4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อการ ประเมินนักศึกษา

22

5.การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง หมวด 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

24

1.กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยผู้เกี่ยวข้อง 2.กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง ตาราหลัก

25


4

หัวข้อ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาลที่นักศึกษาควรได้รับ

หน้า 26

ระเบียบปฏิบัติในการขึ้นฝึกปฏิบัติบนหอผู้ปุวยของนักศึกษา

29

แนวทางการผลิตนวตกรรมทางการพยาบาลเด็ก

30 31

แนวทางการทารายงานการศึกษาเด็กปุวยจากกรณีศึกษา Case study กาหนดการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย

33

แบบประเมินภาวะสุขภาพและการวางแผนการพยาบาล

34

แบบบันทึกการสะท้อนความคิดของนักศึกษาต่อการฝึกปฏิบัติงาน

47

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานบนหอผู้ปุวย ภาคผนวก

54 67


5

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ชื่อสถาบันอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

คณะ

คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 6033802 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น (Children and Adolescent Nursing Practicum) 2. จานวนหน่วยกิตหรือจานวนชั่วโมง 3(0-12-0) ปฏิบัติงาน60 ชั่วโมงต่อหน่วยกิต(180 ชั่วโมง) 3. หลักสูตรและประเภทรายวิชา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประเภทรายวิชา วิชาบังคับ หมวดวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาชีพ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

พ.ท. หญิงวชิรา ไกรถิ่น/อาจารย์สุณีย์ ชื่นจันทร์

อาจารย์ร่วมฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

ผศ.จุไร อภัยจิรรัตน์ พ.ท.หญิง วชิรา ไกรถิ่น อาจารย์สุณีย์ ชื่นจันทร์ อาจารย์รชั นี ชัยประเดิมศักดิ์ อาจารย์พชั มน อ้นโต อาจารย์ปรียะดา ภัทรสัจจธรรม


6

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศึกษาของ หลักสูตร ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2556 6. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด 7 กันยายน2556

หมวดที่2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม วิชานี้พัฒนาขึ้นเพื่อจัดประสบการณ์ภาคสนามในสถานการณ์จริงให้นักศึกษาสามารถนาความรู้ วิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นและวิชาที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น โดยยึด ครอบครัวเป็นศูนย์กลางตระหนักในความแตกต่างทางวัฒนธรรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ กอปรด้วย คุณธรรมจริยธรรม 2. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม รายวิชานี้ปรับปรุงการศึกษาภาคปฏิบัติให้สอดคล้องกับความทันสมัย สอดคล้องกับต้องการของ นักศึกษา จัดกระบวนการเรียนการสอนให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี และความรู้ที่เกี่ยวข้องสู่ การปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ เน้นให้ นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ จัดให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติในแหล่งฝึกที่มีความ หลากหลายของผู้ใช้บริการ ก่อนฝึกปฏิบัติได้สร้างความมั่นใจให้นักศึกษาด้วยการเตรียมความพร้อมด้าน ทักษะพยาบาล


7

หมวดที่3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้

กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อ

วิธีการประเมินผล

พัฒนาผลการเรียนรู้ 4.1 คุณธรรมจริยธรรม 4.1.2 สามารถควบคุมตนเอง ได้ แ ยกแยะ ความถู ก ต้ อ งและ ความดีความชั่วได้ 4.1.3 เคารพในคุ ณ ค่ าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และ ตระหนั ก ในความแตกต่ า งทาง วัฒนธรรม 4.1.4มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตัวเองและผลการปฏิบัติงาน 4.1.5มีความกตั ญญู เสียสละ ซื่อสัตย์มีวินัย 4.1.6 มีจรรยาบรรณวิชาชีพ และ สามารถจั ดการกั บปัญหา

1.เป็นแบบอย่างต่อผู้เรียนในด้าน 1.บันทึกเวลาการฝึกปฏิบัติการส่งงานที่ การตรงต่อ เวลาการเคารพในสิท ธิ ได้รับมอบหมายตามกาหนด ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารและ การแสดง 2.รายงานมีการอ้างอิงอย่างถูกต้องและ ตรงตามความเป็นจริง ไม่คัดลอกงานของ พฤติกรรมจริยธรรมที่เหมาะสม 2.ฝึกให้ผู้เรียนมีความตระหนัก รู้ ผู้อื่น ในตนเอง สร้ า งความกระจ่ า งใน 3.การสะท้อนคิดของผู้เรียนในด้าน ค่านิยมของตัวเองต่อการให้คุณค่ า คุณธรรมจริยธรรมการประเมินการ ต่างๆความถูกผิดความดีความงาม เปลีย่ นแปลงตนเองของผู้เรียนการ โดยใช้ ก ระบวนก ารคิ ด อย่ า งมี แลกเปลี่ยนในกลุ่มเพื่อนในชั้นเรียน วิจ ารณญาณด้ ว ยการวิ พากษ์ แ ละ 3.การอภิปราย การแสดงความคิดเห็นของ ผู้เรียนจากการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ การสะท้อนคิด 3.ฝึ ก ก า ร มี วิ นั ย แ ล ะ ค ว า ม กรณีศึกษา

รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ 4.แบบประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQFคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชัฏ กิจกรรมการพยาบาล จริ ยธรรมในการดารงชีพ และ 4.ให้ ก ารเสริ ม แรง โดยแสดง สวนดุสิต การปฏิบัติงาน ความชื่นชมและสะท้อนกลับทันทีที่ ผู้เรี ย นมี พฤติ ก รรมการแสดงออก เหมาะสม


8

ผลการเรียนรู้

4.1 คุณธรรมจริยธรรม(ต่อ)

กระบวนการหรือกิจกรรมเพือ่ พัฒนาผลการ เรียนรู้

วิธกี ารประเมินผล

5.จั ด ป ระ สบก าร ณ์ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ฝึ ก 5.การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลกั บ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารด้ ว ย ในขณะฝึกปฏิบัติงาน การร่วมกิจกรรม เคารพในคุ ณค่าและศัก ดิ์ศรีของความเป็น โครงการบริการวิชาการแก่สังคม มนุ ษ ย์ ตระหนั ก ในความแตกต่ า งทาง วั ฒ น ธ ร ร ม ภ า ย ใ ต้ ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ จรรยาบรรณวิชาชีพ 6.จัดประสบการณ์การเรียนรู้การบริการแก่ สั ง ค ม ด้ ว ย โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร วิ ช า ปฏิ บั ติ ก ารพยาบาลเด็ ก และวั ย รุ่ น สู่ ก าร พัฒนาจิตอาสานักศึกษา 7.ฝึกวิเคราะห์ และตัดสินสถานการณ์/ ปัญหาทางจริยธรรมอภิปรายประเด็น ปัญหาจากประสบการณ์การฝึกปฏิบัติการ พยาบาล

1. การสอบก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 4.2 ความรู้ 2.คุณภาพรายงาน การนาเสนอ และ 4.2.1 มีความรู้และเข้าใจใน 1. การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การอภิปราย สาระสาคัญของศาสตร์ที่เป็น 3) จากกระบวนการ และผลการจัดทา พื้นฐานในการดารงชีวิต และ ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. การให้เขียนคาศัพท์ทางการแพทย์ โครงการ นวตกรรมทางการพยาบาลฯ วิทยาศาสตร์สุขภาพ 4.2.2มีความรู้และเข้าใจใน และการพยาบาล สาระสาคัญของศาสตร์และ 3.นาเสนอและวิเคราะห์จากรายงาน ศิลปะทางการพยาบาล กรณีศึกษา 4. การสาธิต และสาธิตย้อนกลับ


9

ผลการเรียนรู้

กระบวนการหรือกิจกรรมเพือ่ พัฒนา ผลการเรียนรู้

วิธกี ารประเมินผล

4.2.3 มีความรู้และความเข้าใจ 5. การฝึกในห้องปฏิบัตกิ ารพยาบาล ในสาระสาคัญของกระบวนการ 6. มอบหมายรายงานการศึกษาผู้ปุวย พยาบาลและ กระบวนการแก้ไข รายกรณีจัดโครงการบริการวิชาการ ปัญหาสุขภาพ และนวตกรรมทางการพยาบาล 7. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วม แข่งขัน/ประกวด/นาเสนอ ผลงานนว ตกรรมทางการพยาบาล 8. การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล 4.3 ทักษะทางปัญญา 1.ฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาจาก สถานการณ์จริงขณะปฏิบัตกิ าร การพัฒนาตนเอง พยาบาล 2.มอบหมายให้สบื ค้นข้อมูลจาก 4.3.2 สามารถสืบค้น และ วิเคราะห์ข้อมูล จากแหล่งข้อมูล แหล่งต่างๆ นามาใช้ในการ วิเคราะห์ และ แก้ปัญหาทางการพยาบาล ที่หลากหลาย 3.ฝึกการวิเคราะห์ตนเองและการ 4.3.3 สามารถนาข้อมูล และ สะท้อนคิด หลักฐานไปใช้ในการอ้างอิง และ 4.มอบหมายการศึกษาผูป้ ุวยราย แก้ไขปัญหา กรณี จัดทาโครงการบริการวิชาการ และนวตกรรมทางการพยาบาล 4.3.1เข้าใจตนเอง รูจ้ ุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง เพื่อนาไปสู่

1. บันทึกการสะท้อนคิดของนักศึกษา 2.สังเกตจากการแสดงความคิดเห็น ในระหว่าง การอภิปราย การประชุม ปรึกษาก่อน และ หลังการปฏิบัติงาน 3.ผลงานได้แก่ รายงานกรณีศึกษา โครงการบริการวิชาการ นวัตกรรม ทางการพยาบาล


10

ผลการเรียนรู้

กระบวนการหรือกิจกรรมเพือ่ พัฒนา ผลการเรียนรู้

วิธกี ารประเมินผล

4.3.4 สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณคิดวิเคราะห์เหตุ ปัจจัยและผลของปัญหาด้าน

4. แบบบันทึกพฤติกรรมนักศึกษา โดยอาจารย์ผู้นิเทศในคลินิก 5.สังเกตกระบวนการ และ ผลการ

สุขภาพของบุคคลครอบครัวและ ชุมชนรวมทั้ง สามารถคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบและ สร้างสรรค์โดยใช้องค์ความรูท้ าง วิชาชีพและที่เกี่ยวข้องรวมทั้งใช้ ประสบการณ์ภาคปฏิบัติเพื่อให้

แก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริงทั้งใน คลินิก

เกิดผลลัพธ์ที่ปลอดภัยและมี คุณภาพ 4.3.5 สามารถใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และ การวิจัย มาใช้ในการแก้ปัญหา 4.3.6 สามารถแก้ไขปัญหา อย่างเป็นระบบและ สร้างสรรค์ 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ 1. การเรียนแบบเพือ่ นช่วยเพื่อน 4.4.1มีมุมมองด้านบวกต่อ 2. รายงานการศึกษาผู้ปุวยราย บุคคลอื่นมีทักษะในการสร้าง กรณี การจัดโครงการบริการวิชาการ สัมพันธภาพ และการสื่อสาร แก่สังคมและนวตกรรมทางการ ทางบวกระหว่างผู้เรียนกับ พยาบาล ผู้เรียนผู้เรียนกับผู้สอนผู้เรียนกับ 3. ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนแสดง ผู้ใช้บริการและผูร้ ่วมทีมสุขภาพ ความรับผิดชอบ และ พฤติกรรม สื่อสารทางบวก

1.พฤติกรรมการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนผู้เรียนกับ ผู้สอนผู้เรียนกับผู้ใช้บริการและผู้รว่ ม ทีมสุขภาพ 2.แบบบันทึกการเรียนรูแ้ ละ การ ประเมินตนเองของนักศึกษา 3.พฤติกรรมการปฏิบัติการ พยาบาล


11

ผลการเรียนรู้

4.4.2 ทางานเป็นทีมใน บทบาทผู้นาและผู้ตามอย่างมี ความสุข

กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผล การเรียนรู้ 4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ใน สถานการณ์จริงในคลินิกทีห่ ลากหลาย

วิธีการประเมินผล

4.แฟูมสะสมผลงาน 5.คุณภาพของงานที่ได้รับ มอบหมายด้าน กระบวนการและผลลัพธ์

4.4.4 มีความรับผิดชอบในการ เรียนรู้และพัฒนาตนเองวิชาชีพ และ สังคมอย่างต่อเนื่อง 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลขการสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.5.1 สามารถประยุกต์ ใช้ หลักตรรกะคณิตศาสตร์และ

1.จัดให้ฝึกทักษะการคิดคานวณได้แก่ ขนาดยา สารละลายฯ

2.มอบหมายการสืบค้นความรู้ด้วย สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศ นามาสนับสนุน 4.5.3 สามารถสื่อสาร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั้งการ การวางแผนการพยาบาล การศึกษา ผู้ปุวยรายกรณี การจัดทาโครงการและ พูดการอ่านการเขียนอย่างมี นวตกรรมทางการพยาบาล ประสิทธิภาพ

1.คุณภาพของผลงานที่ มอบหมาย 2.สังเกตพฤติกรรมการ สื่อสารภาษาไทย / ภาษาอังกฤษ จากการฝึก ปฏิบัติในสถานการณ์จริง

ในคลินิกและการนาเสนอ 3. มอบหมายการทารายงานศึกษาผู้ปุวย งาน 4.5.4 สามารถใช้โปรแกรม รายกรณี โครงการบริการวิชาการและ คอมพิวเตอร์พื้นฐานที่จาเป็นใน นวตกรรม พร้อมนาเสนอด้วยโปรแกรม 3.สังเกตการนาเสนอด้วย การจัดทาเอกสาร จัดระบบ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ข้อมูล และการนาเสนองาน


12

ผลการเรียนรู้

กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อ

วิธีการประเมินผล

พัฒนาผลการเรียนรู้ 4.6 ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ 4.6.1 สามารถปฎิบัติการ พยาบาลอย่างเป็นองค์รวมโดย

