สอนระบบประสาท(แก้ไข)

Page 1

การพยาบาลผูป ้ ่ วยเด็ก ทีม่ ีปัญหาทางระบบประสาททีพ่ บบ่ อย


หัวข้อการสอนสาหรับวันนี้ 1. ชักจากไข้ สูง (Febrile convulsion) 2. โรคลมชัก (Epilepsy) 3. โรคนา้ คัง่ ในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus) 4. โรคสมองพิการ( Cerebral palsy) 5. การติดเชื้อของเยือ่ หุ้มสมอง(Meningitis) 6. การติดเชื้อของเนือ้ สมอง(Encephalitis) 7. โรคไขสันหลังโหว่(Spinal bifida)


ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion



จะพบเด็กชักจากไข้สูงจากเด็กอายุน้อย ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป โตประมาณ 5-6 ขวบ จะไม่ค่อยพบแล้ว


ั ชกจากไข้ สง ู (Febrile convulsion)

ั พ  คืออาการชกที ่ บร่วมก ับอาการต ัว

ร้อน เป็นไข้ ในเด็กทีไ่ ม่มค ี วาม ผิดปกติของสมองมาก่อน โดยที่ อาการต ัวร้อนนนไม่ ั้ ได้มส ี าเหตุมา ื้ ของระบบประสาท จากโรคติดเชอ ่ สมองอ ักเสบ เยือ และสมอง (เชน ่ หุม ้ ้ สมอง พิษ สมองอ ักเสบ มาลาเรียขึน สุน ัขบ้า บาดทะย ัก เป็นต้น) แต่อาจมี สาเหตุจากโรคอืน ่ ๆ


อาการและอาการแสดง

มีอาการเป็นไข้ ต ัวร้อนBTมากกว่า 38.5 ร่วมก ับ ่ อาการของโรคทีเ่ ป็นสาเหตุของอาการไข้ เชน ี เป็นต้น ต่อมาจะ เป็นหว ัด, เจ็บคอ, ไอ, ท้องเสย ั มีอาการชก ั ็ นแบบกระตุกทงต  อาการชกเป ั้ ัว ตาค้าง ก ัดฟัน ้ พร้อมอาการต ัวร้อนในว ัน ก ัดลิน ้ ซงึ่ อาจเกิดขึน ั แรก หรือในว ันหล ังๆ ก็ได้ โดยทว่ ั ไปจะชกนาน ั ครงละ ั้ 2-3 นาที ม ักไม่เกิน 15 นาที อาการชกก็ จะหยุดไปเอง ั เด็กจะฟื้ นคืนสติเป็นปกติ ไม่ซม ึ  หล ังหยุดชก ั า้ ไม่มอ ี าการแขนขาอ่อนแรง และม ักจะไม่ชกซ อีก ในการเจ็บป่วยครงน ั้ น ั้ 


ั า้ ี่ งต่อการชกซ ปัจจ ัยเสย ั 1. ชกคร งแรกเมื ั้ อ ่ อายุนอ ้ ย (น้อยกว่า 1 ปี ) ั ใน 2. ประว ัติการมี ชก ครอบคร ัว ั 3. ชกนานเกิ น 15 นาที ั ถ้า 4. ระยะเวลาของไข้กอ ่ นชก ั ชก ครงแรกเกิ ั้ ดใน 1ชว่ ั โมง มี อ ัตรา ั า้ ได้มากกว่า ี่ งต่อการชกซ เสย ผูท ้ ม ี่ ี ไข้เกิน 1 ชว่ ั โมง แต่ไม่เกิน 24

ั า้ ชว่ ั โมงซงึ่ อ ัตราการชกซ น้อยลง

5. อุณหภูมกิ ่อนชัก ถ้ าอุณหภูมิ ต่าเมือ่ ชักครั้งแรกอัตราการ เสี่ ยงของการชักจะสู ง 6. ลักษณะการชัก ถ้ าเป็ นชัก แบบไม่ ท้งั ตัว อัตราเสี่ ยงชัก ซ้าได้ มาก


การร ักษา 

ั ั อ ้ น สว่ นเด็กทีเ่ คยมีอาการชกจากไข้ ชนิดไม่ซบซ ั ้ ไป หรือมีอาการชกจากไข้ ตงแต่ ั้ 3 ครงขึ ั้ น ชนิด ั อ ้ นเพียงครงเดี ซบซ ั้ ยว แพทย์อาจพิจารณาให้เด็ก ั กชนิดหนึง่ ได้แก่ ฟี โนบาร์บท กินยาก ันชกอี ิ าล (phenobarbital) กินก่อนนอนทุกคืน (ทงที ั้ ม ่ ไี ข้และไม่มไี ข้) ติดต่อก ันนาน 2 ปี หรือจนกว่าจะถึงอายุ 5 ขวบ ยา ้ น ชนิดนีก ิ ติดต่อก ันนานๆ อาจมีผลข้างเคียง คือ เด็ก ซนผิดปกติ หรืออาจมีสติปญ ั ญาอ่อนกว่าปกติได้ ั เด็กทีม ่ อ ี าการชกจากไข้ เป็นครงแรกอาจพิ ั้ จารณาทา การเจาะหล ัง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เด็กทีม ่ อ ี ายุตา่ กว่า 18 ั เดือน เพือ ่ นานา้ ไขสนหล ังไปพิสจ ู น์ให้แน่ใจว่าไม่ใช่ ื้ ของสมอง เกิดจากโรคติดเชอ


การเจาะหลัง Lumbar puncture(LP)


Positionการทา LP


การพยาบาลผู้ป่วยเจาะหลัง(LP) • การทา lumbar puncture (LP) แพทย์จะแทง spinal needle บริเวณ C3-4 / C4-5 จุดเน้นคือ เอา C4เป็นหลัก ค่าปกติของความดันของน้าไขสันหลังคือ 10-15 cm.H2O (น้อยกว่า 20 mmHg)สูงมากกว่านี้ความดัน กะโหลกศีรษะสูง • ข้อบ่งชี้

• 1. เพื่อการวินิจฉัย ได้แก่ การติดเชื้อในระบบประสาท ส่วนกลาง subarachnoid hemorrhage การใส่สารทึบ รังสีในการทา spinal cord imaging • 2. เพื่อการรักษา ได้แก่ การให้ยาเข้าน้าไขสันหลัง การ ระบายน้าไขสันหลังเพื่อลดความดันในช่องกะโหลกศีรษะ


การพยาบาลผู้ป่วยเจาะหลัง(LP)

• . ปวดศีรษะ เด็กอายุมากกว่า 10 ปี พบ ได้ 10 – 70% เกิดจากมีการซึมของน้า ไขสันหลังผ่านรู dura อาจมีอาการ vertigo, tinnitus และ diplopia ร่วม ด้วย ควรป้องกันโดยใช้เข็มเจาะขนาด เล็กและเอาน้าไขสันหลังออกให้น้อย การจัดท่านอนราบหลังจากเจาะ ไม่ ช่วยป้องกันการปวดศีรษะ


ั การพยาบาลผูป ้ ่ วยชกจากไข้ สง ู 

 

เช็ดต ัวเมือ ่ มีไข้ 37.5 องศา ถ้าไข้สง ู กว่า 38.5 ให้เช็ดต ัวลดไข้และว ัดไข้ซา้ ถ้าไข้ย ัง สูงกว่า 38.5 ให้ยาลดไข้ตามแผนการร ักษา ขนาดยาลดไข้ 10 มก./ก.ก/ครงั้ ั ดูแลให้ยาก ันชกตามแผนการร ักษา ั ิ ถ้ามีอาการชกจะได้ ่ ยเหลือ ดูแลใกล้ชด ชว ท ันที จ ัดสงิ่ แวดล้อมให้สงบ ไม่รบกวนโดยไม่ จาเป็น


ั (Epilepsy) โรคลมชก

ภาวะความผิดปกติของสมองทีแ ่ สดงออกโดย ั ั ว ่ นใหญ่ มีอาการชกมากกว่ า 1 ครงั้ อาการชกส ไม่เกิน 15 นาที แบ่งได้ 3 ชนิด  Partial epilepsy เกิดจากซีกใดซีกหนึง ่ ของ สมองผิดปกติ ทาให้มีการชักเฉพาะที่  Generalized epilepsy เกิดจากความผิดปกติของ สมองที่ปล่อยคลืน ่ ไฟฟ้าแพร่กระจายทั่วไป  Unclassifiled epileptic seizure เป็นชนิดทีไ ่ ม่สามารถ จัดกลุ่มได้


Epilepsy


ั สาเหตุการชก 1.

