การเสนอแนวทาง
นิ ท รรศการพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ เ วี ย งท่ า กาน
า มณีวรรณ ธณิกา มณี
ธณิกา มณีวรรณ
ก า ร เ ส น อ แ น ว ท า ง
นิ ท รรศการ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ วี ย งท่ า กาน
1
2
ศูนย์บริการข้อมูล นั ก ท่ อ งเที่ ย วเวี ย งท่ า กาน
3
4
ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยวเวียงท่ากาน เวียงท่ากานเป็นเมืองโบราณสถาน ตั้งอยู่ในเขต บ้านท่ากาน ตำ�บล
บ้านกลาง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะเป็นเมืองรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ยาว 700เมตร กว้าง 500 เมตรโดยประมาณ ปรากฏ แนวคูเมือง 1 ชั้น และมีกำ�แพงดินหรือคันดินล้อมรอบ 2 ชั้น ปัจจุบัน เหลือสภาพแนวคูน้ำ�คันดินให้เห็น 3 ด้านยกเว้นทิศใต้ การเดินทางมายังเวียงท่ากานจากตัวเมืองเชียงใหม่บนทางหลวงหมายเลข 108 (เชียงใหม่–ฮอด) เป็นระยะทางประมาณ 34 กิโลเมตรจนถึงทางแยก เข้าบ้านท่ากานบริเวณปากทางบ้านทุง่ เสีย้ วเลีย้ วซ้ายเข้าไปเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร โดยประชากรส่วนใหญ่ทอ่ี ยูอ่ าศัยในเวียงท่ากานเป็นเชือ้ สายชาวไท ลือ้ ทีเ่ รียกตัวเองว่า “ชาวยอง” อพยพมาจากประเทศพม่าเข้ามาบริเวณเวียง ท่ากานเป็นระยะเวลากว่า 200 ปีซง่ึ ตรงกับสมัยพระเจ้ากาวิละ ปัจจุบนั คนใน ชุมชนส่วนมากจะอาศัยอยู่ท้ังนอกตัวเมืองโบราณและภายในเมืองโบราณ ประกอบไปด้วยประชากรประมาณ 424 ครัวเรือน และทีเ่ วียงท่ากานนีเ้ รา ยังมีศนู ย์บริการข้อมูลนักท่องเทีย่ วเวียงท่ากาน เนือ่ งจากเวียงท่ากานนัน้ เป็น เมืองประวัตศิ าสตร์ทม่ี คี วามสำ�คัญและมีโบราณสถานกระจัดกระจายอย ทู่ ว่ั ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา ชาวบ้านเวียงท่ากานได้รกั หวงแหนและแสดงออกถึง ภาคภูมใิ จมรดกวัฒนธรรมแห่งนีเ้ ป็นอันมาก ได้รว่ มแรงร่วมใจกันปกปักรักษา โบราณสถานเหล่านัน้ มิให้ถกู ทำ�ลาย จนสามารถรักษาเมืองประวัตศิ าสตร์ แห่งนีไ้ ว้ได้ จึงทำ�ให้ได้รบั โล่หพ์ ระราชทานรางวัลอนุรกั ษ์มรดกไทยดีเด่นใน นามของ “กลุม่ ประชาอาสาอนุรกั ษ์เมืองประวัตศิ าสตร์เวียงท่ากาน” จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2530 นอกจากนีช้ าวบ้านเวียงท่ากานยังเป็นชุมชนทีม่ เี จตนาและจิตสำ�นึกสูงต่อการ อนุรกั ษ์และรักษามรดกท้องถิน่ ของตน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางกรมศิลปกรได้ เข้ามาให้ความรูท้ ง้ั ด้านประวัตศิ าสตร์ โบราณสถานและโบราณวัตถุท�ำ ให้เกิด มีแนวคิดก่อตัง้ ศูนย์บริการข้อมูลแก่นกั ท่องเทีย่ วขึน้
5
ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยวเวียงท่ากานมีการเก็บรวบรวมโบราณวัตถุ และสื่อจัดแสดงข้อมูลความรู้เกี่นวกับโบราณวัตถุ 6
7
8
โครงการ
การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน
9
10
โครงการการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน พิพิธภัณฑ์กล่าวตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ให้ความหมายไว้ว่าสิ่งของต่างๆ ที่รวบรวมไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา เช่น โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เป็นต้น โดยมีหน้าที่ 3 ประการคือ เก็บ รวบรวม สงวนรักษา และแสดงถึงสิ่งต่างๆ โดยบรรดาสิ่งต่างๆ เหล่า นั้น อาจเป็นวัตถุธรรมชาติที่เกี่ยวกับภูมิวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีววิทยา หรือแสดงเกี่ยวกับกำ�เนิดของมนุษย์ในประวัติศาสตร์ ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วัตถุประสงค์ของพิพิธภัณฑ์อาจมุ่งเน้นเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 3 ประการดังกล่าวข้างต้น หรือแสดงออกซึ่งปรัชญาความนิยมความมุ่งหวัง ตลอดจนทีท่าของชุมชนก็ได้ เวียงท่ากานเป็นเมืองโบราณสถานที่มีหลักฐานทางโบราณคดีที่สำ�คัญอยู่ เป็นจำ�นวนมาก แต่ยังขาดพิพิธภัณฑ์ ดังนั้น จึงมีโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ เวียงท่ากานซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการในพระดำ�ริของพระเจ้าหลานเธอพระองค์ เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ด้วยทรงเห็นความสำ�คัญของโบราณสถานเวียงท่ากาน ตำ�บลบ้านกลาง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่โดยมีการออกแบบผังจัด แบ่งสัดส่วนคือ ส่วนที่ 1 ส่วนของการบริหารและการจัดการ ประกอบด้วย อาคารสำ�นักงานบริหาร ส่วนที่ 2 ส่วนพิพิธภัณฑ์ ประกอบด้วยอาคารส่วน นิทรรศการถาวร อาคารนิทรรศการชั่วคราว อาคารประชาสัมพันธ์ ส่วนที่ 3 ส่วนของการศึกษา ประกอบด้วย อาคารการเรียนรู้ รูปแบบสถาปัตยกรรม รูปแบบอาคารเป็นแบบล้านนาร่วมสมัยเพื่อความเหมาะสมกับการใช้งาน โดยมีวัตถุประสงค์และขอบเขตการจัดแสดงนิทรรศการเพื่อนำ�เสนอแนวทาง รูปแบบการจัดนิทรรศการถาวรและนิทรรศการหมุนเวียน เพื่อให้ทราบถึง ประวัติความเป็นมาของเวียงท่ากาน สังคม วัฒนธรรมและประเพณีของกลุ่ม ชาติพันธุ์เมืองโบราณเวียงท่ากาน อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งโดย ได้กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายไว้ที่กลุ่มประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา นัก วิชาการ และนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจในด้านประวัติศาสตร์และหลักฐาน ทางโบราณคดีตลอดจนถึงเรื่องราวของสังคม วัฒนธรรม ประเพณีของท้อง ถิ่น ส่วนขอบเขตการจัดแสดงใช้อาคารส่วนที่ 2 ประกอบด้วยอาคารส่วน นิทรรศการถาวร อาคารนิทรรศการชั่วคราว อาคารประชาสัมพันธ์ ในส่วน ของแปลนที่เขียนว่าห้องบรรยาย
11
แสดงแปลนพื้นที่ของอาคารพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน ที่มา : https://drive.google.com/file/d/0B_Ii-nA7TgEBYVQyS1ktWUtpeDA/view
12
แสดงรูปแบบการออกแบบพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากานในรูปแบบ 3D ที่มา : สานตำ�นานยิ่งใหญ่ พิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน (2 ตุลาคม 2558). ไทยรัฐออนไลน์ . สืบค้นจาก http://www.thairath.co.th/content/529250
13
14
นิทรรศการถาวร
15