1. การสอนข้างเตียง 2. การสาธิตและการสาธิต

ประยุกต์ใช้ศาสตร์และศิลปะ ทางการพยาบาลรวมทั้งใช้

ย้อนกลับ 3. การประชุมปรึกษาก่อน

กระบวนการพยาบาลหลักฐานเชิง ประจักษ์และการสื่อสารเชิงบาบัด ในการพยาบาลบุคคลและ

และหลังปฏิบัติงาน 4.การมอบหมายให้ดแู ล ผู้ใช้บริการรายบุคคล

ครอบครัว

5.มอบหมายศึกษาผู้ปุวยราย กรณี

4.6.2 สามารถปฏิบัติการสร้าง เสริมสุขภาพการปูองกันโรคการ รักษาพยาบาลการบาบัดและ บรรเทาอาการและการฟื้นฟูสภาพ

6.การตรวจเยี่ยมทางการ พยาบาล

7.การประชุมปรึกษาปัญหา ทางการพยาบาล แก่ผู้ใช้บริการที่มีภาวะเสีย่ งรวมทั้ง 8.การให้ความรู้ทางสุขภาพ ผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตทุกช่วง 9.มอบหมายการจัดโครงการ วัยในทุกระดับของสถานบริการ บริการวิชาการแก่สังคมและ สุขภาพ ผลิตนวตกรรมทางการพยาบาล 4.6.3 สามารถปฏิบัติการ พยาบาลด้วยความเมตตากรุณา และเอื้ออาทรโดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมกฏหมายสิทธิของผู้ปุวย

1.ทักษะการปฏิบัติการ พยาบาลในคลินิก 2.การประเมินจากข้อมูล การประเมินตนเอง และ กลุ่ม เพื่อนประเมิน 3.ผลการดาเนินโครงการ บริการวิชาการแก่สังคมและ นวตกรรมทางการพยาบาล


13

หมวดที่4 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา ฝึกปฏิบัติการพยาบาลสาหรับผู้ปุวยเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพ หรือการ เจ็บปุวย โดยนากระบวนการพยาบาล กรอบแนวคิดทางการพยาบาลและความรู้ที่เกี่ยวข้องมาเป็น แนวทางปฏิบัติ การประยุกต์หลักการเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการ การตอบสนองต่อความ เจ็บปุวยทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การเล่น สัมพันธภาพระหว่างเด็กและครอบครัว เพื่อ ส่งเสริมการฟื้นหายการปรับตัวของเด็กและครอบครัว โดยคานึงถึงสิทธิเด็ก สิทธิผู้ปุวย ความเป็นปัจเจก บุคคล การดูแลเด็กโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. กิจกรรมของนักศึกษา 2.1 ปฐมนิเทศรายวิชา การเตรียมความพร้อมด้านความรู้และทักษะที่สาคัญ 2.2 ฝึกทักษะปฏิบัติการพยาบาลรายบุคคลเกี่ยวกับเด็กและวัยรุ่น สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 8 ชม. จานวน 10 สัปดาห์ ดังนี้ 2.2.1 ประเมินการเจริญเติบโตและพฤติกรรมเด็กอย่างน้อย 1 ราย 2.2.2ช่วยเหลือเบื้องต้นแก่เด็กปฐมวัยปกติที่เจ็บปุวยเล็กน้อย อย่างน้อย 3ราย 2.2.3ให้สุขศึกษาแก่เด็กปกติ และ/หรือเด็กปุวยอย่างน้อย 1 ครั้ง 2.2.4การดูแลทารกที่มีภาวะเสีย่ งอย่างน้อย 3 ราย 2.2.5. การดูแลเด็กปุวยโรคเฉียบพลันและ/หรือโรคเรื้อรังได้แก่โรคระบบทางเดิน หายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคมะเร็ง โรคระบบประสาท โรคระบบขับถ่ายปัสสาวะ โรค ระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคเลือด อย่างน้อย 5ราย 2.3 ศึกษาผู้ปุวยที่ได้รับมอบหมายล่วงหน้า เพื่อวางแผนการพยาบาลต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ราย 2.4 ประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน 2.5ศึกษาผู้ปุวยรายกรณี นาเสนอ1ฉบับ/7-8 คน 2.6 .จัดโครงการบริการวิชาแก่สังคม 1 ครั้ง/ 46 คน 2.7 ผลิตนวตกรรมทางการพยาบาล และนาเสนอ 1 ชิ้นงาน/ 7-8 คน 2.8 บันทึกสะท้อนคิดเมื่อสิ้นสุดการฝึกปฏิบัติการพยาบาล 2.9 สอบประเมินผลก่อน-หลังขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล


14

3. รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย การประเมิน

ผลการเรียนรู้ที่ รายงานหรืองานที่ คาดหวัง

1

4.1.2, 4.1.3,

กาหนดส่ง

มอบหมาย - ดูแลผู้ปุวยเฉพาะ

สัดส่วนของการ ประเมินผล

ทุกวัน

4.1.4, 4.1.5,4.1.6 ราย 4.2.1, 4.2.2, - การวางแผนการ 1 ฉบับ/ สัปดาห์ 4.2.3, พยาบาลรายบุคคล 4.3.1, 4.3.2, ร้อยละ 70 4.3.3, 4.3.4,4.3.5,4.3.6 4.4.1,4.4.2,4.4.4 4.5.1, 4.5.3, 4.5.4 4.6.1, 4.6.2, 4.6.3, 4.6.4 2

4.1.2, 4.1.3,

- รายงานการศึกษา

4.1.4, 4.1.5,4.1.6 ผู้ปุวยรายกรณี 4.2.1, 4.2.2, กลุม่ ละ 1ฉบับ

กลุ่ม A 13 ธ.ค.56 ร้อยละ 10

4.2.3, 4.3.1, 4.3.2,

กลุ่ม B 21 ก.พ. 57

4.3.3, 4.3.4,4.3.5,4.3.6 4.4.1,4.4.2,4.4.4 4.5.1, 4.5.3, 4.5.4


15

การประเมิน

3

ผลการเรียนรูท้ ี่ คาดหวัง

รายงานหรืองานที่ มอบหมาย

กาหนดส่ง

สัดส่วนของการ ประเมินผล

กลุ่ม A 23 ธ.ค.56 ร้อยละ 5 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4, - การนาเสนอ 4.1.5,4.1.6 รายงานการศึกษา กลุม่ B 3 มี.ค. 57 ผู ้ ป ว ุ ยรายกรณี 4.2.1, 4.2.2, 4.2.3, 4.3.1, 4.3.2, 4.3.3, 4.3.4,4.3.5,4.3.6 4.4.1,4.4.2,4.4.4 4.5.1, 4.5.3, 4.5.4

3

4

4.1.2, 4.1.3, 4.1.4, - การผลิตนวัตกรรม กลุ่ม A 6ธค. 56 4.1.5,4.1.6 ทางการพยาบาลเด็ก กลุ่ม B 14กพ.57 4.2.1, 4.2.2, 4.2.3, และวัยรุ่น 4.3.1, 4.3.2, 4.3.3, 4.3.4,4.3.5,4.3.6 4.4.1,4.4.2,4.4.4 4.5.1, 4.5.3, 4.5.4 4.2.1, 4.2.2, 4.2.3, - สอบประเมินผล

ร้อยละ 10

สอบก่อนฝึก ปฏิบัติงาน กลุ่ม A+B 26 ต.ค.56 สอบหลังฝึก ปฏิบัติงาน กลุ่ม A 24 ธค. 56 กลุ่ม B 4 มีค. 57

ร้อยละ 5


16

การประเมิน

ผลการเรียนรู้ที่ รายงานหรืองานที่ คาดหวัง

5

กาหนดส่ง

มอบหมาย

4.1.2,4.1.4, 4.1.6, - บันทึกสะท้อนคิด กลุ่ม A23ธ.ค. 56 4.3.1

ต่อการฝึก กลุ่ม B 3มี.ค. 57 ปฏิบัติการพยาบาล เด็ก

สัดส่วนของการ ประเมินผล


17

4.การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา งานที่มอบหมาย

กาหนดส่ง

การติดตาม

-ประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัติงาน

-ทุกวัน

-ผู้สอนให้ข้อคิดเห็นปูอนกลับแก่นักศึกษารับทราบ และนาไปปรับปรุงแผนการพยาบาลประจาวัน

-การวางแผนการพยาบาลรายบุคคล

-ทุกวัน

-ผู้สอนตรวจการวางแผนการพยาบาล ให้ ข้อคิดเห็นปูอนกลับแก่นักศึกษารับทราบและ ปรับปรุงแผนการพยาบาลทันที หรือในวันรุ่งขึ้น

-บันทึกประสบการณ์ปฏิบัติการพยาบาล

-ทุกวัน-

-ผู้สอนตรวจสอบทักษะการพยาบาลที่นักศึกษา ได้รับ และลงนามรับรอง วางแผนการมอบหมาย ทักษะให้ครบถ้วนตามหลักสูตร

- นวตกรรมทางการพยาบาลรายกลุ่มๆละ7-8คน - ในสัปดาห์ที่ 1-9 ของการขึ้นปฏิบัติงาน (เลือกปรากฏการณ์ในหอผู้ปุวยที่ 1ของการขึ้น ปฏิบัติงาน) - นาเสนอนวตกรรมการพยาบาล

กลุ่ม A 24ธ.ค.56 เวลา 09.00 – 16.00 น ห้อง304

-ผู้สอนตรวจกระบวนการผลิตนวตกรรมและให้ ข้อคิดเห็นเพื่อการพัฒนา

-ผู้สอนสะท้อนให้นักศึกษารับทราบจุดอ่อนของงาน เพื่อการพัฒนา


18

งานที่มอบหมาย

กาหนดส่ง กลุ่ม B 4มี.ค.57 เวลา 09.00 – 16.00 น ห้อง304

การติดตาม -ผู้สอนสะท้อนให้นักศึกษารับทราบจุดอ่อนของ งานเพื่อการพัฒนา

- รายงานการศึกษาผู้ปุวยรายกรณีกลุ่มละ1ฉบับ - ในสัปดาห์ที่4-6 ของการฝึกปฏิบัติ

-ผู้สอนสะท้อนให้นักศึกษารับทราบจุดอ่อนของ งานเพื่อการพัฒนา

- นาเสนอการศึกษาผู้ปุวยรายกรณี

-ผู้สอนสะท้อนให้นักศึกษารับทราบจุดอ่อนของงาน เพื่อการพัฒนา

กลุ่ม A 23 ธ.ค.56 กลุ่ม B 3 มี.ค.57

- บันทึกสะท้อนคิดต่อการฝึกปฏิบัติการพยาบาล กลุ่ม A 23 ธ.ค.56 เด็กและวัยรุ่น

กลุ่ม B 3 มี.ค.57

-ผู้สอนสะท้อนให้นักศึกษารับทราบจุดแข็งและ จุดอ่อนของตนเพื่อการพัฒนา


19

งานที่มอบหมาย -สอบประเมินผล

กาหนดส่ง

การติดตาม

สอบก่อนฝึกปฏิบัติงาน (Hall 3) 26ต.ค.56 เวลา 08.00 – 09.00 น

-ผลสอบเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน

สอบหลังฝึกปฏิบัติงาน กลุ่ม A 24 ธ.ค.56 เวลา 08.00 – 09.00 น ห้อง304 กลุ่ม B 4มี.ค.57 เวลา 08.00 – 09.00 น ห้อง304

-ผลสอบเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน


20

5.หน้าที่และความรับผิดชอบของพยาบาลพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม ไม่มีพยาบาลพี่เลี้ยง 6. หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ประจาหอผู้ปุวย 6.1 ปฐมนิเทศรายวิชา กฎระเบียบ แนวปฎิบัติต่างๆของคณะและหน่วยงานแหล่งฝึก 6.2 มอบหมายงาน สอน แนะนา ประเมินผลและให้ข้อมูลปูอนกลับแก่นักศึกษาให้พัฒนา 6.3 สอบทวน/ปรับปรุงแผนงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเป็นระยะๆ 6.4 ประสานงานกับแหล่งฝึก เกี่ยวกับการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติการพยาบาลที่นักศึกษาต้องได้รับ ปัญหาจาก การฝึกปฏิบัติการพยาบาล 7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา 7.1 เตรียมอาจารย์ประจาหอผู้ปุวย 7.2 เตรียมความพร้อมทักษะการพยาบาลที่จาเป็นแก่นักศึกษาในห้องปฏิบัติการพยาบาล 7.3แบ่งนักศึกษาออกกลุ่มๆละ 7-8 คน โดยจัดให้ทุกกลุ่ม มีนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีและอ่อนอยู่ด้วยกันเพื่อใช้การ เรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 7.5 ให้นักศึกษาเลือกผู้นากลุ่มด้วยตนเองเพื่อฝึกการเป็นผู้นาอย่างน้อย 1 ครั้ง 7.6 อาจารย์ดแู ลใกล้ชิดสาหรับนักศึกษาที่มีปัญหาการปฏิบัติงานและการปรับตัว เพื่อให้เกิดความมั่นใจและปูองกัน ความผิดพลาดทางการพยาบาล 8. สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม/ สถานประกอบการ 8.1 ห้องประชุมกลุ่มย่อย 8.2 หมายเลขโทรศัพท์แหล่งฝึก 83 รถรับ-ส่ง ขณะฝึกปฏิบัติงาน