ไม่ทราบสาเหตุ พบได้รอ ้ ยละ 80

6.

พ ันธุกรรม Developmental and degenerative disorders ความพิการ แต่กาเนิด ้ื ของสมอง โรคติดเชอ ื้ ทว่ ั ไป โรคติดเชอ Metabolic และ Toxic etiologies

7.

การกระทบกระเทือนหรืออุบ ัติเหตุ

2. 3.

4. 5.


การวินจ ิ ฉ ัย การตรวจทางห้องปฏิบ ัติการและการตรวจ พิเศษ 1. การตรวจคลืน ่ สมอง (Electro encephalogram: EEG) 2. การตรวจคอมพิวเตอร์ (computerized tomography :CT scan) 3.

การตรวจด้วยพล ังคลืน ่ แม่เหล็ ก (Magnetic resonanace imagin: MRI)


ั หล ักการพยาบาลผูป ้ ่ วยขณะชก 

 

จ ัดท่าให้ผป ู ้ ่ วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้าง หนึง่ ทาทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ ดูแลให้ได้ร ับออกซเิ จนตรงตามแผนการร ักษาใน รายทีห ่ ายใจข ัด เขียว ั ขณะชกให้ งดอาหารนา้ ทางปากตามแผนการ ร ักษา ั ไม่ผก ู ร ัดหรือตรึงผูป ้ ่ วย ขณะชกเพื อ ่ ป้องก ัน กระดูกห ัก ั ยาคลายกล้ามเนือ ้ ตรง ดูแลให้ได้ร ับยาก ันชก ตามแผนการร ักษา


ให้คาแนะนาบิดามารดาเกีย ่ วก ับการดูแล บุตรเมือ ่ กล ับไปอยูท ่ บ ี่ า้ น

1. ให้คาแนะนาว่าประมาณ 2 ใน 3 ของผูป ้ ่ วย

ั ็ นการชกที ั ไ่ ม่ทราบสาเหตุ โรคลมชกเป ั จาเป็นต้อง ่ นใหญ่ของผูป 2. สว ้ ่ วยโรคลมชก ได้ร ับการร ักษาในระยะเวลาทีน ่ านโดยทว่ ั ไป ไม่ตา ่ กว่า 2 ปี 3. ร ับประทานยาสมา ่ เสมอ ไม่ขาดยา ถ้าลืม ควรร ับร ับประทานยาท ันทีทน ี่ ก ึ ได้ 4. ผูป ้ ่ วยทีร่ ับประทานยาสมา ่ เสมอ เป็น ระยะเวลาตามทีแ ่ พทย์แนะนาจะมีโอกาส ร ักษาให้หายได้


ั 5. แนะนาอาการข้างเคียงทีอ ่ าจเกิดจากยาก ันชกหรื อ เกิดจากปฏิกริ ย ิ า ้ าในโรคอืน ระหว่างการใชย ่ ทีเ่ กิดร่วมและการปฏิบ ัติต ัว เมือ ่ เกิดอาการด ังกล่าว ั ั ก 6. ให้ผป ู ้ ่ วยบ ันทึกอาการชกรายละเอี ยดของการชกทุ ครงที ั้ ม ่ อ ี าการตลอดจน อาการข้างเคียงของยา ้ ฐานในเรือ 7. คาแนะนาพืน ่ งต่อไปนี้ ั 7.1 การปฐมพยาบาลขณะเกิดอาการชก ั 7.2 การป้องก ันอุบ ัติเหตุทอ ี่ าจจะเกิดจากอาการชก ี่ งทีก 7.3 การหลีกเลีย ่ งปัจจ ัยเสย ่ ระตุน ้ ให้เกิดอาการ ั ชก


ตอบดีมีรางวัล

• Febrile convulsion ต่างกับ Epilepsy อย่างไร


Hydrocephalus

รู้จักโรคHydrocephalus


ภาวะน้าคั่งในกะโหลกศีรษะ(Hydrocephalus)


ภาวะนา้ คงในกะโหลกศ ่ั รี ษะ (Hydrocephalus)

เป็นภาวะทีส่ มองโตขึน้ (ventricular

dilation) เนือ ่ งจากความไม่สมดุลระหว่าง ึ ของนา้ หล่อ การสร้างและการดูดซม ั สมองไขสนหล ัง (Cerebral spinal fluid : CSF) สาเหตุ ่ เนือ ้ งอกของ 1.การสร้างมากเกิน เชน Choroid plexus(Choroid plexus papilloma)


ั 2. การอุดต ันทางเดินนา้ หล่อสมองและไขสนหล ัง แบ่งเป็น 2 แบบ

2.1 Obstructive hydrocephalus หรือNon communicating ่ ง hydrocephalus มีการอุดต ันระหว่างโพรงสมองก ับชอ ั ใต้เยือ ่ หุม ้ สมองและไข สนหล ัง (Subarachnoid space) ่ เนือ ้ งอกสมอง, สาเหตุมไี ด้หลายอย่าง เชน ้ สมอง,ความพิการ เลือดออกในโพรงสมองและเนือ แต่ กาเนิด(Aqueductal stenosis) 2.2 Communicating hydrocephalus มีการติดต่อระหว่าง ่ งใต้เยือ โพรงสมองและชอ ่ หุม ้ สมอง(Subarachnoid space ่ งใต้ ้ นอกโพรงสมองทีช )การอุดต ันเกิดม ักเกิดขึน ่ อ เยือ ่ หุม ้ สมอง(Subarachnoid space :Cistern) ของสมอง,ไข ั สนหล ังและArachnoid villi สาเหตุทพ ี่ บบ่อยทีส ่ ด ุ คือ ่ งเยือ เลือดออกใต้ชอ ่ หุม ้ สมอง(Subarachnoid hemorrhage) ื้ ของเยือ และการติดเชอ ่ หุม ้ สมอง


ึ ผิดปกติ 3. การดูดซม

สาเหตุจาก การอุด ต ันหลอดเลือดดา(Venous sinus thrombosis), หรือการอ ักเสบArachnoiditis จากการติด ้ื หรือเลือดออก ก่อให้เกิด เชอ Communicating hydrocephalus


อาการและอาการแสดง  

้ รอบศรี ษะเพิม ศรี ษะโต เสน ่ มากกว่า 35 เซนติเมตร กระหม่อมหน้าโป่งตึง ไม่ม ี Pulsation คลาได้รอยแยก ของกระดูกศรี ษะ หน้าผากกว้าง ั ตาทงั้ 2 ข้าง มองลงล่างทาให้เห็นตาขาวได้ชด (Setting – sun sign) มี Reflex และ Tone ของขา 2 ข้างไว อาจมีอาการ อาการแสดงของความผิดปกติทาง ั ต ัวแอ่น ไวต่อ ่ ซม ึ เกร็ง ชก ระบบประสาท เชน สงิ่ กระตุน ้ อาเจียน การเจริญเติบโต และ พ ัฒนาการชา้ มีอาการของภาวะ IICP


การตรวจวินจ ิ ฉ ัย(Investigation) 