นิทรรศการถาวร เป็นห้องโถงใหญ่มีประตูเข้าออกเพียงประตูเดียว โดยจะใช้หลักการ จัดแสดงนิทรรศการของห้องแบบห้องต่อห้อง (Room to Room Arrangement) คือการชมนิทรรศการโดยไม่ต้องย้อนกลับทางเดิม แต่มีการใช้ทางสัญจรร่วมกัน ดังนั้นจึงจะใช้การระบุสีและสัญลักษณ์ ของการชมลำ�ดับนิทรรศการไว้ที่บริเวณพื้น เพื่อให้เกิดความต่อ เนื่ อ งของการชมนิ ท รรศการซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารจั ด วางแผนผั ง สำ � หรั บ นิทรรศการถาวร
16
1 1
1
1
1 1
จ�ำลองส่วนจัดแสดงส่วนของการบรรยายประวัติความเป็นมาก่อนชมนิทรรศการ (หมายเลข 1 สีน�้ำเงิน) 2
2
2
2
2
จำ�ลองส่วนจัดแสดงหลักฐานทางโบราณคดีอัน ประกอบไปด้วยหลักฐานทางศิลปกรรมและหลัก ฐานทางสถาปัตยกรรมของเวียงท่ากาน (หมายเลข 2 ส่วนสีเขียว)
3
จำ�ลองส่วนจัดแสดงสภาพแวดล้อมหรือสิ่งแวดล้อม ของเวียงท่ากาน (หมายเลข 3 ส่วนสีชมพู)
4
จำ�ลองส่วนจัดแสดงประวัติบุคคลสำ�คัญในท้องถิ่น เวียงท่ากานและประวัติการดำ�เนินการเกี่ยวกับเวียง ท่ากานในช่วงที่ผ่านมา (หมายเลข 4 ส่วนสีเทา)
17
ส่วนจัดแสดงที่ 1 แสดงประวัติความเป็นมาของเวียงท่ากานประวัติ ความเป็นมาของ การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน เวียงท่ากาน
สมัยหริภุญไชย แสดงประวัติความเป็นมาของเวียงท่ากานในส่วนแรกเป็น ห้ อ งบรรยายจะแสดงเป็ น เรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ข องเวี ย งท่ า กานเริ่ ม ตั้ ง แต่ ประวัติศาสตร์ของเวียงท่ากานตั้งแต่ยุคสมัยหริภุญไชย ล้านนา รัตนโกสินทร์ จนถึงปัจจุบันจากหนังสือเรื่องตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของเวียงท่ากานดังต่อไปนี้
เวียงท่ากานสมัยหริภุญไชย
เวียงท่ากานไม่ปรากฏเรื่องราวในเอกสารว่าสร้างขึ้นสมัยไหน แต่จาก หลักฐานที่พบทั้งภายในและภายนอกและนอกตัวเวียงจำ�นวนหนึ่งที่เป็น ภาชนะดินเผา พระพิมพ์ดินเผา ซึ่งบางชิ้นมีจารึกเป็นอักษรมอญโบราณ รูป พระโพธิสตั ว์ทรี่ ะบุดว้ ย สำ�ริด เงิน และทองคำ� ล้วน เป็นหลักฐานของศิลปกรรม ในสมัยหริภุญไชยมีความเจริญมั่นคงและเป็นเมืองบริวารของเมืองหริภุญ ไชย อย่างไรก็ตามเวียงท่ากานยังคงเป็นชุนชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่สืบเนื่องมา
เวียงท่ากานสมัยล้านนา
18
เวียงท่ากานก็ตกเป็นเมืองขึ้นของล้านนาด้วยเช่นกัน ช่วงก่อนตั้งเมือง เชียงใหม่ได้ปรากฏชื่อในตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า เวียงพันนาทะการ คงจะเป็นเมืองที่มีความสำ�คัญเมืองหนึ่ง เพราะพญามังรายโปรดให้นำ�ต้นโพธิ์ ที่นำ�มาจากลังกาทวีปต้นหนึ่ง ในจำ�นวน 4 ต้น มาปลูกที่เวียงพันนาทะการ ดังปรากฏในตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ เวียงท่ากานเป็นเมืองที่มีเจ้าปกครอง ภายใต้การปกครองของเมืองเชียงใหม่ เป็นแหล่งสะสมเสบียงอาหารเพราะ เป็นถิ่นอุดมสมบูรณ์ ชื่อของเวียงท่ากานปรากฏในเอกสารโบราณสถานเกี่ยว กับเมืองเชียงใหม่สมัยพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. 1984-2030) กล่าวว่าพระองค์ ได้ยกทัพไปตีเมืองเงี้ยวและได้เชลยชาวเงี้ยวไปอยู่ที่เวียงพันนาทะการ คงจะ หมายความว่าในช่วงนี้เวียงพันนาทะการมีฐานเป็นเมืองขึ้นหน้าเมืองหนึ่ง ของเชียงใหม่เพราะคำ�ว่า “พันนา” ภาษาไทยเหนือ หมายถึง ตำ�บล ดัง ปรากฏในตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ ความว่า “พระเป็นเจ้าไปเมืองเงี้ยวบาง นั้นได้เงี้ยว 11 เมือง เมืองสู่หนึ่ง เมืองลายข้าหนึ่ง เมืองจีดหนึ่ง เมืองจางหนึ่ง