21

หมวดที่5 การวางแผนและการเตรียมการ 1. การกาหนดสถานที่ฝึก 1. คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชประกอบด้วย 1.1 หอผู้ปุวยทารกแรกเกิดกึ่งวิกฤติ 1.2 หอผู้ปุวยเด็กทั่วไปชั้น9 1.3 ตึกตรวจโรคผู้ปุวยนอก 1.4 หน่วยพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น 2. โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 2.1 หอผู้ปุวยกุมารเวช 4 2.2 หอผู้ปุวยกุมารเวช 5 2.3 หอผู้ปุวยทารกแรกเกิด 2.4 หน่วยพัฒนาการเด็ก 3. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 3.1 หอผู้ปุวยมหิตลาธิเบศร (ม.9ก) 4. โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2. การเตรียมนักศึกษา 2.1 ปฐมนิเทศรายวิชาแจ้งวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง มอบคู่มือปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2.2 ปฐมนิเทศแหล่งฝึก 2.3 ทดสอบก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล 2.4 ทบทวนทักษะที่จาเป็นในห้องปฏิบัติการพยาบาล 2.5 ฉีดวัคซีนสุกใสให้นักศึกษาที่ไม่มีประวัติเคยปุวยโรคสุกใส


22

3. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ 3.1 ประชุมวางแผนการจัดการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นให้ครบถ้วนตามหลักสูตร 3.2 ทบทวนความรู้ในแหล่งฝึก 4. การเตรียมพยาบาลพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก ไม่มีพยาบาลพี่เลี้ยง 5. การจัดการความเสี่ยง 5.1 อาจารย์ประจาหอผู้ปุวยประชุมร่วมกัน เพื่อประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดกับนักศึกษาและเกิดความเสียหายต่อ แหล่งฝึก เช่น การถูกเข็มฉีดยาผู้ปุวยตา การใช้เครื่องมือแตกหัก การให้ยาผิดเป็นต้น และร่วมกันหาแนวทางปูองกัน 5.2 จัดการความเสี่ยงในการฝึกปฏิบัติงาน เช่น จากเครื่องมือ อุปกรณ์ เข็มฉีดยา โดยการปฐมนิเทศ แนะนาการใช้ และเก็บที่ปลอดภัย 5.3 ติดตามความก้าวหน้าระหว่างการฝึกปฏิบัติเพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคจากการฝึกปฏิบัติ และหาแนวทางแก้ไข 5. 4ประสานงานกับแหล่งฝึกอย่างต่อเนื่อง

หมวดที่6 การประเมินนักศึกษา 1. หลักเกณฑ์การประเมิน การวัดผลมีคะแนนเต็ม100 ดังนี้ 1. การปฏิบัติการพยาบาล

ร้อยละ 70

2. รายงานการศึกษาผู้ปุวยรายกรณี(งานกลุ่ม)

ร้อยละ 5

3. การนาเสนอการศึกษาผู้ปุวยรายกรณี(งานกลุ่ม)

ร้อยละ 5

4. การผลิตนวตกรรมทางการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น(งานกลุ่ม)ร้อยละ 15 5. สอบหลังฝึกปฏิบัติการพยาบาล

ร้อยละ 5

2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา 1. อาจารย์ประจาหอผู้ปุวยประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการฝึกภาคปฏิบัติ 2. ตรวจสอบทักษะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาให้ครบตามหลักสูตร 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม โดยกาหนดว่า


23

3.1 นักศึกษาต้องฝึกภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่า 180 ชั่วโมง ในกรณีที่นักศึกษาที่ลาปุวย ลากิจ ให้แจ้งอาจารย์ ผู้รับผิดชอบวิชาทราบ เพื่อจัดนักศึกษาขึ้นฝึกปฏิบัติงานชดเชยให้ครบตามที่กาหนด 3.2 นักศึกษาต้องผ่านการวัดผลทุกกิจกรรมที่กาหนด (ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งถือว่าไม่ผ่าน) 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชารวบรวมคะแนนผลการปฏิบัติ ประชุมพิจารณาร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอน และ/ หรือ หัวหน้าสาขาวิชา เพื่อการตัดสินเกรดเบื้องต้น 5. การประเมินผลการเรียนใช้แบบอิงเกณฑ์และ/หรืออิงกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ในการให้ค่าระดับคะแนนดังนี้ ระดับผลการเรียน

ช่วงคะแนน

A

90 – 100

B+

85 – 89

B

75-84

C+

70-74

C

60 – 69

D+

55 – 59

D

50 – 54

F

ต่ากว่า 50

ระดับคะแนนที่ได้ต้องไม่ต่ากว่า C จึงถือว่าสอบผ่าน นาเสนอคณะกรรมการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอน เพื่อการทบทวนการประเมินผลและเกรด

3. ความรับผิดชอบของพยาบาลพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา ไม่มีเนื่องจากอาจารย์ประจาตึกรับผิดชอบประเมินนักศึกษา 4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อการประเมินนักศึกษา 4.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการฝึกปฏิบัติ


24

4.2 ประเมินคุณภาพรายงานการศึกษาผู้ปุวยรายกรณีตามเกณฑ์ ถ้านักศึกษามีจุดอ่อนให้ข้อคิดเห็นแล้วให้ นักศึกษานาไปพัฒนา 4.3 .อภิปรายร่วมกับนักศึกษา และเพิ่มเติมประเด็นสาคัญขณะนักศึกษานาเสนอรายงานการศึกษาผู้ปุวยรายกรณี 4.4ประเมินคุณภาพนวัตกรรมทางการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นถ้านักศึกษามีจุดอ่อนให้ข้อคิดเห็นแล้วให้นักศึกษา นาไปพัฒนา 4.5อภิปรายร่วมกับนักศึกษา และเพิ่มเติมประเด็นสาคัญขณะนักศึกษานาเสนอรายงานนวัตกรรมทางการพยาบาล เด็กและวัยรุ่น 4.6จัดสอบ ก่อน – หลังการฝึกปฏิบัติการพยาบาล 4.7ตรวจสอบทักษะการฝึกปฏิบัติการพยาบาล ให้ครบถ้วนตามหลักสูตร 5. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง หากมีความแตกต่างของผลการประเมิน คณะผู้สอนประชุมปรึกษาร่วมกัน เพื่อหาข้อสรุป

หมวดที่7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1. กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยผู้เกี่ยวข้องต่อไปนี้ 1.1 นักศึกษา - ประเมินการสอนรายวิชาอาจารย์ผู้สอน และแหล่งฝึก - การสะท้อนความคิดเห็นของตนเองต่อการฝึกปฏิบัติการพยาบาล - ทบทวนประสบการณ์การเรียนรู้จากสมุดบันทึกประสบการณ์ - เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนจากผลการประเมินโดยนักศึกษา 1.2 พยาบาลพี่เลีย้ งหรือผู้ประกอบการ เข้าร่วมโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนจากผลการประเมินโดยแหล่งฝึก เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้แทนจากแหล่ง ฝึกได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติ 1.3 อาจารย์ที่ดแู ลกิจกรรมภาคสนาม


25

ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนในภาพรวม ประสบการณ์การเรียนรู้ที่นักศึกษาได้รับ ความพร้อมของอาจารย์ ความพร้อมของแหล่งฝึก แล้วจัดทามคอ.6 1.4 อื่นๆเช่นบัณฑิตจบใหม่ ไม่มี 2. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง คณะผู้สอนร่วมกันทบทวนผลการจัดประสบการณ์ให้นักศึกษา ปัญหาและอุปสรรคของการจัดการฝึกปฏิบัติ และ วางแผนปรับปรุง.ในปีการศึกษาต่อไป 1.

กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ 3.1 คณะผู้สอนร่วมกับทบทวนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (คะแนน และเกรด)

3.2 คณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาพิจารณาผลการประเมินจากการ วัดผลที่กาหนด(คะแนนและเกรด) 3.3 คณะกรรมการบริหารวิชาการพิจารณาการตัดเกรด

ตาราหลัก พรทิพย์ศิริบูรณ์พิพัฒนา.(บรรณาธิการ).(2555). การพยาบาลเด็กเล่ม1-3. นนทบุรี: ยุทธรินทร์การพิมพ์. พูลศุข ศิริพูล . การจัดการอาการ: การพยาบาลผู้ปุวยเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว.(2554).คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์. การพยาบาลผู้ปุวยทารก: Nursing care of Acute and Chronically ill Infant .(2555) ออ เรนจ์ มีเดีย. ศรีสมบูรณ์ มุสิกสุคนธ์ และคณะ.(บรรณาธิการ).(2555)ตาราการพยาบาลเด็ก.(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: พรีวัน. สุนทรี รัตนชูเอก. คู่มือการดูแลผู้ปุวยเด็กทางโภชนาการ: Pediatric nutrition handbook.(2555) Hockenberry, M.J.,& Wilson, D. (2013). Study guide for Wong’s essential of Pediatric Nursing. St Louis : Mosby Elsevier. วารสาร ได้แก่ Pediatric nursing care


26

ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และเว็บไซด์ ได้แก่ ฐานข้อมูล Cinahl, ProQuest, Medline , Pubmed เป็นต้น ขั้นตอน การสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ Cinahl Plus with fulltext 1. ต่อ internet แล้วเข้าหน้าแรกของwebsite คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2.เลื่อนมา link ด้านล่างของ website click เข้าตรง Nursing Reference center หรือ Cinahl Plus )โลโก้สแี ดง 3.เข้าหน้า User ID และ Password ให้เติมคาว่า nursingdusitทั้งตรง User ID และ Password เสร็จแล้ว คลิก login เข้าไป 4. พบหน้า Select New Service จะมี link วงกลมสีฟูา ข้างในมีตัวหนังสือ EBSCO 2 วง วงแรก เขียนว่า EBSCOhost Research Database(ค้นหาเกี่ยวกับงานวิจัยต่างๆ) และ eBook Collection วงที่ 2 เขียนว่า EBSCO Discovery Service (สืบค้นเกี่ยวกับบทความจากวารสารต่างๆ) 5. จะพบหน้าที่จะ Key คาทีจะสืบค้น ให้ตั้งค่าการสืบค้น จาก refine your result ตั้งค่า เป็น ปีพ.ศ.อะไรถึงอะไรที่ ต้องการ เป็นภาษาอะไร 6.จะพบหัวข้อชื่อเรื่องหัวข้อ ที่มีคา Keyword ที่เราต้องการ และถ้าข้างล่างหัวข้อมี เครื่องหมายสีแดงเขียนว่า PDF Full Text ให้คลิกเข้าไปตรงนั้น จะสามารถเห็นเอกสารฉบับเต็มและสั่งพิมพ์ออกได้


27

ทักษะการปฏิบัติการพยาบาลที่นักศึกษาควรได้รับ 1. การรับใหม่-จาหน่ายเด็กปุวย 2. การสร้างสัมพันธภาพระหว่างเด็กปุวยและครอบครัว 3. การประเมินการเจริญเติบโต พัฒนาการ และภาวะสุขภาพเด็ก 4. การตรวจร่างกายเด็ก 5. การอาบน้าเด็ก/แต่งตัวเด็ก 6. การห่อตัว/การอุ้ม/การผูกตรึง 7. การให้นมแม่/อาหาร/อาหารเสริมเด็กด้วยวิธีต่างๆ 8. การให้อาหารทางสายยาง ได้แก่ nasal gavage , oral gavage,gastrostomy tube 8. การใส่สายทางปาก (Oral gavage tube) 9. การคานวณยา/เตรียมยา/การให้ยา/การให้ภูมิคุ้มกัน 10. การวัดสัญญาณชีพในเด็ก 11. การเช็ดตัวเพื่อระบายความร้อนในเด็ก 12. การเตรียมเด็กปุวยและครอบครัวก่อนส่งตรวจ 13. การให้ออกซิเจนชนิดต่างๆ 14. การเคาะปอด/ดูดเสมหะ 15. การพยาบาลเด็กที่ได้รับแสงรักษา(phototherapy) 16. การพยาบาลทารกในตู้ให้ความอบอุ่น(Incubator) 17. การพยาบาลทารกคลอดก่อนกาหนด 18. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาในระบบต่างๆ 19. การส่งเสริมพัฒนาการ และการจัดกิจกรรมการเล่น


28

20. การให้สุขศึกษาแก่เด็กและครอบครัว 21. การผลิตนวัตกรรมทางการพยาบาลสาหรับเด็กและวัยรุ่น การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติ ก่อนที่นักศึกษาจะขึ้นฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ปุวย นักศึกษาจะได้รับการปฐมนิเทศ ดังนี้ 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชามอบหมายให้นักศึกษาศึกษาคู่มือวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นในรูปแบบ E- Book ที่อยู่ในโปรแกรม Moodle ของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งมอบสมุดบันทึกประสบการณ์ให้กับนักศึกษาทุกคน 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาอธิบายชี้แจงข้อมูลและรายละเอียดตามคู่มือและสมุดบันทึกประสบการณ์พร้อมตอบ ข้อ ซักถามในเรื่องต่อไปนี้ - ประมวลรายวิชา - ตารางการฝึกปฏิบัติงาน - อาจารย์ประจาหอผู้ปุวย/สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน/การแต่งกายและการเดินทาง - การเก็บและการบันทึกสมุดประสบการณ์ - จานวนการทารายงาน ในการขึ้นฝึกปฏิบัติงานการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น - การประเมินผลการเรียนพร้อมทั้งแบบประเมินต่างๆ - การสอบประเมินเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์บนหอผู้ปุวย 3. ก่อนที่นักศึกษาจะขึ้นฝึกปฏิบัติจริงในแต่ละหอผู้ปุวยนั้ น นักศึกษาจะต้องเข้าร่วมปฐมนิเทศแหล่งฝึก เพื่อรับการ ปฐมนิเทศเกี่ยวกับ - สถานที่ฝึกปฏิบัติงานและลักษณะงานในหอผู้ปุวยนั้นๆ - การเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ 4. ก่อนที่นักศึกษาจะขึ้นฝึกปฏิบัติจริงในแต่ละหอผู้ปุวยนั้น นักศึกษาจะต้องไปพบอาจารย์ประจาหอผู้ปุวยนั้นๆ เพื่อ รับการปฐมนิเทศเกี่ยวกับ - สถานที่ฝึกปฏิบัติงานและลักษณะงานในหอผู้ปุวยนั้นๆ - การมอบหมายงาน - กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินและการวางแผนการพยาบาล - การเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ


29

ระเบียบปฏิบัติในการขึ้นฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ปุวยของนักศึกษา 1. การขึ้นฝึกปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องขึ้นฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ปุวยก่อนเวลารับเวรอย่างน้อย 15 นาที (07.15 น.) เพื่อประเมินผู้ปุวยและ เตรียมพร้อมในการรับเวร นักศึกษาจะอยู่ในความดูแลของอาจารย์ประจาหอผู้ปุวย 2. การลงจากหอผู้ปุวย 2.1 นักศึกษาจะลงจากหอผู้ปุวยได้เมื่อปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จ และส่งเวรกับพยาบาลหัวหน้าทีมหรือ พยาบาลหัวหน้าเวรเรียบร้อยแล้วตามเวลาที่ฝึกปฏิบัติ และต้องแจ้งกับอาจารย์ประจาหอผู้ปุวยก่อนทุกครั้ง 2.2 ในกรณีที่นักศึกษามีความจาเป็นเร่งด่วนต้องลงจากหอผู้ปุวยก่อนเวลาต้องแจ้งอาจารย์ประจาหอผู้ปุวยและจะ ลงจากหอผู้ปุวยได้เมื่อได้รับอนุญาตแล้วเท่านั้น 2.3 การพักรับประทานอาหาร นักศึกษาจะพักรับประทานอาหารได้รอบละ 1 ชั่วโมง จะต้องแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยพักรับประทานอาหารครั้งละ 1 กลุ่ม ไม่อนุญาตให้นักศึกษาพักรับประทานอาหารทั้งหมดในคราวเดียว และก่อนพัก รับประทานอาหารจะต้องฝาก Case ไว้กับเพื่อนที่ไม่ได้พักรับประทานอาหาร 2.4 เพื่อปูองกันการติดเชื้อและส่งเสริมสุขภาพ ห้ามนักศึกษานาอาหาร ขนมและอื่นๆ รับประทานบนหอผู้ปุวย (ที่ มีผู้ปุวยพักอยู่) นอกจากห้องพักที่จัดเตรียมไว้ให้ 3. การลาปุวยและลากิจ ให้ถือปฏิบัติตามคู่มือการลาของคณะพยาบาลศาสตร์ 4. การฝึกปฏิบัติชดเชย 4.1 การลาทุกชนิดต้องขึ้นฝึกปฏิบัติงานชดเชย ยกเว้นในกรณีเจ็บปุวยที่ต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลให้อยู่ใน ดุลยพินิจของกรรมการประจาคณะ 4.2 กรณีที่นักศึกษามาปฏิบัติงานสาย2 ครั้ง (สายกว่า 7.45 น.) ต้องขึ้นฝึกปฏิบัติชดเชย 1 วัน 5.

การแต่งกาย ให้ปฏิบัติตามระเบียบคณะพยาบาลศาสตร์

6.

การใช้เครื่องมือสื่อสาร

6.1 ห้ามใช้เครื่องมือสื่อสารขณะปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล 6.2 นักศึกษาจะสามารถใช้ได้เมื่อปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลเสร็จสิ้นแล้ว 6.3 นักศึกษาจะต้องเปิดโทรศัพท์เป็นระบบสั่นเท่านั้น (ยกเว้นในกรณีมีผู้ปุวยที่ใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์บางชนิดที่ สัญญาณโทรศัพท์อาจรบกวนการทางานของอุปกรณ์ดังกล่าว ให้ปิดโทรศัพท์ )


30

6.4 การปฏิบัติงานผิดพลาด กรณีนักศึกษาเกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน ต้องแจ้งอาจารย์ประจาหอผู้ปุวย ให้ทราบทันที และต้องส่งรายงานภายใน 24 ชั่วโมง แนวทางการผลิตนวัตกรรมทางการพยาบาลเด็กและวัยรุน่ วัตถุประสงค์ เพื่อ ให้นักศึกษาสามารถ 1. 2. 3. 4. 5.

ผลิตนวัตกรรมทางการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น พัฒนาการศึกษาค้นคว้า การอ่าน รวมทั้งการทางานอย่างเป็นระบบ พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาทักษะความมีระเบียบวินัยและความซื่อสัตย์ พัฒนาทักษะการทางานเป็นทีม

กาหนดส่งรายงาน ที่อาจารย์ปรึกษาประจากลุ่ม กลุ่มA วันที่9 ธันวาคม 2556เวลา 12.00 น. กลุ่มB วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 12.00 น แนวทางในการทานวัตกรรม 1. งานนวัตกรรมเป็นงานกลุ่มๆละ 7-8 คน 2. นักศึกษาค้นหาปรากฏการณ์(phenomena)ทางการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น บนหอผู้ปุวยในสัปดาห์แรกของการ ขึ้นฝึกปฏิบัติ โดยขอคาปรึกษาจากพยาบาลประจาแหล่งฝึกและอาจารย์ประจาตึก 3. จัดทาแนวทางการผลิตนวัตกรรมโดยมีงานวิจัยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์สนับสนุนอย่างน้อย1-3เรื่อง 4. ผลิตนวัตกรรมแล้วนาไปทดลองใช้กับผู้ปุวยบนหอผู้ปุวยครั้งที่ 1 อาจารย์ พยาบาลประจาหอผู้ปุวย ครอบครัว และเด็กปุวยให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรม เก็บเป็นข้อมูลในรูปแบบ รายงาน วิดิทัศน์ ภาพนิ่ง 5. ปรับปรุงนวัตกรรมจากข้อคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง นาไปทดลองใช้ครั้งที่2 พยาบาลประจาหอผู้ปุวย ครอบครัว และเด็กปุวยให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับนวัตกรรม เก็บเป็นข้อมูลในรูปแบบ รายงาน วิดิทัศน์ ภาพนิ่ง 6. ผลิตนวัตกรรมชิ้นที่สมบูรณ์พร้อมรายงานคู่มือกระบวนการผลิตนวัตกรรม และการใช้นวัตกรรมส่งที่อาจารย์ประจากลุ่ม อาจารย์ประจากลุ่ม 1. ผ.ศ.จุไร อภัยจิรรัตน์ หอผู้ปุวย ทารกแรกเกิดกึ่งวิกฤตคณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช


31

2. อ.สุณีย์ชื่นจันทร์

ตึกมหิตลาธิเบศร(ม.9ก) รพ.เด็ก สถาบันสุขภาพเด็ก แห่งชาติมหาราชินี

3. พ.ท.หญิงวชิรา ไกรถิ่นหอผู้ปุวยทารกแรกเกิดโรงพยาบาลพระมงกุฎฯ 4. อ.รัชนีชัยประเดิมศักดิ์ หอผู้ปุวย เด็กทั่วไป ชั้น 9 อาคารมหาวชิราวุธ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 5. อ.พัชมน อ้นโต

หอผู้ปุวยกุมารเวช5 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

6. อ. ปรียะดา ภัทรสัจจธรรม หอผู้ปุวย กุมาร 4 โรงพยาบาลพระมงกุฏฯ การประเมินผล 1.มีการค้นหา ประเด็นปัญหา ปรากฏการณ์(phenomena)ทางการพยาบาล 20 คะแนน 2.นวัตกรรมน่าสนใจและเป็นประโยชน์ใช้ได้จริง 20 คะแนน 3.มีการทางานเป็นทีม 10 คะแนน( นักศึกษาภายในกลุ่มประเมิน) 4.พบอาจารย์สม่าเสมอและมีความก้าวหน้าของงานอย่างน้อย 3 ครั้ง 10 คะแนน 5.ส่งชิ้นงานและคู่มือตรงเวลา 10 คะแนน 6.นาเสนอผลงานได้สาระครบถ้วน 10 คะแนน 7.รูปแบบการนาเสนอน่าสนใจ 10 คะแนน 8.คู่มือการใช้นวตกรรมสามารถนาไปใช้ได้จริง 10 คะแนน แนวทางในการทารายงานการศึกษาเด็กปุวยเฉพาะกรณี (Case study) เมื่อนักศึกษาขึ้นฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ปุวย นักศึกษาต้องทารายงานการศึกษาเฉพาะรายขึ้นตอนใน การทารายงานมีดังต่อไปนี้ 1. ในการขึ้นปฏิบัติบนหอผู้ปุวยที่ 2 ให้นักศึกษาพบอาจารย์ประจาหอเด็กปุวย เพื่อเลือกเด็กปุวยที่จะ ทาการศึกษากลุ่มละ 1 ราย 2. นักศึกษาติดตามตรวจเยี่ยมอาการและการเปลี่ยนแปลงของเด็กปุวย พร้อมทั้งเขียนรายงานปัญหาของผู้ปุวยได้ จากข้อมูลของผู้ปุวย และการประเมินสุขภาพในแบบแผนสุขภาพ 11 แบบแผน 3. เมื่อนักศึกษามีปัญหาสามารถขอคาแนะนาปรึกษาจากอาจารย์ประจาหอเด็กปุวยได้เป็นระยะๆ 4. นักศึกษาต้องแต่งกายเรียบร้อยในชุดนักศึกษาหรือชุดพยาบาลในการขึ้นไปศึกษาผู้ปุวยบนหอผู้ปุวยทุกครั้ง


32

5. นักศึกษาขออนุญาตพยาบาลประจาหอผู้ปุวยทุกครั้งก่อนจะพบหรือเยี่ยมเด็กปุวยบนหอผู้ ปุวย ถ้าจะให้การ ปฏิบัติพยาบาลต้องแต่งกายเรียบร้อยในชุดพยาบาล และอยู่ภายใต้การนิเทศของอาจารย์หรือพยาบาลประจาการ 6. ในการศึกษาผู้ปุวยเฉพาะราย นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามกระบวนการในคู่มือนี้ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาประสบ ผลสาเร็จในการศึกษาตามวัตถุประสงค์ คาแนะนาในการทารายงานการศึกษาผู้ปุวยเฉพาะกรณี (Case Study) แนวทางการทารายงาน - เขียนรายงานตามแบบบันทึกการศึกษาผู้รับบริการรายกรณี ในการทารายงานการศึกษาผู้ปุวยเฉพาะราย ต้องมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ 1. ปกนอก ระบุชื่อโรคและ/หรือวิธีการทาการผ่าตัด นาเสนออาจารย์ประจาหอผู้ปุวย... (ระบุชื่ออาจารย์ประจาหอผู้ปุวย) โดย...(ระบุชื่อนักศึกษา) รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา... ภาคการศึกษา...ปีการศึกษา...คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ทั้งปกนอกและปกใน 2. ปกใน 3. คานา แสดงให้เห็นถึงความสาคัญและความน่าสนใจที่ศึกษาผู้ปุวยเฉพาะราย โดยบอกวัตถุประสงค์ในการศึกษา ครั้งนี้ 4. สารบัญ 5. เนื้อหา ได้แก่ 5.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ปุวย โดยระบุชื่อ(ไม่ต้องระบุนามสกุล) เพศ อายุ สถานภาพสมรส เชื้อชาติ สัญชาติ การ วินิจฉัยโรคและการผ่าตัด (ระบุทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ฯลฯ 5.2 ประวัติผู้ใช้บริการได้แก่ อาการสาคัญประวัติเจ็บปุวยปัจจุบัน และประวัติเจ็บปุวยอดีต 5.3 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการตามแบบแผนสุขภาพ 11แบบแผน 5.4 ข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยได้แก่ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ ให้ระบุการ ตรวจของผู้ใช้บริการ ค่าปกติของผลการตรวจแต่ละค่า การแปลค่า และการแปลผลว่าอาจเกิดหรือเกิดภาวะใดกับ ผู้ใช้บริการหรือมีสาเหตุ มาจากภาวะใด 5.5 ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการรักษาของแพทย์ รวมทั้งยาที่ได้รับ พร้อมทั้งระบุชื่อยา (Trade name) ชื่อทัว่ ไป ของยา (Generic name) การออกฤทธิ์ ผลข้างเคียงของยาและการพยาบาล


33

5.6 พยาธิสรีรภาพของโรคโดยนักศึกษาต้องเปรียบเทียบพยาธิสภาพของโรคตามทฤษฎีกับผู้ปุวยที่นักศึกษา รับไว้ ในความดูแล 5.7วางแผนการพยาบาลของผู้ปุวย ให้เขียนแผนการพยาบาลตามแบบฟอร์มการวางแผนการพยาบาล โดยระบุ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (เรียงตามลาดับความสาคัญของปัญหา) ข้อมูลสนับสนุน (ระบุข้อมูลอัตนัยหรือปรนัย) วัตถุประสงค์การพยาบาล เกณฑ์การประเมินผล กิจกรรมการพยาบาลพร้อมทั้งเหตุผล รวมทั้งการประเมินผลการพยาบาล 5.8สรุปกรณีศึกษา โดยสรุปตั้งแต่ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประวัติผู้ปุวย การวินิจฉัยโรค การรักษาที่ได้รับอาการและ อาการแสดงภายหลังได้รับการรักษาพยาบาลแล้วและปัญหาทางการพยาบาลของผู้ปุวยขณะอยู่ในความดูแลพร้อมทั้งระบุ ว่าปัญหานั้นๆ ยังคงอยู่หรือไม่ และสรุปอาการและอาการแสดงก่อนสิ้นสุดการดูแล 5.9 ข้อเสนอแนะ เป็นข้อคิดเห็นและแนวทางการพยาบาลที่ได้จากการศึกษาผู้ปุวยเฉพาะราย รายนี้ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการ ดูแลผู้ใช้บริการในโอกาสต่อไป 5.10บรรณานุกรม (ตามแบบ APA) กาหนดการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2.1 รายงานผู้ปุวยรายกรณี กาหนดส่งดังนี้ 1. นักศึกษากลุ่ม A ให้ส่งภายในวันที่ 16ธันวาคม 2556 2. นักศึกษากลุ่ม B ให้ส่งภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 2.2 แผนการพยาบาลกาหนดส่งทุกเช้าของวันขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล 2.3 ผลงานนวัตกรรมทางการพยาบาลเด็กพร้อมรายงาน 1. นักศึกษากลุ่ม A ให้ส่งภายในวันที่ 9ธันวาคม 2556 2. นักศึกษากลุ่ม B ให้ส่งภายในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 2.4 ส่งสมุดบันทึกประสบการณ์ ให้อาจารย์นิเทศ ลงบันทึก ทุกวัน 2.5 Self reflection ส่งวันสุดท้ายของการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล


34

แบบประเมินภาวะสุขภาพและการวางแผนการพยาบาล ชื่อนักศึกษา..........................................................................รหัสประจาตัว.......................................................หลักสูตร/ชั้นปี................................................. รายวิชา.................................................................................................ภาคการศึกษา.................................ปีการศึกษา........................................................... อาจารย์นิเทศ............................................................................................................................................................................................................................ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อผู้รับบริการ............................................................................................เพศ......................อายุ.................ปี

สถานภาพสมรส.......................................