การตรวจด้วยภาพทางร ังสวี น ิ จ ิ ฉ ัย(Diagnostic Imaging) ่ เนือ ้ งอก,ถุง CT,MRI Brain ตรวจหาสาเหตุเชน นา้ เป็นต้น และตรวจพบภาวะนา้ คงในโพรง ่ั สมอง ี งอ ัลตราซาวน์ การตรวจด้วยคลืน ่ เสย (Ultrasound) ตรวจหาความผิดปกติตงแต่ ั้ ใน ครรภ์และในเด็กทารก(ซงึ่ กะโหลกย ังบาง และFrontanelleย ังเปิ ด) ปัจจุบ ันสามารถตรวจ ี งอ ัลตราซาวน์3มิต(ิ 3D-real วินจ ิ ฉ ัยด้วยคลืน ่ เสย time Ultrasound) หาความผิดปกติในระบบ ประสาททีพ ่ บร่วมก ับภาวะนา้ คงในโพรง ่ั สมองตงแต่ ั้ อายุ ครรภ์(Gestational age) 8 ั ่ Myelomeningocoele สปดาห์ เ ชน


การร ักษา 1. การร ักษาด้วยยา ยาข ับปัสสาวะ ่ ยลดการสร้างนา้ หล่อสมอง Acetazolamide ชว ั และไขสนหล ัง ประมาณ 25-50% 2. การร ักษาด้วยการผ่าต ัด ่ ายระบายนา้ ในโพรงสมอง 2.1 การผ่าต ัดใสส ออกนอกร่างกาย(ExternalVentricularDrainage, Ventriculostomy)


การร ักษา ่ ายระบายนา้ ในโพรงสมองสู่ 2.2 การผ่าต ัดใสส ่ งในร่างกาย ผ่าต ัดใสส ่ ายระบายจาก ชอ ่ งท้อง(Ventriculo-peritoneal - โพรงสมองลงชอ shunt) ่ งห ัวใจ(Ventriculo-atrial - โพรงสมองลงชอ shunt) ่ งปอด(Ventriculo-pleural - โพรงสมองลงชอ shunt) ่ งใต้เยือ - โพรงสมองลงชอ ่ หุม ้ สมอง (Ventriculo- cistern magna shunt(Torkildsen shunt) - โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงนา้ ครา ่ (Transabdominal percutaneous Ventriculo-amniotic shunt)


สายระบายนา้ ในโพรงสมองประกอบด้วย3 ่ น สว  สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt) ่ นทีเ่ ก็บนา้ หล่อสมอง  วาล์ว(Valve)และสว (Reservoir) ่ งท้อง(Peritoneal shunt)  สายระบายลง ชอ


การทา V-P shunt

VP Shunt Insertion




หล ักการพยาบาลผูป ้ ่ วยภาวะนา้ คง่ ั ในกะโหลกศรี ษะ

 ดูแลตะแคงต ัว

ด้วยความนุม ่ นวล โดยเฉพาะศรี ษะ ั ั  สงเกตอาการช กเกร็ งและใหยา ั ก ันชกตามแผนการร ักษา ั ี ทุก 4 ชว่ ั โมง  ว ัดสญญาณช พ พิจารณาตามอาการ  บ ันทึกนา ้ เข้าออก


การพยาบาลระยะหล ังผ่าต ัด ้ น จากการทีท การป้องก ันภาวะแทรกซอ ่ าผ่าต ัด ั เปลีย ่ นทางเดินนา้ ไขสนหล ัง 1. ประเมินอาการทางสมอง 2. จ ัดท่านอนให้เหมาะสม ตะแคงข้างทีไ่ ม่ผา่ ต ัด นอนศรี ษะสูง 15-30 องศา 3.

4. 5.

่ าย ประเมินการติด ติดตามบริเวณทีส ่ อดใสส ื้ เชน ่ บวมแดง เชอ ั สงเกต signs IICP

ป้องก ันการเกิดภาวะขาดสารนา้ สารอาหาร และอิเล็คโตล ัยต์


ป้องก ันการอุดต ันของท่อระบาย 

 

้ วิ้ มือกด ให้ทดสอบบริเวณ Reservoir Chamber โดยใชน แล้วปล่อยท ันที ถ้ากดไม่ลงถ้ากดไม่ลงแสดงว่ามี การอุดต ัน ทดสอบการทางานทุกเวร หรือตามแผนการร ักษา ไม่กด chamber บ่อย หากพบว่าอุดต ันให้รายงานแพทย์ แนะนาวิธก ี ารดูแลเด็กแก่บด ิ ามารดาเมือ ่ กล ับบ้าน ่ อ ในรายทีผ ่ า่ ต ัดใสท ่ ระบาย ั ื้  สงเกตการติ ดเชอ  ป ้ องก ันการอุดต ันของท่อระบาย กด Reservoir ั สปดาห์ ละครงหรื ั้ อตามแผนการร ักษา ั  สงเกตและป ้ องก ันภาวะ IICP


ตอบดีมีรางวัล

• ท่านอนที่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วย หลังทาผ่าตัดShunt คืออย่างไร


ื่ มสภาพ (Cerebral Palsy) สมองเสอ ื่ มสภาพหรือสมองพิการ เป็นความ สมองเสอ พิการอย่างถาวรและมี ความบกพร่องทางมอเตอร์ซงึ่ ควบคุมการ ้ เคลือ ่ นไหว และการประสานงานของกล้ามเนือ ร่างกาย สาเหตุ ื้ เชน ่ มารดาติดเชอ ื้ ห ัดเยอรม ัน 1. การติดเชอ ขณะตงครรภ์ ั้ 2. ภาวะทุพโภชนาการ, การได้ร ับร ังส,ี ความ เจ็บป่วยของมารดา ขณะตงครรภ์ ั้ 3. มีภาวะขาดออกซเิ จนขณะคลอด


สมองเสื่อมสภาพ (Cerebral Palsy)


ลักษณะผู้ป่วย CP


การวินจ ิ ฉ ัย

ั จากการซกถามประว ัติ และการตรวจร่างกาย ้ ซงึ่ อาจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ล ักษณะของกล้ามเนือ ั ้ ทีอ เป็นกล้ามเนือ ่ อ ่ นแรงทีป ่ รากฏให้เห็นได้ชดเจน ้ หดเกร็ง บาง หรืออาจเป็นล ักษณะของกล้ามเนือ ่ ง 2-3 ้ อ่อนแรงในชว รายอาจเกิดภาวะกล้ามเนือ ้ เดือนแรก จากนนก็ ั้ กลายเป็นล ักษณะกล้ามเนือ หดเกร็ง ล ักษณะงุม ่ ง่าม เคลือ ่ นไหวชา้ เด็กม ักจะทรงต ัวได้ ไม่ด ี ตรวจร่างกายทางระบบประสาทพบว่า ปฏิกริ ย ิ าตอบสนองบางอย่างปรากฏอยูน ่ านกว่า ้ ขน เด็กปกติ หล ังจากอายุ 1 ปี จะพบว่าเด็กใชแ ข้างหนึง่ ข้างใดมากกว่าอีกข้างหนึง่ การตรวจคลืน ่ สมองอาจพบล ักษณะผิดปกติทท ี่ า


