๓๙ “
พลังแห่งความสามัคคี
”
จุดเริ่มต้นโครงการพัฒนาเครือข่ายที่ยั่งยืน 2559
Vol.1
พลังปัญญา www.palangpanya.com www.พลังปัญญา.com
Wisdom Line : 080-158-8883, 080-728-8883
สารบัญ พลังปัญญาคืออะไร
7
๓๙ โครงการพลังปัญญา
10
ประเภทแห่งการเรียนรู้
12
ศูนย์การเรียนรู้
• เส้นทางสายปัญญา • กล้วยดี บีบีฟาร์ม • กล้วยๆ ก็รวยได้ • แฝกแล้งฟื้น • พลังปัญญา 5 หมู่บ้าน
17 21 25 29 33
ตลาดธรรมชาติ
• Green Happy • Herbal Drink & Food Truck • กล้าแกร่ง • ข้าวรักษ์โฮม • ร้านค้าชุมชน • ร้านพลังปัญญาน�ำพาสุข • เห็ดหมังขะดัน • โอ้โห ขยะทองค�ำ • ไบโอชาร์พารวย
39 43 49 50 53 56 60 63 67
เกษตรท่องเที่ยว
• เคียงเดือน ดอยอินคา • ลุงโฮโชว์นิ้ว (จิมินต์) • แลยมชมกาดน�้ำ • แลยมชมแอ่งวังชิ้น • ชม ชิม ช้อป แม่ระวาน • มหัศจรรย์น�้ำแร่แจ้ซ้อน • ระบบใหม่ สวนม่อนแก้ว
73 77 81 85 88 92 96
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
• Power Clean • กล้วยเร็วสุขล้น • กล้วยแกร่ง • กิมซุงนอกฤดู • ข่าเหลืองมังกรทอง • ข้าวใหม่ปลามัน • ข้าวสวยรวยสุขกาพ • ปลาบืนฟื้นชุมชน
101 105 109 113 117 121 124 128
• หน่อไม้ฝรั่งยั่งยืน • พลิกฟื้นหนองเลิงเปือย • สายใยกล้วย • สมุนไพรคลายทุกข์เส้น • ผักไร้ดินปลูกง่าย รายได้แสน • เกษตรยกก�ำลังสอง • ข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์ • หมัก ไม่ เผา • ยุงเผ่น • หญ้า บวก โค = 1 ล้าน
131 134 138 141 145 148 152 155 158 162
พลังปัญญา POWER of WISDOM
“เปลี่ยนวิธีคิด พลิกชีวิตด้วยปัญญา” โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน และผู้น�ำชุมชนด้วยศาสตร์พระราชา เพื่อ ความสุขสมดุลอย่างยั่งยืน ความตั้งใจของโครงการพลังปัญญา
ผสานกับหลักการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล เรียนรู้นวัตกรรม ต่าง ๆ การขายสินค้า และการตลาด ที่สามารถน�ำไปปฏิบัติ ได้จริง และเห็นผลความเปลี่ยนแปลงชัดเจนจากผู้น�ำพลัง ปัญญาที่ผ่านการอบรมมาแล้ว
“พัฒนา...ใคร”
พัฒนา...และเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกร ซึ่งเป็น ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ
“เพื่อ...อะไร”
เพื่อ...ให้พ้นจากภาวะความยากจน หลุดพ้นจากกรอบความ คิดเดิม ๆ ทีท่ ำ� เท่าไหร่ ก็ไม่พน้ จากปัญหาซ�ำ้ ซาก อาทิ ผลผลิต ล้นตลาด ราคาพืชผลตกต�่ำ พึ่งตัวเองไม่ได้ สุดท้าย ต้องไป เป็นหนี้ ทุกข์ทนวนเวียนอยู่อย่างนี้
“ด้วยวิธีการ...อย่างไร”
ด้วยการ... “เปลีย่ นวิธคี ดิ ” ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงชีวติ ครัง้ ใหญ่ โดยใช้ “ศาสตร์พระราชา” ความรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
7
“๕ เรื่องที่ควรรู้ เกี่ยวกับ โครงการฯ” ๑. โครงการพลั ง ปั ญ ญาเริ่ ม เปิ ด อบรมครั้ ง แรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยการสนับสนุนของผู้ใหญ่ใจดี คือ มูลนิธมิ นั่ พัฒนา สวทช. เอสซีจี กองทัพบก และหอการค้าไทย ๒. ใน ๒ ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๕๙) มีผู้เข้า อบรมพลังปัญญา ทั้งหมด.....คน ระดับ ๑ ....... คน ระดับ ๒ ...... คน มีชาวบ้านทีไ่ ด้รบั การขยายผลจากการอบรม ทั้งหมด แบ่งเป็น.......คน ภาคเหนือ.......หมู่บ้าน .........ต�ำบล .........อ�ำเภอ .......จังหวัด (จังหวัดอะไรบ้าง.......) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ........หมู่บ้าน .........ต�ำบล ......... อ�ำเภอ .......จังหวัด (จังหวัดอะไรบ้าง.......) ๓. มี โ ครงการที่ ไ ด้ รั บ ทุ น หมุ น เวี ย นพลั ง ปั ญ ญา ทั้งหมด.........ทุน ภาคเหนือ.......ทุน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ........ทุน ๔. อบรมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย พร้อมจัดรถเดินทางให้ผู้ เข้าอบรมทุกคน “พลังปัญญา...สอนอะไร”
พลังปัญญา แบ่งการอบรม เป็น ๓ ระดับ
ระดับ ๑ : ชีวิตสมดุลด้วยศาสตร์พระราชา
เป้าหมาย คือ การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพตนเอง เพือ่ น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงชุมชนอย่างสมดุลและยัง่ ยืน ด้วย ศาสตร์พระราชา
8
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ระดับ ๒ : ชุมชนแห่งความสุข
เป้าหมาย คือ สร้างผู้ชุมชนและเครือข่าย ในระดับ ต�ำบลและอ�ำเภอ เน้นการเกื้อกูลแบ่งปันซึ่งกันและกัน
ระดับ ๓ : โลกแห่งความสมดุลและยั่งยืน
เป้าหมาย คือ สร้างเครือข่ายผู้น�ำชุมชนในระดับ จังหวัด, ประเทศ และเตรียมพร้อมสานเครือข่ายในระดับ สากล อ�ำนวยการสอน รศ.ดร.เฉลิมพล เกิดมณี (อ.ป๋อง) นักวิจัยอาวุโส ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ มีผล งานวิจยั ในระดับนานาชาติหลายสิบรางวัล และเป็นทีร่ จู้ กั กัน ดีในนาม นักวิทยาศาสตร์จิตวิทยาการตลาดและเทคโนโลยี ดร. พีระพงษ์ กลิ่นลออ (อ.รี่) กูรูด้านการตลาด ที่ ป รึ ก ษาด้ า นกลยุ ท ธ์ ก ารสื่ อ สาร ส� ำ นั ก งานทรั พ ย์ สิ น ส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับรางวัลจากโครงการท�ำดีทุกวัน จากดีแทค ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการประกวดผลงานตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงครั้งที่ ๒ ประจ�ำปี ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ ของส�ำนักงาน กปร.
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ
คุณสมบัติของผู้สมัครระดับ ๑
• ขอเพียงเป็นคนไทย อายุ ๒๐ ปี เป็นต้นไป อาชีพใด ก็ได้ ไม่จ�ำกัดวุฒิการศึกษา (ถ้ามีประสบการณ์ในการท�ำงาน ด้านชุมชน เช่น เป็นผู้น�ำกลุ่ม..ในหมู่บ้าน เป็นต้น จะได้รับ การพิจารณาเป็นพิเศษ) • สามารถเข้ารับการอบรมได้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของการอบรมทั้งหมด • ทุกท่านที่สมัคร จะต้องผ่านการทดสอบ เพื่อคัด เลือกเข้าโครงการอีกครั้งหนึ่ง
คุณสมบัติของผู้สมัครระดับ ๒
• ผู้เรียนระดับ ๑ ที่มีผลคะแนนผ่านเกณฑ์ จะได้เข้า อบรมระดับ ๒ • ส�ำหรับผู้เรียนระดับ ๑ แต่คะแนนไม่ถึงเกณฑ์ แต่ต้องการจะเข้ารับการอบรมระดับ ๒ จะต้องสอบคัดเลือก อีกครั้ง ถ้าผ่านก็จะได้รับเรียนระดับ ๒ ต่อไป
คุณสมบัติของผู้สมัครระดับ ๓
• ผู้เรียนระดับ ๒ ที่มีผลคะแนนผ่านเกณฑ์ จะได้เข้า อบรมระดับ ๓ • ส�ำหรับผู้เรียนระดับ ๒ แต่คะแนนไม่ถึงเกณฑ์ แต่ ต้องการจะเข้ารับการอบรมระดับ ๓ จะต้องสอบคัดเลือกอีก ครั้ง ถ้าผ่านก็จะได้รับเรียนระดับ ๓ ต่อไป
คุณสมบัติของผู้สมัคร ระดับ ๑ สัญชาติไทย อายุ ๒๐ ปี เข้าร่วมการอบรม ได้สมํ่าเสมอ ต้องผ่านการทดสอบ ของโครงการ
ระดับ ๒ ต้องมีผลคะแนน ผ่านเกณฑ์ก�ำหนด จากระดับ ๑ หากต้องการเรียน แต่ผลคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ จะต้องสอบคัดเลือก
ระดับ ๓ ต้องมีผลคะแนน ผ่านเกณฑ์ก�ำหนด จากระดับ ๒ หากต้องการเรียน แต่ผลคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ จะต้องสอบคัดเลือก
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
9
พลังปัญญา
๓๙ โครงการ
โครงการ ๓๙ โครงการ มาจากผู้เข้าอบรม
ระดับ ๒ ที่ไปขยายผลในท้องถิ่นของตนและ
สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง และรายได้ ใ ห้ กั บ ชุ ม ชน ของตนเอง โดยแต่ละโครงการเป็นการค้นหา คุณค่าของสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ (วัตถุดิบ ความ
สามารถ ความเหมาะสม) และใช้ภม ู ป ิ ญ ั ญาชาว บ้าน ร่วมกับศาสตร์ของพระราชา และ ศาสตร์ สากล เพื่อความสมดุลในทุกรูปแบบ
10 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
๓๙
โครงการ
พลังแหงความสามัคคี
เกษตรยกกำลังสอง
หมัก ไม เผา
ขาวก่ำจากน้ำแรทิพย
ยุงเผน
แลยมชมกาดนํ้า
ไบโอชาร พารวย
Power Clean เคียงเดือน ดอยอินคา
แลยมชมแองวังชิ้น
พลังปญญา 5หมูบาน
นํ้าดื่มพลังปญญา หญา+โค = 1 ลาน
มหัศจรรยนํ้าแรแจซอน
วัฒนธรรมสองแผนดิน
เห็ดหมังขะดัน
Green Happy Herbal Drink & Food Truck
ระบบใหม สวนหมอนแกว
ขาวสวยรวยสุขกา
ชม ชิม ชอป แมระวาน
รานพลังปญญานำพาสุข
โอโห ขยะทองคำ
พลิกฟนหนองปลิงเปอย ขาวใหมปลามัน
ผักไรดิน ปลูกงาย รายไดแสน
กลวยแกรง
แฝกแกลงฟน
ปลาบืนฟนชุมชน
หนอไมฝรั่ง ยั่งยืน สมุนไพรคลายทุกขเสน
ขาเหลืองมังกร
กลวยๆ ก็รวยได เสนทางสายปญญา ขาวรักษโฮม
กิมซุงนอกฤดู
กลวยเร็วสุขลน กลาแกรง
สายใยกลวย
กลวยดี บีบีฟารม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
11
พลังปัญญา ๓๙ โครงการ แบ่งเป็น ๔ ประเภท ดังนี้
๑.) ศูนย์การเรียนรู้ คือ ศูนย์ที่รวบรวมความรู้ในการประกอบอาชีพที่นำ� ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นมาสร้างมูลค่า ซึ่งที่ ศูนย์จะช่วยสอนและตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผู้เข้าอบรมท�ำขายด้วย และช่วยคิดค้นสูตรหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จาก ผลิตภัณฑ์ในท้องที่ให้โดดเด่นและมีมูลค่าเพิ่ม มีทั้งหมด 5 โครงการ ล�ำดับ
ชื่อโครงการ
จังหวัด
๑
เส้นทางสายปัญญา
บุรีรัมย์
๒
กล้วยดี บีบีฟาร์ม
ขอนแก่น
๓
กล้วยๆ ก็รวยได้
สุรินทร์
๔
แฝกแล้งฟื้น
เพชรบูรณ์
๕
พลังปัญญา 5 หมู่บ้าน
เชียงใหม่
12 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
๒.) ตลาดธรรมชาติ คือ การที่กระบวนการผลิต แลกเปลี่ยน และบริโภค เกิดการสมดุลในทุกวงจร รวมถึงน�ำ
หลักการตลาดธรรมชาติ มาท�ำให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ผลิต พ่อค้าคนกลาง และผู้บริโภค อย่างสมดุล มีทั้งหมด 9 โครงการ
ล�ำดับ
ชื่อโครงการ
จังหวัด
๑
Green Happy
กาฬสินธุ์
๒
Herbal Drink & Food Truck
กาฬสินธุ์
๓
กล้าแกร่ง
นครราชสีมา
๔
ข้าวรักษ์โฮม
บุรีรัมย์
๕
ร้านค้าชุมชน
สกลนคร
๖
ร้านพลังปัญญาน�ำพาสุข
มุกดาหาร
๗
เห็ดหมังขะดัน
ล�ำพูน
๘
โอ้โห ขยะทองค�ำ
พิษณุโลก
๙
ไบโอชาร์พารวย
แม่ฮ่องสอน
๓.) เกษตรท่องเที่ยว คือ การน�ำกระบวนการจัดการของการท่องเที่ยว เช่น การจัดสถานที่ การขนส่ง อาหาร
ที่พัก มาใช้ให้สอดคล้องกับการเกษตรอย่างพอเพียง มีทั้งหมด 7 โครงการ ล�ำดับ
ชื่อโครงการ
จังหวัด
๑
เคียงเดือน ดอยอินคา
อุดรธานี
๒
ลุงโฮโชว์นิ้ว (จิมินต์)
นครพนม
๓
แลยมชมกาดน�้ำ
แพร่
๔
แลยมชมแอ่งวังชิ้น
แพร่
๕
ชม ชิม ช้อป แม่ระวาน
ตาก
๖
มหัศจรรย์น�้ำแร่แจ้ซ้อน
ล�ำปาง
๗
ระบบใหม่ สวนม่อนแก้ว
แพร่
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
13
๔.) นวัตกรรมเกษตรครบวงจร คือ การปรับปรุงสินค้า หรือการเกษตรที่ท�ำอยู่ ให้เกิดการพัฒนา รวมถึง
กระบวนการแปรรูปให้เกิดสภาพที่ดีกว่า ตลอดจนการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีประโยชน์และเป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง มีทั้งหมด 18 โครงการ ล�ำดับ
ชื่อโครงการ
จังหวัด
ล�ำดับ
ชื่อโครงการ
จังหวัด
๑
Power Clean
บึงกาฬ
๑๐
พลิกฟื้นหนองเลิงเปือย
กาฬสินธุ์
๒
กล้วยเร็วสุขล้น
บุรีรัมย์
๑๑
สายใยกล้วย
บุรีรัมย์
๓
กล้วยแกร่ง
มหาสารคาม
๑๒
สมุนไพรคลายทุกข์เส้น
นครราชสีมา
๔
กิมซุงนอกฤดู
นครราชสีมา
๑๓
ผักไร้ดินปลูกง่าย รายได้แสน
พิษณุโลก
๕
ข่าเหลืองมังกรทอง
อุบลราชธานี
๑๔
เกษตรยกก�ำลังสอง
เชียงราย
๖
ข้าวใหม่ปลามัน
ยโสธร
๑๕
ข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์
เชียงราย
๗
ข้าวสวยรวยสุขกา
กาฬสินธุ์
๑๖
หมัก ไม่ เผา
เชียงราย
๘
ปลาบืนฟื้นชุมชน
ศรีสะเกษ
๑๗
ยุงเผ่น
เชียงราย
๙
หน่อไม้ฝรั่งยั่งยืน
ชัยภูมิ
๑๘
หญ้า บวก โค = 1 ล้าน
อุตรดิตถ์
14 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ประเภท
ศูนย์การเรียนรู้ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
15
16 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศูนย์การเรียนรู้
โครงการพลังปัญญา
เส้นทางสายปัญญา จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายกฤษณะ นายมานพ ร.ต.ต.ชัยณรงค์ น.ส.ปวีณา น.ส.พัสดี น.ส.นิตยา นางนันทิชา นางพรประภา
เทพเนาว์ (ประธานโครงการ) บุญรอด รุกขสนธิ์ ผลเลไลย์ กิจสีสุข เทพเนาว์ วิลาศ เทพเนาว์
นางพิศสมัย นางแขม น.ส.อารี นายสุชาติ นางชฎาพร นางสายพาน นางสุวรรณา
ทิพย์อักษร มนจิ้งหรีด เดชพร หล่อประโคน รอดจัน อรัญศักดิ์ ทิพย์นางรอง
เพิ่มพูนความรู้เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้น�ำ
ด้วยความเคยชินของเกษตรกรในการเพาะปลูกรูปแบบเดิม ท�ำให้มีรายได้จากการท�ำการเกษตรเพียงชนิดเดียว รายได้มักไม่เพียงพอ เพราะทุกอย่างขึ้นอยู่กับผลผลิตชนิดเดียว ซึ่งไม่รู้ว่ากว่าจะถึงช่วงเก็บเกี่ยวจะประสบปัญหาอะไรบ้าง เกษตรกรส่วนใหญ่ยงั ติดอยูใ่ นกรอบความคิดเดิมๆ กลุม่ ผูน้ ำ� เกษตรกรจึงพยายามคิดนอกกรอบ ไม่วา่ จะเป็นการส่งเสริมสินค้า ในพืน้ ทีใ่ ห้มกี ารเกือ้ กูลกัน รวมถึงการแปรรูปสินค้าให้มมี ลู ค่าเพิม่ มากขึน้ และการออกศึกษาดูงานในกลุม่ เครือข่ายพลังปัญญา ก่อนน�ำมาศึกษาความเป็นไปได้และส่งเสริมให้เกษตรกรในท้องถิ่นได้รับความรู้เพิ่มเติม พลังปัญญา
POWER of WISDOM
17
แสวงหาเพชรในชุมชน
เริ่มต้นด้วยการค้นหาสิ่งที่มีในชุมชนแล้วปรับเปลี่ยนวิธีการคิดใหม่ เริ่มจับคู่ให้แก่วัตถุดิบที่มีอยู่ในชุมชนอยู่แล้ว เช่น ข้าวเม่า คู่กับ มะพร้าว จับคู่กันเพื่อแปรรูปสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ตามแนวคิดของโครงการพลังปัญญา ที่สามารถน�ำมา แปรรูปได้อีกมากมายหลายชนิด เช่น ข้าวกะยาสารท ข้าวเม่ากรอบเค็ม และข้าวเม่าสดส่งออก จึงท�ำให้ภายในกลุ่มมีรายได้ หมุนเวียนอยู่ตลอดเวลา และการจับคู่วัตถุดิบที่มีเป็นการลดต้นทุนส่งผลให้ได้ก�ำไรมากขึ้น เมื่อเทียบกับราคาขายที่เท่า ๆ กัน ในท้องตลาดทั่วไป
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการเส้นทางสายปัญญา มีกิจกรรมหลักอยู่ ๒ กิจกรรมคือ 1. พัฒนาคน เริ่มจากการรวมกลุ่มผู้น�ำชุมชน แล้วแสวงหาความรู้ด้านต่างๆ ที่แปลกใหม่แตกต่างออก ไปน�ำมาตกผลึก แล้วตั้งเป็นแนวทางในการขยายความรู้ความเข้าใจสู่ชุมชน โดยกลุ่มผู้นำ� จะมีความถนัดในด้านต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป สร้างแนวทางของกลุ่มวางระเบียบกฎกติกา โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมและความสนใจของเกษตรกรที่แตกต่างกันออกไป
2. พัฒนาชุมชน หลังจากแบ่งกลุม่ ย่อยผูน้ ำ� แต่ละกลุม่ ส่งเสริมการเรียนรูไ้ ป รวมถึงจัดกิจกรรมและสร้าง
ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ ตนเอง รวมถึงพัฒนาหลักสูตรการเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดขยายผลองค์ความรูท้ มี่ ี ตามแนวทางโครงการ พลังปัญญาให้กับเครือข่าย เช่น โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกรต่างๆ อบต. และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่ง ศึกษาดูงานตามเส้นทางสายปัญญาต่อไป
18 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการโครงการเส้นทางสายปัญญา ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ
ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ผลิตข้าวเม่าที่มี ลักษณะเฉพาะตัว
แปรรูปอาหาร ท�ำให้เก็บได้นาน
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดถือหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแหล่งเรียนรู้ดูงาน แก่บุคคลและหน่วยงาน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการผลิตข้าวเม่าที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการแปรรูปอาหารให้สามารถ เก็บได้นานในรูปแบบอื่นๆ
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรในพืน้ ทีป่ รับเปลีย่ นแนวความ คิดมาท�ำเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานแก่บุคคลและ หน่วยงานที่สนใจ
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
19
การใช้ศาสตร์สากล
ปรับผลิตภัณฑ์ให้ตรง กับความต้องการ ของตลาด
ใช้กลยุทธ์เข้าถึงกลุ่ม ผู้บริโภคเป้าหมาย
แปรรูปสินค้าให้มค ี วาม ทันสมัยตลอดเวลา
• ในการปรับเปลีย่ นผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของตลาด ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา • ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย เพื่อให้ง่ายต่อการท�ำตลาด โดยเฉพาะ จากโซเซียลมีเดียทั้งหลาย • ศึกษาลักษณะการบริโภคของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อปรับเปลี่ยนการแปรรูปสินค้าให้มีความทัน สมัยตลอดเวลา
20 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศูนย์การเรียนรู้
โครงการพลังปัญญา
กล้วยดี บีบีฟาร์ม จังหวัดขอนแก่น ผู้เข้าร่วมโครงการ นายจิราณุวัฒน์ ภัทรคนงาม (ประธานโครงการ) นายสุนทร มาตย์วังแสง นางสาวศตรัศมี โสดา นางสาวรจนา จันทรคุณ นางหนูเล็ก ปลั่งกลาง นางเกสร จงอยู่กลาง นางธัญทิพ ถีระพัฒน์ นายค�ำนึง กิจเจริญ นางสาวณัฐวดี สิงห์สุพรรณ นางสาววริศรา ไปรแดน นางสงวน นาบ�ำรุง นางบุญโฮม บานเย็น นายสมปอง หอมราช นายสากล ก้อนบุบผา
นายบรรหยัด พลนงค์ นายสุรชาติ ตาซื่อ นายชาญชัย สืบประยูร นายสุรพล นิยมชื่น นางสาวรัตนาภรณ์ ภาระไพร นางสาวยุพิน เมืองแสน นายค�ำสนุก ชิดทอง นายสังวาล น้อยชัย นางสาวสละจิตร คิม นางสาวพันทิวา พรมบุรัมย์ นายองอาจ พานทวีป น.ส.สุภัคชญา พานทวีป นายสมชาติ หิรัญรักษ์ นายอนุสิทธิ์ พานทวีป
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
21
ความบอบช�้ำจากผลผลิตราคาตกต�่ำ
ที่ผ่านมาเกษตรมักจะปลูกพืชซ�้ำๆ เช่น เคยปลูกข้าวก็จะปลูกข้าว อย่างเดียวจนเต็มพื้นที่ บ่อยครั้งที่ผลผลิตล้นตลาดราคาก็ตกต�่ำ นอกจาก นั้นยังท�ำให้พื้นดินเสื่อมโทรมจนต้องเพิ่งปุ๋ยเคมีท่ีมีราคาแพงและส่งผลเสีย ในระยะยาว การแบ่ ง พื้ น ที่ ๆ มี อ ยู ่ เ พื่ อ ปลู ก พื ช ให้ ห ลากหลายมากขึ้ น ช่ ว ย ลดความเสี่ยงเรื่องราคาตกต�่ำและโรคระบาดได้ดี กล้วยเป็นพืชที่ปลูกง่าย โรคระบาดน้อยและมีหลากหลายพันธุ์ ที่ส�ำคัญคือบริโภคได้ทั้งผลสดและน�ำไป แปรรูปเป็นสินค้าอื่นๆ รวมถึงการน�ำไปสกัดเป็นเครื่องส�ำอาง ละทิ้งความเคยชินมุ่งสู่แนวทางใหม่ๆ
ด้วยแนวคิดการปลูกพืชแบบผสมผสาน ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้ หมุนเวียนตลอดเวลา เพราะการปลูกพืชชนิดเดียวโอกาสที่จะขาดทุนมีสูงมาก ถ้าฝนฟ้าไม่เป็นใจ รวมถึงการระบาดของศัตรูพืช กล้วยถือเป็นพืชเศรษฐกิจอีก ชนิดทีม่ หี ลากหลายสายพันธุ์ ผลกล้วยนัน้ สามารถน�ำมาแปรรูปเพือ่ เพิม่ มูลค่าได้ อย่างดี เป็นช่องทางเพิ่มรายได้แก่ครัวเรือน กล้วยแต่ละสายพันธุ์ก็มีความอร่อย แตกต่างกันไป ใบกล้วยหรือใบตองก็สามารถตัดขายได้ ต้นกล้วยทีใ่ ห้ผลผลิตแล้ว สามารถน�ำมาท�ำอาหารสัตว์ รวมถึงใช้ท�ำเป็นปุ๋ยหมักได้อีกด้วย