เมืองกิงหนึ่ง เมืองลอกจอกหนึ่ง เมืองจาคำ�หนึ่ง เมืองยองห้วยหนึ่ง เมือง หนองบอนหนึ่ง เมืองสี่ป้อหนึ่ง เข้ากันเป็น 11 เมือง และสมัยพระเมืองแก้ว (พ.ศ. 2038-2068) ในตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ได้กล่าวถึงพระเมืองแก้ว โปรดให้นำ�ไพร่ที่เจ้าเมืองนายนำ�มาถวายไปอยู่ที่พันนาทะการ ความว่า “ปี ระวายไจ้ศักราช 828 (พ.ศ. 2059) ชาวเชียงใหม
เวียงท่ากานสมัยรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน
ในสมัยพระยากาวิละเข้ามาบูรณะเมืองเชียงใหม่ ได้ยกทัพไปตีเมืองต่างๆ แล้วกวาดต้อนคนมาอยู่ตามเมืองเหล่านั้น รวมทั้งท่ากานและลำ�พูน พระยา กาวิละกวาดต้อนพวกไทยยองเข้ามาตั้งบ้านเรือนใหม่ ทำ�ให้ช่วงนี้เวียงท่า กานมีคนอยู่อีกครั้ง ซึ่งชาวบ้านเวียงท่ากานที่อาศัยอยู่ในปัจจุบันคือคน ไทลื้อที่เรียกตัวเองว่า คนยอง มาจนถึงปัจจุบัน ความหมายของชื่อ ท่า กานนั้น ได้มีการกล่าวกันว่า มาจากคำ�ว่า ต๊ะก๋าน จากคำ�บอกเล่าในท้อง ถิ่นถึงเรื่องในสมัยก่อนว่า มีกาเผือกตัวใหญ่ที่มักจะบินลงมาทำ�ความเสีย หายทำ�ลายพืชผลทางเกษตรและอ้างถึงพระพุทธเจ้าว่าเคยเสด็จมาโปรด สัตว์และยกพระหัตถ์ห้ามกาเผือกไม่ให้ลงมาทำ�ความเสียหายในชุมชนจาก ลักษณะการยกพระหัตถ์ห้ามของพระพุทธองค์ในภาษาถิ่นเรียกว่า ต๊ะก๋าน อันมีลักษณะคล้ายคลึงกับชื่อเวียง/เมืองที่ในสมัยหลังนิยมนำ�เข้าไปผูกเรื่อง สัมพันธ์กับพุทธประวัติดังปรากฏเป็นประวัติของชุมชน/บ้านเมืองในลักษณะ ต่างๆ เช่น เวียงแหง เวียงฮอด/เวียงกาหลง ฯลฯ
ประวัติโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน
พิพิธภัณฑ์เวียงท่ากานเป็นหนึ่งโครงการในพระดำ�ริของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ด้วยทรงเห็นความสำ�คัญของโบราณสถานเวียง ท่ากาน ต.บ้านกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม และเป็นหลักฐานสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ที่อยู่คู่กับชุมชนมาเป็นเวลานาน ขณะนี้ยังขาดพิพิธภัณฑสถานสำ�หรับเก็บรวบรวมและเป็นแหล่งศึกษาเรียน รู้คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมให้แก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะเยาวชนในท้องถิ่นควรได้รับการส่งเสริมให้เกิด การอนุรักษ์และสืบทอดมรดกของท้องถิ่น
19
ส่วนจัดแสดงที่ 2 แสดงหลักฐานทางโบราณคดีอันประกอบไปด้วยหลักฐานทาง ศิลปกรรมและหลักฐานทางสถาปัตยกรรมของเวียงท่ากาน การจัดแสดงส่วนนี้
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นส่วนของหลักฐานทางสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นในพุทธ ศตวรรษที่ 17 ถึงพุทธศตวรรษที่ 21 หลักฐานของสถาปัตยกรรมนั้นได้แก่ เจดีย์ ชิ้นส่วน ของลวดลายประดับสถาปัตยกรรม ส่วนที่สองเป็นส่วนของศิลปกรรมที่เป็นโบราณวัตถุใน ช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 -18 ซึ่งมีเอกลักษณ์ของหริภุญไชย