เด็กสมองพิการสามารถแบ่งกลุม ่ ตาม อาการแสดงได้ด ังนี้ 

้ แข็งเกร็ง (spastic) เด็กจะมีความตึงต ัว กลุม ่ อาการกล้ามเนือ ่ ผลทาให้ทา ้ มากกว่าปกติ ซงึ่ จะสง ของกล้ามเนือ ่ ทางและการ เคลือ ่ นไหวผิดปกติไปด้วย ้ เปลีย กลุม ่ ทีม ่ ค ี วามตึงต ัวของกล้ามเนือ ่ นแปลงอย่างฉ ับพล ัน ้ แขนขามีการเปลีย (athetoid) กล้ามเนือ ่ นแปลงในล ักษณะแข็ง เกร็งและอ่อนปวกเปี ยกสล ับก ันใน ทุกสว่ นของร่างกาย มีการ ้ อย่างไม่ได้ตงใจ เคลือ ่ นไหวทีเ่ กิดขึน ั้ ทาให้มป ี ญ ั หาการทรง ต ัวท่าต่าง ๆ ได้ยากลาบาก ้ อ่อนปวกเปี ยก (ataxia) มีความตึงต ัวของ กลุม ่ ทีม ่ ก ี ล้ามเนือ ้ ลาต ัวน้อยกว่าปกติ ทาให้มป กล้ามเนือ ี ญ ั หาข้อต่อในสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายหลวม ไม่สามารถเคลือ ่ นไหวต้านแรงโน้มถ่วง ้ นอืน ่ การ โลกได้ ซงึ่ อาจพบภาวะแทรกซอ ่ ร่วมด้วย เชน หายใจลาบาก พูดชา้


ปัญหาและความผิดปกติทเี่ กิดร่วมก ับเด็กสมองพิการ 

ภาวะปัญญาอ่อน เด็กสมองพิการจะมีระด ับ สติปญ ั ญาอยูใ่ นทุกระด ับ สว่ นใหญ่พบว่ามีระด ับ สติปญ ั ญาตา่ กว่าปกติ ด้านการร ับรู ้ เรียนรูแ ้ ละความคิด เด็กสมองพิการมี ความสามารถในการเคลือ ่ นไหวทีจ ่ าก ัด ทาให้การ สารวจและเรียนรูส ้ งิ่ แวดล้อมต่างๆ ได้นอ ้ ยมาก ทา ให้ไม่สามารถเข้าใจความผิดปกติของตาแหน่ง ทิศทาง ความหยาบ ความละเอียด รูปทรง ึ ร้อนหนาว และไม่ได้เรียนรูเ้ กีย ความรูส ้ ก ่ วก ับ รูปร่างและสว่ นต่างๆของร่างกาย (body image)ว่าอยู่ ั ันธ์ก ันอย่างไร ในตาแหน่งใด และมีความสมพ ั ด้านอารมณ์และสงคม เด็กสมองพิการม ักจะมี ึ เนือ อาการเศร้าซม ่ งจากทาการเคลือ ่ นไหวไม่ได้ ่ ยต ัวเอง ด ังตงใจ ั้ ไม่สามารถวิง่ เล่นก ับเพือ ่ นได้ ชว ไม่ได้เลย


ปั ญหาและความผิดปกติทเี่ กิดร่วมกับเด็กสมองพิการ   

ั พบว่าประมาณ ร้อยละ 20-50 ของเด็กสมองพิการ โรคลมชก ั วมด้วย มีอาการชกร่ ด้านการมองเห็น ม ักจะมีความบกพร่องทางด้านการ มองเห็น โดยพบว่ามีตาเหล่ได้บอ ่ ยถึงร้อยละ 20-60 ด้านการได้ยน ิ อาจจะมีความผิดปกติของการได้ยน ิ เนือ ่ งมาจากความบกพร่องของหู สว่ นกลาง โดยเฉพาะการ ี งความถีส แยกเสย ่ ง ู ื่ ความหมาย จะมีความบกพร่องทางด้านภาษา การสอ พูด โดยสาเหตุทเี่ ด็กไม่สามารถควบคุมศรี ษะได้ ทาให้ไม่ ั ี งนนๆ สามารถสงเกตเห็ นได้วา ่ อะไรทาให้เกิดเสย ั้ และไม่ ี ง หรือติดต่อสอ ื่ สารได้ สามารถเลียนแบบเสย ด้านกระดูก ม ักจะพบการหลุดออกจากที(่ dislocation) ด้านฟันและร่องปาก ม ักพบปัญหาฟันผุได้บอ ่ ย เนือ ่ งจากการ ่ งปากทาได้ยากลาบาก ดูแลร ักษาความสะอาดฟันและชอ


อาการและอาการแสดง เด็ก cerebral palsy พบว่ามีความพิการให้เห็น ้ อยูก ้ หลายแบบขึน ่ ับพยาธิสภาพทีเ่ กิดขึน เด็กจะมีประว ัติพ ัฒนาการทางมอเตอร์ ล่าชา้ เด็กจะคลาน ยืน นง่ ั พูดชา้ กว่า ปกติ จะมีภาวะปัญญาอ่อนร่วมด้วย การร ักษา - การฟื้ นฟูสภาพความบกพร่องทาง มอเตอร์ การทากายภาพบาบ ัด ั - ร ักษาอาการชก - ร ักษาตามอาการ 


การพยาบาล 1. ความสามารถในการปฏิบ ัติกจ ิ กรรมต่างๆ ลดลง เนือ ่ งจาก ่ ยเหลือตนเองได้นอ ชว ้ ย หรือไม่ได้เลย 

 

่ ยเหลือตนเอง ประเมินความสามารถในการชว หรือในการปฏิบ ัติกจ ิ ว ัตรประจา ว ันของผูป ้ ่ วย ่ ยวางแผนในการดูแลร่วมก ับผูป ชว ้ กครอง และ ่ ยเหลือตนเอง โดยให้เวลาใน กระตุน ้ ให้ผป ู ้ ่ วยชว การทาอย่างเพียงพอ กระตุน ้ ให้ออกกาล ังกายบนเตียง ดูแลให้ผป ู ้ ่ วยได้ร ับอาหารและนา้ อย่างเพียงพอ ระว ังการอุดกนทางเดิ ั้ นหายใจจากการกลืน ลาบาก และข ับเสมหะออกมาไม่ได้


การพยาบาล

ั ้ ลีบ เนือ 2. มี/หรืออาจเกิดภาวะข้อติดแข็ง กล้ามเนือ ่ งจากชก ่ ยเหลือตนเองไม่ได้หรือได้นอ เกร็งบ่อยและชว ้ ย  

ั ้ ลีบ ประเมินอาการชกเกร็ ง ข้อติดแข็ง กล้ามเนือ ่ ยตนเอง เพือ ดูแลและกระตุน ้ ให้ผป ู ้ ่ วยชว ่ เพิม ่ ความทนต่อการทา กิจกรรม เพิม ่ ความตึงต ัวของ ้ หลอดเลือดและการทา งานของข้อดี กล้ามเนือ ้ โดยทา passive exercise ให้บนเตียง และกระตุน ขึน ้ ให้ ผูป ้ ่ วยออกกา ล ังบนเตียง (active exercise) ร่วมก ับการ ่ ยตนเองในการทา กิจว ัตรประจา ว ัน เชน ่ ฝึ กชว ต ักอาหารเข้าปากเอง แปรงฟัน หวีผม ทาแป้ง ื้ เป็นต้น ติดกระดุมเสอ ่ ยวางแผนในการออกกา ล ังกาย หรือกายภาพ ชว บา บ ัดร่วมก ับผูป ้ กครอง และแนะนา ผูป ้ กครอง ั ติดตามสงเกตการท า กายภาพบา บ ัดใผูป ้ ่ วยเด็ก ทีห ่ น่วยกายภาพบา บ ัดเพือ ่ นา มาปฏิบ ัติเองได้ ถูกต้องต่อไป


การพยาบาล ี่ งต่อการเกิดภาวะ postural hypotension เนือ 3. เสย ่ งจาก

่ ยตนเอง การนอนเป็นเวลานานในกรณีทช ี่ ว ไม่ได้ 4. ผูป ้ ่ วยเด็ก (โต) วิตกก ังวลต่ออาการและการ ี ภาพล ักษณ์ของตนเอง สูญเสย 5. การเจริญเติบโตและพ ัฒนาการด้านต่างๆ ล่าชา้ เนือ ่ งจากพยาธิสภาพของโรคและ ้ นทีเ่ กิดขึน ้ ภาวะแทรกซอ 6. ผูป ้ กครองวิตกก ังวลต่ออาการ โรค การร ักษา และการใชเ้ วลายาวนานในการฟื้ นฟูสภาพของ ผูป ้ ่ วยเด็ก