เชื้อชาติ..................................สัญชาติ....................................ศาสนา.........................................อาชีพ.......................................................................................... ระดับการศึกษา............................................................รายได้ครอบครัว/เดือน.............................................................................................................................. ที่อยู่.................................................................................................................................................................................................................................................. โรงพยาบาล.............................................................................................หอผู้ปุวย............................................................เตียงที.่ ..................................................... วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล..........................................................................การวินิจฉัยครั้งแรก.............................................................................................................. วันที่ผ่าตัด/วันที่คลอด....................................................................การผ่าตัด/การคลอด...................................................................................................................... การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย.......................................................................................................................................................................................................................... รับไว้ในความดูแลตั้งแต่วันที.่ ...................................................................................ถึงวันที.่ ..................................................................................................... ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของผูป้ ุวย 1. ประวัตกิ ารเจ็บปุวยของผู้รับบริการ อาการสาคัญที่มาโรงพยาบาล อาการสาคัญนาส่ง .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………… 2.ประวัตกิ ารเจ็บปุวยปัจจุบนั และ/ประวัตกิ ารตั้งครรภ์ และประวัตกิ ารคลอด ....................................................................................................................................................................................................................................................... 3.ประวัตกิ ารเจ็บปุวยในอดีตและ/หรือการตั้งครรภ์ การคลอดในอดีต ....................................................................................................................................................................................................................................... 2. ประวัติการเจ็บปุวยของครอบครัว ............................................................................................................................................................................................................................................................. .... .ส่วนที่ 3 การประเมินตามแบบแผนสุขภาพ.......สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภูม.ิ ...........................ºC . ชีพจร...........................ครั้ง/นาที จังหวะ......................อัตราการหายใจ...........................ครั้ง/นาที จังหวะ.........................ความดันโลหิต..........................มม.ปรอท น้าหนัก.........................กก. ส่วนสูง..........................................ซม.


35

การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ ตามการรับรู้ของผู้รับบริการ/ญาติ

1.1 สุขภาพโดยทั่วไปในปัจจุบัน

1.1 ลักษณะสุขภาพโดยทั่วไป (รูปร่าง ...................................................................

ความสะอาดของร่างกาย เครื่องแต่งกาย

...................................................................

ความพิการ ฯลฯ).............................................

1.2 ประวัตกิ ารตรวจร่างกาย/ได้รับภูมคิ ุ้มกัน

...........................................................................

................................................................................

...........................................................................

..................................................................….............

............................................................................

1.3 การดูแลความสะอาดร่างกายในอดีตและ/

……………………………………………………………………

หรือ ปัจจุบนั (การอาบน้า, แปรงฟัน)

…………………………………………………………………….

………………………………………………………………….

……………………………………………………………………

……………………………………………………………….. 1.4 พฤติกรรมเสี่ยง สูบบุหรี่...................................................

1.2 ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล .

.

...............................................................................

ดื่มเหล้า..................................................

..................................................................................

ยาที่รับประทานเป็นประจา...................................

...................................................................................

........................................................................... พฤติกรรมอื่น........................................................ 1.5 ประวัตกิ ารแพ้สารต่าง ๆ อาการ การแก้ไข

1.3 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสะอาด

..............................................................

ของสิ่งแวดล้อมของผู้รบั บริการและ/หรือบ้าน

*1.6 ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภาวะ สุขภาพในครั้งนี้และแผนการรักษาพยาบาล .............................................................................. ............................................................................. 1.7 การดูแลตนเองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ .................................................................................. ...............................................................................

* การเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสุขภาพตั้งแต่เบี่ยงเบนเล็กน้อยไปจนถึงเจ็บปุวย


36

การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

1.8 การปูองกันอุบตั ิเหตุและการดูแลสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมของครอบครัว/ชุมชน ................................................................... 2. อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร 2.1 ชนิดและปริมาณอาหารที่รับประทานเป็นประจา ………………………………………………….. 2.2 อาหารแสลง/อาหารที่ไม่รับประทาน .......................................................................

2.1 พฤติกรรมการรับประทานอาหาร …………………………………………………………………….. 2.2 การตรวจร่างกาย 1) ผิวหนัง (ความยืดหยุ่น,ความชื้น

อาการบวม, บาดแผล,ผื่น ฯลฯ ) 2.3 เวลาอาหารปกติ....................... ...................... อาหารบารุง/อาหารระหว่างมื้อ

.................................................................... 2) ผม.......................................................... ............................................................ 3. เล็บ

......................................................................... 2.5 ชนิดและปริมาณอาหารที่ได้รับ 2.6 เวลาอาหาร .................................................................. 2.7 อาการท้องอืด ท้องเฟูอ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน และปัญหาในการเคี้ยว กลืน และ การแก้ไข

4) ตา.......................................................... 5) ช่องปาก คอ ฟัน......................... 6) ลักษณะท้อง ท้องอืด......................................................... ตับ, ม้าม.................................................. ก้อนในท้อง.............................................. เสียงลาไส้................................................

2.8 ความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการที่เกี่ยวข้อง กับการเจ็บปุวยในครั้งนี้

7) ต่อมน้าเหลือง........................................... 8) ไทรอยด์...................................................


37

การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

2.9 ชนิด และปริมาณน้าดื่ม ปกติ ......................................................... 2.10 ชนิด และปริมาณดืม่ น้าขณะปุวย ………………………………………………….. 2.11 ประวัติการติดเชื้อ/ แผลเรื้อรัง .......................................................... 3. การขับถ่าย 3.1 ปัสสาวะ

3.1 การใช้ถุง/ สายสวนปัสสาวะ

1) ปกติปัสสาวะกลางวัน ...............................ครั้ง

....................................................................

กลางคืน...................................................ครั้ง

3.2 ลักษณะ สี จานวน ปัสสาวะ

อาการผิดปกติและการแก้ไข

....................................................................

.....................................................................

3.3 Colostomy

2) ขณะปุวย ปัสสาวะกลางงวัน ................................... ............. ครั้ง

...................................................................... .

....................................................................

กลางคืน ............................................ครั้ง

3.4 ลักษณะ จานวน อุจจาระ

อาการผิดปกติและการแก้ไข

......................................................................

3.2 อุจจาระ 1) ปกติอจุ จาระวันละ...............................ครั้ง อาการผิดปกติและการแก้ไข..........................

3.5 ริดสีดวงทวาร ......................................................................... …………………………………………………….

2) ขณะปุวย อุจจาระวันละ.........................ครั้ง อาการผิดปกติ และการแก้ไข…………………. 3.3 การฝึกการขับถ่าย ............................................................................... 4. กิจกรรมและการออกกาลังกาย 4.1 ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองใน กิจวัตรประจาวัน (การอาบน้า,แต่งตัว

4.1 กล้ามเนื้อและข้อ 1) ความแข็งแรง..........................................

..........................................................................การเคลื่อนไหว).................................................. ของข้อ............................

3) การเคลื่อนไหว


38

การซักประวัติ

...................................................................

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

**4) ความสามารถในการใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่

………………………………………………..

…………………………………………………

……………………………………………….

กล้ามเนื้อมัดเล็ก...........................................

4.2 ระบบหายใจ 4.2 กิจกรรมในงานบ้านและงานอาชีพ 1) ลักษณะการหายใจ.................................... ………………………………………………….. 2) เสียงปอด.................................................. 3) การใช้ออกซิเจน/เครื่องช่วยหายใจ 4.3 การออกกาลังกาย/กีฬา (ชนิด, ความถี,่ ระยะเวลาในแต่ละครั้ง......................................... 4.3 ระบบหัวใจ และหลอดเลือก. 1) อัตราการเต้นของหัวใจ.................ครั้ง/นาที. จังหวะ..................................................... 2) เสียงหัวใจ................................................ ***3) คลื่นไฟฟูาหัวใจ...................................... ***4 ชีพจรส่วนปลาย 4.4 งานอดิเรก, การใช้เวลาว่างและ นันทนาการ........................................................... 4.5 ประวัตกิ ารเป็นลม หายใจขัด เจ็บหน้าอก หอบเหนือ่ ย, ความดันโลหิตสูง และการแก้ไข ............................................................................. 4.6 การพัฒนาการของกล้ามเนื้อ................................... ...................................................................................

** เฉพาะผู้รับบริการวัยเด็ก


39

การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

5. การพักผ่อน นอนหลับ 5.1 การนอนหลับ 1) ปกตินอนหลับประมาณ………………ชม./วัน เวลานอน.......................เวลาตื่น...................... การนอนกลางวัน............................................. ปัญหาเกี่ยวกับการนอนและการแก้ไข................ …………………………………………………. 2) ขณะปุวย นอนหลับประมาณ..............ชม/วัน .

5.1 การนอนหลับ 1) ลักษณะทั่วไป ความสดชืน่ , ง่วง อ่อนเพลีย .......................................................... 2) พฤติกรรมการนอน ………………………………………………….. ...........................................................

นอนกลางวัน…………ชั่วโมง, กลางคืน ............ ชั่วโมง สิ่งรบกาวนการนอน . 5.2 การผ่อนคลาย การปฏิบตั ิเพื่อให้ตนเองรู้สึกผ่อนคลาย ..................................................................

5.2 การผ่อนคลาย การปฎิบตั ิเพื่อผ่อนคลาย ……………………………………………….

6. สติปญ ั ญาและการ 6.1 การรับความรู้สึกทางประสาทสัมผัสและการ แก้ไข) ตอบสนอง

6.1 การรับความรู้สึกทางประสาทสัมผัสและการตอบสนอง (ถ้ามีความผิดปกติให้ระบุการ

1) การมองเห็น.................................................

1. การตรวจตา/การมองเห็น…………..

2) การได้ยิน....................................................

2. การตรวจหู/การได้ยิน.......................

3) การรับรส....................................................

3. การตรวจการรับรส/รับกลิน่ ................

4) การรับกลิ่น................................................

...........................................................

5) การเจ็บปวด...............................................

4. การแสดงออกถึงความเจ็บปวด/

6) อาการชา...................................................

อาการชา.......................................

7) การรับรู้ บุคคล...........................................

5. ระดับความรู้สึกตัว..........................

เวลา.............................................

6 ขนาดรูม่านตาและปฏิกิริยาตอบสนอง

สถานที.่ ........................................

ต่อแสง................................................


40

การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย 7 ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexes).............................. 6.2 ความสามารถทางสติปญ ั ญาและความรู้

6.2 ความสามารถทางสติปญ ั ญาและความรู้ ความจา

ความจา.............................................

1. การตัดสินใจ..............................................

ลักษณะการโต้ตอบ/การใช้ภาษา

2. ความรูค้ วามจา..........................................

........................................................

**3. ผลการเรียน............................................... 4. ความสามารถในการเรียนรู้........................ 7. การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์

7.1 ความรู้สึกคิดต่อรูปร่าง หน้าตาและความ

7.1 พฤติกรรมแสดงออกถึงความสนใจในรูปร่าง สามารถของตนเอง.................................... ................................................................ 7.2 สิ่งที่ทาให้เกิดความภูมิใจในตนเอง ............................................................... 7.3 สิ่งที่ทาให้ความภาคภูมิใจลดลง/ปมด้อย ...............................................................

หน้าตาและความสามารถของตนเอง .................................................................... 7.2 พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ .

..................................................................

7.3 พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ ลดลง/ปมด้อย............................................

8. บทบาทและสัมพันธภาพ 8.1 บทบาทและสัมพันธภาพในครอบครัว

8.1 การมาเยื่อนของคนในครอบครัว/เพื่อน

1) จานวนสมาชิกในครอบครัว...............คน

ผู้ร่วมงาน..................................................

2) หน้าที่ความรับผิดชอบต่อครอบครัว

...............................................................

.................................................................. 3) สัมพันธภาพกับคนในครอบครัว ...................................................................

8.2 ปฎิสัมพันธ์กบั คนในครอบครัว/ผู้ร่วมงาน เพื่อน......................................................... .................................................................

4) บุคคลที่มีอานาจตัดสินใจ 5) การเปลี่ยนแปลงของบทบาทหน้าที่และ สัมพันธภาพขณะปุวย .................................................................... ** เฉพาะผู้รับบริการวัยเ

8.3 สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการสื่อสารและสัมพันธ ภาพ (เช่นใส่ท่อช่วยหายใจ ถูกตัดกล่องเสียง .................................................................


41 8.2 บทบาทและสัมพันธภาพในหน้าที่การงาน/ชุมชน

8.4 การแสดงออกถึงความสนใจเอาใจใส่

1) การเปลี่ยนแปลงอาชีพ/งานขณะปุวย

ของบิดามารดา ญาติ ผู้ดแู ล

…………………………………………………

…………………………………………………

2) การติดต่อและสัมพันธภาพกับเพื่อน/

…………………………………………………

ผู้ร่วมงาน/ชุมชน............................................

8.5 พฤติกรรมขณะเล่น/เข้ากลุ่ม/ได้รบั การ

…………………………………………………

พยาบาล........…………………………………

**8.3 พัฒนาการด้านสังคม

...................................................................