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการกล้วยดีบีบีฟาร์ม ด�ำเนินกิจกรรมหลักอยู่ ๒ อย่างคือ เพื่อให้เรียนรู้ถึงแนวคิดการปลูกพืชแบบผสมผสานว่ามีผลดีอย่างไร ในส่วนของการปลูก กล้วยนั้น มุ่งหวังให้เกษตรกรเรียนรู้การปลูก ขยายพันธุ์และแปรรูปอย่างครบวงจร พัฒนาให้เกษตรกรรู้จักค้นคว้าหา ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อผลิตออกสู่ตลาด เพราะผู้บริโภคในวันนี้ต้องการความหลากหลายและแตกต่าง การรวมกลุ่มเพื่อ ขยายความรู้และเครือข่ายออกไป ด้วยเครือข่ายพลังปัญญาที่มีความหลากหลายกลุ่มอาจจะพบช่องทางใหม่ๆ มากขึ้น
1. พัฒนาคน
22 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
2. พัฒนาพืน ้ ที่ เริม ่ จากการระดมหุน้ ในรูปแบบของสหกรณ์ เพือ่ น�ำเงินไปจัดสรรพืน้ ทีป่ ลูกหน่อกล้วยแม่พนั ธุ์
แปลงแรกจ�ำนวน 2 ไร่ 2 งานและขยายเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในการผลิตหน่อกล้วย และเป็นจุดเรียนรู้การปลูก กล้วยเพื่อผลิตหน่อแบบครบวงจร เมื่อหน่อกล้วยเพียงพอแล้วก็จะจัดสรรให้สมาชิกน�ำไปปลูก จากนั้นก็จะมีหน่อกล้วย หมุนเวียนในกลุ่มและมากพอที่จะส่งจ�ำหน่ายภายนอกกลุ่ม ในการด�ำเนินโครงการของโครงการกล้วยดีบีบีฟาร์ม ได้น�ำศาสตร์ต่าง ๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหาร จัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ผลิตหน่อด้วยการใช้ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
พึ่งพากัน ช่วยเหลือ ถ้อยทีถ้อยอาศัย
ป้องกันโรค ด้วยการ แช่หน่อกล้วยในนํ้า 1-2 คืน ก่อนปลูก
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ความรู้ตามภูมิปัญญาชาวบ้านมาสอนการเพาะปลูกกล้วย การผลิตหน่อด้วยการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก • ใช้ศาสตร์การพึ่งพากัน ช่วยเหลือ ถ้อยทีถ้อยอาศัย แบบชาวบ้านด้วยความจริงใจ • ใช้ภมู ปิ ญ ั ญาชาวบ้านในการป้องกันการเกิดโรคระบาดในการปลูกกล้วย ด้วยการน�ำหน่อกล้วยลงแช่นำ�้ ก่อน 1-2 คืน ก่อนน�ำไปปลูกลงแปลงตามค�ำแนะน�ำ ซึ่งช่วยแก้ปัญญาเรื่องหนอนกอได้อย่างดี
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
23
การใช้ศาสตร์พระราชา
บริการจัดการกลุ่ม อย่างยุติธรรม
ถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับ จากโครงการพลังปัญญา
ใช้หลักท�ำน้อยได้มาก
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ใช้ศาสตร์พระราชาในการบริหารจัดการกลุ่ม ด้วยหัวใจเรื่อง สัจจะ การออม ความซื่อสัตย์ ทั้งต่อตนเอง ต่อเพื่อนสมาชิก และต่อลูกค้า อย่างยุติธรรม • การขยายความรู้ ตามหลักสูตรศาสตร์พระราชาที่ได้รับการถ่ายทอดจากโครงการพลังปัญญา • ใช้หลักท�ำน้อยได้มาก รวมกลุ่มเพื่อเปลี่ยนแนวคิด ระเบิดความสามารถจากความคิดข้างในออกมาต่อยอดได้ดี
การใช้ศาสตร์สากล ใช้อินเตอร์เน็ตหาความรู้ และขยายตลาด เพิ่มช่องทาง การจ�ำหน่ายใหม่ๆ
การใช้ศาสตร์สากล
• ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ ให้เป็นประโยชน์ ทัง้ เว็บไซต์และโซเชียลมีเดีย ในการหาความรู้และการขยายตลาดเพื่อใช้เป็นช่องทางการจ�ำหน่ายใหม่ๆ 24 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศูนย์การเรียนรู้
โครงการพลังปัญญา
เรื่องกล้วยๆ ก็รวยได้ จังหวัดสุรินทร์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายมานพ น.ส.สุนิศา นายจิราณุวัฒน์ นางเฟื่องฟ้า น.ส.ชวันรัตน์ น.ส.ปราโมทย์ นางปิ่นปินัทร์
ศรีจันทร์แปลง (ประธานโครงการ) ศรีจันทร์แปลง ภัทรคนงาม อุดมทวี นิราศภัย จันทร์ภัคดี สิงห์พรพงศ์
นายกนกศักดิ์ น.ส.สุรัตน์ นายพิชัย นายสุนาย นายวัฒนา นางกุหลาบ
สาระมัย สร้างการนอก อุ้มบุญ จันทน์เทศ บุตรสืบสาย อินงาม
พยายามท�ำให้เป็นเรื่องกล้วยๆ
พื้นที่ของอ�ำเภอปราสาทในจังหวัดสุรินทร์นั้น ส่วนของภาคเกษตรกรรมนั้นส่วนมากจะปลูกข้าว อ้อย มันส�ำปะหลัง เป็นหลัก ในช่วงหลังมีการเพิ่มพื้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มเติมขึ้นมา แต่การปลูกพืชที่คล้ายๆ กันในพื้นที่ท�ำให้ราคาไม่ค่อยดีนัก การปลูกพืชแบบผสมผสานจะท�ำให้มีรายได้ที่ต่อเนื่อง เพราะผลผลิตจะสามารถหมุนเวียนน�ำไปขายได้ตลอด ลดปัญหาเรื่อง ผลผลิตล้นตลาดรวมถึงการระบาดของศัตรูพืช ยิ่งการปลูกพืชชนิดเดียวกันมากๆ การระบาดจะรุนแรงสร้างความเสียหาย มากมาย พลังปัญญา
POWER of WISDOM
25
เรียนรู้และปรับเปลี่ยนวิธีคิด
การปลูกพืชแบบผสมผสานส่งผลดีในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ มีผลผลิตที่ หลากหลายทยอยออกมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการต่อยอดในการแปรรูปผลผลิตในรูปแบบอื่นๆ ที่สามารถเพิ่มมูลค่า ได้อย่างมาก “กล้วย” ผลไม้พื้นบ้านที่ดูเหมือนธรรมดาแต่ไม่ธรรมดาเลย กล้วยเป็นผลไม้ที่ปลูกง่าย ดูแลง่าย แทบไม่ต้องใช้ ปุย๋ เคมีใดๆ เป็นผลไม้ทกี่ นิ ได้ทงั้ ผลดิบและสุก รวมถึงการน�ำมาแปลรูปเพิม่ มูลค่า ทัง้ ผลดิบและสุกได้มากมายหลากหลายเมนู แต่สิ่งที่ขาดแคลนคือ “หน่อกล้วย” พันธุ์ดี และความรู้ในการปลูกและแปรรูปแบบครบวงจรนั่นเอง
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการเรื่องกล้วยๆ ก็รวยได้ มีกิจกรรมหลักอยู่สองแนวทาง คือ 1. การพัฒนาคน โดยการขยายเครือข่ายตามหลักการพลังปัญญาสู่คนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง โดยเริม่ จากการประชุมจัดตัง้ คณะท�ำงานและออกขยายเครือข่ายในพืน้ ทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ให้ความรูแ้ บบครบวงจรตัง้ แต่ การปลูกขยายพันธุ์ไปจนถึงการแปรรูปผลผลิต โดยการขยายผลในชุมชนให้ได้ 1 คนต่อ 30 คนในระยะเวลา 1 ปี โดยเริ่มจากอ�ำเภอปราสาท และหาเครือข่ายต่อขยายให้เป็นวงกว้างต่อไป
2. พัฒนาพื้นที่ โครงการเรื่องกล้วยๆ ก็รวยได้ ใช้พื้นที่ของสมาชิกโครงการพลังปัญญาจ�ำนวน 4 คน
คนละ 1 งาน ในเขตพื้นที่ อ�ำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบในชุมชน และขยายพื้นที่ต่อเนื่องให้ กับสมาชิกเครือข่ายพลังปัญญาในชุมชนใกล้เคียงกระจายกันออกไป ปัจจุบนั รวม 4 ไร่ นอกจากนีย้ งั รวมถึงการพัฒนา เพิ่มคุณภาพของดินโดยใช้ปุ๋ยหมัก เพื่อให้เหมาะกับสภาพพื้นที่และเป็นการลดการใช้สารเคมีในที่สุด
การพัฒนาชุมชนเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกและขยายพันธุ์กล้วย รวมถึงแนวคิดในการแปรรูปกล้วยให้ เป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ การหาตลาดเพื่อจ�ำหน่ายรวมถึงการคิดค้นและพัฒนาสินค้าให้มีความแปลกใหม่และแตกต่างอยู่เสมอ เพื่อเป็นจุดแข็งในการท�ำตลาด รวมถึงการเชื่อมโยงเครือข่ายของสมาชิกโครงการพลังปัญญา ในการแลกเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ที่ตนมีในกลุ่มโดยไม่จ�ำเป็นต้องหาซื้อ กล้วยสามารถแปรรูปได้หลายอย่าง เช่น ในรูปแบบของกล้วยฉาบรสชาติต่างๆ กล้วยตากหรือกล้วยอบรสต่างๆ ซึ่งเป็นของว่างที่มีคุณค่าและอร่อย 26 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการเรื่องกล้วยๆ ก็รวยได้ ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ขยายพันธุ์หน่อกล้วย
แปรรูปสินค้าเกษตร เพิ่มมูลค่าสินค้า
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อลดต้นทุน
การใช้ศาสตร์พระราชา
น�ำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ ในการด�ำเนินโครงการ
เปิดแหล่งเรียนรู้ ด้านการเกษตร
• ใช้ภูมปิ ัญญาชาวบ้านในเรือ่ งการขยายพันธุ์ หน่อกล้วยเพื่อจ�ำหน่ายในช่วงแรก • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการ แปรรูปสินค้าเกษตรและสร้างมูลค่าเพิ่มได้ อย่างเหมาะสม • ได้น�ำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ ใช้เป็นอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุน เช่น หยวก กล้วยหรือใช้ใบตองในการห่ออาหารซึ่งเป็น ที่ต้องการของตลาด
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ในพื้นที่ปรับเปลี่ยนแนวความคิด มาท�ำเกษตรแบบ ผสมผสาน เปิดเป็นฐานตื่นรู้ด้านการเกษตร เป็นแหล่ง เรียนรู้ดูงานแก่บุคคลและหน่วยงานที่สนใจ
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
27
การใช้ศาสตร์สากล
ศึกษาดูงาน น�ำความรู้ พัฒนาสินค้า
น�ำวัฒนธรรมและ วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์
การใช้ศาสตร์สากล
ค้นคว้าความรู้ ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต
เปิดตลาดออนไลน์ เพิ่มช่องทาง จ�ำหน่ายสินค้า
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาประยุกต์ ทั้งการขยายพันธุ์ การปลูก การเตรียมดิน และการแปรรูป • ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ต่างๆ จากประสบการณ์ทั้งหมด มาประยุกต์ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตและน�ำมาประยุกต์ใช้เพื่อ ให้ได้สินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค • ศึกษาและเรียนรู้การท�ำตลาดออนไลน์เพื่อเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าให้ตรงตามความ ต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น
28 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศูนย์การเรียนรู้
โครงการพลังปัญญา
แฝกแล้งฟื้น
จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นางสุมนทา นางข้าวพอง นางสมพร นางไพทูลย์
ขุนทอง (ประธานโครงการ) พันธุไทย คงเผือน อุดทา
นางสาวอภิสรา บัญดิษฐ์ นางฉัตรนภา ส้มทอง นางสาวสุวรรณ นาคสุข
พลิกฟื้นความแห้งแล้งด้วยปราชญ์ของพระราชา
น�ำ้ คือแหล่งก�ำเนิดของชีวติ แต่นำ�้ ก็เป็นเหตุให้หลายๆ ชีวติ ล�ำบากเช่นกัน การทีจ่ ะมีนำ�้ อุดมสมบูรณ์นนั้ มีองค์ประกอบ มากมาย แต่สงิ่ หนึง่ ทีส่ ำ� คัญมากคือป่าไม้ทเี่ ป็นต้นก�ำเนิดของน�ำ้ ฝน เพชรบูรณ์เคยมีปา่ ไม้ทอี่ ดุ มสมบูรณ์มากแห่งหนึง่ แต่ปา่ ไม้ ถูกท�ำลายไปมากเมือ่ ขาดน�ำ้ ความแห้งแล้งก็คกุ คาม เมือ่ น�ำ้ มามากก็มาซ�ำ้ เติมความทุกข์เพราะมาในรูปแบบของอุทกภัย ทว่า การปลูกป่าคงไม่สามารถเห็นผลได้ในเร็ววัน แต่สิ่งที่จะช่วยบรรเทาได้คือการท�ำให้ดินอุ้มน�้ำ ซึ่งเป็นผลจากรากของหญ้าแฝก หญ้าที่มาช่วยพลิกฟื้นความแห้งแล้ง
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
29
ดินอุดมสมบูรณ์จากหญ้าที่ไม่มีใครเห็นคุณค่า
หญ้าแฝกเป็นหญ้าที่ทนต่อความแห้งแล้งและมีรากยาวมาก เมื่อราก ของหญ้าชอนไชลงลึกไปในพืน้ ดินช่วยท�ำให้ดนิ มีชอ่ งว่างมากขึน้ เหมือนกับทาง เดินของไส้เดือนทีท่ ำ� ให้ดนิ ร่วนซุยมากขึน้ รากของพืชพันธุท์ งี่ อกใหม่กส็ ามารถ หยั่งลึกเข้าไปในดินได้ดี เมื่อฝนตกรากของหญ้าแฝกก็จะช่วยยึดหน้าดินไม่ให้ ไหลไปตามกระแสนน�้ำ และช่วยอุ้มน�้ำให้อยู่ใต้พื้นดินนานมากขึ้นความชุ่มชื้น ของพืน้ ทีก่ จ็ ะค่อยๆ เกิดขึน้ นอกจากนีย้ งั มีการน�ำหญ้าแฝกมาผลิตเป็นของใช้ ในกลุ่มเครื่องจักรสาน เช่น กระเป๋า หมวก กล่องอเนกประสงค์ ฯลฯ สามารถ เพิ่มรายได้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการแฝกแล้งฟื้น ด�ำเนินกิจกรรมหลักอยู่กิจกรรม คือ 1. พัฒนาพื้นที่ เพื่อการปลูกหญ้าแฝกตามแนวพระราชด�ำริทางอนุรักษ์ดินและน�้ำ สร้างสมดุลให้กับ ธรรมชาติปรับปรุงดินเพื่อให้มีสภาพเหมาะแก่การเพาะปลูก สมาชิกได้รับการพัฒนาตนและสร้างเครือข่ายที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหญ้าแฝกอย่างน้อย 20 ราย ได้สร้างพื้นที่ในการปลูกแฝก เพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้ำตามแนวพระ ราชด�ำริ อย่างน้อย 30 ไร่ และเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นในอนาคต 2. พัฒนาคน ให้มีความรู้ความเข้าใจถึงความส�ำคัญของหญ้าแฝก และเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนสร้าง อาชีพหลักและเสริม จากการท�ำผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกลดรายจ่ายเพิม่ รายได้ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสินค้า จากหญ้าแฝก เพื่อให้ตรงกับความต้องการของตลาด และการหาตลาดใหม่ๆ จากเครือข่ายโครงการพลังปัญญา รวม ถึงตลาดออนไลน์ซึ่งมีกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย
30 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการแฝกแล้งฟื้น ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ผลิตเครื่องจักรสาน หารายได้เพิ่ม
แปรรูปสินค้าเกษตร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
• ท�ำเครื่องจักรสานเพื่อต่อยอดหารายได้เพิ่มเติม • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูป สินค้าเกษตรและสร้างมูลค่าเพิ่มได้อย่างเหมาะสม
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืช แบบผสมผสาน
ปลูกหญ้าแฝก รักษาหน้าดิน
• ใช้หลักการปลูกพืชแบบผสมผสาน • น�ำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางด�ำเนิน โครงการ โดยเริ่ ม จากการปลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ รั ก ษา หน้าดิน ช่วยท�ำให้ดินเกิดความชุ่มชื้น
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
31
การใช้ศาสตร์สากล
พัฒนาสินค้า จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้มาประยุกต์ใช้ กับการแปรรูป
• น�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ มาประยุกต์ ใช้พฒ ั นาสินค้า ในกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • ใช้ความรูท้ างศาสตร์สงั คมวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ตา่ งๆ จากประสบการณ์ทงั้ หมด มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต และน�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง มีการศึกษาค้นคว้าเรื่องการแปรรูป
32 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศูนย์การเรียนรู้
โครงการพลังปัญญา
พลังปัญญา 5 หมู่บ้าน จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เข้าร่วมโครงการ นางทองดี โพธิยอง (ประธานโครงการ) นางบุญนพ สมบูรณ์ นางยุพิน สมบูรณ์ นายสุริยนต์ สูงค�ำ นางสาวรัตนา บุญรัตน์ รวมพลังแห่งปัญญา
การที่เรามีความรู้ความช�ำนาญด้านใดด้านหนึ่งย่อมเป็นสิ่งดี แต่มันจะดีกว่ามากถ้าเราได้เรียนรู้ด้านอื่นๆ เพิ่มเติม โครงการ “พลังปัญญา 5 หมูบ่ า้ น” เป็นการแลกเปลีย่ นความรูค้ วามเข้าใจของกลุม่ เกษตรกรทัง้ ห้าหมูบ่ า้ น เพือ่ ส่งเสริมให้เกิด การต่อยอดความรู้ให้กว้างไกลมากขึ้น เป็นการพัฒนาศักยภาพคนในหมู่บ้านจ�ำนวนห้าหมู่บ้านด้วยกระบวนการพลังปัญญา 6 ขัน้ ตอน ให้กบั ผูน้ ำ� ชุมชนให้เกิดการปรับเปลีย่ นกระบวนการทางความคิดให้ทนั สมัย สามารถคิดนอกกรอบได้โดยทีส่ อดคล้อง กับหลักเหตุและผล หลักการทางวิทยาศาสตร์และภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และยังสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้ ไปแก้ไขปัญหาของตนเอง ได้ตรงกับปัญหาที่แท้จริงอย่างเป็นรูปธรรม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
33
ขยายแนวคิดพลังปัญญา
พัฒนาเพิ่มศักยภาพผู้น�ำพลังปัญญาต้นแบบ ปรับเปลี่ยนกระบวน การคิดภายในของตนเอง เพื่อให้พึ่งพาตนเองได้ และน�ำไปสู่การพัฒนาชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม คิดค้นสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มด้วยการคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์ สิ่งใหม่ๆ มุ่งการเป็นเกษตรกรนักธุรกิจ ด้วยความรู้ด้าน Mini MBA มาฝึกท�ำ บัญชีเกษตรกร ในการค�ำนวณต้นทุนด้านต่างๆ รวมถึงการหาช่องทางการตลาด เพิม่ เติม เพิม่ มูลค่าสินค้าเกษตรและยกระดับผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างจากสินค้าทัว่ ไป ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการ พลังปัญญา 5 หมู่บ้าน ด�ำเนินกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรมคือ 1. พัฒนาคน สร้างผู้น�ำชุมชนที่มีความรู้ความสามารถทั้ง 5 หมู่บ้าน เริ่มจากหมู่บ้านละ 3 คน จากนั้น กลับมาให้ความรู้กับลูกบ้านในชุมชน จากผู้น�ำชุมชน 15 คน แต่ละคนต่อยอดความรู้ออกไปอีกคนละ 10 คน เพียง การต่อยอดความรู้ครั้งแรก ก็สามารถพอกพูนความรู้ให้กับลูกบ้านได้ถึง 150 คน
2. พัฒนาพืน ้ ที่ รวบรวมข้อมูลของชุมชนต้นแบบเพือ่ มาวิเคราะห์แล้ววางแผนการพัฒนา เพือ่ กลับคืนสู่
ชุมชน ให้นำ� กลับไปพัฒนาพืน้ ทีข่ องตนเอง และวางแผนการจัดท�ำข้อตกลงร่วมหรือธรรมนูญชุมชนเพือ่ มุง่ สูก่ ารพัฒนา ในอนาคต โดยมีหลักการคือ ค�ำนึงถึงทรัพยากรในชุมชนที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ยึดหลักการทรงงานเป็นพื้นฐานใน การคิดและยึดหลักการของโครงการพลังปัญญา เป็นตัวน�ำในการด�ำเนินงาน
34 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของพลังปัญญา 5 หมู่บ้าน ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
แปรรูปสินค้า สร้างมูลค่าเพิ่ม
ใช้เศษวัสดุมาผลิต อาหารสัตว์ เพื่อลดต้นทุน
ประยุกต์เอาสมุนไพร พื้นบ้าน ท�ำเป็นนํ้ายา เอนกประสงค์
เปิดศูนย์การเรียนรู้ และพร้อมถ่ายทอด ความรู้
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• น�ำภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูปสินค้าเกษตรและสร้างมูลค่าเพิ่มได้อย่างเหมาะสม • น�ำภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรน�ำมาผลิตอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุน • ประยุกต์เอาสมุนไพรพื้นบ้านมาท�ำเป็นน�้ำยาเอนกประสงค์หลายรูปแบบ เช่น แชมพู น�้ำยาล้างจาน เป็นต้น • เปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ และพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจอยู่เสมอ การใช้ศาสตร์พระราชา
น�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ด�ำเนินโครงการ
แลกเปลี่ยนความรู้หรือ ผลิตภัณฑ์ระหว่างชุมชน เพื่อลดต้นทุน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ในพื้นที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้หรือผลิตภัณฑ์ระหว่าง ชุมชนเพื่อลดต้นทุน พลังปัญญา
POWER of WISDOM
35
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้มาขยายผล กับกลุ่มแกนน�ำ
น�ำความรู้ใช้ พัฒนาสินค้าในกลุ่ม
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำศาสตร์ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ อย่างเหมาะสม
ส่งสินค้าแปรรูป ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต
• น�ำความรู้หลากหลายที่เคยอบรมเรียนรู้มาปรับใช้กับการขยายผลแกนน�ำกลุ่ม พลังปัญญา 5 หมู่บ้าน • น�ำความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลในกลุ่ม มาประยุกต์ใช้พัฒนาสินค้าในกลุ่มได้ อย่างต่อเนื่อง • ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมวัฒนธรรม การเมือง และวิทยาศาสตร์ต่างๆ จากประสบการณ์ ทั้งหมดมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการตลาด ในการส่งสินค้าแปรรูปผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตและ น�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง
36 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ประเภท
ตลาดธรรมชาติ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
37
38 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
Green Happy จังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้เข้าร่วมโครงการ นางปรานี วีระทูร (ประธานโครงการ) นายทองใบ ไชยสิงห์ นายสรรเสริญ ดวงจิตร นายชัยพิชัตร์ จันทะพรม นางทัศนา ดวงจิตร นายวินิจ ถิตย์ผาด
นางปุนนาภา นางฉวี นางอรุณ นางบุญเลิศ นางเบญจมัย อ.พิเชฐ
มาตรมงคล ยานสถิตย์ ภูผินาค สีหมอนหม่น เลี่ยมเพ็ชรัตน์ ท้าวทอง
กระแสน�ำพาที่มา Green Happy
ด้วยสังคมในปัจจุบนั ผูค้ นนิยมหันมาบริโภคอาหารเพือ่ สุขภาพ หรืออาหารปลอดภัยกันมากขึน้ ซึง่ สมาชิกแต่ละคนใน โครงการฯ ต่างมีความรู้ความสามารถในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย แต่ก็ไปกันคนละทิศคนละทาง ต่างคนต่างท�ำ ต่างคน ต่างอยู่ ขาดหลักความรูใ้ นการบริหารจัดการ จนโครงการพลังปัญญาได้เข้ามาถ่ายทอดความรูแ้ ห่งการคิดนอกกรอบ ท�ำให้เกิด การพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ มีการแปรรูปสินค้า จนท�ำให้เกิดรายได้ภายในกลุ่ม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
39
Green Happy จุดแวะพักส�ำหรับผู้ที่รักสุขภาพ
ทางโครงการฯ มีเครือข่ายผูผ้ ลิตสินค้าปลอดภัยอยูแ่ ล้วทัง้ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ และในเครือข่ายพลังปัญญา หากมีการ เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ มีจุดจ�ำหน่ายสินค้าที่เป็นรูปธรรม จะสามารถท�ำให้ร้าน Green Happy กลายเป็นร้านจ�ำหน่าย สินค้าปลอดภัยที่โดดเด่น น่าสนใจ และจะกลายเป็นจุดแวะพักส�ำหรับผู้ที่รักสุขภาพได้ไม่ยากและยั่งยืน การด�ำเนินงานของโครงการฯ แบ่งออกเป็น 2 กิจกรรมหลักคือ
1. การขยายเครือข่ายตามหลักการของพลังปัญญาลงสู่คนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียงโดยตั้งเป้าหมายจะขยายผล การรับรู้โครงการพลังปัญญาอย่างน้อย 100 คนภายใน 1 ปี โดยการประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดความรู้แบบง่ายๆ ใช้สื่อที่มี จากโครงการพลังปัญญาทั้งในรูปแบบเอกสาร และจากอินเตอร์เน็ตเว็บไซต์ของโครงการ 2. การเปิดร้านค้าชุมชนเพื่อเป็นจุดกระจายสินค้าจากสมาชิก รวมถึงการประสานงานร้านค้าตามจุดบริการต่างๆ เพื่อเป็นร้านฝากขายสินค้าของสมาชิกในโครงการฯ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าและสร้างรายได้ให้กับสมาชิกใน เครือข่ายพลังปัญญา โดยมีแผนการบริหารให้สินค้าในชุมชนเกิดการเจริญเติบโตโดย
• เปิดร้านขยายสาขาไปในแต่ละพื้นที่ ทุกต�ำบล ทุกอ�ำเภอ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว • ฝากขายสินค้าตามสถานที่ราชการ เช่น หน้าอ�ำเภอ ร้านค้านอกพื้นที่ เพื่อกระจายสินค้าสู่มือผู้บริโภคได้ง่ายยิ่งขึ้น • ท�ำการตลาดโดยการโฆษณาประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในหมู่บ้าน โดยให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการกระจาย สินค้าเพื่อจ�ำหน่าย • มีการน�ำสินค้าจากนอกชุมชน เช่น ผ้าพื้นเมือง ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากการเกษตรที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มโครงการฯ เพื่อให้เกิดความหลากหลายของสินค้า • ร้านค้าที่เปิดเป็นการต่อยอดจากร้านค้าเดิม เมื่อมีการขยายผลเครือข่ายออกไปมากขึ้น ยอดจ�ำหน่ายแต่ละพื้นที่ ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย เป็นการสร้างรายได้จากอาชีพเสริมให้กลายเป็นอาชีพหลักได้ ปัจจุบันโครงการ Green Happy ได้ด�ำเนินการจัดกิกรรมเพื่อขยายผลการรับรู้โครงการพลังปัญญาไปแล้ว 20 ครั้ง มีผสู้ นใจเข้าร่วมกิจกรรมและการรับรูเ้ กีย่ วกับโครงการพลังปัญญามากกว่า 100 คน และสามารถจัดตัง้ ร้านค้าชุมชนได้ 1 ร้าน มีร้านขายฝากสินค้าของเครือข่ายอีก จ�ำนวน 3 ร้าน
40 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการ Green Happy ได้น�ำศาสตร์ต่าง ๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหาร จัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำเทคโนโลยีมา ประยุกต์แปรรูปอาหาร
วิทยากรให้ความรู้ แก่ชุมชนที่สนใจ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ประยุกต์กับการเกษตร
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดถือปรัชญา หลักเศรษฐกิจพอเพียง
ใช้หลักการทรงงาน บริหารโครงการ
• ได้น�ำเอาภูมิปัญญาเรื่องการแปรรูปอาหาร มาประยุกต์ใช้รว่ มกับเทคโนโลยีสมัยใหม่เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ • ใช้ความรูแ้ ละประสบการณ์ เป็นวิทยากรให้ ความรู้ในชุมชนและผู้ที่สนใจอยู่เสมอ • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้กับ การเกษตรได้อย่างเหมาะสม
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดถือความพอเพียง ด�ำเนินชีวิต
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ใช้หลักการทรงงาน มาเป็นแนวทางในการ บริหารโครงการฯ และใช้ในการด�ำเนินชีวิต • ยึดถือความพอเพียงเป็นแนวทางในการ ด�ำเนินชีวิต
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
41
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้มาประยุกต์ พัฒนาสินค้าของกลุ่ม
การใช้ศาสตร์สากล
ค้นคว้าความรู้ เรื่องการแปรรูป
น�ำประสบการณ์ มาประยุกต์ใช้
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาจากแหล่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้พัฒนา สินค้าของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปผลผลิตและองค์ความรู้ ทางเกษตรผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตและน�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่องและ เหมาะสม • ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ต่างๆ จาก ประสบการณ์ทั้งหมด มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
42 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
Herbel Drink & Food Truck จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสันติ นางวัชรีภรณ์ นางสาวมัณฑนา นายสุทธิศักดิ์
นันทรักษา (ประธานโครงการ) นันทรักษา เล็กสมบรูณ์ รัตนพรหมรินทร์
จากดินสู่ดาว
ก่อนเข้าโครงการพลังปัญญาเป็นชาวนาปลูกข้าวก็ปลูกมันแต่ข้าวอย่างเดียว ถึงเวลาปลูกก็ปลูก ถึงเวลาเก็บเกี่ยว ก็เก็บ แล้วรอปลูกใหม่ รายได้ขึ้นอยู่กับฟ้าฝน ถ้าแล้งเมื่อไหร่ ข้าวไม่โต ไม่มีคุณภาพ ขายไม่ได้ก็ขาดทุนจบเห่กันไป หลังเข้าร่วมโครงการพลังปัญญาก็ยงั เป็นชาวนา แต่มแี นวคิดใหม่ ท�ำใหม่ มีการปรับพืน้ ทีน่ า ขุดสระน�ำ้ เพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการเกษตรและเลี้ยงปลา ปลูกพืชแบบผสมผสาน เลี้ยงไก่ไข่ไว้บริโภคในครัวเรือน เลี้ยงเป็ดไข่ เพื่อขายเป็นรายได้เสริม เลี้ยงปลาทั้งในบ่อดินและในนาข้าว ท�ำให้สามารถพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนไม่ต้องรอฟ้ารอฝนมาดลใจเหมือนแต่ก่อน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
43
จากสิ่งที่ดีสู่สิ่งที่ดีกว่า
ข้าวไรซ์เบอรี่ซึ่งได้รับความนิยมกันอย่างมากในยุคปัจจุบันที่คนหันมาใส่ใจสุขภาพ แต่ข้าวไรซ์เบอรี่ก็มีจ�ำหน่ายกัน อย่างแพร่หลายในท้องตลาดเช่นกัน ทางโครงการฯ จึงได้นำ� ความรูท้ ไี่ ด้จากโครงการพลังปัญญา มาต่อยอดแปรรูปเป็นไอศกรีม ข้าวไรซ์เบอรี่ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาด โดยมีการส�ำรวจและวิเคราะห์ความต้องการทางการตลาดของผู้บริโภค พบว่า ไอศครีมข้าวไรซ์เบอร์รี่มีความต้องการของผู้บริโภคในพื้นที่ค่อนข้างสูง ในขณะที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดต�่ำ เนื่องจากยังไม่มี ผลิตและขายสินค้าประเภทนี้ในพื้นที่ ซึ่งจะท�ำให้ไอศกรีมข้าวไรซ์เบอรี่มีโอกาสประสบความส�ำเร็จได้สูง โดยมีแนวทางในการด�ำเนินงานคือ
1. จัดอบรมสอนความรู้เรื่องของโครงการพลังปัญญา และการแปรรูป ข้าวไรซ์เบอรี่เพื่อเพิ่มมูลค่า เป็นไอศกรีมข้าวไรซ์เบอรี่อย่างต่อเนื่อง 2. รับซื้อข้าวไรซ์เบอรี่ปลอดสารจากชุมชนบ้านแกเปะ และชุมชนใกล้ เคียง เพือ่ เป็นการกระจายรายได้สชู่ มุ ชนโดยตรง เฉลีย่ เดือนละ 50-100 กิโลกรัม 3. เมื่อได้ข้าวไรซ์เบอรี่มาแล้ว น�ำมาแปรรูปเป็นไอศกรีมข้าวไรซ์เบอรี่ เพิม่ มูลค่าได้อย่างชัดเจน คือ ข้าวสารไรซ์เบอรีป่ ลอดสาร ราคากิโลกรัมละ 50-70 บาท (แล้วแต่ชว่ งเวลา) เมือ่ น�ำมาแปรรูปเป็นไอศครีมข้าวไรซ์เบอรีจ่ ะได้ไอศครีม รวม 8 กิโลกรัม ขายได้ 1,300 – 1,800 บาท ซึง่ รายได้ทเี่ กิดขึน้ นัน้ หลังหักต้นทุน แล้ว เฉลี่ยคืนก�ำไรเข้ากองทุนของโครงการได้เดือนละ 8,000 – 20,000 บาท 4. จัดหาตลาดโดยเน้นที่กลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการบริโภคสินค้า ของกลุ่ม รวมถึงการจัดจ�ำหน่ายในรูปแบบต่างๆ เช่น ออกบู๊ธ ขายเฟรนด์ไชนด์ 5. มีการประชาสัมพันธ์ผา่ น Facebook เป็นหลัก โดยมีเนือ้ หาเกีย่ วกับ ตัวสินค้า และเชิญชวนให้ผู้ที่สนใจมาร่วมเป็นเฟรนไชส์
44 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
หลักในการพัฒนา การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ประยุกต์ใช้ความสามารถ คิดค้นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
การใช้ศาสตร์พระราชา สร้างผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ตามความต้องการ ของผู้บริโภค
การใช้ศาสตร์สากล
ใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ใช้กับโครงการ
• ประยุกต์ใช้ความสามารถในการท�ำขนมไทยของตนเองมา บูรณาการกับการคิดค้นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ได้อย่างลงตัว
การใช้ศาสตร์พระราชา
• มีความเข้าใจความจริงตามหลักการทรงงาน ซึ่งในกรณีนี้คือ เข้าใจธรรมชาติของผู้บริโภคที่มีความต้องการที่แตกต่างกันจึง ส่งผลให้สามารถคิดผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ออกมาตอบโจทย์ความ ต้องการของกลุ่มผู้บริโภค และเข้าใจกลไกทางตลาดว่าเครื่อง ดื่มสมุนไพรมีส่วนแบ่งทางการตลาดสูงกว่า
การใช้ศาสตร์สากล
• ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการคิดวิเคราะห์และตั้ง สมมติฐาน ลงมือทดลอง ปฏิบตั ิ สรุปผลเป็นระยะในการด�ำเนิน งานโครงการฯ • ใช้ Social Media (Facebook) ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โครงการฯ
เผยแพร่โครงการ ผ่านโซเซียลมีเดีย (Facebook)
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
45
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
กล้าแกร่ง (ผักหวานป่า) จังหวัดนครราชสีมา ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสุวัฒนชัย นางดวงจันทร์ นางบังอร นายวิชิต นางนุสริน
จ�ำปามูล (ประธานโครงการ) จ�ำปามูล สาลาด ประทุมภา บัวสาย
เมื่อกล้า...ยังไม่แกร่ง
นางบัวแก้ว นางสมควร นางเคน นายสนิท นางสาวบัวลอย
บุญแย้ม เตียงงา ธรรมนาม มาลัยศรี พิเศษ
ผักหวานป่า เป็นผักพื้นบ้านที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในพื้นที่ทางภาคเหนือ และภาคอีสาน เนื่องจากมีรสชาติ หวานอร่อย แต่หารับประทานได้ค่อนข้างยาก เพราะจะให้ผลผลิตในบางช่วงฤดูกาลเท่านั้น และส่วนใหญ่ต้องเก็บมาจากป่า แต่ปัจจุบันมีการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกผักหวานป่าเพื่อการค้ากันมากขึ้น แต่ปลูกแล้วจะขึ้นหรือเปล่านั้นเป็นเรื่อง ที่แต่ละคนต้องศึกษาหาความรู้กันพอสมควร เพราะผักหวานป่าขึ้นชื่อว่าปลูกยาก แต่ก็ตายยากเช่นกัน แต่ถ้าปลูกแล้วรอด สามารถเก็บผลผลิตได้อีกยาวเป็น 10 ปี แถมยังมีประโยชน์มากมาย
46 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ประโยชน์ของผักหวานป่า
• ผักหวานอุดมไปด้วยสารต้านอนุมลู อิสระ ช่วยลดความ เสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง • มีโปรตีน วิตามินซี วิตามินเอ และใยอาหารสูง ช่วยลด อาการเลือดออกตามไรฟันและช่วยให้ระบบขับถ่ายท�ำงานได้ดี • สามารถน�ำมาปรุงอาหารได้หลากหลายชนิด • คนโบราณนิยมน�ำมาท�ำยาสมุนไพรเพือ่ รักษาโรค เช่น รากผักหวานป่าน�ำมาต้มเพือ่ แก้อาการปวดมดลูกและแก้ดพี กิ าร แก่นต้นผักหวานน�ำมาต้มรับประทานแก้อาการปวดตามข้อ
ท�ำอย่างไรให้กล้าแกร่ง เตรียมคน
เพื่อพัฒนาพันธุ์ผักหวานป่าให้มีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรม ทางโครงการมีการจัดอบรมให้องค์ความรู้ในการ ปลูกพืชผัก สมุนไพร หรือไม้ยืนต้นที่ปลูกควบคู่กับผักหวานป่า ตลอดจนการเตรียมดินเพื่อการเพาะปลูกแก่สมาชิกในกลุ่ม และขยายความรู้สู่ชุมชน สร้างความสุขที่ยั่งยืน โดยการจัดประชุมทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อพูดคุยถึงปัญหาและอุปสรรค ที่พบเจอ เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาพร้อมกับปรับปรุงแนวทางการด�ำเนินงานให้ดีขึ้น เตรียมต้นกล้า
เริ่มจากการเตรียมดินก่อนปลูกด้วยการท�ำแปลงผักถาวร ปรับปรุงดินหรือหลุมถาวรเพื่อใช้เมล็ดปลูก โดยการใช้ อินทรีย์วัตถุโดยการใช้ปุ๋ยหมักน�้ำ และปุ๋ยหมักแห้ง อีกทั้งมีการขยายพันธุ์กล้าผักหวานด้วยระบบตอนกิ่ง เพื่อน�ำไปจ�ำหน่าย สร้างรายได้เพิ่ม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
47
เตรียมต้นกล้า
เริ่มจากการเตรียมดินก่อนปลูกด้วยการท�ำแปลงผักถาวร ปรับปรุงดินหรือหลุมถาวรเพื่อใช้เมล็ดปลูก โดยการใช้ อินทรีย์วัตถุโดยการใช้ปุ๋ยหมักน�้ำ และปุ๋ยหมักแห้ง อีกทั้งมีการขยายพันธุ์กล้าผักหวานด้วยระบบตอนกิ่ง เพื่อน�ำไปจ�ำหน่าย สร้างรายได้เพิ่ม ต่อยอดให้ยิ่งแกร่ง
เมือ่ กล้าแกร่ง ได้ผลผลิตงอกงามเป็นการสร้างแหล่งอาหารสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน อีกทัง้ ยังเป็นการอนุรกั ษ์พนั ธุก์ รรม พืชให้มีความยั่งยืนของผักหวานป่าแล้ว ทางโครงการได้น�ำหลักของพลังปัญญาในการคิดนอกกรอบ ต่อยอดความรู้โดยการ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จากผักหวานป่านานาชนิด เช่น ข้าวเกรียบผักหวานป่า ชาผักหวานป่า และน�้ำชาผักหวานป่าส�ำเร็จรูป คุกกี้ผักหวานป่า ยาหม่องสมุนไพร ยาดมสมุนไพร เป็นต้น ในการด�ำเนินโครงการของโครงการกล้าแกร่ง (ผักหวาน) ได้น�ำศาสตร์ ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน สืบทอดการท�ำสมุนไพรยาพืชบ้าน เป็นจ�ำนวนมาก
48 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มี ก ารสื บ ทอดภู มิ ป ั ญ ญาการท� ำ ยาสมุ น ไพร ยาพื้นบ้าน เป็นจ�ำนวนมาก
การใช้ศาสตร์พระราชา
น�ำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ใช้ในการ ด�ำเนินโครงการ
ใช้หลักสามห่วง สองเงื่อนไข ในการจัดการโครงการ
การใช้ศาสตร์สากล ค�ำนึงถึง 4 หลัก คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
การใช้ศาสตร์พระราชา
• การด�ำเนินงานโครงการภายในกลุ่มได้ค�ำนึงถึงหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทัง้ ในการด�ำเนินโครงการและ การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน • ในการจัดการของโครงการได้คำ� นึงถึงหลักสามห่วงสอง เงือ่ นไข คือ สมาชิกทุกคนต้องรูจ้ กั พอประมาณ มีเหตุผล คือ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีภูมิคุ้มกัน ทีด่ ี รอบรู้ รอบคอบ และระวัง เมือ่ ตนเองอยูไ่ ด้เกิดความ มั่นคงแล้วก็สามารถแบ่งบันให้คนรอบข้างได้
การใช้ศาสตร์สากล
• ในการด�ำเนินงานของโครงการฯ ค�ำนึงถึง 4 แนวทาง หลักของโครงการพลังปัญญา คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
49
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
ข้าวรักษ์โฮม จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้เข้าร่วมโครงการ นายทรงเดช นางนุชนารถ นางอุศิมา นายอู๊ด นายอุเทน นายวิโรจน์ นางสมใจ นายอุดม ปฏิวัติแนวคิด
ชวดรัมย์ (ประธานโครงการ) สุขวิเศษ สายทอง แก้วเจ๊ก ช�ำนาญเท อังคะณา เกตุชาติ ไกรษร
นางสุปราณี นางดลนิภา นางอรอนงค์ นายบุญเลิศ นางสายรุ้ง นางอ่อนนุช นางสาวจิรัชญา
บ่อไทย เกตุแก้ว สทุมรัมย์ กองภูเขียว เชิญธนพัฒน์ เสือซ่อนพงษ์ สีถาน
เหตุใดจึงเป็นที่กล่าวขานว่าชาวนาเป็นอาชีพของคนจน ก็เพราะชาวนาหลายคนยังคงอยู่ในวังวนเดิมๆ ใช้วิธีปลูก แบบเดิม นั่งรอฟ้ารอฝน ใช้สารเคมีวนไป ผลผลิตที่ได้ก็ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แต่เมื่อได้เข้าร่วมกับโครงการพลังปัญญา ท�ำให้ได้เรียนรู้ว่า ถ้าปรับเปลี่ยนแนวคิดด้านการจัดการและพัฒนาการผลิตข้าวเสียใหม่ เกษตรปลอดภัยนั้นก็ท�ำได้ไม่ยาก เมื่อก่อนแนวความคิดในการปลูกข้าวไร้สารพิษ เป็นการปลูกไว้เพื่อกินกันเองเท่านั้น แต่ปัจจุบันเมื่อราคาข้าวขยับสูงขึ้น จึงเป็นข้อพิสูจน์แล้วว่าการปลูกข้าวแบบนี้เป็นวิถีทางที่ถูกต้องแห่งเกษตรพอเพียง 50 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
พิชิตข้าวปลอดภัย
เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด ด้ า นการจั ด การและพั ฒ นาการผลิ ต ข้ า วปลอดภั ย และแปรรู ป ผลผลิ ต ของเกษตรกร ในเครือข่าย พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายผู้บริโภคภายในชุมชน ทางโครงการได้จัดกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม จัดกิจกรรมการอบรมให้กับสมาชิกผู้ผลิตข้าวปลอดภัยอย่างครบวงจร