การพยาบาลผูป ้ ่ วยเด็ก ื้ ระบบประสาท ทีม ่ ก ี ารติดเชอ


การตรวจว่ามีการระคายเคืองของเยื่อ หุ้มสมอง

Kernig ‘s signs Brudzenski’s sign


1. โรคเยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ (meningitis) เยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ หมายถึง การอ ักเสบหรือ ั ื้ ของเยือ ติดเชอ ่ หุม ้ สมองและไขสนหล ัง สาเหตุ ื้ แบคทีเ่ รีย เชน ่ ื้ ว ัณโรค, 1. การติดเชอ เชอ meningococcus 

้ื ไวร ัส 2. เชอ ื้ รา เชน ่ เชอ ื้ ราคริปโตค็อกค ัส (crypto-coccus) 3. เชอ ่ ผูป ซงึ่ พบบ่อยในคนทีม ่ ภ ี ม ู ค ิ ม ุ ้ ก ันตา่ เชน ้ ่ วย เอดส ์ 4. พยาธิ ทีพ ่ บบ่อยในบ้านเรา ก็คอ ื พยาธิแองจิ โอสตรองไจล ัส (angiostrongylus cantonensis) ซงึ่ อยูใ่ น หอยโข่ง พบมากทางภาคกลางและภาคอีสาน


ื้ โรคเยือ ทางของการติดเชอ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ 

ื้ ทางเดินหายใจ เช่น เชื้อทีบี เชื้อเมนิงโก-ค็อกคัส เชอ เข ้าสูร่ า่ งกายโดยการไอ จาม หายใจรดกัน ไปอยูใ่ น ทางเดินหายใจ (ลาคอ ปอด) แล ้วผ่านกระแสเลือดเข ้า ไปในสมอง ่ พยาธิแองจิโอสตรอง ไจลัส เข ้าสู่ ทางเดินอาหาร เชน ร่างกายโดยการกินหอยโข่งดิบ ไปอยูใ่ นกระเพาะลาไส ้ ่ ระแสเลือด ขึน แล ้วเข ้าสูก ้ ไปทีส ่ มอง แพร่กระจายผ่านกระแสเลือด โดยเชื้อโรคที่เป็น ่ ปอดอักเสบ สาเหตุของการติดเชื้อของอวัยวะต่าง ๆ (เชน ่ ระแสเลือด แพร่ กระดูกอักเสบเป็ นหนอง) กระจายเข ้าสูก ไปทีส ่ มอง ื้ ลุกลามจากบริเวณใกล้สมอง เช่น ผู้ป่วยที่มีการ เชอ ั ้ กลางอักเสบ) หรือไซนัส ติดเชื้อของหูชั้นกลาง (หูชน ื้ อาจลุกลามผ่าน (ไซนัสอักเสบ) เมือ ่ เป็ นเรือ ้ รัง เชอ กะโหลกศรี ษะทีผ ่ ก ุ ร่อนเข ้าไปในสมอง


อาการของโรคเยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ 

อาการไข้ ปวดศรี ษะรุนแรง อาเจียนมาก และคอ แข็ง ปวดทวศ ่ ั รี ษะ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เวลามีการ ่ ก้มศรี ษะ) ซงึ่ ม ักจะปวด เคลือ ่ นไหวของศรี ษะ (เชน ติดต่อก ันหลายว ัน กินยาแก้ปวดไม่ทเุ ลา อาการไข้ อาจมีล ักษณะไข้สง ู ตลอดเวลา หรือไข้ เป็นพ ัก ๆ ถ้าเกิดจากพยาธิอาจมีไข้ตา่ ๆ หรือไม่ม ี ไข้ก็ได้ ั ั ึ ลง ผูป ้ ่ วยจะมีอาการกระสบกระส า่ ย สบสน ซม เรือ ่ ย ๆ จนกระทงหมดสติ ่ั นอกจากนี้ ย ังอาจมี ้ น กลืนลาบาก แขนขา อาการกล ัวแสง เห็นภาพซอ ั ดต่อก ันนาน ๆ เป็นอ ัมพาต หรือชกติ


การพยาบาล 1. ความสามารถในการปฏิบ ัติกจ ิ กรรมต่างๆ ลดลง เนือ ่ งจาก ่ ยเหลือตนเองได้นอ ชว ้ ย หรือไม่ได้เลย 

 

่ ยเหลือตนเอง ประเมินความสามารถในการชว หรือในการปฏิบ ัติกจ ิ ว ัตรประจา ว ันของผูป ้ ่ วย ่ ยวางแผนในการดูแลร่วมก ับผูป ชว ้ กครอง และ ่ ยเหลือตนเอง โดยให้เวลาใน กระตุน ้ ให้ผป ู ้ ่ วยชว การทาอย่างเพียงพอ กระตุน ้ ให้ออกกาล ังกายบนเตียง ดูแลให้ผป ู ้ ่ วยได้ร ับอาหารและนา้ อย่างเพียงพอ ระว ังการอุดกนทางเดิ ั้ นหายใจจากการกลืน ลาบาก และข ับเสมหะออกมาไม่ได้


การพยาบาล

ั ้ ลีบ เนือ 2. มี/หรืออาจเกิดภาวะข้อติดแข็ง กล้ามเนือ ่ งจากชก ่ ยเหลือตนเองไม่ได้หรือได้นอ เกร็งบ่อยและชว ้ ย  

ั ้ ลีบ ประเมินอาการชกเกร็ ง ข้อติดแข็ง กล้ามเนือ ่ ยตนเอง เพือ ดูแลและกระตุน ้ ให้ผป ู ้ ่ วยชว ่ เพิม ่ ความทนต่อการทา กิจกรรม เพิม ่ ความตึงต ัวของ ้ หลอดเลือดและการทา งานของข้อดี กล้ามเนือ ้ โดยทา passive exercise ให้บนเตียง และกระตุน ขึน ้ ให้ ผูป ้ ่ วยออกกา ล ังบนเตียง (active exercise) ร่วมก ับการ ่ ยตนเองในการทา กิจว ัตรประจา ว ัน เชน ่ ฝึ กชว ต ักอาหารเข้าปากเอง แปรงฟัน หวีผม ทาแป้ง ื้ เป็นต้น ติดกระดุมเสอ ่ ยวางแผนในการออกกา ล ังกาย หรือกายภาพ ชว บา บ ัดร่วมก ับผูป ้ กครอง และแนะนา ผูป ้ กครอง ั ติดตามสงเกตการท า กายภาพบา บ ัดใผูป ้ ่ วยเด็ก ทีห ่ น่วยกายภาพบา บ ัดเพือ ่ นา มาปฏิบ ัติเองได้ ถูกต้องต่อไป


1. โรคเยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ (meningitis) เยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ หมายถึง การอ ักเสบหรือ ั ื้ ของเยือ ติดเชอ ่ หุม ้ สมองและไขสนหล ัง สาเหตุ ื้ แบคทีเ่ รีย เชน ่ ื้ ว ัณโรค, 1. การติดเชอ เชอ meningococcus 

้ื ไวร ัส 2. เชอ ื้ รา เชน ่ เชอ ื้ ราคริปโตค็อกค ัส (crypto-coccus) 3. เชอ ่ ผูป ซงึ่ พบบ่อยในคนทีม ่ ภ ี ม ู ค ิ ม ุ ้ ก ันตา่ เชน ้ ่ วย เอดส ์ 4. พยาธิ ทีพ ่ บบ่อยในบ้านเรา ก็คอ ื พยาธิแองจิ โอสตรองไจล ัส (angiostrongylus cantonensis) ซงึ่ อยูใ่ น หอยโข่ง พบมากทางภาคกลางและภาคอีสาน