สถาปัตยกรรม
20
สถาปัตยกรรมในเมืองโบราณเวียงท่ากานจะเป็นลักษณะของศาสนาสถานในรูปแบบของ เจดีย์ วิหารซึ่งมีทั้งสมบรูณ์และไม่สมบูรณ์อยู่กระจัดกระจายตามพื้นที่ต่างๆ โดยจะแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ประกอบด้วย เจดีย์ วิหาร แนวกำ�แพง และซุ้มประตูโขง กลุ่มที่ 2 ตั้งอยู่ช่วงกลางใช้แนวกำ�แพงร่วมกับกลุ่มที่ 3 ประกอบไปด้วยวิหาร เจดีย์ อาคารขนาดเล็ก และศาลาโถง กลุ่มที่ 3 ตั้งอยู่ทางทิศใต้ด้านซ้ายสุดของกลุ่มมีพื้นที่มากที่สุดประกอบด้วยกลุ่ม ของเจดีย์ วิหาร พระอุโบสถ อาคาร และเจดีย์รายขนาดเล็ก
่
โบราณวัตถุ
่
ที่เป็นเอกลักษณ์ของหริภุญไชย คือ พระพิมพ์ดินเผาแบบที่เรียกว่าพระสาม พระสิบสอง และพระแผง (พระห้าร้อย) คติการสร้างพระพิมพ์ดินเผาสืบต่อมาจากทวารวดี ที่นิยมสร้าง ขึ้นเป็นพุทธบูชา มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 17-18 ที่เวียงท่ากานได้ขุดพบพระพิมพ์ แบบนี้เป็นจำ�นวนมาก และยังพบพระปางประทานอภัยสวมมงกุฎทรงเทริดทำ�ด้วยสำ�ริด ลักษณะของพระแบบนี้เป็นคติมหายานที่นิยมในสมัยราชวงศ์ปาละของอินเดีย ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 14-17 ซึ่งได้แพร่หลายเข้ามายังพม่า ไทย ในประเทศไทยเคยพบพระ พุทธรูปแบบนี้ที่ลพบุรี และเวียงมโน ที่เวียงท่ากานเคยพบจำ�นวน 4 องค์ ปัจจุบันหายไป แล้ว พระพุทธรูปแบบนี้กำ�หนดอายุไว้ประมาณพุทธศตวรรษที่ 17-18 นอกจากนี้ยังมีพวก ภาชนะดินเผาแบ่งได้ดังนี้ภาชนะดินเผาที่พบที่เวียงท่ากาน สามารถจำ�แนกออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ตามแหล่งภาชนะดินเผาที่ผลิตจากแหล่งเตาในประเทศภาชนะดินเผาที่ผลิตจากแหล่ง เตาต่างประเทศ ซึ่งได้มีการขุดค้นพบเครื่องเคลือบดินเผาที่สำ�คัญของสมัยราชวงศ์หมิงและ ราชวงศ์หยวนในลักษณะสภาพสมบูรณ์แบบ โดยมีแบบจำ�ลองจัดแสดงไว้ที่ศูนย์บริการ ข้อมูลนักท่องเที่ยวเวียงท่ากาน
21
1.วัดกลางเวียง
3. วัดป่าเป้า
5. วัดพระเจ้าก่ำ�
22
2. วัดอุโบสถ
4. วัดหนองหล่ม
6. วัดหัวข่วง
23
7. วัดป่าไผ่รวก
9. วัดต้นโพธฺื๋
11. วัดต้นกอก
24
8. วัดกู่ไม้แดง
10. วัดน้อย
12. โบราณวัตถุ และสิ่งของจัดแสดง
25
ส่วนจัดแสดงที่ 3 แสดงสภาพแวดล้อมหรือสิ่งแวดล้อมของเวียงท่ากาน จัดแสดงถึง
ลักษณะทางกายภาพสิ่งแวดล้อมทั่วไปของชุมชนเวียงท่ากานในปัจจุบัน ที่ตั้งและเส้นทาง คมนาคม เวียงท่ากาน มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 500 เมตร ยาวโดยประมาณ 750 เมตร มีแนวคูเมือง 1 ชั้น กว้างประมาณ 8 เมตร และมีกำ�แพงเมืองเป็นคันดินล้อมรอบ 2 ชั้นซึ่งปัจจุบันเหลือสภาพที่ให้เห็นชัดเจนมีแค่เพียง 3 ด้าน ยกเว้นด้านทิศตะวันออกจะลบ เลือนเหลือให้เห็นแค่บางส่วนเท่านั้น จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่าเมืองโบราณแห่ง นี้สร้างขึ้นในสมัยหริภุญไชย มีประตูเมืองของเวียนท่ากานมีทั้งหมดอยู่ 5 ประตูคือ 1.ประตูยางกวงอยู่บริเวณกึ่งกลางกำ�แพงเมืองด้านทิศเหนือ 2.ประตูปู่ห้อยอยู่บริเวณกึ่งกลางกำ�แพงเมืองด้านทิศตะวันตก 3.ประตูหัวเวียงอยู่บริเวณกึ่งกลางกำ�แพงเมืองด้านทิศตะวันออก 4.ประตูพญาเงี้ยวอยู่มุมกำ�แพงเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 5.ประตูไม่ทราบชื่อ อยู่ทางทิศตะวันออกใกล้บริเวณวัดพระเจ้าก่ำ�
ส่วนจัดแสดงที่ 4 ประวัติบุคคลสำ�คัญในท้องถิ่นเวียงท่ากานและประวัติการดำ�เนิน การเกี่ยวกับเวียงท่ากานในช่วงที่ผ่านมา จัดแสดงรายละเอียดของการดำ�เนินการเกี่ยว
26
กับเวียงท่ากานในช่วงเวลาที่ผ่านมาและรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับบุคคลสำ�คัญที่มีส่วนช่วย เหลือดูแลรักษาอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2508 มีการค้นพบเวียงท่ากานเป็นครั้งแรก โดยชมรมศึกษาวัฒนธรรม โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปกร และภายหลังมีผู้สนใจศึกษา นักวิชาการต่างๆ มาสำ�รวจ ศึกษาโบราณสถานและโบราณวัตถุของเมืองโบราณแห่งนี้เรื่อยมา กลางปี พ.ศ. 2527 คณะอาจารย์จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมกับหน่วยศิลปากรที่ 4 กองโบราณคดี ทำ�การขุดหลุมทดสอบ ทางโบราณคดี โดยมีเป้าหมายเพื่อศึกษารูปแบบภาชนะดินเผาในเมืองโบราณเวียงท่ากาน โดยหลุมทดสอบทางด้านทิศตะวันตกของวัดท่ากาน ปรากฏโครงกระดูกมนุษย์จำ�นวน 2 โครง กลางปี พ.ศ. 2528 หน่วยศิลปกรที่ 4 กองโบราณคดี ได้ขุดค้นทางโบราณคดีใน บริเวณที่พบกระดูกดังกล่าวอีกครั้ง เพื่อศึกษารายละเอียดของชั้นดิน ผลจากการศึกษา อธิบายได้ว่าโครงกระดูกที่พบนั้นอายุไม่มาก อยู่ในสมัยล้านนาในสมัยนั้นยังประเพณีการฝัง ศพเช่นนี้อยู่ ระหว่างปี พ.ศ. 2526 – 2530 หน่วยศิลปกรที่ 4 เชียงใหม่ ร่วมกับประชาชน
ภายในชุมชนเวียงท่ากาน จัดตั้งกลุ่มประชาคมพิทักษ์รักษามรดกวัฒนธรรมเวียงท่ากาน ทำ�การอนุรักษ์และพัฒนาเวียงท่ากาน และปะชาสัมพันธ์ทำ�ให้เวียงท่ากานเป็นที่รู้จักโดย ทั่วไป และได้รับพระราชทานรางวัลอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่นประจำ�ปี 2530 พ.ศ. 2531 หน่วยศิลปกรที่ 4 เชียงใหม่ กรมศิลปากรได้เริ่มเข้ามาดำ�เนินการขุด ค้นขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานเจดีย์กลางเมือง 2 องค์ คือเจดีย์แปดเหลี่ยมแบบหริภุญ ไชยและเจดีย์ทรงปราสาทยอดระฆัง พบโบราณวัตถุจำ�นวนมาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 สำ�นักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 6 เชียงใหม่(หน่วยศิลปากรที่ 4 เดิม) ทำ�การขุดค้นศึกษาแหล่งโบราณคดีเวียงท่ากาน หลุม ขุดค้นขนาด 3 × 3 เมตร บริเวณหลังวัดท่ากาน ในที่ดินของนายจันทร์ติ๊บ สมบุญพบโครง กระดูกมนุษย์จำ�นวน 8 โครง ชิ้นส่วนกระดูกสัตว์ จำ�นวนหลายชิ้น กลุ่มเศษภาชนะดินเผา 1 กลุ่ม และภาชนะดินเผาจำ�นวนหนึ่ง ต่อมาได้ขยายหลุมขุดค้นออกไปทางทิศตะวันออก อีก 1 เมตร พบโครงกระดูกมนุษย์เพิ่มอีก 1 โครง จากการวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ โดย อาจารย์สุภาพร นาคบัลลังก์ พบว่า โครงกระดูกมนุษย์ที่พบทั้งหมดเป็นโครงผู้ใหญ่ วัยเจริญ พันธุ์ เพศชาย 3 โครง หญิง 1 โครง และจากผลการวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ฝั่งร่วมชั้นกัน ส่วนใหญ่เป็นเศษภาชนะดินเผา และภาชนะประเภทแจกันเป็นของที่ผลิตจากเตาล้านนา ได้แก่ แหล่งเตาสันกำ�แพง และเตาเวียงกาหลงส่วนเศษภาชนะดินเผาจากต่างประเทศที่พบ คือ เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์หมิง (พ.