• การเตรียมแปลงส�ำหรับนาข้าวปลอดภัย วัตถุประสงค์หลักของการเตรียมแปลงคือ การปรับพื้นที่ให้เหมาะสมต่อ การปลูกและการเจริญเติบโตของข้าว ช่วยควบคุมวัชพืช โรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าวบางชนิด • การผลิตปุ๋ยหมักและปุ๋ยน�้ำชีวภาพ การใช้ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยอินทรีย์แทนการใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งนอกจากจะปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคแล้ว ยังเป็นการปรับปรุงดินให้มีคุณภาพอีกด้วย • การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว การเลือกพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกควรมีคุณสมบัติด้านการเจริญเติบโตเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมในพื้นที่ปลูก และให้ผลผลิตได้ดีแม้ในสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต�่ำ มีความต้านทานต่อโรคและแมลง คุณภาพเมล็ดตรงกับความต้องการของผูบ้ ริโภคข้าวอินทรีย์ โดยเลือกใช้เมล็ดพันธุข์ า้ วทีไ่ ด้มาตรฐานผ่านการเก็บรักษาอย่างดี โดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ • การบ�ำรุงและการดูแลรักษา หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิดในการควบคุมวัชพืช แนะน�ำให้ควบคุม วัชพืชโดยวิธีกล เช่น การเตรียมดินที่เหมาะสม การใช้ระดับน�้ำควบคุมวัชพืช การใช้วัสดุคลุมดิน และการถอนวัชพืชด้วยมือ รวมทั้งการปลูกพืชหมุนเวียน • การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาผลผลิต ก่อนน�ำเมล็ดข้าวไปเก็บรักษา ควรลดความชื้นให้ดีและเก็บรักษาด้วยวิธี จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เช่น เก็บในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิ ใช้ภาชนะเก็บที่มิดชิด • จัดอบรมด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การแปรรูปข้าวสารและข้าวเกรียบว่าว จัดการด้านการจ�ำหน่ายผลผลิต
ส�ำหรับข้าวสาร มีการจัดจ�ำหน่ายโดยตรงส่งถึงมือผู้บริโภคในชุมชนเมือง และเมื่อมีผลผลิตมากขึ้นจึงค่อยจ�ำหน่าย ผ่านคนกลาง อีกทัง้ ยังมีการจ�ำหน่ายผ่านทางโซเชียลมีเดียอีกด้วย ส�ำหรับผลิตภัณฑ์การแปรรูปข้าวเกรียบว่าว มีการจ�ำหน่าย แบบปลีกโดยสมาชิกภายในกลุ่ม และจัดจ�ำหน่ายแบบฝากขายตามร้านค้าต่างๆ ในชุมชน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
51
การด�ำเนินงานของโครงการข้าวรักษ์โฮม ใช้หลักเหตุและผลตามหลักการ ของพลังปัญญา และใช้ศาสตร์ต่าง ๆ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
หลักในการพัฒนา การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้หลักการด�ำรงชีวิตแบบวิถีท�ำอยู่ท�ำกินซึ่งสืบทอดกันมา จากรุ่นสู่รุ่น ในการด�ำเนินงานของโครงการฯ
ด�ำรงชีวิตแบบวิถีท�ำอยู่ท�ำกิน สืบทอดกันรุ่นสู่รุ่น
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง “ท�ำเพื่อใช้บริโภค เหลือจากบริโภคค่อยจ�ำหน่าย”
การใช้ศาสตร์พระราชา
การท�ำเกษตร ปลอดสารพิษ
52 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ท�ำเกษตรแบบ ผสมผสาน
การใช้ศาสตร์พระราชา
ใช้สื่อโซเซียลมีเดีย ในช่องทางจ�ำหน่าย
• ใช้การท�ำเกษตรอินทรีย์แบบปลอดสารเคมี ในการด�ำเนินงานโครงการฯ • บูรณาการแนวคิดเกษตรแบบผสมผสานประกอบ กันในการด�ำเนินงานตามแผนหลักของโครงการฯ • ใช้สื่อโซเชียลมีเดียเป็นช่องทางในการจัดจ�ำหน่าย
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
น�้ำดื่มพลังปัญญา จังหวัดสกลนคร
ผู้เข้าร่วมโครงการ นายทองมา นายเอก นายหว่าง นางสวัสดิ์ นายซ่อม นายค�ำเจริญ นายบุญเลิศ นายผิว นายอุดม นางผกามาศ นางไพรจิตร นางประยงค์ นายเกียรติศักดิ์ น.ส.ศิรริพร
มีราชค�ำ (ประธานโครงการ) สมใจ ควรค�ำ ศรีหาผล อินทรสิทธิ์ ศรีพลพา แง่พรหม ทะยุลา แสนซ้ง ก�่ำจ�ำปา มีราชค�ำ จงเรียน สุขวิเศษ ลือแก้วมา
น.ส.จุฬาลักษณ์ ผาลือค�ำ น.ส.ระพีพรรณ แดงนา นางจุฬาลักษณ์ แง่พรหม นายธวัชชัย มูลอาษา น.ส.สุภาวดี ศรีธิราช นายชาญยุทธ ผาลือค�ำ นายสุพจน์ ดวงกุลษา นายค�ำไม มูลอาษา นายทองออน แง่พรหม นายประธาน ก�่ำจ�ำปา นางแปลงม้วน สุวรรณบุตร นายเสงี่ยม ค�ำหล้า นายบุญเทียน แก้วจันทร์
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
53
ประสบการณ์อันแล้นแค้น
น่าเศร้าใจนักที่ภาคอีสานถูกหยิบยกให้เป็นตัวแทนของความแห้งแล้ง ด้วยปัญหาการขาดแคลนน�้ำที่สะสมกันมา นาน การขาดแคลนน�้ำที่ดีมีคุณภาพ ส�ำหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภค บริโภค การเกษตร การเพาะเลี้ยง สัตว์นำ�้ รวมทัง้ การอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อการด�ำรงชีพของประชาชน ซึง่ ปัญหาการขาดแคลน น�้ำนั้นมาจากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล หรือตกก็ตกน้อยเสียเหลือเกิน ไม่สม�่ำเสมอ แหล่งเก็บกักน�้ำตามธรรมชาติและที่สร้างขึ้นมีน้อยไม่เพียงพอต่อการเก็บกักน�้ำ ไว้ใช้ประโยชน์ ปัญหายังอยู่เท่าเดิม แต่ที่เพิ่มเติมคือความต้องการการใช้น�้ำที่มากขึ้น จากจ�ำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการด�ำรงชีพและการใช้ทรัพยากรจึงมีมาก ความต้องการน�้ำเพื่อกิจกรรมต่างๆ จึงมีมากตาม ไปด้วย ในขณะที่แหล่งเก็บกักน�้ำมีจ�ำกัดไม่เพิ่มขึ้นสัมพันธ์กัน การรองน�้ำฝนจากหลังคาบ้านเพื่อเก็บเอาไว้ใช้อุปโภคบริโภค ไม่สามารถท�ำได้ เพราะมีการปนเปื้อนสารเคมีจากการท�ำการเกษตร ท�ำให้คนไม่นิยมบริโภคน�้ำฝนเช่นเดิม น�้ำดื่มพลังปัญญา เพื่อชีวิตที่ดีกว่า
โครงการน�ำ้ ดืม่ พลังปัญญา ตัง้ ขึน้ โดยมีแนวคิดทีต่ อ้ งการให้คนในชุมชนได้บริโภคน�ำ้ ทีส่ ะอาด มีคณ ุ ภาพ และมีนำ�้ กิน น�้ำใช้อย่างพอเพียง จึงจะด�ำเนินการภายใต้แนวคิด “น�้ำดื่มพลังปัญญา น�้ำดื่มเพื่อชุมชน” โดยวิธีการด�ำเนินงานคือ
ให้คณะกรรมการร่วมกันส�ำรวจพื้นที่เพื่อจัดตั้งโรงกรองน�้ำ และบรรจุน�้ำที่ได้มาตรฐาน พร้อมกับมีการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำ และส�ำรวจราคาอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำน�้ำดื่ม โดยจะใช้เครื่องกรองน�้ำขนาดที่มีความเหมาะสมกับ ชุมชน และใช้การบรรจุแบบกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งจะสามารถผลิตน�้ำแบบขวดขนาด 600 - 800 มิลลิลิตร จากนั้นจะเปิดระดมทุน โดยการขายหุ้นเพื่อให้มีงบประมาณที่เพียงพอส�ำหรับการด�ำเนินการ การบริหารจัดการ ให้มีคนงานส�ำหรับบรรจุน�้ำ มีบริการส่งตามบ้านของสมาชิกและคนในชุมชน พร้อมกับมีน�้ำดื่ม วางจ�ำหน่ายตามร้านค้าชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียง เป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชนอีกด้วย
54 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
หลักในการพัฒนา การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำภูมิปัญญาชาวบ้าน ด้านการพึ่งพาตนเอง
การใช้ศาสตร์พระราชา น�ำแนวคิดเรื่องอยู่อย่างพอเพียง มาปรับใช้ในชีวิต
การใช้ศาสตร์สากล น�ำศาสตร์ด้านการออม มาปรับใช้กับรายรับและ รายจ่ายของกลุ่ม
• น�ำภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการพึ่งพาตนเองมาปรับใช้
การใช้ศาสตร์พระราชา
• น�ำแนวคิดเรื่องอยู่แบบพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิต และปรับ เปลี่ยนแนวความคิดของคนในชุมชนให้รู้จักการใช้ชีวิตแบบ พอเพียงและมีความยุติธรรม
การใช้ศาสตร์สากล
• ได้นำ� ศาสตร์ดา้ นการออมและการท�ำบัญชีการออมมาปรับ ใช้ในการท�ำรายรับรายจ่ายภายในกลุ่ม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
55
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
ร้านพลังปัญญาพาสุข จังหวัดมุกดาหาร ผู้เข้าร่วมโครงการ นายมานะ นางวันเพ็ญ นางสมจิตร นายธนาวัฒน์ นายอนวัฒน์ นางส�ำราน นายนพรัตน์ น.ส.ปภัสสรณ์ นายปิยพงษ์ นางล�ำไย นางอุดม นางทองหม่าย นางศิริวรรณ นายชายสิงห์ นางยุพิน 56 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ซอสูงเนิน คนเพียร คนเพียร คนเพียร คนเพียร รอบคอบ ซอสูงเนิน ศรีหาวงค์ คนเพียร รูปเหมาะ ศรีสาพันธ์ คนเพียร วงค์มีแก้ว แก้วดี คนเพียร
นางสุพัตรา นางมา นางจ�ำเนียร นายสมคิด นางวิระญา นายสมอนนท์ นายกิ นายต้อม นางวิไล นายเตียม นางปะทะ นางอินทร์ นางโกฏ นายธวัชชัย นางปราณี
อาจหาญ คนเพียร คนเพียร บุญรักษ์ เหลาทอง คนเพียร คนเพียร คนเพียร ศิริ บุญรักษ์ บุญรักษ์ พันนุมา พันนุมา คนเพียร คนเพียร
คิดแบบเดิมที่เพิ่มเติมคือหนี้สิน
ความจริงแล้วเกษตรกรไทยนัน้ มีภมู ปิ ญ ั ญาในการประกอบสัมมาอาชีพการเกษตรกันมาเนิน่ นาน แต่เมือ่ เวลาผ่านไป มีนกั ลงทุนหัวใสเข้ามาหยิบยืน่ สิง่ ทีค่ ดิ ว่าง่ายกว่า ดีกว่า เร็วกว่า อย่างการใช้ปยุ๋ ใช้ยาฆ่าแมลง จนท�ำให้ภมู ปิ ญ ั ญาเก่าเหล่านัน้ ถูกกลืนกิน แต่นั่นไม่ใช่ความสุขที่ยั่งยืน การท�ำเกษตรแบบเดิมๆ ปลูกพืชผลเพียงอย่างเดียวเพื่อให้ได้จ�ำนวนมากๆ เร่งใส่ปุ๋ย ใส่ยากันเข้าไป แต่ท�ำเท่าไหร่เมื่อหัก ลบ กลบหนี้แล้ว ก็ยังชักหน้าไม่ถึงหลัง เป็นหนี้เป็นสินกันอยู่ดี เปลี่ยนวิธีคิด พลิกชีวิตด้วยเกษตรแนวใหม่
หลังจากได้เข้าร่วมโครงการพลังปัญญา จึงได้เรียนรู้วิธีคิด ปรับเปลี่ยนชีวิต คิดตามทฤษฎีของในหลวงเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตและสร้างรายได้ สร้างพื้นฐานครอบครัวให้เข้มแข็ง ด้วยการลดรายจ่าย เพื่อให้มีความสุขแบบยั่งยืน โดยหัน มาท�ำการเกษตรแนวใหม่ ลดความเสี่ยงโดยการปลูกพืชหลากหลายชนิด เพาะพันธุ์ผักและพันธุ์ไม้ขาย ท�ำให้มีรายได้ดีขึ้น จากเดิมมาก การเดินทางสู่จุดหมาย
ร้านค้าพลังปัญญาพาสุขจะจัดส่งสินค้าตามสั่ง ตามปัจจัยการผลิต รวบรวมผลิตผลจากการเกษตรเพื่อจ�ำหน่าย และแปรรูป พร้อมจัดหาตลาดให้กับสมาชิก โดยมีแนวทางการด�ำเนินงานคือ พัฒนาคน
ประชาสัมพันธ์โครงการและคัดเลือกผูท้ สี่ นใจเข้าร่วมโครงการ พร้อมกับจัดฝึกอบรมให้ความรูต้ ามหลักของพลังปัญญา ให้รู้จักคิดนอกกรอบ คิดอย่างมีเหตุผล พร้อมกับจัดส�ำรวจหนี้สิน รายได้ รายจ่าย และปัญหาอื่นๆ เพื่อจัดท�ำเป็นข้อมูลและ หาวิธีแก้ไขร่วมกัน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
57
คิดแบบเดิมที่เพิ่มเติมคือหนี้สิน พัฒนาพื้นที่
• ส�ำรวจพื้นที่แหล่งน�้ำ เพื่อมาวิเคราะห์ในการประกอบกิจกรรมและวางแผนการจัดการสร้างรายได้เพิ่ม • จัดเตรียมอุปกรณ์ และปัจจัยการผลิตตามแผนการด�ำเนินงานที่ก�ำหนด • สนับสนุนให้สมาชิกปลูกผักสวนครัวเพื่อลดรายจ่าย • สนับสนุนการเลี้ยงเป็ดเทศ ไก่ เพื่อเป็นอาหารและจ�ำหน่าย • สนับสนุนการปลูกกล้วยอย่างน้อย 20 กอ เพื่อบริโภค จัดจ�ำหน่าย และท�ำเป็นอาหารสัตว์ • สนับสนุนการปลูกพืชเพื่อเพิ่มรายได้ เช่น มะม่วง มะนาว มะละกอ มะขามเปรี้ยว เพื่อจ�ำหน่าย • สนับสนุนการเพราะช�ำกล้าไม้ พืชผัก เพื่อสร้างอาชีพ สร้างได้แก่ครอบครัว • สนับสนุนการท�ำปุ๋ยหมัก และการท�ำอาหารสัตว์ เพื่อลดต้นทุน และปัจจัยการผลิตตามความจ�ำเป็น การด� ำ เนิ น งานของโครงการใช้ ห ลั ก เหตุ แ ละผลตามหลั ก การของ พลังปัญญาและใช้ศาสตร์ต่างๆ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำความรู้เรื่องการปรุงดิน ประยุกต์ใช้การเพาะกล้า
58 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มีการน�ำความรู้ในเรื่องของการปรุงดิน มาประยุกต์ใช้ในการเพาะต้นกล้า
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกผักสวนครัวกินเอง เพื่อลดรายจ่าย
ใช้ชีวิตแบบพอเพียง
• เน้ น ให้ ส มาชิ ก ทุ ก คนในกลุ ่ ม ปลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว และพืชผลที่หลากหลายเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน • ส่ ง เสริ ม ให้ ส มาชิ ก ทุ ก คนใช้ ชี วิ ต แบบพอเพี ย ง พอประมาณ
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้เรื่องการปรุงดิน ประยุกต์ใช้การเพาะกล้า
• มีการท�ำการส�ำรวจพื้นที่และแหล่งน�้ำ พร้อมทดลอง ผลิตเพาะกล้าก่อนที่จะจัดจ�ำหน่าย
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
59
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
เห็ดหมังขะดัน จังหวัดล�ำพูน
ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสุรัตน์ นายทรงเดช นางอังคณา นางนงคราญ นายนิฐิพนธ์ จากป่าสู่เมือง
รุกขรัตน์ สมลา ป้อจุมปู ประเสริฐ เชียงกุมาร
นางชนดา ณ.เชียงพันธ์ นางสุวคนธ์ เครือสาร นางกัลยาณี เกตุแก้ว นางอ�ำภา รุกขรัตน์ นางสาวอาภากร ปัญโญ
เห็ดหมังขะดัน (เห็ดโคนน้อย) เป็นเห็ดที่ขึ้นตามธรรมชาติและเป็นที่รู้จักกันดีในแถบภาคเหนือถึงสรรพคุณใน การรักษาโรค จนเกิดเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านน�ำมาผลิตเป็นชาหมังขะอุย ที่มีสรรพคุณในการลดความดันได้ชะงัด แต่ผลิต ยังไงเห็ดก็ยงั มีเยอะแยะต้องทิง้ ไปแห้งตายไปอย่างน่าเสียดาย ครัน้ จะเอาไปขายก็ไม่ได้ราคาคุม้ ต้นทุนการขนส่ง จะท�ำอย่างไรดี พอได้เข้ามาอบรมโครงการพลังปัญญา ท�ำให้เกิดการคิดนอกกรอบ จึงน�ำเห็ดมาแปรรูป ทอดกรอบ ปรุงรสให้กลมกล่อม บรรจุถุงท�ำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด จนเป็นที่ติดอกติดใจกันทั่วไป แต่แค่นั้นยังไม่พอ โครงการพลังปัญญายังช่วยกระตุ้นให้เกษตรกรต่อยอดความอร่อย โดยการน�ำเห็ดมาตากแห้ง และให้มหาวิทยาลัยราชภัฎ ล�ำปาง ช่วยสนับสนุนทางด้านงานวิจัย จนท�ำให้เกิดเป็นซุปเห็ดผง น�ำมาใช้ปรุงรสอาหาร ทดแทนการใช้ผงชูรสอีกด้วย
60 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
มุ่งหน้าสู่จุดหมาย
เพื่อให้คนในชุมชนสามารถวิเคราะห์และน�ำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้อย่างเป็นเหตุเป็นผล รู้จักคิดนอกกรอบ และ สามารถผลิตเห็ดหมังขะดันได้อย่างครบวงจร โดยส่งเสริมให้สมาชิกเพาะเห็ดหมังขะดันอย่างถูกวิธโี ดยผ่านขบวนการฝึกอบรม ก่อนเพื่อให้ได้เห็ดที่มีคุณภาพ แล้วจึงให้ต่างคนต่างไปเพาะเห็ดในพื้นที่ของตนเอง เมื่อได้ผลผลิตให้สมาชิกน�ำเห็ดไปขายใน ชุมชนเองก่อน หลังจากเหลือขายแล้วทางกลุ่มจะรับซื้อผลผลิตจากสมาชิกเพื่อน�ำมาแปรรูปเป็นเห็ดผงปรุงรสบรรจุส�ำเร็จ พร้อมส่งวางขายร้านค้าชุมชน และร้านค้าเครือข่าย พลังปัญญา ผลพลอยได้จากก้อนเห็ดที่ใช้แล้ว ยังสามารถน�ำไปท�ำปุ๋ยหมัก ท�ำอาหารปลา ใช้คลุมดินแปลงปลูกผัก และไม้ยืนต้น ได้อีกด้วย ซึ่งโครงการเห็ดหมังขะดันได้น�ำศาสตร์ต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์คือ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านเพาะเห็ด โดยใช้ฟางข้าว
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ในกระบวนการเตรียมวัตถุดบิ /อุปกรณ์ทใี่ ช้สำ� หรับการเพาะเห็ดโคนน้อย ได้มกี ารใช้องค์ความรูท้ เี่ ป็นภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านมาเป็นส่วนประกอบในการ ด�ำเนินงาน เช่น การใช้ฟางข้าวทีเ่ ป็นส่วนบริเวณโคนต้นข้าวจะส่งผลดีมาก ต่อการเพาะเห็ด
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
61
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำกินในครัวเรือน
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดถือความซื่อสัตย์และ ความรับผิดชอบ
• ใช้ทฤษฎีหลักเศรษฐกิจพอเพียง หัวข้อการท�ำกิน ในครัวเรือน มาผนวกเข้ากับการให้ความรู้กับสมาชิก ที่มาเข้าร่วมในเครือข่ายเพื่อชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญใน การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ว่าจะส่งผลดีต่อ การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันอย่างไร
• ในการด�ำเนินงานของกลุม่ เน้นให้สมาชิกในเครือข่ายมีความซือ่ สัตย์ในหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของตนเอง ไม่วา่ จะเป็นในส่วนของการเข้ารับการฝึกอบรมใดๆ รวมไปถึงการยอมรับและปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทีก่ ำ� หนดร่วม กัน หากเกิดรายได้ที่ได้รับจากการด�ำเนินงานในโครงการฯ มีผลก�ำไรสูงขึ้น การใช้ศาสตร์สากล
เลี่ยงการใช้วัสดุจากไม้ เพราะจะท�ำให้เกิดปัญหา ปลวกตามมา
สร้างความเชื่อถือ ให้กับสินค้า
การใช้ศาสตร์สากล
ใช้หลักประชาธิปไตย ในการด�ำเนินโครงการ
• ในการเตรียมพื้นที่ส�ำหรับการเพาะเห็ด มีการน�ำหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้ บางส่วน เช่น การใช้เหล็กมาเป็นโครงสร้าง ส�ำหรับเป็นชั้นวางก้อนเพาะเห็ด เนื่องจาก หากใช้ไม้เป็นวัสดุจะท�ำก่อให้เกิดปัญหาเรือ่ ง ปลวกตามมาอีกเป็นจ�ำนวนมาก
• มีการค้นคว้าและศึกษาข้อมูลงานวิจัยทางวิชาการหรือทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของ เห็ดโคนน้อย เพื่อน�ำมาใช้เป็นข้อมูลยืนยันคุณค่าทางโภชนาการเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับตัวสินค้าที่เกิด จากผลผลิตที่ได้รับ หรือผลผลิตที่ได้รับการพัฒนา แปรรูปเป็นสินค้าประเภทอื่นๆ ให้แก่ผู้บริโภค • การใช้หลักประชาธิปไตยในการลงมติในที่ประชุมเพื่อร่วมกันด�ำเนินงานต่างๆ ภายในกลุ่มให้ส�ำเร็จและ เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานของโครงการฯ 62 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
โอ้โห ขยะทองค�ำ จังหวัดพิษณุโลก ผู้เข้าร่วมโครงการ
นางวีระวรรณ วิจิตรวงศ์ (ประธานโครงการ) นางบ�ำรุง พรหมแต้ม นางกันต์กนิษฐ์ ขยันหา นางสาวสุทธิภรณ์ นิ่มอนงค์ นางปานจิต ม่วงเฟื่อง นางทิพวรรณ กุลเจ๊ก น.ส.บุญยืน บัวประเสริฐ นายกิตติศักดิ์ ผ่องนาค นางทราย รอดฝุ่น นางนองนันท์ ศรีชมภู นางยุพิน แพ่งมิ่ง นางสมหมาย ดีศิริ นายค�ำรณ แสงทองค�ำ
นายพิสิษฐ์ พรหมแต้ม ร.ต.พรเทพ ทิพย์สมบัติ นางเผอิญ นุชชม นายประทีป ทองวัฒน์ นายจ�ำรัส สังข์นาค นางวารุณี จันทร์รักษ์ น.ส.กรองทอง สัมมาชีวะ นางเจิมจิตต์ สนสีสัตย์ นางสนอง แก้วดี นางคมข�ำ เรือนแสน นายกิตติมา พรมมา นายชลอ ไทยนา
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
63
ยี้...ขยะ
เมื่อพูดถึง “ขยะ” ทุกคนคงเบือนหน้าหนี เพราะแค่พูดก็จินตนาการได้ถึงความสกปรก เหม็น และน่าขยะแขยง ต้องรีบก�ำจัดให้หมดๆ ไปเสีย โดยการเผา บ้านนู้นก็เผา บ้านนี้ก็เผา เผากันทั้งหมู่บ้าน จนเกิดเป็นมลพิษ เกิดผลเสียต่อ สุขภาพ เด็กๆ ในหมูบ่ า้ นไม่รจู้ กั ระบบระเบียบ ทิง้ ขยะไม่เป็นทีเ่ ป็นทาง มีขยะเกลือ่ นกลาดสกปรก แต่ทางกลุม่ กลับมองเห็นว่า กองขยะนั้นเป็น “ทองค�ำ” ถ้ารู้จักน�ำมาบริหารจัดการให้ดี ถ้าท�ำได้ชุมชนจะสะอาดน่าอยู่ ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการ ขายขยะ นอกจากนี้ขยะยังสามารถน�ำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชนอีกด้วย โอ้โห...ขยะทองค�ำ
เมื่อมองเห็น “ทองค�ำ” ในกองขยะ ประกอบกับนายอ�ำเภอวัดโบสถ์ มีนโยบายในการจัดการขยะซึ่งสอดรับกับการ ด�ำเนินงานของโครงการฯ อยู่แล้ว จึงท�ำให้ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างดี ท�ำให้ทางโครงการฯ สามารถ ด�ำเนินงานไปได้อย่างราบรื่นโดย วิธีการด�ำเนินงานดังนี้