ื้ โรคเยือ ทางของการติดเชอ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ 

ื้ เข ้าสู่ ทางเดินหายใจ เช่น เชื้อทีบี เชื้อเมนิงโก-ค็อกคัส เชอ ร่างกายโดยการไอ จาม หายใจรดกัน ไปอยูใ่ นทางเดินหายใจ (ลาคอ ปอด) แล ้วผ่านกระแสเลือดเข ้าไปในสมอง ่ พยาธิแองจิโอสตรอง ไจลัส เข ้าสูร่ า่ งกาย ทางเดินอาหาร เชน ่ ระแส โดยการกินหอยโข่งดิบ ไปอยูใ่ นกระเพาะลาไส ้ แล ้วเข ้าสูก เลือด ขึน ้ ไปทีส ่ มอง แพร่กระจายผ่านกระแสเลือด โดยเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของการ ่ ปอดอักเสบ กระดูกอักเสบเป็ น ติดเชื้อของอวัยวะต่าง ๆ (เชน ่ ระแสเลือด แพร่ไปทีส หนอง) กระจายเข ้าสูก ่ มอง ื้ ลุกลามจากบริเวณใกล้สมอง เช่น ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อของ เชอ ั ้ กลางอักเสบ) หรือไซนัส (ไซนัสอักเสบ) เมือ หูชั้นกลาง (หูชน ่ เป็ น ื้ อาจลุกลามผ่านกะโหลกศรี ษะทีผ เรือ ้ รัง เชอ ่ ก ุ ร่อนเข ้าไปในสมอง


อาการของโรคเยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบ 

อาการไข้ ปวดศรี ษะรุนแรง อาเจียนมาก และคอ แข็ง ปวดทวศ ่ ั รี ษะ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เวลามีการ ่ ก้มศรี ษะ) ซงึ่ ม ักจะปวด เคลือ ่ นไหวของศรี ษะ (เชน ติดต่อก ันหลายว ัน กินยาแก้ปวดไม่ทเุ ลา อาการไข้ อาจมีล ักษณะไข้สง ู ตลอดเวลา หรือไข้ เป็นพ ัก ๆ ถ้าเกิดจากพยาธิอาจมีไข้ตา่ ๆ หรือไม่ม ี ไข้ก็ได้ ั ั ึ ลง ผูป ้ ่ วยจะมีอาการกระสบกระส า่ ย สบสน ซม เรือ ่ ย ๆ จนกระทงหมดสติ ่ั นอกจากนี้ ย ังอาจมี ้ น กลืนลาบาก แขนขา อาการกล ัวแสง เห็นภาพซอ ั ดต่อก ันนาน ๆ เป็นอ ัมพาต หรือชกติ


พยาธิสภาพ ื้ แบคทีเรียเข ้ามาอยูใ่ นน้ าไขสน ั หลังและเจริญเติบโต - เชอ ขึน ้ ้ อดเข ้ามาในน้ าไขสน ั - Neutrophil จากเลือดจะผ่านผนังเสนเลื ื้ แบคทีเรีย ซงึ่ ในระยะเฉียบพลัน หลัง เพือ ่ ทา ลายเชอ จะมี Neutrophil และ Fibrin ปนจนเกิดเป็ นหนอง และเพิม ่ จานวนอย่างรวดเร็ว รวมทัง้ กระจายไปตามปลอกของ ้ อด เสนประสาทสมองและเส ้ ้ ั หลัง เสนเลื นประสาทไขส น - เยือ ่ หุ ้มสมองอักเสบชนิดนี้ มักมีการอักเสบที่ Choroid plexus ี ชวี ต - ถ ้าผู ้ป่ วยไม่เสย ิ ร่างกายจะสร ้างเยือ ่ อะแรคนอยด์ ขึน ้ มาใหม่ ทีม ่ ล ี ก ั ษณะขุน ่ ทึบและหนากว่าปกติ เป็ น พังผืดเรียกว่า Arachnoid adhesion ทาให ้เกิดการอุดตันใต ้ ั ้ อะแรคนอยด์ น้ าไขสน ั หลังผ่านไม่ได ้หรือผ่านได ้ ชน ั หลังคัง่ ในกะโหลกศรี ษะ น ้อย จะเกิดภาวะน้ า ไขสน (Hydrocephalus)


้ ก ับอายุของเด็ก อาการทางคลินก ิ แตกต่างก ันขึน ั ึ ไม่ดด 1. ทารกจะซม ู นม ชก

2. ทารกอายุ 3 เดือน ถึง 1 ปี มีไข้ ขม่อมหน้าโป่งตึง มีอาการ ระคายเคืองของเยือ ่ หุม ้ สมอง (ตรวจพบStiffneck, Kernig's sign, Brudzinski's sign) ื้ อาการแสดงถึงการระคาย 3. เด็กโต มีอาการของการติดเชอ เคืองของเยือ ่ หุม ้ สมองและ ้ น เชน ่ ศรี ษะโต ฝี ในสมอง อาการทีบ ่ ง ่ ถึงภาวะแทรกซอ การวินจ ิ ฉ ัยโรค 1. จากประว ัติ 2. อาการทางคลินก ิ และการตรวจร่างกาย 3. การ ั ตรวจเลือดและนา้ ไขสนหล ัง การร ักษา ื้ ทีเ่ ป็นสาเหตุของโรค นาน 10-14 ว ัน 1. ให้ยาปฏิชวี นะ ตามเชอ ่ ยาลดไข้ ยาลดสมองบวม 2. ร ักษาตามอาการเชน ้ น ภาวะแทรกซอ ั สมองบวม ฝี ในสมอง หนองใต้ชนดู ั้ รา ่ ชก 1. ระยะแรก เชน ั ่ ปัญญาอ่อน อ ัมพาตของแขนขา โรคลมชก 2. ระยะหล ัง เชน ศรี ษะโต


้ื ว ัณโรค 1.2 เยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบจากเชอ พยาธิสภาพ (Tuberculous meningitis) ื้ ว ัณโรค ในสว่ นอืน ื้ เข้าสูส ่ มอง - ม ักเกิดตามหล ักการติดเชอ ่ ของร่างกาย เชอ ั ไขสนหล ัง แล้ว ั - Exudate ทีอ ่ อกมาในนา้ ไขสนหล ัง มีล ักษณะข้นเหนียว และตกตะกอนมากที่ ฐาน ั กะโหลก อุดทางออกของโพรงสมองห้องที่ 4 ทา ให้เกิดภาวะนา้ ไขสนหล ังคง่ ั ในกะโหลก ศรี ษะ และความด ันในกะโหลกศรี ษะสูง - ระยะแรกของโรค สมองจะบวมมาก เมือ ่ มีการอ ักเสบรุนแรง Exudate จะรวมก ัน เป็น ้ เลือด และ แผ่นติดทีผ ่ น ังด้านในของเยือ ่ อะแรคนอยด์ ตามผน ังเสน ้ ประสาทสมองที่ เสน ั ่ งกระดูกสนหล ฐานกะโหลก กระจายไปทีช ่ อ ัง และหนาทึบทีด ่ า้ นหล ังของไข ั สนหล ัง ้ เลือดดา ่ เดียวก ับเยือ - Choroid plexus ependyma จะมีการอ ักเสบเชน ่ อะแรคนอยด์ เสน ้ เลือดแดง ก็มก ้ สมอง และเสน ี ารอ ักเสบทา ให้มก ี ารตายของเนือ


สาเหตุ เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis การวินจ ิ ฉ ัยโรค