ศ. 1991–2197) ปี พ.ศ. 2543 ได้มีการขุดแต่งศึกษาโบราณสถานอีกจำ�นวน 5แห่ง ได้แก่ วัดน้อย วัดหนองหล่ม วัดป่าเป้า วัดป่าไผ่รวก และวัดสันมะเดื่อ (กู่ไม้แดง) รวมทั้งสร้างศูนย์บริการ ข้อมูลขึ้นในบริเวณกลุ่มโบราณสถานกลางเวียง พ.ศ. 2548 กลุ่มประชาคมตำ�บลบ้านกลางได้จัดทำ�แผนงานโครงการอรุรักษ์และ พัฒนาเมืองประวัติศาสตร์เวียงท่ากาน ตำ�บลบ้านกลาง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
27
28
29
30
นิทรรศการหมุนเวียน
31
นิทรรศการหมุนเวียน ใช้หลักการจัดแสดงนิทรรศการแบบการจัดแบบมีโถงจ่าย (Corridor Room Arrangement) เป็นการเดินแนวยาว และมีทางแยกเข้าสู่ ส่วนแสดงทำ�ให้เลือกชมได้สบายใช้ในการจัดนิทรรศการหมุนเวียน
32
ส่วนจัดแสดงที่ 1 ศาสนา ความเชื่อและประเพณีพิธีกรรม
ในส่วนการจัดแสดงนี้จะแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อของชาวบ้าน และประเพณีพิธีกรรมที่ชาวบ้านในของชุมชนเวียงท่ากานให้ความสำ�คัญและ ประเพณี 12 เดือนของล้านนา ซึ่งจะหมุนเวียนไปเดือนต่างๆ แบบล้านนา
กิจกรรมและวัฒนธรรมที่ชาวบ้านในเวียงท่ากานให้ความสนใจมีราย ละเอียดดังต่อไปนี้ กิจกรรมในประเพณียี่เป็ง หรือลอยกระทง
ประเพณียี่เป็งซึ่งจะมีการจัดงานที่ยิ่งใหญ่เป็นประจำ�ทุกๆปีในบริเวณ โบราณสถาน และจะมีการจัดกิจกรรมร่วมด้วยในช่วงประเพณียี่เป็งคือ โครงการจัดหาทุนสมทบ เพื่อสร้างพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากานภายใต้โครงการของ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ จะจัดเพียง 2 ปีหนึ่งครั้งซึ่งปี พ.ศ. 2558 ได้จัดโครงการที่ชื่อว่า “สานตำ�นานยิ่งใหญ่ สายใยชุมชนท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลป์ พิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน” เป็นครั้งที่ 5 ในงานมีกิจกรรมที่ชาว บ้านได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมขึ้นมา โดยภายในงานประกอบไปด้วยการ จัดแสดงแบบจำ�ลองพิพิธภัณฑ์เวียงท่ากาน ซึ่งผ่านการทำ�ประชาพิจารณ์จาก ชาวบ้านในพื้นที่ และเป็นแบบที่จะใช้ในการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ นอกจากนี้ยัง มีการจัดกิจกรรมการประกวดการออกแบบจัดห้องนิทรรศการหมุนเวียน และ การประกวดออกแบบยูนิฟอร์มมัคคุเทศก์เยาวชน ส่วนกิจกรรมด้านศิลปะ จะ มีศิลปินที่มีชื่อเสียงอาทิเช่น อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มาร่วมวาดภาพ และนำ� มาจัดแสดง นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมให้ความรู้เยาวชนในการวาดภาพลายเส้น โบราณวัตถุที่ขุดค้นพบ โดยศิลปินรุ่นใหม่ที่มีชื่อเสียงในวงการศิลปะ พร้อมทั้ง ให้ความรู้ทางด้านโบราณคดีจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดี
ไทย
การจัดกิจกรรมในวันที่ 2 เมษายน จะจัดงานวันอนุรักษ์มรดก
ภายในงานจะมีกิจกรรมที่ร่วมสืบสานวัฒนธรรม มีการฟ้อน ซอ ฟ้อนยอง ฟ้อน ดาบ ร้องเพลงพื้นถิ่น ฟ้อนมอญ มีการร่วมทำ� work shop การตัดตุง ธง ตุงช่อ ตุงชัย โคมลอยภายในงานประกอบไปด้วยชาวบ้านที่มาร่วมงาน
33
ซึ่งในอดีตมีการแต่งกายด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ไทยอง ไทลื้อ ไทเขิน เนื่องจาก เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น
การนับเดือน
มีการนับเดือนเป็นแบบล้านนาและแบบสากลทั่วไป
ความเชื่อและพิธีกรรมสำ�คัญ
ในส่วนของพิธีกรรมและความเชื่อ ชาวบ้านเวียงท่ากานมีความเชื่อในเรื่อง ของการบูชาผีบรรพบุรุษจะมีพิธีกรรมการขึ้นหอหลวง เส้นไหว้ผีบรรพบุรุษ โดยจะมีการจัดพิธีการฟ้อนผีที่บริเวณวัดกลางเวียง แสดงถึงการดำ�เนินชีวิต อาชีพ ความสัมพันธ์กับโครงสร้างทางสังคมของคนในชุมชนเวียงท่ากาน
34
ส่วนจัดแสดงที่ 2 วัฒนธรรม และวิถีชีวิต วัฒนธรรมจะแบ่งวัฒนธรรมเป็นด้านต่างๆ ดังนี้
วัฒนธรรมด้านการกิน การกินโดยทั่วไปจะเป็นอาหาร พื้นเมืองแบบเชียงใหม่ เป็นของกินพื้นถิ่น เช่น น�้ำพริก ผักลวก คั่วน�้ำเมี้ยง ย�ำใหญ่ ผักส้ม เป็นต้น วั ฒ นธรรมด้ า นการแต่ ง กายการแต่ ง กายใน ปัจจุบัน จะไม่หลงเหลือการแต่งการแบบชาติพันธุ์ อย่างในอดีตเนื่อง ด้วยสภาพทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป แต่จะ มีการจำ�ลองภาพการแต่งกายในอดีตของชาวไทลื้อและไทเขิน วัฒนธรรมด้านงานศิลปกรรมและหัตถกรรม สิ่งที่โดดเด่นของ ชุมชนเวียงท่ากาน คือการทำ�โคมแต่คนที่ทำ�จะเป็นพระสงฆ์ที่ เป็นสล่าด้านการทำ�โคมโดยตรง แต่ละปีก็จะมีการเอาโคมมา ประกวดกันในช่วงเทศกาล ส่วนงานหัตกรรมอื่นๆก็ได้แก่พวก งานจักสาน ทำ�ดอกไม้กระดาษ ตัดตุง สานปลา วัฒนธรรมด้านพิธีกรรมศพ ที่เวียงท่ากานมักจะนิยมจัดงาน ศพไว้ที่บ้านสำ�หรับบ้านไหนที่มีคนตายก็จัดไว้ที่บ้านคนนั้น และเผาที่ป่าช้า ดังนั้นจึงเรียกการจัดงานศพว่า “บ้านศพ” ซึ่ง เป็นชื่อเรียกตามการจัดงาน วิถีชีวิตปัจจุบัน การดำ�รงชีวิตของชาวบ้านในเวียงท่ากานปัจจุบันยังคง เป็นสังคมแบบครอบครัวใหญ่ มีการช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและ กัน มีการทำ�การเกษตรลดลง ตลาดท่ากานเป็นศูนย์กลางในการค้าขายแลก เปลี่ยนของผู้คนภายในชุมชน
35
36
37
การจำ�ลองการแต่งกายไทเขินในอดีต 38
การจำ�ลองการแต่งกายไทลื้อในอดีต 39
การเสนอแนวทางน ทิ รรศการพ พิ ธิ ภัณฑ์เวียงท่ากาน ธณ กิ า มณ วี รรณ © 2016 (พ.ศ. 2559) โดย ธน กิ า มณ วี รรณ สงวนลิขส ทิ ธ ิต์ ามพระราชบัญญัต ิ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ธณิกา มณีวรรณ ออกแบบโดยใช้ฟอนต์ TH SarabunPSK 16pt หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
40
เวียงท่ากานเป็นเมืองโบราณสถาน ตั้งอยูใ่ นเขต บ้านท่ากาน ตำ�บล บ้านกลาง อำ�เภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะเป็นเมือง รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยมีกำ�แพงและคันดินล้อมรอบบริเวณตัวเมือง