1. จัดการอบรมเครือข่ายท�ำความเข้าใจถึงโครงการ 2. สร้างโรงคัดแยกขยะในพื้นที่โรงเรียนท่ากระดุน ที่เอื้อเฟื้อให้ใช้สถานที่ด�ำเนินงานโครงการ 3. ร่วมมือกับโรงเรียน โดยตั้งเป็นธนาคารขยะ และให้นักเรียนเป็นผู้บริหารจัดการกันเอง โดยให้นักเรียนถือขยะ มาทุกวันจันทร์ แล้วมีการจดบันทึกผู้ที่น�ำขยะมาและปันผล ให้รางวัลเป็น ใบประกาศนียบัตร และเครื่องเขียน 4. สร้างเครื่องเล่น โต๊ะ ให้กับทางโรงเรียน 5. แปรรูปจากขยะ เป็นเฟอนิเจอร์ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ กระถางบัว เรือสุวรรณหงส์ ด้วยวิธีการรับซื้อยางรถยนต์เก่า จากร้านขายล้อรถยนต์ แล้วจ้างแรงงานในพืน้ ทีท่ มี่ ฝี มี อื ในการท�ำ เพือ่ ให้คนในชุมชน หรือกลุม่ คนว่างงานได้มรี ายได้ โดยส่วน แบ่งหลังหักค่าวัตถุดิบและหักเข้าโครงการแล้ว รายได้ที่เหลือเป็นของแรงงานที่ท�ำ 6. มีการจัดวางผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปแล้ววางขายบริเวณหน้าศูนย์โครงการที่ติดริมถนนใหญ่ และรับงานตาม ออเดอร์ที่สั่งมา
64 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
7. การรับซื้อขยะมี 5 จุด 7.1 บ้านผู้ใหญ่บ�ำรุง หมู่ 2 ต�ำบลท้อแท้ อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 7.2 บ้านคุณกันนิฐ สมาชิกในโครงการ หมู่ 3 ต�ำบลท้อแท้ อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 7.3 บ้านคุณทิพวรรณ วัดโบสถ์ 7.4 บ้านคุณปารจิต หมู่ 4 วัดโบสถ์ 7.5 สถานที่ด�ำเนินโครงการ ส�ำนักงานใหญ่ โอ้โหขยะทองค�ำ โรงเรียนวัดท่ากระดุน ต�ำบลท้อแท้ อ�ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ทางโครงการใช้ศาสตร์ต่างๆ เข้ามาบริหารโครงการโดย
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้วิธีการลงแขก ในกิจกรรม บางอย่างของโครงการ
ผลิตดอกไม้จาก ผ้าใยบัว
การใช้ศาสตร์พระราชา ยึกหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการด�ำเนินโครงการ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ยังคงวัฒนธรรมการช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามแบบ วิถีชีวิตในชนบท (ลงแขก) ในการด�ำเนินกิจกรรมบาง อย่างของโครงการฯ • มีการส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านด้านงานหัตถกรรม การผลิตดอกไม้จากผ้าใยบัว
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในการด�ำเนินงานตาม แ ผนโครงการฯ ทั้งยังส่งเสริมกิจกรรมในด้านอื่นๆ ที่ ก่อให้เกิดเป็นรายได้เสริมแก่ครัวเรือน เป็นแบบอย่าง ให้กับสมาชิกในชุมชน พลังปัญญา
POWER of WISDOM
65
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำขยะหรือของเก่า มารีไซเคิลเป็นของใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน
การใช้ศาสตร์สากล
ปลูกจิตส�ำนึก รักษาสิ่งแวดล้อม
• การน�ำขยะหรือของเก่าทีร่ บั ซือ้ มา ไปรีไซเคิลเป็นของใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ น�ำไปสูก่ ารลดมลภาวะ ให้กับสิ่งแวดล้อม • มีแรงบันดาลใจเกิดจากการเห็นคุณค่าของสิง่ ของเหลือใช้ทปี่ ระธานโครงการฯ เคยผ่านกระบวนการ อบรมมา จึงท�ำให้ตระหนักว่าแต่ละคนสามารถเป็นจุดเริ่มต้นจากตนเองในการรักษาสิ่งแวดล้อมได้ โดยการน�ำขยะเหล่านัน้ แปลงเป็นรายได้แทนจึงท�ำให้ตระหนักว่าแต่ละคนสามารถเป็นจุดเริม่ ต้นจาก ตนเองในการรักษาสิ่งแวดล้อมได้ โดยการน�ำขยะเหล่านั้นแปลงเป็นรายได้แทน
66 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ตลาดธรรมชาติ
โครงการพลังปัญญา
ไบโอชาร์พารวย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้เข้าร่วมโครงการ นายยรรยงค์ นายเกรียงศักดิ์ นายมาโนช นายตาค�ำ นายภานุพงษ์ นายสมพล นายนราทิศน์ น.ส.เสาวรัตน์ นางจาริยา นางอรทัย
ยาดี (ประธานโครงการ) ค�ำหอม สุวรรณพันธ์ อุ่นเรือนใจ ยาดี การดี อุ่นเรือนใจ เร่งยาตรา ค�ำเขียว พันเขียว
นางสอิ้ง นางธิดา นางมาลัย นายผัด นางมาลี นายวีระยุทธ นายชัยรัตน์ นายสมใจ นายจีรศักดิ์ นางยุพา
ยิ่งสุขกายใจ สุวรรณพันธ์ กันยะ ไพรขจรเกียรติ ติ๊บเฮือน เพียงพิชิตผล ไพรขจรเกียรติ ใจประเสริฐยิ่ง เร่งยาตรา บุญมหายันต์
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
67
คนไม่เอาถ่าน
ถ้าใครถูกกล่าวหาว่าเป็นคนไม่เอาถ่านนัน้ คงจะเคืองหน้าดู เพราะไม่วา่ จะเป็นถ่านไม้ ถ่านไบโอชาร์ หรือถ่านกัมมันต์ ต่างก็มีคุณสมบัติที่โดดเด่นแตกต่างกันออกไป ซึ่งทั้งสามอย่างล้วนได้มาจากการน�ำไม้ และวัสดุการเกษตรที่มีธาตุคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลักไปเผาในสภาพที่มีการควบคุมอุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนที่แตกต่างกันออกไป ท�ำให้ได้ผลผลิต คือ ถ่านที่มีรูพรุนขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ แตกต่างกัน น�ำไปใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน ท�ำไมต้องไบโอชาร์
ถ่านชีวภาพหรือถ่านไบโอชาร์ที่ผลิตจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่างๆ มีคุณสมบัติแตกต่างจากถ่านทั่วไป คือ ไม่ได้ใช้เป็นเชื้อเพลิง แต่ใช้ในการปรับปรุงดิน เนื่องจากมีรูพรุนสูง ช่วยในการปรับสภาพของดิน ทั้งการอุ้มน�้ำ การระบาย อากาศ ช่วยดูดธาตุอาหารทีจ่ ำ� เป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ลดความเป็นกรดของดิน และทีส่ ำ� คัญคือเป็นทีอ่ ยูข่ องจุลนิ ทรีย์ ที่มีประโยชน์ต่อพืชในดินอีกด้วย ท�ำให้การเพาะปลูกหรือการท�ำเกษตรกรรมได้ผลดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถน�ำถ่านไบโอชาร์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อีกหลากหลาย เช่น สบู่จากถ่านไบโอชาร์ ถ่านดูดกลิ่นไบโอชาร์ ครีมมาร์คหน้า หมอนสุขภาพจากถ่านไบโอชาร์ เป็นต้น ไบโอชาร์พารวย
การรวมกลุ่มให้ความรู้เรื่องการผลิตถ่านด้วยเตาเผาไบโอชาร์ซึ่งจะท�ำให้ถ่านมีราคาสูงกว่าการเผาแบบธรรมดา และการให้ความรูเ้ รือ่ งต่อยอดผลิตภัณฑ์ทที่ ำ� มาจากถ่านไบโอชาร์ จะเป็นการเพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้าซึง่ สามารถกระจายรายได้ สู่ชุมชนต่อไป โดยทางกลุ่มมีการด�ำเนินงานโดย
1. ฝึ ก อบรมบุ ค ลากรเพื่ อ การเป็ น ผู ้ น� ำ ที่ เข้ ม แข็ ง ตามแนวทางพลั ง ปั ญ ญา นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารสื บ ค้ น ข้ อ มู ล หาความรู้เรื่องการผลิตถ่านแบบไบโอชาร์ มาสอนเพิ่มเติมให้กับชาวบ้านและผู้ที่สนใจ เพื่อต่อยอดและแปรรูปผลิตภัณฑ์ จากถ่านไบโอชาร์ 2. ฝึกอบรมเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาด
68 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ด้านผลิตภัณฑ์
มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงามเหมาะสมกับสินค้าแต่ละชนิดอย่างลงตัว ด้วยการขอค�ำปรึกษากับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด มีการสอนแปรรูปสินค้าให้กับสมาชิกในกลุ่มและผู้สนใจอย่างต่อเนื่อง ตามแผนจัดอบรมที่วางไว้ ด้านการตลาด
ประธานกลุ่ม มีการประสานงานไปยังกลุ่มผู้น�ำชุมชนที่หลากหลาย ทั้งระดับต�ำบล อ�ำเภอ และจังหวัด เพื่อท�ำการ ประชาสัมพันธ์สินค้ากลุ่มให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ด้วยสภาพพื้นที่กลุ่มเป็นศูนย์เรียนรู้ที่ได้รับการยอมรับในชุมชน จึงเป็นแหล่งเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้อย่างชัดเจนและเข้มแข็ง มีการขยายตลาดไปยังประเทศจีน และประเทศพม่า จากการร่วมมือกับทางนายกเหล่ากาชาดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พร้อมมีออเดอร์ผงถ่านไบโอชาร์ ถ่านอัดแท่ง และอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ทางโครงการฯ ใช้ศาสตร์ต่างๆ เข้ามาบริหารโครงการโดย
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้ถ่านไบโอชาร์ผสม ปุ๋ยหมัก เพื่อลดต้นทุน
เปิดศูนย์การเรียนรู้
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• มีการศึกษาและใช้ถ่านไบโอชาร์ผสมปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุนในการท�ำการเกษตร • เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้พร้อมที่จะให้ความรู้ผู้ที่สนใจอยู่ ตลอดเวลา
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
69
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงาน ในการด�ำเนินงาน
ยึดหลักท�ำน้อยได้มาก
การใช้ศาสตร์สากล
ค้นคว้าหาข้อมูล เกี่ยวกับการแปรรูป ผลิตภัณฑ์
70 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ศึกษาการท�ำงาน ของเตาชีวมวล เพื่อผลิตถ่าน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผสมผสานกับหลัก การทรงงานในการด�ำเนินงานหลักของโครงการ • ใช้หลักการท�ำน้อยได้มาก ท�ำ 1 ได้ถึง 3 ไบโอชาร์ เพิ่มความสมบูรณ์ของดิน ลดภาวะโลกร้อนและลด ความยากจน
การใช้ศาสตร์สากล
• มี ก ารสื บ ค้ น หาข้ อ มู ล หาความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม จาก อิ นเทอร์เน็ต ในเรื่องการแปรรูปต่อยอดผลิตภัณฑ์ จากถ่านไบโอชาร์ • ศึกษาการท�ำงานของ เตาชีวมวลในการน�ำมาผลิต ถ่านไบโอชาร์
ประเภท
เกษตรท่องเทีย ่ ว พลังปัญญา
POWER of WISDOM
71
72 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
เคียงเดือน ดอยอินคา จังหวัดอุดรธานี ผู้เข้าร่วมโครงการ นายภาณุพงศ์ นางสุรีภรณ์ นายสุบรรณ นายพรไร นายอาทร นางสาวสุชารัตน์
ภัทรคนงาม (ประธานโครงการ) ศรีนนท์ อาป้อง บุตรโยจันทรโท โคตรนาวัง มูลตรี
นางพัชรี เอี่ยมประชา นายสุพาทิศ สิงห์รักษ์ นางน้องนาง บูรณ์โสภณ นายศักดิ์สิทธิ สิงห์สถิตย์ นายสมเกียรติ ตัสสะเกตุ ร.ท.คมกฤษ แสนเสนา
ประสบการณ์ที่เจ็บปวด
เมื่อบริษัทเอกชนรายหนึ่งมาพร้อมกับเมล็ดพันธุ์ถั่วดาวอินคาและปุ๋ย พร้อมกับข้อมูลที่ว่า ถั่วดาวอินคาจะเป็น พืชเศรษฐกิจตัวใหม่ที่ได้ก�ำไรงาม หากเกษตรกรร่วมกันปลูกและใช้ปุ๋ยที่บริษัทฯ น�ำมาให้อย่างถูกต้อง จะได้ถั่วดาวอินคา ที่มีคุณภาพ และบริษัทฯ สัญญาว่าจะรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรทั้งหมด เมื่อเวลาผ่านไป บริษัทเอกชนหายตัว ผลผลิตมากมายแต่ไม่มีใครมารับซื้อ เกษตรกรได้รับความเสียหายอย่าง ใหญ่หลวง ทั้งเสียเงินและเสียก�ำลังใจ บางรายตัดใจท�ำลายทิ้ง สิ้นเนื้อประดาตัวกันไป
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
73
เรียนรู้จากประสบการณ์
เมื่อไม่มีใครมารับซื้อ ผลผลิตก็มีมากมาย แต่เกษตรกรมีความรู้จากการเข้า ร่วมโครงการพลังปัญญาเกษตรกรจึงเกิดการร่วมกลุ่ม และร่วมกันศึกษาข้อมูลเกี่ยว กับถั่วดาวอินคา เพื่อน�ำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งนอกจากความพยายามที่ จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้ว ทางโครงการยังมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคนในชุมชนให้คิด มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน เกิดความรักความสามัคคี มีคุณธรรมและจริยธรรมตามหลัก การของโครงการพลังปัญญา พร้อมกับพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควบคู่ไปกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากถั่วดาวอินคา ให้มีความหลากหลาย มีคุณภาพ ที่ดี จนสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ได้
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการเคียงเดือน ดอยอินคา ด�ำเนินกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม คือ โดยการขยายเครือข่ายตามหลักการพลังปัญญาสู่คนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง โดยเริ่มจาก การประชุมจัดตั้งคณะท�ำงาน และออกขยายเครือข่ายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีกลุ่มที่เข้าร่วมเป็นเครือข่าย พลังปัญญาจ�ำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอ�ำเภอน�้ำสวย กลุ่มอ�ำเภอนายุ่ง กลุ่มอ�ำเภอบ้านผือ กลุ่มอ�ำเภอน�้ำโสม จังหวัดอุดรธานี และกลุ่มจังหวัดเลย รวมสมาชิกกว่า 150 คน
1. พัฒนาคน
โครงการเคียงเดือน ดอยอินคาพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีการจัด ปรับพื้นที่ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ส�ำหรับรับการท่องเที่ยวและศึกษาดูงานด้านการเกษตรครบวงจร
2. พัฒนาพื้นที่
นอกจากนี้ยังพัฒนาผลิตภัณฑ์จากถั่วดาวอินคาให้เป็นสินค้าที่หลายหลาย เช่น เมล็ดถั่วดาวอินคาคั่ว ชาจากใบและเปลือกถั่วดาวอินคา น�้ำมันสกัดจากถั่วดาวอินคา ท๊อฟฟี่ สบู่ ครีมทาผิว ผงขัดหน้า แชมพู และครีมนวด จากถั่วดาวอินคา และสินค้าอื่นๆ ในเครือข่ายกว่า 50 รายการ 74 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของเคียงเดือน ดอยอินคา ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำน�้ำหมักสูตรต่างๆ ให้เข้ากับการเกษตร
แปรรูปสินค้าเกษตร เพิ่มมูลค่าสินค้า
ผลิตอาหารสัตว์จากเศษวัสดุ เหลือใช้ทางการเกษตร
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการท�ำน�้ำหมักสูตรต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับการเกษตรได้อย่างเหมาะสม • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูปสินค้าเกษตรและสร้างมูลค้าเพิ่มได้อย่างเหมาะสม • ได้น�ำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุน การใช้ศาสตร์พระราชา
น�ำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ ในการด�ำเนินโครงการ
เปิดแหล่งเรียนรู้ ด้านการเกษตร
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ในพื้นที่ปรับเปลี่ยนแนวความคิดมาท�ำเกษตรแบบผสม ผสาน เปิดเป็นฐานตื่นรู้ด้านการเกษตร เป็นแหล่งเรียน รู้ดูงานแก่บุคคลและหน่วยงานที่สนใจ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
75
การใช้ศาสตร์สากล
ศึกษาดูงาน น�ำความรู้ พัฒนาสินค้า
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำวัฒนธรรมและ วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์
ค้นคว้าความรู้ ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต
เปิดตลาดออนไลน์ เพิ่มช่องทาง จ�ำหน่ายสินค้า
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาประยุกต์ ใช้พัฒนาสินค้าในกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ต่างๆ จากประสบการณ์ทั้งหมด มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตและน�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง • ศึกษาและเรียนรู้การท�ำตลาดออนไลน์เพื่อเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้า
76 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
วัฒนธรรม 2 แผ่นดิน จังหวัดนครพนม ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยโท คมกฤษ นางสาวจารุภา นายอดิศักดิ์ นางสาววิมลรัตน์ นางบัวสุวรรณ
แสนเสนา (ประธานโครงการ) สิงห์ศรี โพนไชยา วงค์หนายโกฏ เหมเมือง
นางรัชนีย์ นายวรชัย นางนิธิกานต์ นางสาวศิรินทรา
วะชุม ไตรยะถา วงศ์ณรัตน์ เสนาบุตร
วัฒนธรรมคือจุดเริ่มต้น
จังหวัดนครพนมเป็นจังหวัดชายแดนที่มีภูมิประเทศติดกับแม่น�้ำโขง มีพื้นที่ใกล้กับประเทศลาวและเวียดนาม ซึ่งมีเพียงแม่น�้ำโขงกั้นเขตแดน ท�ำให้จังหวัดนครพนมมีความหลากหลายทางชนเผ่า แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีวัฒนธรรม ที่เชื่อมโยงกันของ 2 เชื้อชาติ คือ เชื้อชาติไทยและเวียดนาม ในอดีตบรรพบุรุษชาวเวียดนามได้อพยพข้ามฝั่งแม่น�้ำโขงมาขึ้นฝั่งไทยในสมัยสงครามโลก ได้มาตั้งถิ่นฐานบ้าน เรือนกระจายอยู่ในพื้นที่จังหวัดนครพนม โดยเฉพาะหมู่บ้านนาจอกซึ่งเป็นหมู่บ้านประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นที่พ�ำนักของ ท่านลุงโฮจิมินห์ ประธานาธิบดีคนแรกของประเทศเวียดนาม ระหว่างปี พ.ศ. 2467–2474 เพื่อเป็นสถานที่ส�ำหรับติดต่อ ประสานงาน วางแผน และเคลือ่ นไหวในการต่อสูก้ อบกูเ้ อกราชของชาติ ท�ำให้เกิดอิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมทีเ่ ป็นอัตลักษณ์ ชัดเจนของชาวเวียดนาม ไม่วา่ จะเป็นวิถชี วี ติ การสร้างบ้านเรือน การแต่งกาย และอาหารการกิน โดยเฉพาะวัฒนธรรมการกิน พลังปัญญา
POWER of WISDOM
77
“ข้าวเกรียบโรยงา” เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวเวียดนาม ที่หลังจากฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวก็จะน�ำข้าวมาแปรรูป เพื่อถนอมอาหารเก็บไว้ทานในยามสงคราม จึงท�ำให้ “ข้าวเกรียบโรยงา” เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมแพร่หลาย ไม่ว่าจะ ทานเปล่าๆ หรือทานคู่กับอาหารเมนูอื่น หรือจะใช้เป็นส่วนประกอบในการสร้างสรรค์เมนูต่างๆ ก็สามารถท�ำได้อย่างลงตัว อีกทั้งสามารถรับประทานได้ทุกเพศ ทุกวัย และเหมาะที่จะเป็นของฝากในทุกโอกาสอีกด้วย สานต่อวัฒนธรรม
เพือ่ เสริมสร้างแนวคิดนวัตกรรมใหม่ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิ 105 สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ ข้าวเกรียบโรยงาและเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรม 2 แผ่นดิน (ไทย-เวียดนาม) ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวต่อไป ทางโครงการด�ำเนินงานโดย พัฒนาคน
โดยจัดอบรมให้ความรูแ้ ก่สมาชิกในการปรับเปลีย่ นแนวคิด รวมทัง้ จัดอบรมเรือ่ งการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยมีการเชิญ วิทยากรจากมหาวิทยาลัยนครพนม สาขาคหะกรรม มาสอนเรื่องการปรับปรุงรสชาติอาหาร และการจัดท�ำบรรจุภัณฑ์สินค้า ให้มีความโดดเด่น พัฒนาผลิตภัณฑ์
1. ให้สมาชิกกลุ่มแต่ละคนที่ปลูกข้าวอยู่แล้ว น�ำผลผลิตข้าวที่ได้มาขายให้กับทางกลุ่ม เพื่อเป็นการกระจายรายได้ กลับคืนให้กับสมาชิก 2. ซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่จ�ำเป็น เช่น เครื่องโม่ บด แป้ง ข้าว และอุปกรณ์อื่นๆ 3. ปรับปรุงรูปแบบของบรรจุภัณฑ์ให้สะดุดตา โดยเล่าเรื่องราวประวัติความเป็นมาของลุงโฮจิมินต์ เป็นเรื่องราว ทีละตอนในกล่องสินค้า 4. ปรับปรุงรสชาติขา้ วเกรียบโรยงาให้มคี วามหลากหลาย ปัจจุบนั มีการปรับปรุงและเปลีย่ นรสชาติขา้ วเกรียบโรยงา เป็น 4 รสชาติหลัก คือ รสดั้งเดิม รสโนริสาหร่าย รสบาบีคิว และรสกะทิใบเตย ซึ่งสามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ได้หลากหลายกลุ่ม ตั้งแต่เด็ก วัยรุ่น และผู้สูงวัย 5. มีการวางแผนที่จะแปรรูปสินค้าที่ผลิตจากแป้งข้าวหอมมะลิ 105 เพิ่มเติมจากข้าวเกรียบโรยงาหลากรส เป็นสินค้าอื่นๆ เช่น ขนมจีนสด ขนมจีนอบแห้ง เส้นลอดช่องจากแป้งข้าว เป็นต้น 78 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
พัฒนาผลิตภัณฑ์ (ต่อ)
6. มีการจ�ำหน่ายและจัดวางสินค้าตามจุดจ�ำหน่าย ดังนี้ • ตลาดนัดชุมชน (คลองถม) มีการน�ำข้าวเกรียบโรยงา ไปวางขายบ้างตามโอกาสจะเอื้ออ�ำนวย ซึ่งได้รับการ ตอบรับจากผู้บริโภคทุกครั้งที่มีการน�ำสินค้าไปวางขาย • ร้านค้าชุมชน ส่วนมากทางกลุ่มจะเน้นที่ร้านส้มต�ำ และร้านค้าโชว์ห่วยในชุมชน ซึ่งจะมีการน�ำข้าวเกรียบโรยงา หลากรส ไปวางจ�ำหน่ายเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้รับผลตอบแทนที่ดีมาก ลูกค้าทานแล้วติดใจในรสชาติ จนบางครั้ง ไม่สามารถผลิตสินค้าไปวางจ�ำหน่ายได้ทัน