.............................................................. **8.4 พัฒนาการด้านภาษา ......................................................................... .......................................................................... 9. เพศและการเจริญพันธุ์ 9.1 การพัฒนาการตามเพศและการเจริญพันธุ์

9.1 การพัฒนาการตามเพศและการเจริญพันธุ์

1) เพศหญิง (ตั้งแต่วัยรุ่นขึ้นไป)

1) พฤติกรรมตามเพศ ชาย/หญิง

มีประจาเดือนครั้งแรกอายุ.........................ปี

การแต่งกาย.........................................

ระยะห่างของการมีประจาเดือน

.................................................................

.................................................วัน

สีหน้า/ท่าทาง/คาพูด.............................

จานวนวันที่มปี ระจาเดือน.........................วัน อาการผิดปกติขณะมีประจาเดือน................. .................................................................. 2) เพศชายและเพศหญิง (ถามเฉพาะรายที่

................................................................. .

................................................................. ................................................................. 2) การตรวจร่างกาย

แต่งงานแล้ว)

เต้านม...............................................

จานวนบุตร............................................คน

อวัยวะเพศ.........................................

การคุมกาเนิด............................................

3) การตรวจครรภ์/หลังคลอด .....................................................................

** เฉพาะผู้รับบริการวัยเด็ก


42 การซักประวัติ

การสังเกต/การตรวจร่างกาย

9.2 เพศสัมพันธ์ 1) ปัญหาเรื่องเพศสัมพันธ์

.........................................................................

...................................................................

…………………………………………………………………

10. การปรับตัวและความทนทานกับความเครียด 10.1 อุปนิสัยอารมณ์

10.1 พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเครียด

1) โดยทั่วไป..................................................

(สีหน้า,ท่าทาง,คาพูด).................................

2) ขณะปุวย…………………………………..

……………………………………………………..

10.2 สิ่งที่ทาให้ไม่สบายใจ/กังวล/กลัวในปัจจุบัน

.........................................................................

........................................................................

.........................................................................

10.3 การแก้ไขเมื่อไม่สบาย/กังวล/กลัวและ

10.2 พฤติกรรมที่แสดงถึงการปรับตัวต่อ

ผู้ให้ความช่วยเหลือ

ความเครียด..................................................

……………………………………………………

………………………………………………...

10.4 สิ่งที่ครอบครัวกังวลเกี่ยวกับความเจ็บปุวย

…………………………………………………

และผลกระทบต่อครอบครัว..............................

.........................................................

11. คุณค่าและความเชื่อ 11.1 คุณค่าและสิง่ ยืดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ

11.1 คุณค่าและสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ

1) สิ่งที่มีค่า มีความสาคัญที่สดุ ในชีวติ

1) สิ่งที่นับถือบูชา เช่น ห้อยพระ,

.........................................................................

ลูกประคา, เครื่องราง, รอยสัก

2) การปฏิบตั ิกรรมทางศาสนาตามปกติ/

.. ....................................................................

ความต้องการขณะปุวย

2) การปฏิบตั ิกจิ กรรมทางศาสนา/

.......................................................................

ความเชื่อ................................................

.......................................................................

.....................................................................

3) สิ่งที่ยึดเหนี่ยวขณะเจ็บปุวย

3) การกล่าวถึงศาสนา/ความเชื่อ

........................................................................ 11.2 ความเชื่อด้านสุขภาพ ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บปุวย ........................................................................

.

.....................................................................


43

ส่วนที่ 4 การตรวจเพื่อการวินิจฉัย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษและหัตถการ วันที่

ชนิดของการตรวจ

ผลการตรวจ

ค่าปกติ


44

ส่วนที่ 5 1.แผนการรักษา One day

Continue

2.ยาและสารน้า ......................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... ส่วนที่ 6 อภิปรายพยาธิสภาพของผู้ปุวยเปรียบเทียบกับทฤษฎี ทฤษฎี ชื่อโรค และความหมายของโรค

สาเหตุ พยาธิสภาพ อาการ การตรวจวินิจฉัย - Lab - การตรวจพิเศษ การรักษา

ผู้ปุวย


45

ส่วนที่ 7 การวางแผนการพยาบาล ข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ ข้อมูลสนับสนุน

วัตถุประสงค์ การพยาบาล/และเกณฑ์การ ประเมินผล

กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผลการพยาบาล

การประเมินผล/


46

ส่วนที่ 8 สรุปกรณีศึกษา ข้อมูลทั่วไป อาการและการดูแลรักษาที่ผู้ปุวยได้รับจนถึงปัจจุบนั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ..ส่วนที่ 9 ข้อเสนอแนะ

......................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

ส่วนที่ 10 หนังสืออ้างอิง( Reference) ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................


47

แบบบันทึกการสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึกปฏิบัติงาน (Self- Reflection Sheet) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชื่อ – สกุล ประเภทของผลงาน     ชื่อกิจกรรม

Academic experiences Extra- curricular activity จัดโดยคณะ หรือ มหาวิทยาลัย Student preference activities/student interest activities Outstanding piece of work

การฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

วันที่ทากิจกรรม ชั้นปีที่.........ปีการศึกษา................ภาคเรียนที่............. ความเห็นของผู้ประเมิน(อาจารย์ผู้นิเทศ หรือ อาจารย์ประจาวิชา หรือ กรณีศึกษา)....................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .............................................................. ลงชื่อ.......................................................

(...........................................................)


48

วันที่...................................................... 1. การสะท้อนคิดต่อกิจกรรม . 1.1 จากการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น นักศึกษาได้รับความรู้ และทักษะที่สาคัญอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………....................................................................................................... ……………………………………………………………………...................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………................................................................. 1.2 ประสบการณ์ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ทาให้นักศึกษามีทัศนคติต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และวิชาชีพ เป็นอย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………...................................................................................................... ……………………………………………………………………..................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………..................................................................


49

1.3 นักศึกษาได้บูรณาการความรู้จากศาสตร์เชิงประจักษ์ จากศิลปะทางการพยาบาล จากประสบการณ์ส่วนตัว และความรู้เชิง จริยศาสตร์ ในการดูแลแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และ จิตวิญญาณ ในขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………............................................................................................................................ ……………………………………………………………………............................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………........................................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….......................................................................................... 1.4 กิจกรรมนี้ ทาให้นักศึกษาอยากเรียนรู้ในเรื่องใดเพิ่มเติม และจะมีวิธีการใดที่จะทาให้ ถึงเปูาหมาย ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………............................ ........................…………………………………………………………………….....................................................…………………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………

1.5 จากการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นในครั้งนี้ทาให้นักศึกษามีสมรรถนะตามที่หลักสูตรคาดหวังในข้อใดบ้าง และอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .. ……………………………………………………………………....................................................................................................................................... .

.


50

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต แบบประเมินผลการศึกษาผู้รับบริการรายกรณี (Case Study) รายวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน..........................................หอผู้ปุวย...................................ระหว่างวันที่…………………… การวินิจฉัยโรค.......................................... .......................................... ...............................................................

ประเด็นการประเมินการนาเสนอ

ระดับคะแนน ประเมิน 4 3

1

การรวบรวม ข้อมูลครบถ้วนตรงตามความเป็นจริง และเป็นปัจจุบันครอบคลุมกาย จิต สังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ (4)

2

การวิเคราะห์และการให้เหตุผลเชิงคลินิกถูกต้อง (20) 2.1 พยาธิสภาพชัดเจนสอดคล้องกับภาวะผู้ปุวย 2.2 อาการและอาการแสดงสอดคล้องกับภาวะผู้ปุวย 2.3 สิ่งตรวจพบ (การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ) 2.4 แผนการรักษา 2.5 ภาวะแทรกซ้อน

3

วางแผนการพยาบาลครอบคลุม และสอดคล้อง(56) 3.1 ข้อวินิจฉัยการพยาบาลถูกต้อง มีข้อมูลสนับสนุนครบถ้วน และสอดคล้อง 3.2 ข้อวินิจฉัยการพยาบาลครอบคลุมองค์รวม 3.3 วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา และครบถ้วน

2 1


51

3.4 เกณฑ์การประเมินผลครบถ้วน และชัดเจน 3.5 กิจกรรมการพยาบาลถูกต้อง 3.6 เหตุผลของกิจกรรมการพยาบาลถูกต้องตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ 3.7 ประเมินผลการพยาบาลชัดเจน และต่อเนื่องสอดคล้องกับเกณฑ์ 4

สรุปกรณีศึกษา กระชับชัดเจน(4)

5

ข้อเสนอแนะ และคาแนะนาถูกต้องชัดเจน (4)

6

รายงานสะอาดเรียบร้อย(4)

7

บรรณานุกรมถูกต้องตามแบบแผน (4)

8

ส่งงานตรงเวลา (4)

รวมความถี่ รวมคะแนน คะแนนเต็ม 100 คะแนน (คิดเป็น 5 %) คะแนนที่ได้รวม............................คะแนน คิดเป็น....................% ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ผู้ประเมิน......................................................................วันที่.....................................................................................


52

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต แบบประเมินผลการนาเสนองานการศึกษาผู้รับบริ การรายกรณี (Case Study) รายวิชา การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น สถานที่ฝึกปฏิบตั ิงาน..........................................หอผู้ป่วย...................................ระหว่างวันที่…………………… การวินิจฉัยโรค.......................................... .......................................... ............................................................... กลุม่ ที่.......................... รายชื่อผู้นาเสนอ 1………………………………………………………..2………………………………………….. 3……………………………………………………….. 4………………………………………….. 5……………………………………………………….. 6………………………………………….. 7……………………………………………………….. 8………………………………………….. อาจารย์ประจาหอผู้ป่วย…………………………………………..…………………………………. ลาดับ ที่

ระดับคะแนนประเมิน ประเด็นการประเมินการนาเสนอ

หมายเหตุ 5

1

การเตรียมตัวรายงาน

2

ข้ อมูลครบถ้ วนตรงตามความเป็ นจริง และเป็ นปั จจุบนั ครอบคลุมกาย จิต สังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ

3

เปรียบเทียบพยาธิ สภาพของผู้ป่วยกับทฤษฏี

4

ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล และข้ อมูลสนับสนุน (2)

5

วัตถุประสงค์สอดคล้ องกับปั ญหา และครบถ้ วน

6

เกณฑ์การประเมินครบถ้ วน และชัดเจน (2)

7

กิจกรรมการพยาบาลครอบคลุม และถูกต้ อง (2)

8

เหตุผลของกิจกรรมการพยาบาลถูกต้ อง (2)

4

3

2

1


53

9

ประเมินผลการพยาบาลชัดเจน (2)

10

สรุปกรณีศกึ ษา ข้ อเสนอแนะ และคาแนะนะถูกต้ องชัดเจน

11

การมีสว่ นร่วมของกลุม่ นาเสนอ

12

ใช้ สอื่ ประกอบการนาเสนอเหมาะสม

13

ตอบปั ญหาตรงประเด็น และถูกต้ อง (2)

14

ตรงต่อเวลา (1 ชัว่ โมง)

รวมความถี่ รวมคะแนน คะแนนเต็ม 100 คะแนน (คิดเป็ น 5 %) คะแนนที่ได้ รวม............................คะแนน คิดเป็ น....................% ข้ อเสนอแนะ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ผู้ประเมิน............................................................วันที่.....................................................................................


54

คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต แบบประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาล ชื่อนักศึกษา................................................. รหัสประจาตัว............................. ชั้นปี........... ........................... รายวิชา........................................ ภาคการศึกษาที่..................... ปีการศึกษา.................... ..................... .............. ฝึกปฏิบัติงานระหว่างวันที่................. ณ หอผู้ปุวย................... โรงพยาบาล........................ ............................. ชื่ออาจารย์นิเทศ.................................................................................................................................................. กิจกรรมที่ประเมิน 1. ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 การระบุข้อวินิจฉัย 1.3 การกาหนดวัตถุประสงค์ 1.4 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน 1.5 การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล 1.6 การประเมินผลการพยาบาล 2. ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล 2.1 ทักษะการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล(2) 2.2 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติกิจกรรมการ พยาบาล(2) 2.3 เทคนิคกีดกั้นการติดเชื้อและการแพร่กระจาย

การให้คะแนน 5

4

3

2 1

หมายเหตุ


55

เชื้อโรค(2) 2.4 ความปลอดภัยในการปฏิบัติการพยาบาล(2) 2.5 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์(2) 2.6 การร่วมอภิปรายทีม(2) 3. ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร 3.1 สัมพันธภาพกับผู้ใช้บริการ 3.2 สัมพันธภาพกับทีมการพยาบาล 3.3 สัมพันธภาพกับสหสาขาวิชาชีพ / ผู้เกี่ยวข้อง อื่นๆ 4. จรรยาบรรณวิชาชีพ 4.1 การเคารพสิทธิผู้ปุวย 4.2 บุคลิกภาพเชิงวิชาชีพ 4.3 ความซื่อสัตย์ มีวินัย รับผิดชอบ 4.4 พฤติกรรมการให้บริการ 5. การพัฒนาตนเอง รวมความถี่ รวมคะแนน คะแนนเต็ม 130 คะแนน (คิดเป็น 70%) คะแนนที่ได้รวม............................คะแนน คิดเป็น....................% ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................................................................. ผู้ประเมิน....................................................................................วันที่ .....................................................................................