1. จากประว ัติ 2. อาการทางคลินก ิ และการตรวจร่างกาย ั 3. Tuberculin test ได้ผลบวก 4. ล ักษณะนา้ ไขสนหล ัง ี รวงอก 5. การถ่ายภาพร ังสท การร ักษา 1. ยาปฏิชวี นะ 2. ร ักษาประค ับประคอง 3. ร ักษาอาการของความด ันในกะโหลกศรี ษะสูง คือ ยาลด สมองบวม ั ่ Subdural tap, และลดการคงของน ่ั า้ ไขสนหล ังในกะโหลกศรี ษะ เชน V.P.shunt, ให้ยา Diamox ้ น ภาวะแทรกซอ ั ้ อ่อนแรง,  นา ้ ไขสนหล ังคง่ ั ในกะโหลกศรี ษะ, กล้ามเนือ ั อ ัมพาต ปัญญาอ่อน, ชก,


้ื ไวร ัส 1.3 เยือ ่ หุม ้ สมองอ ักเสบจากเชอ (Viral meningitis) สาเหตุ 

ื้ ไวร ัสทีพ เชอ ่ บบ่อยคือ Coxsachie group B, Echo virus, Mumps virus, Polio virus

อาการทางคลินก ิ  มีการระคายเคืองของเยือ ่ หุม ้ สมองและอาการ ื้ ไวร ัสแต่ละชนิด เฉพาะของการติดเชอ การวินจ ิ ฉ ัยโรค  จากประว ัติ อาการ การตรวจร่างกาย การตรวจ ั เลือดและนา้ ไขสนหล ัง การร ักษา ่ ยาลดไข้ ยาระง ับการ  ร ักษาตามอาการ เชน อาเจียน


2. ไข้สมองอ ักเสบ (Encephalitis) หมายถึง การอักเสบติดเชือ ้ ของเนือ ้ สมองและเยือ ่ สมอง ซึ่งอาจมีการ อักเสบของไขสันหลังร่วมด้วย สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากเชือ ้ ไวรัส พบบ่อยในแถบเอเซียได้แก่ Japanese encenphalitis virus พาหะนา โรค คือ ยุงชนิด Culex และ Aedes หลาย ั ทเี่ ป็นแหล่งสะสมเชอ ื้ ได้แก่ หมู ม้า ว ัว Species ด้วยก ัน สตว์ ควาย แพะ นกกระจอก อาการทางคลินก ิ ี ษะ เบือ  ระยะ Viremia มีไข้ ปวดศร ่ อาหาร คลืน ่ ไส ้ อาเจียน ึ ต ัวลดลง ต่อมาระด ับความรูส ้ ก ั อาจเสย ี ชวี ต ้ ล้ว ความรุนแรงของโรคจะ  ชก ิ เมือ ่ ผ่านระยะนีแ ลดลงแต่จะมีความพิการของสมองและระบบประสาท หลงเหลืออยู่


การร ักษา 1. ลดไข้ 2. ลดภาวะสมองบวม ให้ Mannitol, Dexamethasone ั 3. ระง ับการชกให้ Phenobarb, Diazepam 4. ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง 5. ให้อาหาร นา้ และเกลือแร่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ้ นเชน ่ แผลกดท ับ 6. ป้องก ันภาวะแทรกซอ การป้องก ันโรค

ื้ เชน ่ กา จ ัดแหล่งเพาะพ ันธุย 1. ควบคุมพาหะนา เชอ ์ ง ุ ั ทแ ื้ เชน ่ คอกหมูควรอยูไ่ กลจากทีพ 2. ควบคุมสตว์ ี่ พร่เชอ ่ ัก ั ี ให้หมู อาศยหรื อฉีดว ัคซน 3. ระว ังไม่ให้ถก ู ยุงก ัด โดยเฉพาะเวลาพลบคา ่ ี ป้องก ันโรคในคน โดยฉีดว ัคซน ี 2 เข็ม ห่างก ัน 4. ฉีดว ัคซน ั 1-2 สปดาห์ และฉีดกระตุน ้ อีก 1 เข็มใน 1 ปี ต่อมา หล ังจาก ี พร้อมก ับการฉีดว ัคซน ี นนฉี ั้ ดกระตุน ้ ทุก 4 ปี อาจให้ว ัคซน DPT หรือน ัดมา ต่างหาก ขนาดทีใ่ ห้ ในเด็กอายุตา ่ กว่า 3 ปี ฉีดใต้ผวิ หน ังครงละ ั้ 0.5 มิลลิลต ิ ร ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี ฉีด ี จะป้องก ันโรคได้ ใต้ผวิ หน ังครงละ ั้ 1.0 มิลลิลต ิ ร ว ัคซน หล ังจากฉีดเข็มที่ 2 แล้วประมาณ 1 เดือน


ลักษณะน้าไขสันหลังในเยือ ่ หุม ้ สมองอักเสบ ปกติ

ไวรัส

แบคทีเรีย

สี

ใส

ใส

ขุ่นเป็นหนอง

ความดัน (มม./น้า)

80-160

ปกติสูง เล็กน้อย

> 200

เซลล์ (เซลล์/มม.)

5-10

ปกติ - 1000

>100

น้าตาลใน เลือด มก./ดล.

40-100

ปกติ

< 40 or < 50

โปรตีน มก./ดล.

15-40

ปกติหรือสูง เล็กน้อย

> 50


ื้ ของระบบประสาท หล ักการพยาบาลผูป ้ ่ วยเด็กทีม ่ ก ี ารติดเชอ 1.

ี่ งต่อการเกิด ผูป ้ ่ วยเด็กมีภาวะความด ันสูงในกะโหลกศรี ษะ และเสย ั อ ันตรายจากการชก 

 

ดูในการพยาบาลผูป ้ ่ วยเด็กทีม ่ ี ICP และการ ั พยาบาลผูป ้ ่ วยเด็กทีม ่ อ ี าการชก ให้ยาปฏิชวี นะ ยาลดอาการบวมในสมอง ยา ั ป้องก ันและยาต้านการชกตามแผนการร ักษา ั ้ า สงเกตอาการข้ างเคียงจากการใชย ดูแลผูป ้ ่ วยก่อนและหล ังการผ่าต ัดเกีย ่ วก ับทาง สมอง (ถ้ามี)

2. อาจได้ร ับสารอาหารและนา้ ไม่เพียงพอ เนือ ่ งจากอาการและพยาธิสภาพ ทางสมองและการได้ร ับยาข ับนา้  ประเมินนา้ หน ักต ัวและภาวะการขาดนา้  ประเมินและบ ันทึก I/O  ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบ ัติการทีเ่ กีย ่ วข้อง ่ IV, gavage feeding, กระตุน  ดูแลการได้ร ับนา้ และสารอาหาร เชน ้ ให้ดด ู นม เป็นต้น


3. ไม่สข ุ สบาย พ ักหล ับได้นอ ้ ย เนือ ่ งจากภาวะIICP มีการ ระคายเคือง ้ เยือ จากการอ ักเสบของเยือ ่ หุม ้ สมองหรือเนือ ่ สมอง มีไข้ มี ความเจ็บปวด ิ่ แวดล้อม จ ัดท่านอนให้เหมาะสม การจ ับต้อง  จ ัดสง หรือพลิกต ัว ควรทา อย่างนุม ่ นวล  วางแผนการพยาบาลเพือ ่ ให้ผป ู ้ ่ วยมีเวลาพ ัก และสงบ อย่างเพียงพอ  เช็ดต ัวและให้ยาลดไข้ หรือยาบรรเทาอาการเจ็ บปวด ี่ งต่อการเกิดภาวะอุดกนของทางเดิ 4. เสย ั้ นหายใจ และ เซลล์สมองขาดออกซเิ จน  ประเมินการหายใจ และภาวะขาดออกซเิ จน  จ ัดท่านอนให้หายใจสะดวก เปลีย ่ นท่าทุก 2 ชว่ ั โมง ่ ดูดเสมหะบ่อยตาม  ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง เชน ความจา เป็น จ ัดท่านอนระบายเสมหะ ร่วมก ับการเคาะ ปอด  ให้ออกซเิ จนตามแผนการร ักษา