ในการด�ำเนินโครงการวัฒนธรรม 2 แผ่นดินได้น�ำศาสตร์ต่างๆ
ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
รักษาสูตรโบราณในการ ท�ำข้าวเกรียบโรยงา
พึ่งพากัน รักษากลุ่ม ให้มีความรักความสามัคคี
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• สืบทอดภูมิปัญญา ด้วยการรักษาสูตรโบราณในการท�ำข้าวเกรียบโรยงาจากบรรพบุรุษ • ความสัมพันธ์แบบชาวบ้านดั้งเดิม ที่ช่วยเหลือพึ่งพากัน สามารถน�ำมาใช้ในการรักษากลุ่ม ให้มีความรัก ความสามัคคีได้อย่างดี พลังปัญญา
POWER of WISDOM
79
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
การขยายความรู้
การแบ่งปัน
ท�ำน้อยได้มาก
ความยุติธรรม ความซื่อสัตย์
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้
80 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การเปลี่ยนแนวคิด
ใช้ศาสตร์พระราชาในการปรับเปลี่ยน แนวคิดสมาชิกและส่วนขยายผล โดยใช้หลัก • การแบ่งปัน • การขยายความรู้ • การเปลี่ยนแนวคิด • ความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ • ท�ำน้อยได้มาก
น�ำความรู้ใหม่ๆ ส่งเสริมให้สินค้า ทันสมัยมากขึ้น
การใช้ศาสตร์สากล
• น�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่ออ�ำนวยความสะดวก เช่น เครื่องโม่บดไฟฟ้า และการต�ำด้วยมือ เปลี่ยนมาใช้เตาแก๊ส แทน การใช้เตาถ่าน เป็นต้น • น�ำความรูใ้ หม่ๆ จากอาจารย์ทมี่ คี วามรูต้ ามสมัย มาท�ำการสอน ปรับปรุงรสชาติ และบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมให้สินค้าหลักของ กลุ่มมีความก้าวหน้า โดดเด่น ทันสมัยมากขึ้น
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
ล่องยมชมกาดริมน�้ำ จังหวัดแพร่ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายวิทูรจ์ สกุลบุญแก้ว (ประธานโครงการ) นางประนอม ทาแปง นายนเรศ เกียรติศิริถาวร นายชุมพล ไทยพริ้ง นางสาลินี ขอนบุญนาค
นางแสนบาน นางกอบกุล นางรื่นจิตร นางสุพัตรา
รินบุตร พรหมทอง แสนหลวง อินทร์กร�่ำ
เมืองลอง ต้องมาลอง
โครงการล่องยมชมกาดริมน�้ำ ตั้งอยู่ในอ�ำเภอลอง ซึ่งถือเป็นเมืองเก่ามาแต่ก่อนพุทธกาล เป็นชุมชนโบราณ ชาวล้านนา ที่มีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง รวมทั้งด้านการแต่งกายชาวล้านนาเป็นพวกไทยยวน ซึ่งมีเทคนิค และศิลปะในการทอผ้าในรูปแบบของตนเอง ผู้หญิงไทยยวนนิยมแต่งกายด้วยผ้าซิ่นทอชนิดต่างๆ และผ้าซิ่นอันลือชื่อคือ ผ้าซิ่นตีนจก ซึ่งนางประนอม ทาแปง หนึ่งในผู้ร่วมโครงการได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาประณีตศิลป์-ศิลปะ การทอผ้า พ.ศ. 2553 อีกด้วย
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
81
ท�ำอย่างไรให้มาลอง
เมืองลองเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมที่น่าลอง แต่กลับยังไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร จากการรวมกลุ่มของโครงการ ล่องยมชมกาดริมน�ำ้ ในการเข้าร่วมโครงการพลังปัญญา ท�ำให้เกิดพลังเครือข่ายในการทีจ่ ะร่วมมือกันพัฒนาศักยภาพในพืน้ ที่ ให้ได้รับความนิยมมากขึ้น โดยมีการด�ำเนินการ ดังนี้
• จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เยาวชน ประชาชน สถานศึกษาและหน่วยงาน
องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ด�ำเนินโครงการฯ ร่วมกันส�ำรวจสืบค้นและ หาข้อมูลส�ำหรับสร้างเครือข่ายการพัฒนาอาชีพฯ และวัฒนธรรมประเพณี แบบดัง ้ เดิม ของอ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่
• ส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่น ร่วมอนุรักษ์ในวัฒนธรรมอันดีงามของตนเอง
เช่น การแต่งกายด้วยผ้าไทย รวมทั้งปลูกจิตส�ำนึกให้เยาวชนในพื้นที่มีความรักและ ร่วมกันหวงแหนในวัฒนธรรมท้องถิ่นของตน เพราะหากคนในชุมชนมีความรักและ หวงแหนวัฒนธรรมของตน ก็จะสามารถพูดถึงชุมชนของตนด้วยความภาคภูมใิ จ ซึง ่ ถือเป็นการบอกต่อที่ดีที่สุด ในการช่วยประชาสัมพันธ์โครงการฯ
• ส่งเสริมให้เยาวชนในท้องถิ่น ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การส่งเสริม
กิจกรรมยุวเกษตร เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้การแปรรูปสินค้าที่มีในชุมชน และสามารถ จ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริมได้ และกิจกรรมส่งเสริมด้านการท่องเทีย ่ วเชิงวัฒนธรรม ผ่าน การอบรมมัคคุเทศก์น้อย
• ส่งเสริมวัฒนธรรมด้านอาหารการกินและความเป็นอยูต ่ ามหลักเศรษฐกิจพอ
เพียง เพือ ่ ให้นก ั ท่องเทีย ่ วได้เรียนรูแ้ ละน�ำไปประยุกต์ใช้ผา่ นการศึกษาดูงานในท้องถิน ่ ทั้งนี้ยังเป็นการกระตุ้นและสร้างรายได้ให้กับชุมชน
82 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• จัดกิจกรรมพัฒนาแผนงานด้านการท่องเทีย ่ วกาด(ตลาด)น�ำ้ ริมแม่นำ�้ ยม โดย
ประสานงานร่วมกับองค์กรท้องถิ่น สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• มีการประสานงานกับชุมชน และหรือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องเพือ ่ ท�ำการพัฒนา
สถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วเชิงวัฒนธรรมต่างๆ ริมแม่นำ�้ ยมในพืน ้ ที่ ตามแผนด�ำเนินงานของโค รงการฯ เช่น วัดแหลมลี่,วัดศรีดอนค�ำ,พิพิธภัณฑ์เมืองลอง ฯลฯ เป็นต้น
• จัดกิจกรรมทีส ่ ง ่ เสริมด้านการอาชีพ ด้านวัฒนธรรมประเพณี และสิง ่ แวดล้อม
เพื่อเป็นศึกษาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ
• ประสานงานกับองค์กรท้องถิน ่ เพือ ่ ขอความร่วมมือในการพัฒนาโครงการฯ
ร่วมกันในอนาคต
• สถานที่ท่องเที่ยวเอกชนบางแห่ง มีการใช้งบประมาณของตนเอง ในการ
ปรับปรุและพัฒนา สถานที่ท่องเที่ยวในความดูแล ได้แก่ แหล่งรวมผ้าพื้นเมือง คุณแม่ ประนอม ทาแปง และวัดต่างๆ ที่อยู่ในโครงการ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้น หลังจากที่มีการด�ำเนินงานตามแผนของโครงการฯ แล้ว
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
83
ในการด�ำเนินโครงการล่องยมชมกาดริมนํ้า ได้น�ำศาสตร์ต่าง ๆ ตามโครงการพลังปัญญา มาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรม ที่ดีงามและประเพณีล้านนา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
การใช้ศาสตร์พระราชา
พัฒนาจากจุดเล็กๆ ไปหาใหญ่
84 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ปรับเปลี่ยนวิธีคิด คนในชุมชุน
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน และประเพณีล้านนาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ภายใต้การท�ำงานของกลุ่มมีการใช้ศาสตร์พระราชา เพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น การพั ฒ นาจะเริ่ ม ที่ จุ ด เล็ ก ๆ ไปหาใหญ่ เช่น สถานที่ท่องเที่ยวก็เริ่มประสานและ พัฒนากับภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง มีการเชื่อมต่อที่ ดีมีประสิทธิภาพ • มีการให้ความรูเ้ พือ่ ส่งเสริมให้คนในชุมชนปรับเปลีย่ น วิธีคิดใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามค�ำสอนพ่อ
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
แลยม ชมแอ่งวังชิ้น จังหวัดแพร่ ผู้เข้าร่วมโครงการ นางภัทชา นายไพรัตน์ นายสินชัย นายรณเกียรติ นายส�ำเนียง น.ส.ปภังกร
ตนะทิพย์ (ประธานโครงการ) บัญสว่าง พุกจินดา ค�ำน้อย ตาติ แก้ววงค์
นางนรภัทร นางศิวนันท์ นายเสถียร นายอัครเดช นายราชัน นายณฐนน
ใจวงค์ค�ำ จิรกุลธนินโชตน์ ถาบู้ จันทร์สี จันทร์เขียว ค�ำน้อย
จุดเริ่มต้นการเดินทาง
จังหวัดแพร่ ถือเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ท้องถิ่นทางสังคมและวัฒนธรรมจังหวัดหนึ่งของภาคเหนือ ผู้คนล้วน สืบสานวัฒนธรรมแบบล้านนา และล้านช้างแทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะผู้คนในแถบแอ่งแพร่ แต่ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ในยุคโลกาภิวัฒน์ หลายบ้าน หลายเมือง หลายท้องถิ่น ได้รับเอาวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามา และถูกกลืนกินไปอย่างรวดเร็ว แต่ที่แอ่งแพร่ ยังมีอีกหลายต่อหลายอย่างที่มีการด�ำรงคงอยู่อย่างสืบเนื่อง จนอาจกล่าวได้ว่า จังหวัดแพร่ ยังเป็นแหล่งที่มี ภูมิทัศน์และชีวิตวัฒนธรรมของคนล้านนาด�ำรงอยู่อย่างค่อนข้างสมบูรณ์
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
85
สืบสานวัฒนธรรม
สมาชิกกลุ่มโครงการแลยมชมแอ่งวังชื้น มีความมุ่งมั่นในการสืบสานวัฒนธรรมล้านนาโดย
พัฒนาคน
โดยการจัดตั้งกลุ่มบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว จ�ำนวน 50 คน สร้างภาคีเครือข่ายในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจที่พัก กลุ่มธุรกิจอาหาร กลุ่มธุรกิจไกด์น�ำเที่ยว กลุ่มธุรกิจรถบริการน�ำเที่ยว เพื่อพัฒนาให้ “แลยมชมแอ่งวังชิ้น” เป็นสถานที่ท่องเที่ยวอย่างครบวงจร โดยประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวพร้อมเรื่องราวเส้นทางหลัก 5 เส้นทาง ได้แก่ • เส้นทางวัฒนธรรมชนเผ่ากะเหรี่ยง • เส้นทางชมเมืองวังชิ้น • เส้นทางน�้ำตกและอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัยม่อนฤาษี น�้ำพุร้อนแม่จอก พระธาตุขวยปู 1300 ปีส่วนทุเรียนและ ชาอายุมากกว่า 100 ปี • เส้นทางเจ้าหลวงหมื่นด้น ม่อนอินทรีย์ ภูแม่อ่าง • เส้นทางสายไหมและผ้าย้อมสีธรรมชาติ พร้อมทั้งจัดท�ำโฆษณาประชาสัมพันธ์ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ผ่านสื่อต่างๆ เช่น คลิปวีดีโอ ป้ายโฆษณา แผ่นพับ สื่อวิทยุ รวมทั้งมีการจัดท�ำหน้าเว็บเพจของกลุ่มอีกด้วย
พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการท่องเที่ยว
เพื่อให้กระบวนการจัดการของการท่องเที่ยวเป็นไปอย่างครบวงจร ทั้งการจัดสถานที่ การขนส่ง อาหาร ที่พัก มาใช้ให้สอดคล้องกับการเกษตรอย่างพอเพียง ร้านพลังปัญญาแห่งนี้ จะขายผลิตภัณฑ์จากชุมชนใน อ�ำเภอวังชิ้น เป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผ้าทอ ข้าวอินทรีย์ และกล้วยหอมทองอบกรอบ ซึ่งกล้วยหอมทองถือเป็นสินค้าอันดับหนึ่งของที่นี่ เนื่องจาก ได้น�ำหลักคิดจากศาสตร์พระราชาที่ได้รับการอบรมจากโครงการพลังปัญญาไปปรับใช้ พร้อมทัง้ ปรับปรุงบรรจุภณ ั ฑ์ หีบห่อต่างๆ ตามค�ำแนะน�ำของ ดร.พีระพงษ์ กลิน่ ละออ เพือ่ ให้สนิ ค้าดูโดดเด่น สะดุดตา รวมทัง้ เรือ่ งการจัดวางและหาสินค้ามาจ�ำหน่ายให้หลากหลายเพิม่ มากขึน้ ด้วย สินค้าทีไ่ ด้ยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์บริการ ชุมชนในนามกลุ่มพลังปัญญา เช่น น�้ำมันงาสกัดเย็น แปรรูปกล้วยหอม ผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผักปลอดสารพิษงาน เฟอร์นิเจอร์ และของประดับตกแต่ง ฯลฯ ส�ำหรับช่องทางการขาย ควรติดต่อร้านอาหารต่างๆ เพื่อรับซื้อข้าวโดยตรง นอกจากนี้ ยังต้องการเชื่อมโยงเข้า กับจุดท่องเที่ยวต่างๆ ภายในอ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ อาทิ อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย และบ่อน�้ำร้อนแม่จอก เพื่อให้เกิด รายได้ครบวงจร 86 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ร่วมมือกันในท้องถิ่น ไม่ต้องรอใคร
การใช้ศาสตร์พระราชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามห่วงสองเงื่อนไข
การใช้ศาสตร์สากล ค�ำนึงถึง 4 หลัก คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
หลักในการพัฒนา การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ในสมาชิกของกลุ่มที่ด�ำเนินงานเชื่อว่าการพัฒนาท้องถิ่นหรือ ภูมิล�ำเนาของตนไม่จ�ำเป็นต้องรอให้ใครท�ำหรือเริ่มด�ำเนินการ หากแต่พวกเราฐานะคนที่อยู่ในพื้นที่สามารถร่วมมือร่วมใจกัน ก็จะเกิดประโยชน์ในภาพรวมได้ การใช้ศาสตร์พระราชา
• ค�ำนึงถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ สามห่วงสอง เงื่อนไข ในการด�ำเนินงาน
การใช้ศาสตร์สากล
• ในการด�ำเนินงานของโครงการแลยมชมแอ่งวังชิ้น ค�ำนึงถึง 4 แนวทางหลักของโครงการพลังปัญญา คือ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เป็นหลัก
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย
“วัง” ภาษาเหนือแปลว่า แอ่งน�้ำลึก “ชิ้น” เพี้ยนมาจาก จิ้น ภาษาเหนือแปลว่า เนื้อ เช่น จิ้นหมู จิ้นงัว จิ้นไก่ จิ้นควาย เนื่องจากแม่น�้ำยมในบริเวณนี้มีดินโป่งที่สัตว์ป่าลงมากินชุกชุม นายพรานจึงชอบ มาล่าสัตว์บริเวณนี้ เมื่อล่าได้ก็ช�ำแหระเนื้อและล้างที่บริเวณนี้ จึงได้ชื่อว่า “แอ่งวังชิ้น” พลังปัญญา
POWER of WISDOM
87
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
ชม ชิม ช้อป แม่ระวาน จังหวัดตาก
ผู้เข้าร่วมโครงการ นายมงคล ธิอุด นายกิตติ วงษ์เมืองแก่น นางสมใจ วังสินธร นางสาวปราณี ตั้งน้อย นางสาวอัญชลี ชัยแจ้ง นางชุติญา สิทธิวงศ์ นายธเนตร ธิอุด นางมยุรี แก้วใส นางสุชานุช อ๊อดทรัพย์ ทุนเดิมของแม่ระวาน
นายพงษ์สิริ นนทะชัย นางกฤตพร ตั้งน้อย นางชลิตา เกษก�ำจร นางสาวสมจิตต์ วงษ์เมืองแก่น นางจุฑารัตน์ ค�ำภิโร นางปราณี วงษ์เมืองแก่น นางปราณี ทับละคร นางทอน ชาวค�ำเขต
บ้านแม่ระวานเป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บริเวณรอบเขื่อนภูมิพล ซึ่งเป็นเขื่อนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีวัฒนธรรมแบบ ล้านนาผสมภาคกลาง มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน แม้แต่เยาวชนก็สนใจเข้าวัดเข้าวาร่วมกันท�ำบุญในวันส�ำคัญ ทางศาสนา คนในชุมชนมีรูปแบบการนับถือกันแบบเครือญาติจึงท�ำไห้ชุมชนเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง เมื่อคนในชุมชนจะท�ำอะไร จะมีการไหว้วานช่วยเหลือกัน จนได้ชื่อว่าบ้านแม่ระวาน 88 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
สู่การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน
ชุมชนบ้านแม่ระวานมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง กระทั่งได้เข้ามาเรียนรู้กับโครงการพลังปัญญาจึงสามารถน�ำ ความรู้ที่ได้มาไปต่อยอดอย่างไม่ยากเย็น ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันเป็นอย่างดีของคนในชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน พัฒนาศักยภาพ สมาชิกและคณะกรรมการให้ด�ำเนินงานได้ตามมาตรฐานพลังปัญญา ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
มีการจัดเก็บข้อมูลส�ำคัญของหมู่บ้าน และน�ำมาวิเคราะห์จัดเวทีการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นศูนย์รวมของการถ่ายทอด องค์ความรู้ต่างๆ ซึ่งนอกจากจะพัฒนาชุมชนแล้ว ยังสามารถสร้างบุคคลที่จะไปพัฒนาชุมชนต่อไปในอนาคต มีการประชุม เพื่อแจ้งข่าวสารทุกเดือนเพื่อให้ทุกคนในชุมชนรับรู้ และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เมื่องานส�ำเร็จ มีการสรุปบทเรียนเพื่อให้ เห็นถึงปัญหาและอุปสรรคในงานที่ด�ำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อเป็นบทเรียนในการท�ำงานครั้งต่อๆ ไป เกษตรแนวใหม่
มีการวางแผนการใช้นำ�้ ให้สอดคล้องกับการเพาะปลูก โดยการสร้าง คลองส่งน�้ำหรือคลองไส้ไก่ ให้ทั่วถึง และครอบคลุมพื้นที่การเกษตรให้ได้ มากที่สุด อีกทั้งยังมีการสร้างแก้มลิงในป่าชุมชน เพื่อเป็นการส�ำรองน�้ำไว้ใช้ ในยามฉุกเฉิน ปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเดี่ยวมาเป็นสวนแบบผสมผสม ให้มีการ พึง่ พากันของพืชแต่ละชนิดภายในสวน เพือ่ ลดการใช้ปยุ๋ เคมี มีการเรียนรูก้ าร ท�ำปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ปลูกผักปลอดสารพิษ ปลูกข้าวปลอดสารพิษ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในหมู่บ้านเรื่องการเพาะปลูก เมื่อรู้ว่า จะแล้ง แทนที่จะปลูกพืชก็หยุด แล้วเปลี่ยนมาเลี้ยงสัตว์ โดยการเลี้ยง โคขุน ซึง่ เป็นการเลีย้ งวัวทีม่ คี ณ ุ ภาพ สามารถสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน อาหาร ทีใ่ ช้ในการเลีย้ งวัวคือหญ้า จากเมือ่ ก่อนทีป่ ลูกกันมากมายหลายพันธุแ์ ต่ไม่มี คุณภาพ ก็ปรับเปลีย่ นมาปลูกหญ้าเนเปียร์ โดยการสับหญ้าให้ละเอียดก่อนที่ จะให้วัวกิน เพราะวัวจะกินได้ทั้งหมด ลดการสูญเสียหญ้าอีกด้วย พลังปัญญา
POWER of WISDOM
89
พัฒนาผลิตภัณฑ์
ชุมชนแม่ระวานนิยมปลูกข้าวหมอมะลิ 105 โดยปลูกไว้ทานเองในครัวเรือน แม้ได้ขา้ วไม่มากนักแต่กพ็ อให้เหลือขาย จึงได้จดั ตัง้ กลุม่ ข้าวชุมชน โดยซือ้ ข้าวจากสมาชิกในราคาแพงกว่าท้องตลาด แล้วน�ำมาแปรรูปเป็นข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวกล้อง หอมมะลิ 105 ข้าวไรซ์เบอรี่ ออกจ�ำหน่ายให้แก่ผู้ที่สนใจในราคาย่อมเยา ซึ่งนอกจากสร้างได้ให้กับสมาชิกแล้ว ยังเกิดการ จ้างงานภายในชุมชนอีกด้วย กล้วยน�ำ้ ว้าเป็นอีกหนึง่ ผลผลิตทีม่ มี ากในชุมชนแม่ระวาน แต่กอ่ นส่งขายให้พอ่ ค้าคนกลางซึง่ ได้ราคาไม่มาก ไม่สามารถ น�ำมาเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้ จึงส่งเสริมให้มีการแปรรูป โดยการท�ำกล้วยตาก นอกจากนี้ยังมีกล้วยไข่ ที่ได้ค้นคว้าเรียน รู้การแปรรูปเป็นกล้วยอบแห้งเคลือบคาราเมล และสามารถปรับเพิ่มได้อีกหลายรสชาดตามความนิยมของผู้บริโภค เป็นการ เพิ่มมูลค่าทางการตลาด อีกทั้งยังมีการพัฒนาหีบห่อ บรรจุภัณฑ์ให้มีความทันสมัยเป็นที่น่าสนใจอีกด้วย ชุมชนแม่ระวานจึงเป็นหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็ง มีการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพือ ่ ให้คนในหมูบ ่ า้ นได้อยูด ่ ก ี น ิ ดี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดหลัก
การใช้ศาสตร์สากล
รวมกลุ่มด�ำเนินการ เพื่อให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์
90 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ปรับปรุงดิน วิเคราะห์ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• มีการผสมผสานนักปราชญ์แต่ละด้านในการรวมกลุ่มเพื่อ ด�ำเนินโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ • น�ำองค์ความรู้ปราชญ์ชาวบ้านมาใช้ในแต่ละพื้นที่การเกษตร เช่ น การปรั บปรุ ง ดิ น การวิ เ คราะห์ ดิ น เพื่ อ ให้ พื้ นที่ นั้ น ๆ ใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
น้อมน�ำหลักค�ำสอน มาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
ด�ำเนินการตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง
• การด�ำเนินการโครงการเป็นไปตามหลักการเศรษฐกิจ พอเพียง • การน้อมน�ำหลักค�ำสอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการใช้ชีวิตประจ�ำวัน
การใช้ศาสตร์สากล
ท�ำเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ www.maerawan.com
น�ำความรู้ใหม่ๆ ส่งเสริมให้สินค้า ทันสมัยมากขึ้น
บันทึกข้อมูล ขั้นตอนต่างๆ เพื่อหาสิ่งที่ดีที่สุด
การใช้ศาสตร์สากล
• มีการน�ำเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโดยการท�ำเว็บไซด์เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์โครงการ www.maerawan.com • มีการใช้เครื่องจักรท�ำการเกษตรเพื่อลดค่าใช้จ่ายและเป็นเครื่องทุ่นแรงอีกทั้งยังประหยัดเวลา • มีการทดลอง จดบันทึก เก็บข้อมูลถึงขัน้ ตอนการเพาะปลูกและการท�ำการเกษตรต่างๆ เพือ่ หาสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ทัง้ เรือ่ งการ เพิ่มผลผลิต การลดค่าใช้จ่าย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
91
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
มหัศจรรย์สายน�้ำแร่ แจ้ซ้อน จังหวัดล�ำปาง ผู้เข้าร่วมโครงการ นายภาคภูมิ ติ๊บดี นายช�ำนาญ เลียบโลก นางสาวนงคราญ เชื้อทอง นางค�ำหล้า อัดเส นายวิชัย สุตา นายสมบูรณ์ จังกา นายอุทัย ต้อนรับ นายทัตชนน แก้วค�ำเครือ นางสมคิด บุตรปะสะ นางสาวปวัณภรณ์ ลับแล นางโสภา อนุจร
92 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นายเมธา นายค�ำสุข นายจักรพงษ์ นางสุภา นางทองเพียร นางอัมพร นายอุดม นายสอง นายค�ำมูล นางละเอียด นายเอกวิทย์
งอกงาม พอใจ นันต๊ะเสน แต้มดื่ม ลี้สกุล หวานแหลม ท�ำบุญ จ�ำกัด รักพงษ์ ใจวัง ถามาด
นายสมพล นายสมบรณ์ นางละมัย นายเทียง นายศรีรัตน์ นางละออ นางศรีลา นางทักษิณา นางทนันญา นายทวี นางจินตนา
การดี ปัญญาพนาสิทธิ์ ท�ำเหล็ก ปันดี ปัณพงษ์ไพรวัณฑ์ อายุยืน ดุกล้า สุวรรณรักษ์ ไชยนุวงค์ อายุมั่น ธรรมเวช
สายน�้ำแร่ แจ้ซ้อน
แหล่งท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ ทีไ่ ด้รบั ความนิยม ด้วยสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์และเป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร โดยการด�ำเนิน งานตามแนวพระราชด�ำริ ในการใช้พลังงานน�้ำธรรมชาติ มาประยุกต์เป็นสถานที่ท่องเที่ยว โดยด�ำเนินงานอย่างสอดคล้อง เป็นประโยชน์ ส่งเสริมการอนุรักษ์และการรักษาสภาพแวดล้อมให้คงอยู่อย่างยั่งยืน บ่อน�้ำร้อนแจ้ซ้อน เป็นแหล่งน�้ำพุร้อนที่มีสภาพการเกิดทางธรณีวิทยา จ�ำนวน 9 บ่อ มีกลิ่นก�ำมะถันอ่อนๆ มีโขด หินน้อยใหญ่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป และมีไอน�้ำลอยครุกรุ่นขึ้นมาจากบ่อ สัมผัสได้ถึงกลิ่นไอแห่งสุขภาพ มีอุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ 70-80 องศาเซลเซียส นักท่องเที่ยวนิยมน�ำไข่ไก่และไข่นกกระทามาแช่ ประมาณ 15-17 นาที จะได้เป็นไข่ต้มที่มี ไข่แดงแข็งรสชาติมันอร่อย ส่วนไข่ขาวจะเหลวคล้ายมะพร้าวอ่อน ต่อยอดจากสายน�้ำแร่
จากเดิมโครงการฯ มีความตั้งใจจะด�ำเนินงานโดย มุ่งเน้นด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นหลัก แต่หลังจาก ได้เข้ามาเรียนรู้ในโครงการพลังปัญญา ท�ำให้เกิดการคิดนอก กรอบ คิดใหม่ ท�ำใหม่ ในเมื่อพื้นที่ด�ำเนินโครงการมหัศจรรย์ สายน�้ำแร่ แจ้ซ้อน มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม ทีส่ ามารถดึงดูดนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและต่างชาติได้มากอยู่ แล้ว น่าจะท�ำอะไรที่เป็นการต่อยอดจากตรงนี้มากกว่า จึงเกิด แนวคิดในการพัฒนาสินค้าและบริการ โดยสร้างกระบวนการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ในชุมชนด้วยน�้ำแร่แจ้ซ้อน เช่น ข้าวปลอด สารปลูกด้วยน�้ำแร่ ผักปลอดสารปลูกด้วยน�้ำแร่ กาแฟน�้ำแร่ และอื่นๆ
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
93
มีแนวทางในการด�ำเนินงานคือ
1. สร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการท�ำโครงการกับกลุ่มเป้าหมายในกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชนที่มีอยู่เดิม จ�ำนวน 7 กลุ่ม ดังนี้ • กลุ่มปลูกกล้วยหอมไต้หวัน • กลุ่มเลี้ยงวัว • กลุ่มท�ำปุ๋ยอินทรีย์ • กลุ่มโฮมสเตย์
• กลุ่มกาแฟ • กลุ่มปลูกข้าวปลอดสาร • กลุ่มปลูกผักปลอดสาร
2. ฝึกอบรมขยายผล ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการพลังปัญญา 3. ฝึกอบรมเรื่องการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ปรับรูปแบบ บรรจุภัณฑ์ ท�ำแบรนด์สินค้า ออกแบบสติ๊กเกอร์ให้กับกลุ่มต่างๆ ในชุมชน นอกจากนี้ยังน�ำความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานในประเทศญี่ปุ่นมาปรับใช้ในโครงการดังนี้
1. บ้านพักเกษตรต�ำบลที่ช�ำรุดทรุดโทรม ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหม่ให้เกิดประโยชน์ โดยเปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร และห้องบรรจุผลิตภัณฑ์ข้าวสายน�้ำแร่แจ้ซ้อน พื้นที่รอบอาคารสร้างมูลค่าเป็นตัวอย่างให้กับคน ในชุมชน เช่น ท�ำโรงสีข้าว ท�ำปุ๋ยหมัก ปลูกพืชชนิดต่างๆ เพื่อการศึกษาเรียนรู้ ร่วมแบ่งปันชุมชนอื่นๆ 2. มีการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับของดีแต่ละหมู่บ้าน เช่น วัด วิถีชีวิตชุมชน เรียบเรียงให้เข้ากันเป็นเรื่องราว พัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการขายสินค้าคู่กับการการท่องเที่ยวและวัฒนธรรม มีแหล่งท่องเที่ยวหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ เช่น วัด ไม้จิเลียม ดอกเสี้ยวบาน อุทยานฯ ท�ำให้ทางกลุ่มเกิดการขายและมีรายได้ 3. เชื่อมโยงกับการปลูกพืชเชิงการท่องเที่ยวในรูปแบบการศึกษาดูงานเชิงธุรกิจ เที่ยวไปกินไป เที่ยวไปซื้อไป โดยเน้นไม้ผลที่มีอยู่ในชุมชน เช่น ไร่กล้วยหอม ไร่มัลเบลอรี่ ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มมากขึ้น 4. ปรับปรุงอาคารสถานที่ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือบ้านที่ไม่มีใครอาศัย เป็นการท่องเที่ยวนอนโฮมสเตย์ ให้นักท่อง เที่ยวได้ทานข้าว ทานผักผลไม้ ปลอดภัยไร้สารพิษ ได้ศึกษาเรียนรู้ถึงวิธีการปลูก ดูแล เก็บรับประทาน หุง ผัด ต้ม แกง ด้วยตัวเอง 94 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
หลักในการพัฒนา การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำสมุนไพรพื้นบ้านมา ท�ำนํ้ายาเอนกประสงค์
เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้
• ได้มีการประยุกต์เอาสมุนไพรพื้นบ้านมาท�ำน�้ำยา เอนกประสงค์หลายรูปแบบ เช่น แชมพู น�้ำยาล้าง จาน เป็นต้น • เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ พร้อมที่จะให้ความรู้ผู้ที่สนใจ อยู่เสมอ
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
ยืดถือหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ใช้หลักการทรงงาน
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชา
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์สากล
กระจายสินค้าให้เป็นที่รู้จัก โดยการใช้อินเตอร์เน็ต
• สืบค้นช่องทางการขาย หรือการกระจายสินค้าให้ เป็นที่รู้จัก ด้วยการใช้ Internet ในการค้นหาข้อมูล
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
95
เกษตรท่องเที่ยว
โครงการพลังปัญญา
ระบบใหม่สวนม่อนแก้ว จังหวัดแพร่ ผู้เข้าร่วมโครงการ พ.ต.ท ธนันท์เศรษฐ์ นายวิวัฒน์ นายอดิศักดิ์ นายสิทธิกร นางจิรา
อาจโพธิ์ (ประธานโครงการ) หวานแก้ว สุขสม ทองทับ หวานแก้ว
เปลี่ยนความคิด ชีวิตเปลี่ยน
นางวรรณา นางอุไรพร นางวัลย์ณรัตน์ นางรัชนี นายชวิศ
ทองทับ บุญมา อาจโพธิ์ เวียงค�ำ ไชยบุญเรือง
พ.ต.ท. ธนันท์เศรษฐ์ อาจโพธิ์ ผูน้ ำ� โครงการระบบใหม่สวนม่อนแก้ว น�ำความรูท้ ไี่ ด้จากการอบรมโครงการพลับปัญญา มาพัฒนา ปรับเปลี่ยนวิธีคิดจากการใช้ชีวิตแบบเดิมๆ ของคนในชุมชน โดยมีเป้าหมายสร้างพื้นฐานของครอบครัวให้เข้มแข็ง ลดค่าใช้จ่ายและมีรายได้เพิ่มให้กับครอบครัว ลดภาระหนี้สินของตนเองและครอบครัว ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่สร้างความ สมดุลให้กับสวน พร้อมกับดูแลสภาพแวดล้อม ให้กลับมาอุดมสมบูรณ์ สู่ความสมดุลแบบยั่งยืน
96 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ท�ำอย่างไร ให้ชีวิตเปลี่ยน
มีการปรับภูมิทัศน์ของพื้นที่ตัวอย่าง 2 ไร่ ด้วยการสร้างแปลงพืชผักสวนครัวและไม้ยืนต้นบางชนิด แต่เนื่องจากการ ส�ำรวจพบว่าในพื้นที่ไม่มีแหล่งน�้ำใกล้เคียง จึงต้องใช้เนื้อที่ประมาณ 10 × 10 × 3 เมตร ขุดสระน�้ำ เพื่อใช้เป็นแหล่งน�้ำ และ เพาะเลี้ยงปลา จ�ำนวน 3,000 ตัว มีการปรับปรุงโครงสร้างอาคารเดิมให้เป็นประโยชน์ ด้วยการใช้โรงจอดรถเดิมท�ำเป็นห้อง ประชุมของศูนย์การเรียนรู้ฯ การปลูกพืชและผลไม้ยืนต้น โดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่หนึ่ง
ขึ้นแปลงผักขนาด 3 X 1.5 เมตร จ�ำนวน 5 แปลง - แปลงที่ 1 ปลูกผักชี - แปลงที่ 2 ปลูกสาระแนและปลูกไผ่ - แปลงที่ 3 ปลูกผักบุ้งจีน - แปลงที่ 4 ปลูกผักกาด - แปลงที่ 5 ปลูกกวางตุ้ง พื้นที่บริเวณรอบนอกของแปลงใช้ปลูกพืชจ�ำพวก ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ชะอม โหระพา กระเพรา พริกมะเขือพวง ขมิ้น ผักกูด ผักบุ้ง บอน ตามสภาวะความชื้นของดิน ส่วนพื้นที่ที่เป็นดินดอนใช้ปลูกมะขาม ยอดเหลียง ยอดมันปู ระยะที่สอง
ท�ำการลงไม้ยืนต้นในพื้นที่ 800 ตารางวา • ปลูกมะละกอฮอลแลนด์ห่างกันประมาณ 2 × 2 เมตร ปลูกกล้วยระหว่างต้นมะละกอเพื่อรักษาความชื้นและเป็น ร่มเงาให้กับต้นไม้ที่ต่างๆ • ปลูกสะตอพันธุ์พื้นเมืองภาคใต้ (สะตอ 3 ปี) ไว้ทั้งสี่มุมของสวน • แถวเดียวกันห่างจากต้นสะตอ 3 เมตร พื้นที่ที่เหลือปลูกมะพร้าว มะนาว ทุเรียน สลับกันไปตลอดทั้งแถว • แถวถัดไปลงส้มระยะห่าง 4.5 × 4.5 เมตร และปลูกมะนาว ขนุน มะขาม สลับกันไปตามความเหมาะสม • หว่านถั่วใดก็ได้ที่สามารถหาได้ในพื้นที่ เพื่อใช้ในการคลุมดิน และสร้างออกซิเจนให้กับดิน • เมื่อพืชและพันธุ์ไม้เริ่มฟื้นตัวจึงเริ่มบ�ำรุงด้วยปุ๋ยอินทรีย์ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
97
จากการเข้าร่วมโครงการพลังปัญญาท�ำให้เกิดความรู้ และการพัฒนาตนเองที่เปลี่ยนแปลงอย่าง
มากมายทัง ้ กระบวนการคิดทีก ่ ว้างขวางรอบด้านขึน ้ การประเมินผลสถานการณ์ได้รอบคอบ รอบด้านขึน ้ มีการไตร่ตรองอย่างเป็นระบบโดยการใช้เหตุและผลตามศาสตร์ต่างๆ ร่วมด้วย
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ใช้ความรู้ด้านการเกษตร เกี่ยวกับการปลูกพืช 4 ขั้น
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• มีการใช้องค์ความรู้ด้านการเกษตรเกี่ยวกับการปลูกพืช 4 ขั้น ประกอบกับการด�ำเนินงานของโครงการฯ การใช้ศาสตร์พระราชา หลักเศรษฐกิจพอเพียง การท�ำเกษตรผสมผสาน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ใช้แนวคิด หลักเศรษฐกิจพอเพียง การท�ำเกษตรผสมผสาน เป็นหลักในการเขียนโครงการฯ
98 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ประเภท
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
99
100 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
Power Clean จังหวัดบึงกาฬ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายคณภรณ์ นายเสรี นายสมชาย นายมนตรี นายไสว นายโชคดี น.ส.ประยูร นายภัทรกร นางกาญจนา นางอภิสรา นางมุกดา นางเสวย
โสข�ำโชคอนันต์ ราชครู อาสาจิตร ไพรนาทม บุญมี คุณโดน จิบจันทร์ ภูมิธนยศ คุณสิงห์ สารโยธา ภูมิภาค ค�ำก้อน
นางแจ่มใจ น.ส.พัชรินทร์ นางวนิดา นางมาลี นางบุญยัง นายธงชัย นายศักดิดา นายอุดร นายกุศุล นายภาณุวัฒน์ น.ส.พิยะดา นางชวะลี
บุญสงค์ วิชัยสิงห์ กว้างขวาง มาลัยกุล เสาะถ่าน จิตรนาม ดงประขา ยุทธษา ผัดเชตร ดวงตะวงษ์ ทุมช้าย ชัยรัตน์
นายศิรเชษฐ์ นางจ�ำรัส นายสมควร นายอ�ำนวย นายปรีชา นางศศิวรรณ นางปิ่นแก้ว นายทวีวรรณ นายรังสันต์ นายศุภกิจ นายศุภสิน
ศรีจอมพล สุวรรณวงค์ เพิงคูณ โพธ์มุญเรือง น้อยตาแสง จันทร์ โคตรรัตน์ สาธรรมชัย วิบูลสินธ์ สาธรรมชัย ประสงค์เส
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
101
เรียนรู้จากประสบการณ์ด้านลบ
เกษตรกรในต่างจังหวัดมักจะขาดข้อมูลด้านการตลาด และมักตกเป็นเหยื่อของกลุ่มพ่อค้านายทุน ที่มาให้ความ หวังว่าจะลืมตาอ้าปากได้ ในรูปแบบของพืชเกษตรใหม่ๆ และแฝงมาด้วยการขายปุ๋ย ยาฆ่าแมลงหรือมาในรูปแบบของแชร์ ลูกโซ่ มันเป็นธรรมดาเมือ่ มีเกษตรกรปลูกพืชชนิดใหม่ๆ ทีแ่ ตกต่างไปจากพืชท้องถิน่ เมือ่ ผลผลิตออกช่วงแรกๆ จะราคาดีมาก เมื่อราคาดีเกษตรกรในท้องถิ่นก็จะหันมาปลูกกันอย่างรวดเร็วเพราะคิดแค่ว่าราคางาม ไม่นานนักผลผลิตก็จะเริ่มล้นตลาด ราคาก็จะเริ่มตกต�่ำ เกษตรกรก็จะกลับมาสู่วงจรเดิมๆ อีกครั้งนั่นคือเริ่มเป็นหนี้ เพิ่มพูนรายได้จากการแปรรูปผลผลิตที่ไม่มีราคา
โครงการ Power Clean บึงกาฬ ใช้แนวคิดจากโครงการพลังปัญญาลงสู่ชุมชนละพื้นที่ใกล้เคียง และเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายให้แก่สมาชิกในกลุม่ ด้วยการผลิตน�ำ้ ยาล้างจาน น�ำ้ ยาซักผ้า จากสัปปะรด ซึง่ สัปปะรดเป็นพืชทีเ่ กษตรกรในจังหวัด บึงกาฬนิยมปลูก การผลิตเพื่อใช้และจ�ำหน่ายในชุมชนนั้นเป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจาก บ่อยครั้งที่ประสบปัญหาราคาตกต�่ำ หรือผลผลิตตกเกรดท�ำให้ขายไม่ได้ราคาน�ำมาหมักเป็นเอมไซม์ เพื่อใช้เป็นสารตั้งต้น ส�ำหรับการผลิตน�้ำยาซักผ้า, ครีมอาบน�้ำและน�้ำยาล้างจาน
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการ Power Clean บึงกาฬ ด�ำเนินกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม คือ
1. พัฒนาคน โดยการขยายเครือข่ายตามหลักการพลังปัญญาสูค่ นในชุมชนและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ในการเรียน
รู้เรื่องการปลูกพืชแบบผสมผสานเพื่อไม่ให้ผลผลิตตกต�่ำ และการให้ความรู้ในการแปรรูปผลผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นอาหาร น�้ำยาล้างจาน น�้ำยาซักผ้า รวมถึงครีมอาบน�้ำ สินค้าเหล่านี้มีราคาดีและเก็บได้นานสามารถ ส่งขายได้ทั่วประเทศ
2. พัฒนาพืน ้ ที่ พัฒนาพืน้ ทีใ่ ห้เป็นศูนย์การเรียนรูต้ น้ แบบด้านการเกษตรครบวงจร การปลูกพืชหมุนเวียน
ท�ำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์สามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี และการมองตลาดระยะยาวเพื่อให้ในชุมชนปรับเปลี่ยน การเพาะปลูกให้ตรงกับความต้องการของตลาด เพื่อให้สามารถผลิตสินที่ตรงกับความต้องการอย่างเพียงพอ รวมถึง การเพราะปลูกเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปอย่างจริงจัง 102 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการ Power Clean บึงกาฬ ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำนํ้าหมักสับปะรด
ถนอมอาหาร ในรูปแบบต่างๆ
น�ำเศษวัสดุเหลือใช้ ผลิตอาหารสัตว์ และปุ๋ย
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการท�ำน�้ำหมักสับปะรด มาประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ผลิตผลิตทางการเกษตรมาสร้างมูลเพิ่ม เช่น การถนอมอาหารในรูปแบบต่างๆ • ได้น�ำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตอาหารสัตว์และปุ๋ยเพื่อลดต้นทุน การใช้ศาสตร์พระราชา
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ส่งเสริมให้เกษตรกรในพืน้ ทีป่ รับเปลีย่ นแนวความคิดมา ท�ำเกษตรผสมผสานโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด�ำเนินโครงการ
ปรับเปลี่ยนแนวคิด ท�ำเกษตรผสมผสาน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
103
การใช้ศาสตร์สากล
ศึกษาเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาสินค้า
การใช้ศาสตร์สากล
ใช้เครื่องจักรใน กระบวนการผลิต
เจาะกลุ่มลูกค้า ออนไลน์
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาปรับประยุกต์ ใช้พัฒนาสินค้ากลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • มีการประยุกต์ใช้เครื่องจักรมาใช้ในกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต และน�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่องเรียนรู้ การทางตลาดออนไลน์เพื่อเจาะให้ตรงกลุ่มลูกค้าเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย
104 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
กล้วยเร็วสุขล้น จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายวีระ นางสาวค�ำปน นายธวัชชัย นายสมบูรณ์ นางติ้ม นายสกุล นางหนูนิล นายบ�ำเพ็ญ
สิทธิสาร (ประธานโครงการ) ร้อยศรี สุรัตน์ ส�ำรวมรัมย์ รัชนี แก้วเลื่อน ส�ำรวมรัมย์ ขายม
นายบุญโฮม นางอ�ำนวย นางติ้ม นางค�ำพลอย นางลา นายทวี นางสุวิมล
ร้อยศรี ศรีคล้าย รัชนี ร้อยศรี สร้อยสระกลาง สะเทินรัมย์ วิเชียรศรี
ท�ำชีวิตให้เป็นเรื่องกล้วยๆ
ที่ผ่านมาชาวบ้านในชุมชนมีวิถีชีวิตในวงจรซ�้ำเดิมมาตลอด การเพาะปลูกหลักคือข้าวหลังจากเก็บเกี่ยวแล้วก็ว่าง ไม่มีอะไรท�ำ ท�ำให้ชีวิตขาดรายได้หมุนเวียนหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว จนท�ำให้ต้องกู้หนี้ยืมสินมาต่อชีวิตหลังจากเก็บเกี่ยวก็ใช้ หนี้เก่าหมุนเวียนแบบนี้ไม่มีจบสิ้น “โครงการกล้วยเร็วสุขล้น” เป็นโครงการที่จะช่วยให้ชาวบ้านกับมาอยู่ดีกินดีโดยไม่ต้อง พึ่งพาเงินเพียงอย่างเดียว ปกติกล้วยถูกมองว่าเป็นพืชที่ไม่มีความส�ำคัญอะไรนัก แต่ถ้ารู้จักพลิกฟื้นตามแนวคิดโครงการ พลังปัญญา ชีวิตก็จะกลายเป็นเรื่องกล้วยๆ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
105
ท�ำเงินแบบกล้วยๆ
กล้วยเป็นพืชที่ปลูกง่ายดูแลง่าย ผลกล้วยสามารถรับประทานได้ทั้งผล ผลดิบก็แปรรูปได้ผลสุกก็แปรรูปได้ รวมถึง เมนูคาวหวานจากผลกล้วยที่หลากหลาย “โครงการกล้วยเร็วสุขล้น” สนับสนุนความรู้ในการปลูกขยายพันธุ์ และแปรรูป แบบครบวงจรให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้มีรายได้เพิ่มเติมหลังฤดูเพาะปลูก กล้วยเป็นพืชที่มีประโยชน์มากมาย หัวปลี ก็สามารถรับประทานได้ หยวกก็รับประทานได้ หรือใช้เลี้ยงสัตว์ ต้นที่โค่นแล้วก็สามารถน�ำมาท�ำปุ๋ยได้ ใบก็สามารถขายได้ กล้วยจึงสามารถท�ำเงินได้แบบไม่ยากถ้ารู้จักแปรรูป สู่จุดหมายแบบกล้วยๆ
โครงการกล้วยเร็วสุขล้นมีกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรมคือ
1. พัฒนาคน สร้างความเชื่อมั่นและศรัทราในแนวทางการด�ำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