56

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย √ หน้าหัวข้อที่ท่านให้คะแนน ** นักศึกษาต้องได้รับการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลในข้อ 2.4, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 ไม่น้อยกว่า 3 จึงจะมีสิทธิได้รับการประเมิน 1. ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาล 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ............5 มีข้อมูลที่จาเป็นประวัติความเจ็บปุวยและแบบแผนสุขภาพครบถ้วน ถูกต้องตามความเป็น จริงเป็นปัจจุบัน ใช้ภาษาถูกต้องตามหลักวิชาการ ............4 มีข้อมูลที่จาเป็นประวัติความเจ็บปุวยและแบบแผนสุขภาพครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้อง ตามความเป็นจริง เป็นปัจจุบัน ใช้ภาษาถูกต้องตามหลักวิชาการ ............3

มีข้อมูลที่จาเป็นประวัติความเจ็บปุวยและแบบแผนสุขภาพครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้อง

ตามความเป็นจริง เป็นปัจจุบัน ใช้ภาษาถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นส่วนใหญ่ .............2มีข้อมูลที่จาเป็นประวัติความเจ็บปุวยและแบบแผนสุขภาพไม่ครบถ้วน แต่ถูกต้อง ความเป็นจริง เป็นปัจจุบัน ใช้ภาษาถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นส่วนใหญ่

ตาม

.............1มีข้อมูลที่จาเป็นประวัติความเจ็บปุวยและแบบแผนสุขภาพไม่ครบถ้วนไม่ถูกต้องไม่ตรง

ตาม

ความเป็นจริงไม่เป็นปัจจุบัน และใช้ภาษาไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นบางส่วน 1.2 การระบุข้อวินิจฉัย ............5 เป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต วิญญาณ ข้อวินิจฉัยทุกข้อมีข้อมูลสนับสนุนครบถ้วน สอดคล้องเป็นปัจจุบัน เรียงลาดับข้อ วินิจฉัย ตาม ความสาคัญ ............4 เป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต วิญญาณ เป็นส่วนใหญ่ ข้อวินิจฉัยส่วนใหญ่มีข้อมูลสนับสนุนครบถ้วน สอดคล้องเป็น ปัจจุบัน เรียงลาดับข้อวินิจฉัย ตามความสาคัญ


57

............3 เป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต วิญญาณ เป็นบางส่วน ข้อวินิจฉัยบางข้อมีข้อมูลสนับสนุนสอดคล้องเป็นปัจจุบัน เรียงลาดับ

ข้อ

วินิจฉัย ตามความสาคัญ ............2 เป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ไม่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต วิญญาณ เป็นส่วนใหญ่ ข้อวินิจฉัยบางข้อมีข้อมูลสนับสนุน สอดคล้องเป็นปัจจุบัน ไม่ เรียงลาดับข้อวินิจฉัย ตามความสาคัญ ............1 เป็นข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ไม่สาคัญไม่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิต วิญญาณ ข้อวินิจฉัยบางข้อมีข้อมูลสนับสนุน สอดคล้องไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ เรียงลาดับข้อวินิจฉัย ตามความสาคัญ 1.3 การกาหนดวัตถุประสงค์ ............5

ครบถ้วน สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ/หรือ แผนการรักษา มีความเป็นไปได้

............4

ครบถ้วน สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ/หรือ แผนการรักษา วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่มีความ

เป็นไปได้ ............3 ครบถ้วน สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ/หรือ แผนการรักษาเป็นส่วนใหญ่ วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่มีความเป็นไปได้ ............2

ครบถ้วน สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ/หรือ แผนการรักษาเป็นบางส่วน แต่

มีความเป็นไปได้น้อย ............1

ครบถ้วน ไม่สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ/หรือ แผนการรักษา ไม่มีความเป็นไปได้

1.4 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน ............5 ถูกต้องตามหลักวิชาการ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และ สัมพันธ์กับข้อมูลสนับสนุน วัดได้ มี กาหนดเวลาและมีความเป็นไปได้ ............4

ถูกต้องตามหลักวิชาการ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และ สัมพันธ์กับข้อมูลสนับสนุน วัดได้ มี

กาหนดเวลาและมีความเป็นไปได้ เป็นส่วนใหญ่


58

............3 ถูกต้องตามหลักวิชาการ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และ สัมพันธ์กับข้อมูลสนับสนุนเป็นส่วน ใหญ่ วัดได้ มีกาหนดเวลาเป็นส่วนใหญ่ และมีความเป็นไปได้ เป็นส่วนใหญ่ ............2 ถูกต้องตามหลักวิชาการ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และ สัมพันธ์กับข้อมูลสนับสนุนเป็น บางส่วน วัดได้ มีกาหนดเวลาเป็นบางส่วน และมีความเป็นไปได้เป็นบางส่วน ............1 ไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ และ สัมพันธ์กับข้อมูลสนับสนุนเป็นบางส่วน ไม่สามารถวัดได้ ไม่มีกาหนดเวลา มี ความเป็นไปได้บางส่วน 1.5 การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล ............5 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาลและแผนการรักษา สามารถปฏิบัติได้จริง ครอบคลุม ทุกบทบาท ระบุกิจกรรมและเหตุผลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เหมาะสมกับผู้ใช้บริการ เปิดโอกาสให้ ผู้ใช้บริการและ/หรือครอบครัวมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรม ............4 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาลและแผนการรักษา สามารถปฏิบัติได้จริง ครอบคลุมทุกบทบาท ระบุกิจกรรมและเหตุผลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เหมาะสมกับผู้ใช้บริการ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการและ/หรือ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรมเป็นส่วนใหญ่ ............3 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาลและแผนการรักษาเป็นส่วนใหญ่ สามารถปฏิบัติได้ จริง ครอบคลุมทุกบทบาทเป็นส่วนใหญ่ ระบุกิจกรรมและเหตุผลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นส่วนใหญ่ เหมาะสม กับผู้ใช้บริการ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการและ/หรือครอบครัวมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรมเป็นส่วนใหญ่ ............2 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาลและแผนการรักษาเป็นบางส่วน สามารถปฏิบัติได้จริง ครอบคลุมทุกบ เป็นบางส่วน ระบุกิจกรรมและเหตุผลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นบางส่วน เหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการบางส่วน เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการและ/หรือครอบครัวมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรมเป็น บางส่วน ............1 ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การพยาบาลและแผนการรักษา ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง ไม่ครอบคลุมทุกบทบาท ระบุกิจกรรมและเหตุผลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการเป็นบางส่วนเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการเป็นบางส่วนไม่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการและ/หรือครอบครัวมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรม


59

1.6 การประเมินผลการพยาบาล ............5

ประเมินผลครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินผลอย่างต่อเนื่องเป็นจริง ตัดสินผลกระประเมินได้

อย่าง

ถูกต้อง นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกิจกรรม ............4 ประเมินผลครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินผลอย่างต่อเนื่องเป็นจริง ตัดสินผลกระประเมินได้ ถูกต้อง นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกิจกรรมได้เป็นส่วนใหญ่

อย่าง

............3

อย่าง

ประเมินผลครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินผลอย่างต่อเนื่องเป็นจริง ตัดสินผลกระประเมินได้

ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกิจกรรมได้เป็นส่วนใหญ่ ............2 ประเมินผลครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินผลอย่างต่อเนื่องเป็นจริง ตัดสินผลกระประเมินได้ ถูกต้องเป็นบางส่วน นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกิจกรรมได้เป็นบางส่วน ............1

ประเมินผล ไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินผล ตัดสินผลกระประเมินได้อย่างถูกต้องเป็นบางส่วน ไม่นา

ผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกิจกรรม 2. ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล 2.1 ทักษะการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ............5

ถูกหลักการ นุ่มนวล คล่องแคล่ว อธิบาย/แจ้งผู้ใช้บริการทุกครั้ง ถูกต้องเหมาะสมกับ

ผู้ใช้บริการและสถานการณ์ ............4 ถูกหลักการ นุ่มนวล คล่องแคล่วเป็นส่วนใหญ่ อธิบาย/แจ้งผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง ถูกต้อง เหมาะสมกับผู้ใช้บริการและสถานการณ์ ............3

อย่าง

ถูกหลักการ นุ่มนวล คล่องแคล่วเป็นส่วนใหญ่ อธิบาย/แจ้งผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง ถูกต้อง

เหมาะสมกับผู้ใช้บริการและสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ ............2 ถูกหลักการ นุ่มนวล คล่องแคล่วเป็นบางส่วน อธิบาย/แจ้งผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง ถูกต้อง เหมาะสมกับผู้ใช้บริการและสถานการณ์เป็นบางครั้ง


60

............1 ถูกหลักการ ไม่นุ่มนวล ไม่คล่องแคล่ว ไม่อธิบาย/แจ้งผู้ใช้บริการ ไม่ถูกต้องเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการและสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ 2.2 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล ............5 บรรลุเปูาหมายอย่างมีคุณภาพ ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ตามความเหมาะสม สามารถประยุกต์ เครื่องมือได้เหมาะสม ใช้เวลาแรงงานได้เหมาะสม ............4

บรรลุเปูาหมายอย่างมีคุณภาพ ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ไม่เหมาะสม สามารถประยุกต์

เครื่องมือได้เหมาะสม ใช้เวลาแรงงานได้เหมาะสม ............3 บรรลุเปูาหมายอย่างมีคุณภาพเป็นส่วนใหญ่ ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ไม่เหมาะสม สามารถประยุกต์ เครื่องมือได้เหมาะสม ใช้เวลาแรงงานได้ไม่เหมาะสม ............2

บรรลุเปูาหมายอย่างมีคุณภาพเป็นส่วนใหญ่ ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ไม่เหมาะสมไม่สามารถ

ประยุกต์เครื่องมือได้ ใช้เวลาแรงงานได้ไม่เหมาะสม ............1 ไม่บรรลุเปูาหมาย ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ไม่เหมาะสมไม่สามารถประยุกต์เครื่องมือได้ ใช้เวลา แรงงานได้ไม่เหมาะสม 2.3 เทคนิคกีดกั้นการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อโรค ............5

ล้างมือก่อนและหลังการพยาบาล สามารถใช้อุปกณ์ปูองกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ รักษาความสะอาดเครื่องมือตามหลักวิชาการ รักษาความ สะอาด สิ่งแวดล้อมของผู้ใช้บริการอย่างสม่าเสมอ ............4

ล้างมือก่อนและหลังการพยาบาล สามารถใช้อุปกณ์ปูองกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

ได้เหมาะสมกับสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ รักษาความสะอาดเครื่องมือตามหลักวิชาการ รักษาความสะอาด สิ่งแวดล้อมของผู้ใช้บริการอย่างสม่าเสมอ ............3

ล้างมือก่อนและหลังการพยาบาล สามารถใช้อุปกณ์ปูองกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

ได้เหมาะสมกับสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ รักษาความสะอาดเครื่องมือไม่ถูกต้องตามหลัก รักษาความสะอาด สิ่งแวดล้อมของผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง

วิชาการ


61

............2 ล้างมือก่อนและหลังการพยาบาล สามารถใช้อุปกณ์ปูองกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ ได้เหมาะสมกับสถานการณ์เป็นบางส่วน รักษาความสะอาดเครื่องมือไม่ถูกต้องตามหลัก วิชาการ รักษาความสะอาดสิ่งแวดล้อมของผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง ............1 ล้างมือบางครั้ง ไม่สามารถใช้อุปกณ์ปูองกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ ได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ รักษาความสะอาดเครื่องมือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ไม่รักษาความสะอาด สิ่งแวดล้อมของผู้ใช้บริการ 2.4 ความปลอดภัยในการปฏิบัติการพยาบาล ............5 ละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน ไวต่อสิ่งผิดปกติ จัดสิ่งแวดล้อมได้ปลอดภัย รายงานทันที เมื่อพบสิ่งผิดปกติ/เมื่อปฏิบัติงานผิดพลาด ............4 ละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน ไวต่อสิ่งผิดปกติ จัดสิ่งแวดล้อมได้ปลอดภัย รายงาน ล่าช้า เมื่อพบสิ่งผิดปกติ/เมื่อปฏิบัติงานผิดพลาด ............3

ละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน ไวต่อสิ่งผิดปกติ เป็นส่วนใหญ่ จัดสิ่งแวดล้อมได้

ปลอดภัย รายงานล่าช้าเมื่อพบสิ่งผิดปกติ/เมื่อปฏิบัติงานผิดพลาด ............2 ละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานน้อยไม่สนใจต่อสิ่งผิดปกติ จัดสิ่งแวดล้อมได้ปลอดภัย เป็นบางครั้ง รายงานเหตุการณ์ผิดพลาดเมื่อไม่สามารถแก้ไขได้ ............1

ละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานน้อยไม่สนใจต่อสิ่งผิดปกติ ไม่จัดสิ่งแวดล้อมได้ปลอดภัย

รายงานเหตุการณ์ผิดพลาดเมื่อไม่สามารถแก้ไขได้ 2.5 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ............5 อธิบาย แปลความข้อมูลได้ตามหลักวิชา วิเคราะห์ข้อมูลและปัญหาผู้ใช้บริการถูกต้อง มี กระบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล นาความรู้มาประยุกต์ใช้ได้ ............4

อธิบาย แปลความข้อมูลได้ตามหลักวิชาได้เป็นส่วนใหญ่ วิเคราะห์ข้อมูลและปัญหา

ผู้ใช้บริการถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีกระบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล นาความรู้มาประยุกต์ใช้ได้ ............3 อธิบาย แปลความข้อมูลได้ตามหลักวิชาได้เป็นบางส่วน วิเคราะห์ข้อมูลและปัญหา ผู้ใช้บริการถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีกระบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล นาความรู้มาประยุกต์ใช้ได้

น้อย


62

............2 อธิบาย แปลความข้อมูลได้ตามหลักวิชาได้เป็นบางส่วน วิเคราะห์ข้อมูลและปัญหา ผู้ใช้บริการถูกต้องเป็นบางส่วน มีกระบวนการคิดเป็นเหตุเป็นผล นาความรู้มาประยุกต์น้อย ............1 อธิบาย แปลความข้อมูลได้ตามหลักวิชาได้น้อย วิเคราะห์ กระบวนการคิดไม่เป็นเหตุเป็นผล นาความรู้มาประยุกต์น้อย 2.6 การร่วมอภิปรายทีม ............5

รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น นาเสนอข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อโต้แย้งได้อย่างมีเหตุผล ตรงประเด็น