5. พ ัฒนาการล่าชา้  ประเมินพ ัฒนาการ  ดูแลให้ผป ู ้ ่ วยได้ร ับการตอบสนองความ ้ ฐาน ต้องการพืน ่ นร่วมใน  เปิ ดโอกาสให้ผป ู ้ กครองมีสว ่ เสริมพ ัฒนาการ การดูและสง ั  จ ัดกิจกรรมสนทนาการให้ เหมาะสมก ับ อาการและว ัย


ั หลังโหว่(Spina bifida) กระดูกสน  เป็นความผิดปกติของท่อประสาท

ตงแต่ ั้ แรกเกิด จากการพ ัฒนาที่ ผิดปกติของระบบประสาท สว่ นกลาง สาเหตุ ั  ย ังไม่ทราบแน่ชด


ั ชนิดของกระดูกสนหล ังโหว่

Spina bifida occulta มีความผิดปกติของ Vertibral arches ไม่รวมต ัวก ัน สว่ นใหญ่เกิด ั ที่ L4 หรือ S1 ไขสนหล ันและเยือ ่ หุม ้ สมอง ั ย ังอยูภ ่ ายในลากระดูกไขสนหล ัง  Spina bifida cystica เป็นความผิดปกติของ ั การปิ ดของสว่ นโค้งของกระดูกไขสน ั หล ัง ทาให้มก ี ารยืน ่ ของไขสนหล ังและ/ ั หรือเยือ ่ หุม ้ สมองผ่านกระดูกสนหล ัง ออกมา 


Spina bifida occulta


Spina bifida cystica แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 

Mennigocele ก้อนหรือถุงทีย ่ น ื่ ออกมาจะประกอบด้วย ั ้ เยือ เยือ ่ หุม ้ สมองและนา้ ไขสนหล ัง ไม่มเี นือ ่ ั ประสาท ไขสนหล ังอยูใ่ นตาแหน่งปกติ ไม่มผ ี ล ้ ประสาท แต่ถา้ ก้อนแตกอาจเกิดการติด ต่อเสน ื้ ในระบบประสาท เชอ ั Myelomeninggocele มีความผิดปกติของกระดูกไขสน หล ัง ก้อนหรือถุงประกอบด้วยเยือ ่ หุม ้ สมอง นา้ ั ั ไขสนหล ัง และไขสนหล ัง ทาให้เกิดความพิการ ้ อยูก อาจทาให้เกิดอ ัมพาต ขึน ่ ับตาแหน่งของ ก้อนหรือถุง


Spina bifida cystica


Spina bifida

ผ่าตัดSpina bifida


อาการและอาการแสดง 

้ อยูก ขึน ่ ับชนิดและตาแหน่งทีผ ่ ด ิ ปกติ ถ้าเป็น Spina bifida occulta อาจไม่มค ี วามผิดปกติ ใดๆ ถ้าเป็น Spina bifida cystica ชนิด Myelomeninggocele อาจมีความพิการ มีอ ัมพาตของแขนขา มี ความผิดปกติของการข ับถ่าย


การวินจ ิ ฉ ัย การตรวจร่างกาย พบมีดา้ นหล ังตามแนวกระดูก ั สนหล ังมีรอยบุม ๋ หรือกระจุกขน อาจพบก้อนหรือ ถุงขนาดใหญ่ มารดามีปรว ัติขาดโฟลิกในขณะ ตงครรภ์ ั้  ตรวจ CT scan, MRI ทาให้ทราบตาแหน่งทีผ ่ ด ิ ปกติ ้ ฟฉายสอ ่ งบริเวนถุงหรือก้อนชว ่ ยแยก  ใชไ Mennigocele ก ับMyelomeninggocele การร ักษา Spina bifida occulta ไม่จาเป็นต้องร ักษา Spina bifida cystica จะทาการผ่าต ัดภายใน 24-48 ชม หล ัง ื้ หรือร ักษาระบบประสาท คลอดเพือ ่ ลดการติดเชอ ี หาย ไม่ให้เสย 


การพยาบาล 

ก่อนผ่าต ัด  งดว ัดปรอททางทวารหน ัก  ทาความสะอาดก้อนหรือถุงด้วย กอสชุบ NSS เปลีย ่ นทุก 2 ชว่ ั โมง ไม่ควรปล่อยผ้ากอสให้แห้ง   

้ นอุจจาระปัสสาวะ ระม ัดระว ังการปนเปลือ จ ัดท่านอนควา ่ สะโพกงอเล็กน้อย ั ึ ของก้อนหรือถุงและอาการของ สงเกตการร วซ ่ั ม ื้ การติดเชอ ั สงเกตอาการทางระบบประสาท


การพยาบาล 

ก่อนผ่าต ัด

ระม ัดระว ังการกระทบกระเทือน การแตกของก้อนหรือถุงนา้  ดูแลเรือ ่ งความวิตกก ังวลของ บิดามารดา เปิ ดโอกาสให้มส ี ว่ น ร่วมในการดูแลบุตร 


อาการและอาการแสดง

้ อยูก  ขึน ่ ับชนิดและตาแหน่งที่

ผิดปกติ  ถ้าเป็น Spina bifida occulta อาจไม่ม ี ความผิดปกติใดๆ  ถ้าเป็น Spina bifida cystica ชนิด Myelomeninggocele อาจมีความพิการ มี อ ัมพาตของแขนขา มีความ ผิดปกติของการข ับถ่าย


การวินจ ิ ฉ ัย การตรวจร่างกาย พบมีดา้ นหล ังตามแนวกระดูก ั สนหล ังมีรอยบุม ๋ หรือกระจุกขน อาจพบก้อนหรือ ถุงขนาดใหญ่ มารดามีปรว ัติขาดโฟลิกในขณะ ตงครรภ์ ั้  ตรวจ CT scan, MRI ทาให้ทราบตาแหน่งทีผ ่ ด ิ ปกติ ้ ฟฉายสอ ่ งบริเวนถุงหรือก้อนชว ่ ยแยก  ใชไ Mennigocele ก ับ Myelomeninggocele การร ักษา Spina bifida occulta ไม่จาเป็นต้องร ักษา Spina bifida cystica จะทาการผ่าต ัดภายใน 24-48 ชม หล ัง ื้ หรือร ักษาระบบประสาท คลอดเพือ ่ ลดการติดเชอ ี หาย ไม่ให้เสย 


การพยาบาล 

ก่อนผ่าต ัด  งดว ัดปรอททางทวารหน ัก  ทาความสะอาดก้อนหรือถุงด้วย กอสชุบ NSS เปลีย ่ นทุก 2 ชว่ ั โมง ไม่ควรปล่อยผ้ากอสให้แห้ง   

้ นอุจจาระปัสสาวะ ระม ัดระว ังการปนเปลือ จ ัดท่านอนควา ่ สะโพกงอเล็กน้อย ั ึ ของก้อนหรือถุงและอาการของ สงเกตการร วซ ่ั ม ื้ การติดเชอ ั สงเกตอาการทางระบบประสาท


การพยาบาล 

ก่อนผ่าต ัด

ระม ัดระว ังการกระทบกระเทือน การแตกของก้อนหรือถุงนา้  ดูแลเรือ ่ งความวิตกก ังวลของ บิดามารดา เปิ ดโอกาสให้มส ี ว่ น ร่วมในการดูแลบุตร 


การพยาบาล 

หล ังผ่าต ัด

ั ี ประเมินการติดเชอ ื้ อืน ว ัดสญญานช พ ่ ๆ ด้วย  ดูแลแผลให้สะอาด ทาแผล อย่าให้แผล แห้ง ั ั  สงเกตการร ว่ ั ของนา้ ไขสนหล ังจากแผล ี นะตามแผนการร ักษา  ให้ยาปฏิชว ั  หล ังผ่าต ัดต้องสงเกตการมี เลือดออก ี่ งต่อการช็อกจากเสย ี ประเมินภาวะเสย เลือด 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.