สรุปประเด็นที่สาคัญ และมีข้อเสนอแนะที่ปฏิบัติได้ ............4 รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น นาเสนอข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อโต้แย้งได้อย่างมีเหตุผล ตรงประเด็น เป็นส่วนใหญ่ สรุปประเด็นที่สาคัญ และมีข้อเสนอแนะที่ปฏิบัติได้เป็นส่วนใหญ่ ............3

รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น นาเสนอข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อโต้แย้งได้อย่างมีเหตุผล ตรงประเด็น

ค่อนข้างน้อย สรุปประเด็นที่สาคัญได้บ้าง และมีข้อเสนอแนะที่ปฏิบัติได้เป็นส่วนน้อย ............2 รับฟังความคิดเห็นเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับตน นาเสนอข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อโต้แย้งได้อย่างมี เหตุผล ตรงประเด็นค่อนข้างน้อยไม่สามารถสรุปประเด็นที่สาคัญ ไม่มีข้อเสนอแนะที่ปฏิบัติ ............1ไม่สนใจรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น นาเสนอข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อโต้แย้งได้อย่างไม่สม

เหตุผล ไม่

สามารถสรุปประเด็นที่สาคัญ ไม่มีข้อเสนอแนะที่ปฏิบัติได้ 3. ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร 3.1 สัมพันธภพกับผู้ใช้บริการ ............5 เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สื่อสารชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาพูดและภาษาท่าทางเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการ สนใจเอาใจใส่ รับฟังความคิดเห็นกระตือรือร้น ............4 เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สื่อสารชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาพูดและภาษาท่าทางเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการเป็นส่วนใหญ่ สนใจเอาใจใส่ รับฟังความคิดเห็นกระตือรือร้นเป็นส่วนใหญ่ ............3

เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สื่อสารชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาพูดและภาษาท่าทางเหมาะสมกับ

ผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง สนใจเอาใจใส่น้อย รับฟังความคิดเห็นกระตือรือร้นเป็นส่วนใหญ่

ได้


63

............2 เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สื่อสารค่อนข้างชัดเจนพอเข้าใจ ใช้ภาษาพูดและภาษาท่าทาง กับผู้ใช้บริการเหมาะสมเป็นบางครั้ง สนใจเอาใจใส่ รับฟังความคิดเห็นกระตือรือร้นเป็น บางครั้ง ............1 เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สื่อสารค่อนข้างชัดเจนพอเข้าใจ ใช้ภาษาพูดและภาษาท่าทาง กับผู้ใช้บริการเหมาะสมเป็นบางครั้ง สนใจเอาใจใส่ รับฟังความคิดเห็นกระตือรือร้นเป็น บางครั้ง 3.2 สัมพันธภาพกับทีมการพยาบาล ............5ให้ความสนใจ ร่วมมือ ช่วยเหลือทีมอย่างกระตือรือร้น รับฟังและแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสม การใช้ ภาษาชัดเจน การแสดงออกเหมาะสม ............4ให้ความสนใจ ร่วมมือ ช่วยเหลือทีมอย่างกระตือรือร้น รับฟังและแสดงความคิดเห็นน้อย ภาษาชัดเจน การแสดงออกเหมาะสม

การใช้

............3ให้ความสนใจ ร่วมมือ ช่วยเหลือทีมอย่างกระตือรือร้นเป็นบางครั้ง รับฟังและแสดงความคิดเห็นน้อยใช้ภาษา ชัดเจน การแสดงออกไม่เหมาะสมเป็นบางครั้ง ............2ให้ความสนใจ ร่วมมือ ช่วยเหลือทีม แต่ไม่กระตือรือร้น รับฟังและแสดงความคิดเห็นน้อย ไม่ชัดเจน การแสดงออกไม่เหมาะสมเป็นบางครั้ง

ใช้ภาษา

............1ให้ความสนใจ ร่วมมือ ช่วยเหลือทีมน้อย รับฟังแต่ไม่แสดงความคิดเห็น ใช้ภาษาไม่ชัดเจน การแสดงออกไม่ เหมาะสมเป็นบ่อยครั้ง 3.3 สัมพันธภาพกับสหสาขาวิชาชีพ / ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ............5ใช้ภาษาและแสดงออกเหมาะสม เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สนใจให้ความร่วมมือและช่วยเหลืออย่าง เหมาะสม ............4ใช้ภาษาและแสดงออกเหมาะสม เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สนใจให้ความร่วมมือและช่วยเหลืออย่าง เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่ ............3ใช้ภาษาและแสดงออกเหมาะสม เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สนใจให้ความร่วมมือและช่วยเหลือ ไม่เหมาะสม เป็นบางครั้ง


64

............2ใช้ภาษาและแสดงออกไม่เหมาะสมเป็นบางครั้ง เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพบางครั้ง สนใจให้ความร่วมมือและ ช่วยเหลือ ไม่เหมาะสมเป็นบางครั้ง ............1ใช้ภาษาและแสดงออกไม่เหมาะสมบ่อยครั้งไม่เป็นไปตามรูปแบบวิชาชีพ สนใจให้แต่ให้ความร่วมมือและ ช่วยเหลือ ไม่เหมาะสม 4. จรรยาบรรณวิชาชีพ

4.1 ............5

การเคารพสิทธิผู้ปุวย แนะนาตัว ให้ข้อมูลถูกต้องและเพียงพอ ปกปูองสิทธิของผู้ใช้บริการได้เหมาะสม ไม่เปิดเผยความลับ ไม่ละเมิด ให้บริการได้ตรงตามต้องการโดยไม่เลือกปฏิบัติ

............4

แนะนาตัว ให้ข้อมูลถูกต้องและเพียงพอ ปกปูองสิทธิของผู้ใช้บริการได้เหมาะสม ไม่เปิดเผยความลับ ไม่ละเมิด ให้บริการได้ตรงตามต้องการเป็นส่วนใหญ่โดยไม่เลือกปฏิบัติ

............3

แนะนาตัว ให้ข้อมูลถูกต้องและเพียงพอ ปกปูองสิทธิของผู้ใช้บริการได้เหมาะสม ไม่เปิดเผยความลับ ให้บริการได้ตรงตามต้องการเป็นบางส่วนโดยไม่เลือกปฏิบัติ

............2 แนะนาตัว ให้ข้อมูลที่จาเป็นน้อย ปกปูองสิทธิของผู้ใช้บริการเป็นบางครั้ง ไม่เปิดเผยความลับ ให้บริการได้ตรงตามต้องการเป็นบางส่วนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ............1 ไม่แนะนาตัว ให้ข้อมูลที่จาเป็นน้อย ไม่ปกปูองสิทธิของผู้ใช้บริการ ไม่เปิดเผยความลับ ให้บริการตรงความต้องการเป็นบางส่วน 4.2 บุคลิกภาพเชิงวิชาชีพ ............5

คาพูดกิริยาท่าทางสุภาพ ควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ มีสุขวิทยาส่วนบุคคลดี แต่งกาย ถูกระเบียบและเหมาะสม

............4

คาพูดกิริยาท่าทางสุภาพ ควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ มีสุขวิทยาส่วน บุคคลดี แต่งกายถูกระเบียบและเหมาะสม


65

............3

คาพูดกิริยาท่าทางสุภาพ ควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์เป็นส่วนใหญ่ มีสุขวิทยาส่วน บุคคลดี แต่งกายถูกระเบียบแต่ไม่เหมาะสม

............2

คาพูดกิริยาท่าทางไม่สุภาพบ่อยครั้ง ควบคุมอารมณ์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ สุขวิทยาส่วนบุคคล บางด้านต้องแก้ไข แต่งกายถูกระเบียบแต่ไม่เหมาะสม

............1

คาพูดกิริยาท่าทางไม่สุภาพบ่อยครั้ง ควบคุมอารมณ์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ สุขวิทยาส่วนบุคคล ต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่ แต่งกายถูกระเบียบแต่ไม่เหมาะสม

4.3 ความซื่อสัตย์ มีวินัย รับผิดชอบ ............5

ตรงต่อเวลา ไม่ละทิ้งหน้าที่ ไม่บิดเบือนข้อมูล ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสาเร็จครบถ้วน ยอมรับใน การปฏิบัติที่บกพร่องและพยายามปรับปรุง

............4

ตรงต่อเวลา ไม่ละทิ้งหน้าที่ ไม่บิดเบือนข้อมูล ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสาเร็จครบถ้วน ยอมรับใน การปฏิบัติที่บกพร่องและพยายามปรับปรุงเป็นส่วนใหญ่

............3

ไม่ตรงต่อเวลาบางครั้ง ไม่ละทิ้งหน้าที่ ไม่บิดเบือนข้อมูลบางครั้ง ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายแต่ไม่ ครบถ้วน ยอมรับในการปฏิบัติที่บกพร่องและพยายามปรับปรุงน้อย

............2

ไม่ตรงต่อเวลาบางครั้ง ละทิ้งหน้าที่บางครั้ง บิดเบือนข้อมูลบางครั้ง ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายสาเร็จ เป็นส่วนใหญ่ ยอมรับการปฏิบัติที่บกพร่องแต่ไม่พยายามปรับปรุง

............1

ไม่ตรงต่อเวลาบ่อยครั้ง ละทิ้งหน้าที่บางครั้ง บิดเบือนข้อมูลบ่อยครั้ง ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย สาเร็จเป็นบางส่วน ยอมรับการปฏิบัติที่บกพร่องแต่ไม่พยายามปรับปรุง

4.4 พฤติกรรมการให้บริการ ............5

ท่าทีเป็นมิตร มีน้าใจ สนใจไต่ถามความต้องการ เต็มใจให้บริการโดยไม่รั้งรอ

............4

ท่าทีเป็นมิตร มีน้าใจ สนใจไต่ถามความต้องการ เต็มใจให้บริการ ให้บริการโดยไม่รั้งรอเป็นส่วนใหญ่

............3

ท่าทีเป็นมิตร มีน้าใจ สนใจไต่ถามความต้องการ เต็มใจให้บริการ แต่ให้บริการเมื่อร้องขอ

............2

ท่าทีเป็นมิตร ไม่มีน้าใจ สนใจไต่ถามความต้องการเป็นบางครั้ง ทางานเฉพาะหน้าที่ ให้บริการเมื่อร้อง ขอ


66

............1

ท่าทีไม่ค่อยเป็นมิตร ไม่มีน้าใจ ไม่สนใจไต่ถาม ทางานเฉพาะหน้าที่ ให้บริการเมื่อร้องขอ

5. การพัฒนาตนเอง

............5

สามารถวิเคราะห์และยอมรับจุดแข็งจุดอ่อนตรงกับความเป็นจริง บอกแนวทางในการพัฒนาได้ เหมาะสม เป็นไปได้ มีการพัฒนาตนเองที่ชัดเจนและบอกการเปลี่ยนแปลงตนเองได้ชัดเจน

............4

สามารถวิเคราะห์และยอมรับจุดแข็งจุดอ่อนตรงกับความเป็นจริง บอกแนวทางในการพัฒนาได้ เหมาะสมเป็นไปได้เป็นส่วนใหญ่มีการพัฒนาตนเองที่ชัดเจนแต่ไม่สม่าเสมอ บอกการเปลี่ยนแปลง ตนเองไม่ชัดเจน

............3

สามารถวิเคราะห์และยอมรับจุดแข็งจุดอ่อนตรงกับความเป็นจริงเป็นส่วนใหญ่บอกแนวทางในการ พัฒนาได้เหมาะสมเป็นไปได้เป็นส่วนใหญ่มีการพัฒนาตนเองที่ชัดเจนแต่ไม่สม่าเสมอ บอกการ เปลี่ยนแปลงตนเองไม่ชัดเจน

............2

สามารถวิเคราะห์และยอมรับจุดแข็งจุดอ่อนตรงกับความเป็นจริงเป็นบางส่วน บอกแนวทางในการ พัฒนาได้เหมาะสมเป็นไปได้เป็นบางส่วน มีการพัฒนาตนเองน้อย บอกการเปลี่ยนแปลงตนเองไม่ ชัดเจน

............1

ไม่สามารถวิเคราะห์และยอมรับจุดแข็งจุดอ่อนได้ บอกแนวทางในการพัฒนาแต่เป็นไปได้น้อย มีการ พัฒนาตนเองน้อย บอกการเปลี่ยนแปลงตนเองไม่ชัดเจน


67

ภาคผนวก เบอร์โทรศัพท์ อาจารย์นิเทศประจาหอผู้ปุวย

เบอร์ติดต่อ

1.ผศ.จุไร อภัยจิรรัตน์

081-9398397

2.พ.ท.หญิง วชิรา ไกรถิ่น

081-8177228

3. อาจารย์ สุณีย์ ชื่นจันทร์

082-4402983

4. อาจารย์ พัชมน อ้นโต

081-6517476

5. อาจารย์ ปรียะดา ภัทรสัจจธรรม 6. อาจารย์ รัชนี ชัยประเดิมศักดิ์

080-2795649

หอผู้ปุวย 1. หอผู้ปุวยเด็กทั่วไป ตึกมหาวชิราวุธ ชั้น 9 คณะแพทย์ศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 02-2443172 2. หอผู้ปุวยทารกแรกเกิดกึ่งวิกฤต คณะแพทย์ศาสตร์วชิรพยาบาลมหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช 02-2443168-9 3. ตึกตรวจโรคผู้ปุวยนอก คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 02-244-3000 ต่อ3106 4. หน่วยพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 02-244-3000 ต่อ 3167 5. หอผู้ปุวยกุมารเวช 4 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 02-3547600ต่อ 94125 6. หอผู้ปุวยกุมารเวช5 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 02-3547600-28ต่อ 94129 7. หอผู้ปุวยมหิตลาธิเบศร(ม.9ก) สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี 02-3548333-40ต่อ 3914-3915 8.ห้องพยาบาล โรงเรียนสาธิตลอออุทิศ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต 02-2445574


68


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.