2. พัฒนาพืน ้ ที่ จัดประชุมก�ำหนดข้อตกลงระหว่างสมาชิกกลุม่ ร่วมวางแผนการด�ำเนินงาน และวางแผน
พอเพียง ท�ำเกษตรผสมผสานเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้คนในชุมชน พัฒนาคน ด้วยหลักการแบ่งปันด้วยความยุติธรรม และพัฒนาพัฒนาสินค้าแปรรูปอย่าง เช่น กล้วยฉาบ ให้มีความหลากหลาย เป็นการเพิ่มมูลค่า สามารถเพิ่มเพิ่มรายได้อย่างยั่งยืนให้กับครอบครัว
การผลิตอย่างครบวงตร จัดท�ำแปลงสาธิตแปลงตัวอย่างการปลูกกล้วย ค้นหาแหล่งวัตถุดบิ เพือ่ จัดหาจัดซือ้ น�ำมาแปรรูป สร้างมาตรฐานของสินค้าและสถานที่ผลิต โดยจัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือที่จ�ำเป็นส�ำหรับการผลิต ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้เหมาะสมกับตลาด ขยายจุดจ�ำหน่ายเพื่อกระจายสินค้ามากยิ่งขึ้น
106 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการกล้วยเร็วสุขล้น ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำกล้วยฉาบ เสริมรายได้
แปรรูปสินค้าเกษตร สร้างมูลค้าเพิ่ม
น�ำเศษวัสดุเหลือใช้ ผลิตอาหารสัตว์
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการท�ำกล้วยฉาบ ให้เพิ่มมูลค่า เพิ่มรายได้อย่างยั่งยืน • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูปสินค้าเกษตรและสร้างมูลค้าเพิ่มได้อย่างเหมาะสม • ได้น�ำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตอาหารสัตว์ ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุน การใช้ศาสตร์พระราชา
ท�ำการเกษตร แบบผสมผสาน
เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านการเกษตร
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เกษตรกรท�ำ เกษตรในรูปแบบผสมผสาน • ใช้หลักการทรงงานมาประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางด�ำเนิน โครงการ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ ปรับเปลี่ยน แนวความคิด เปิดเป็นฐานตืน่ รูด้ า้ นการเกษตร เป็นแหล่ง เรียนรู้ดูงานแก่บุคคลและหน่วยงานที่สนใจ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
107
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้ประยุกต์ พัฒนาสินค้าในกลุ่ม
การใช้ศาสตร์สากล
หาความต้องการ ของผู้บริโภค
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาประยุกต์ ใช้พัฒนา สินค้าในกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต เพื่อหาความ ต้องการของตลาดและน�ำมาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้สินค้าที่ตรงกับความ ต้องการของผู้บริโภค
108 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
กล้วยแกร่ง
จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นางปรมาภรณ์ นางวิระพันธ์ นางพลอยเพชร นางสงวน นางจันทร์เพ็ญ
ศรีบุญเศษ วงค์ช่าง แข็งสง่า รักษาพันธ์ ยียวน
นางทองล้วน นางเสน นางพุฒ นางทองมี นางค�ำผล
เพียเพ็ง วิชาผา ศรีบุญเศษ แก้วเก็บค�ำ บรรดิษฐ์
เปลี่ยนพื้นที่ว่างเปล่าให้เป็นผลผลิต
ปัญหาของเกษตรกรในชุมชนก็เป็นเรื่องซ�้ำเดิมคล้ายคลึงกับชุมชนอื่นๆ ด้วยรูปแบบชีวิตที่วนเวียนกับความเคยชิน ถ้าครอบครัวท�ำนาชีวิตก็มีแค่บ้านกับทุ่งนาเท่านั้น แต่ละครอบครัวค่อนข้างมีพื้นที่ท�ำกินมาก แต่มักถูกปล่อยปละละเลย กลายเป็นพื้นที่ว่างเปล่าไร้ประโยชน์ การเปลี่ยนพื้นที่ว่างเปล่าให้กลายเป็นอาหารและเงิน ตามแนวคิดของโครงการพลัง ปัญญา ให้ความรู้ในการใช้ชีวิตแบบใหม่ พลิกฟื้นพื้นที่ว่างเปล่าให้มีการปลูกพืชหลายชนิดมากขึ้นไว้บริโภคในครัวเรือน พื้นที่ใดว่างเปล่าสามารถท�ำประโยชนได้ เช่น การปลูกกล้วยตามคันนา เพื่อไว้เป็นอาหารในครัวเรือนรวมถึงการขยายพื้นที่ ปลูกให้สามารถน�ำไปขายเพิ่มรายได้อีกช่องทางหนึ่ง
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
109
แปรรูปผลผลิตให้มีเอกลักษณ์เพื่อเพิ่มมูลค่า
โครงการกล้วยแกร่ง ต้องการให้เกษตรกรอยู่ได้อย่างยั่งยืน การปลูก กล้วยสามารถน�ำผลผลิตมาจ�ำหน่ายได้หลากหลายรูปแบบ การแปรรูปกล้วย ก็ เ ป็ น อี ก แนวทางหนึ่ ง เมื่ อ ช่ ว งจั ง หวะที่ ผ ลผลิ ต ออกแล้ ว ราคาไม่ ดี นั ก หรื อ มีปริมาณมากเกินไป กล้วยสามารถแปรรูปได้หลายอย่าง ทางโครงการสนับให้ จัดซือ้ อุปกรณ์ เครือ่ งมือทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับกระบวนการแปรรูปกล้วยทีส่ ะอาดและ ทันสมัย รวมกลุ่มแปรรูปเพื่อให้เกิดรายได้ ออกแบบบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของตลาด และร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทนั สมัย ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถขายได้ง่ายขึ้น
การเดินทางของกล้วย
โครงการกล้วยแกร่ง มีกิจกรรมหลักอยู่สองแนวทางคือ 1.การพัฒนาคน เริ่มจากการเข้าไปให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการท�ำเกษตรแบบผสมผสาน
ซึ่งต้องใช้ความพยายามและเวลาพอสมควรเนื่องจากเกษตรกรเคยชินกับการใช้ชีวิตในรูปแบบเดิมๆ การให้ผู้น�ำกลุ่ม ไปให้ความรู้ในการพัฒนาพื้นที่ว่างเปล่าให้สามารถท�ำเงินได้ ส่งเสริมให้ปลูกพืชอื่นๆ ร่วมกับการท�ำนา เพื่อให้ช่วงที่ ว่างจากการเก็บเกี่ยวมีรายได้จุนเจือครอบครัวได้ตลอดเวลา
2.พัฒนาพื้นที่ โครงการกล้วยแกร่ง ผลักดันให้มีการใช้พื้นที่ว่างเปล่าปลูกกล้วยและขยายพื้นที่ออกไป
เรื่อยๆ เพื่อให้มีวัตถุดิบเพียงพอที่จะน�ำมาแปรรูปเป็นสินค้าต่างๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงการพัฒนาเพิ่มคุณภาพของดิน โดยใช้ปุ๋ยหมัก เพื่อให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ พลิกฟื้นให้ดินกับมามีสภาพอุดมสมบูรณ์ รวมถึงการใช้เศษพืชเป็นอาหาร สัตว์เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน สร้างเครือข่ายเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบส�ำคัญในการแปรรูป
110 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการกล้วยแกร่ง ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
แปรรูปอาหารจากกล้วย
น�ำเศษต้นกล้วย ท�ำเป็นอาหารสัตว์
การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืชผสมผสาน
ยึดหลักทรงงาน ในการบริหารทรัพยากร
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการแปรรูปอาหาร จากกล้วย • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ ในการน�ำเศษ ต้นกล้วยมาเป็นอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ ยึ ด ถื อ หลั ก ปรั ช ญาการปลู ก พื ช ผสมผสานมา ประยุกต์และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้ ห ลั ก การทรงงานตามศาสตร์ พ ระราชามา ประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีใน ท้องถิ่น
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
111
การใช้ศาสตร์สากล
คัดเลือกสายพันธุ์ ที่เหมาะสมกับพื้นที่
การใช้ศาสตร์สากล
ค้นหาความต้องการ ของตลาด
• ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมและวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ รือ่ งความต้องการของตลาด เพือ่ ให้การแปรรูปได้สนิ ค้า ที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
112 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ไผ่กิมซุงนอกฤดู จังหวัดนครราชสีมา ผู้เข้าร่วมโครงการ นางนลินรัตน์ นางบุญมี นายภัทรพล นางยุพิน นายวรวิทย์ นายจี้ นายโปย นายเจือ นายไพศาล นายสุธี
แก้วป้องปก (ประธานโครงการ) ปรคนธรรพ์ แก้วป้องปก เวสันเทียะ เวียนสันเทียะ โลสันเทียะ ทดสันเทียะ ชนะจอหอ ศรีสิทธิเดโช คงจันทร์
นายเกลี้ยง นางสงบ นายอนุสรณ์ นายเป้า นางลิด นายน้อย นางวีณา นายสมพงษ์ นางเสน่ นายพุ่ม
วนสันเทียะ โยธาจันทร์ ทดสันเทียะ ช่วยโคกสูง ชาติโคกสูง โกสันเทียะ เฉื่อยกลาง ใจทน ต่วนพิมาย อ่อนก�ำปัง
เพิ่มรายได้นอกฤดูเก็บเกี่ยว
เกษตรกรที่ท�ำนาเป็นหลักนั้นหลังจากที่หว่านหรือด�ำนาแล้ว ก็จะมีช่วงเวลาที่ว่างมากเพราะกว่าต้นข้าวจะเก็บ เกี่ยวได้ต้องใช้เวลาอีกหลายเดือน แม้ว่าพื้นที่รอบๆ บ้านหรือแปลงนาจะมีการปลูกพืชไว้ใช้กินในครัวเรือนก็ตามที แต่มันก็ หลีกเลี่ยงการใช้เงินไม่พ้นอยู่ดี การปลูกพืชเสริมรายได้ในระหว่างรอการเก็บเกี่ยวจึงเป็นโครงการที่ช่วยเหลือเกษตรกรได้ดี เป็นการเพิ่มรายได้ให้ชุมชนและเสริมสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ให้ทุกคนมีความสุขหมดหนี้หมดสินอย่างยั่งยืน ตามแนวพระราชด�ำริ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
113
ไผ่กิมซุงให้มากกว่าหน่อไม้?
การปลูกไผ่กิมซุงเป็นการสร้างอาชีพเสริมให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี เพราะสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ของต้น หน่อไม้สดถือเป็นอาหารทีช่ นื่ ชอบของคนทัว่ ไป หน่อไม้สามารถแปรรูปเป็นหน่อไม้ดองหรือหน่อไม้อบแห้งเพือ่ จ�ำหน่าย ได้ ส่วนล�ำต้นนอกจากใช้ท�ำเฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องใช้ในบ้านแล้ว ทั้งล�ำต้นและกิ่งยังสามารถน�ำมาผลิตเป็นถ่าน Bio-Cha เพิ่มมูลค่าได้อีก ใบไผ่สามารถน�ำมาท�ำเป็นปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในครัวเรือนและไร่นาได้ เป็นการลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ยอีกทางหนึ่ง รวมถึงการมุ่งให้เป็นศูนย์การเรียนรู้-ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการไผ่กิมซุงนอกฤดู มีกิจกรรมหลักอยู่สองแนวทางคือ 1.การพัฒนาคน เริ่มจากการเข้าไปให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องของปลูกพืชเสริมรายได้นอกฤดูการ
เก็บเกีย่ ว และการแปรรูปผลผลิตทีม่ ใี นพืน้ ทีร่ วมถึงการหาอาชีพเสริมเพือ่ เพิม่ รายได้ เกษตรจะได้ไม่ใช้เวลาว่างให้เปล่า ประโยชน์ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ถึงความต้องการของตลาดภายนอกเพื่อน�ำผลผลิตที่มีในท้องถิ่นออกสู่ตลาดให้ตรง กลุ่ม เป็นการเข้าถึงผู้บริโภคโดยตรงช่วยให้ราคาของสินค้าที่มีได้ราคามากขึ้น และสามารถมองเห็นลู่ทางในการเพิ่ม มูลค่าและรายได้ให้กับครอบครัว
2.พัฒนาพืน ้ ที่ โครงการไผ่กมิ ซุงนอกฤดู ท�ำให้เกษตรกรหันมาพัฒนาพืน้ ทีว่ า่ งเปล่าของตนเอง เพือ่ ปลูก
ไผ่กมิ ซุงและขยายพืน้ ทีอ่ อกไปเรือ่ ยๆ ในชุมชน นอกเหนือจากการบริโภคแล้วยังสามารถน�ำไปจ�ำหน่ายและแปรรูปได้ หลากหลาย การขยายพืน้ ทีป่ ลูกไปยังกลุม่ เกษตรกรเพือ่ ให้มวี ตั ถุดบิ เพียงพอทีจ่ ะน�ำมาแปรรูปเป็นสินค้าต่างๆ การน�ำ ใบไผ่มาท�ำเป็นปุย๋ หมักเพือ่ เพิม่ คุณภาพของดิน ช่วยให้สภาพพืน้ พลิกฟืน้ กลับมามีสภาพอุดมสมบูรณ์ สามารถลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี
114 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการของไผ่กิมซุงนอกฤดู ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำเครื่องจักสาร จากต้นไผ่
ท�ำหน่อไม้ดอง
เผาท�ำเป็นถ่าน
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการแปรรูปต้นไผ่ให้เป็นเครื่องจักสานเพื่อเพิ่มมูลค่า • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการถนอมอาหารเช่นหน่อไม้ดอง หน่อไม้อบแห้ง • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้การเผาถ่าน การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืชผสมผสาน
พึ่งพาตนเอง และแบ่งปัน
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ ยึ ด ถื อ หลั ก ปรั ช ญาการปลู ก พื ช ผสมผสานมา ประยุกต์และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พึงพาตนเอง เรามีพอจึงแบ่งปันต่อไป
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
115
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้ประยุกต์ ใช้กับกลุ่มอย่างเหมาะสม
การใช้ศาสตร์สากล
หาความต้องการ ของตลาดและผู้บริโภค
• น�ำความรูจ้ ากแหล่งเรียนรูอ้ นื่ ๆมาประยุกต์ใช้กบั การท�ำงานในกลุม่ ได้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ รือ่ งความต้องการของตลาด เพือ่ ให้การแปรรูปได้สนิ ค้า ที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
116 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ปลูกข่าเหลืองมังกรทอง จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสุพล ธรรมมา นายไสว คืนดี น.ส.สมภักดิ์ ฐิตะสาร นายอุดร โคตะ นายจอน ป้องญาติ นายโอภาส วามะเกตุ นายไพสี ขาวเลิศ นางปุย นะคะบัตร นางทองเหล็ก ธรรมมา น.ส.จันทร์เพ็ญ แก้วเขียว
นางสาวสมพร เกตุวัตร น.ส.อุไร โสภาพ นายสมชัย คีรีเขียว นายเสกสันต์ วามะเกตุ นายสังวาน สวัสดิ์พงษ์ นายทา โสภาพ นายหนู โขมะจิต นายสมาน ขาวเลิศ นางประกอบ ค�ำหลอม น.ส.สยา คิริเขียว
น.ส.หนูเลี่ยม เกตุวัตร นางรัศมี อาจศรี นางสมศรี คิริเขียว นางตุ้ม ตันสมรส นางเบญจวรรณ พุทธทองศรี นางขวัญนิมิต ธรรมวินัย น.ส.วาสนา วามะเกตุ น.ส.ส�ำราญ ขาวเลิศ น.ส.บัวลม เกตุวัตร นางบัวกรรณ์ ทองเทพ
รู้จักกิน รู้จักอยู่ รู้จักสร้างรายได้
เรื่องอาหารการกินถือว่าเมืองไทยมีความหลากหลายมาก ทั้งวัฒนธรรมการกิน การปรุง และการใช้เครื่องเทศ อาหารชนิดเดียวกันแค่ต่างถิ่นก็มีเสน่ห์ที่แตกต่างกันออกไป อาหารไทยใช้สมุนไพรพื้นบ้านเป็นส่วนประกอบเยอะมาก และสมุนไพรเหล่านี้หลายชนิดมีแหล่งปลูกน้อย ท�ำให้มีราคาดีเพราะการน�ำสมุนไพรไปใช้นั้นสามารถใช้ได้ท้ังแบบสด และ น�ำไปแปรรูปเป็นเครื่องปรุงแบบกึ่งส�ำเร็จรูปหรือรูปแบบอื่นๆ โครงการข่าเหลืองมังกรทองเป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะช่วยให้ เกษตรกรสามารถสร้างรายได้แบบหยั่งยืนควบคู่ไปกับการท�ำเกษตรแบบเดิมๆ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
117
ข่ามังกรทองช่วยเพิ่มรายได้
ข่าเป็นเครื่องเทศชนิดหนึ่งที่ใช้อย่างแพร่หลายในอาหารไทยใน หลายๆ เมนู ข่าเป็นเป็นพืชที่ปลูกง่ายขยายพันธุ์ง่ายและมีราคาดีโครงการ พลังปัญญาเข้ามาช่วยเกษตรกรเพิ่มพูนความรู้ ในการปลูกแบบครบวงจร ทั้งการเพาะหน่อเพื่อขยายพันธุ์ ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายและการแปรรูป เพิ่มมูลค่าอีกแนวทาง การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อขยายพื้นที่การปลูก และ การหาช่องทางในการจ�ำหน่ายเพื่อให้ได้ราคาดี เป็นโครงการที่ช่วยเสริมให้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มเติมระหว่างฤดูเก็บเกี่ยว การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการปลูกข่าเหลืองมังกรทอง มีกิจกรรมหลักอยู่สองแนวทางคือ
1. พัฒนาคน โดยปกติแล้วสมุนไพรพืน้ บ้านอย่างข่านัน้ เป็นพืชทีเ่ กือบทุกบ้านปลูก เพือ่ ให้เป็นเครือ่ งปรุง
ในครัวเรือนอยู่แล้ว โครงการพลังปัญญาเข้าไปให้ความรู้และส่งเสริมให้ปลูกเชิงธุรกิจมากขึ้น การรวมกลุ่มเกษตรกร ในโครงการนี้เพื่อรวบรวมให้ได้ผลผลิตเพียงพอที่จะจ�ำหน่ายอย่างจริงจัง มีผลผลิตมีปริมาณมากพอก็จะสามารถขาย ได้ง่ายเป็นการกระจายรายได้ได้อย่างทั่วถึงส�ำหรับชุมชน
2.พัฒนาพื้นที่ โครงการปลูกข่าเหลืองมังกรทองช่วยให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ในชุม เริ่มจากการพัฒนา
สัดส่วนของทีด่ นิ ในการเพาะปลูกพืชหลักกับพืชรองให้เหมาะสม และค่อยๆ ขยายไปยังพืน้ ทีใ่ กล้เคียงเพือ่ ให้ได้ผลผลิต เพียงพอกับความต้องการของตลาด ให้ความรู้แก่เกษตรกรในการปลูกแบบครบวงจรทั้งการขายข่าสดและหน่อพันธุ์ การใช้เศษเหลือใช้จากการท�ำเกษตรอื่นๆ มาผลิตเป็นปุ๋ยเพื่อลดค่าใช้จ่าย
118 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการปลูกข่าเหลืองมังกรทอง ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
เพาะขยายพันธุ์ข่า
น�ำเศษพืชผลิตปุ๋ย ลดค่าใช้จ่าย
แปรรูปข่าให้เป็น เครื่องปรุง
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการเพาะและขยายพันธุ์หน่อข่า • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ ในการน�ำเศษพืชอื่นๆ มาผลิตปุ๋ยเพื่อลดค่าใช้จ่าย • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูปข่าให้เป็นเครื่องปรุงชนิดต่างๆ การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืชผสมผสาน
บริหารจัดการทรัพยากร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐ์กิจพอเพียงเป็นแนวทาง ด้วยการปลูกพืชหลายๆ ชนิดส�ำหรับบริโภคเมือ่ เกินความ ต้องการก็น�ำออกจ�ำหน่าย หรือแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า • ใช้หลักการทรงงานตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นให้เกิด ประโยชน์สูงสุด พลังปัญญา
POWER of WISDOM
119
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
คัดเลือกพันธุ์ ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
แปรรูปสินค้าเกษตร สร้างมูลค้าเพิ่ม
น�ำเศษวัสดุเหลือใช้ ผลิตอาหารสัตว์
• ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมและวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ • ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการแปรรูปเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิต • ศึกษาความต้องการของตลาด เพื่อให้การแปรรูปได้สินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
120 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ข้าวใหม่ปลามัน จังหวัดยโสธร ผู้เข้าร่วมโครงการ
นายถวิล สายค�ำวงษ์ (ประธานโครงการ) นายเทิดศักดิ์ พวงทอง นายวิสิทธิ์ ปุริสา ใช้ทรัพยากรที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การท�ำนาข้าวนั้น “น�้ำ” คือหัวใจหลักที่จะหล่อเลี้ยงต้นข้าวให้เติบโต การท�ำนาในรูปแบบเดิมๆ โดยเฉพาะนาหว่าน เราจะเห็นว่าต้นข้าวเบียดเสียดยัดเยียดกันแน่นมาก ผลที่ตามมาคือแสงแดดไม่สามารถส่องถึงผิวน�้ำและล�ำต้นได้ ท�ำให้ศัตรู พืชและแมลงเจริญเติบโตได้ดี การท�ำนาด�ำแล้วเพิ่มช่องว่างระหว่างกอข้าวให้มากขึ้น ช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้และยังช่วยให้ ต้นข้าวเติบโตได้ดี ผลผลิตก็เท่าๆ กับการท�ำนาหว่าน เมื่อให้ต้นกล้าลดลงผลผลิตเท่าเดิมต้นทุนก็ต�่ำลงด้วย การใช้ประโยชน์ ร่วมกับน�้ำที่หล่อเลี้ยงข้าวคือการเลี้ยงปลาในนาข้าว ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายได้และช่วยก�ำจัดศัตรูพืชอีกทางหนึ่ง พัฒนาพื้นที่ท�ำนาให้มีประสิทธิภาพ
ตามปกติแล้วเกษตรกรมักจะท�ำนากันเต็มพืน้ ทีท่ มี่ อี ยู่ อาจจะมีพชื ชนิดอืน่ ๆ ปลูกแทรกตามคันนาหรือแนวขอบทีด่ นิ บ้าง แต่เพียงเพือ่ ใช้บริโภคในครัวเรือนเท่านัน้ ช่วงใดทีเ่ กิดภัยแล้งก็จะประสบปัญหาเรือ่ งของการขาดรายได้จนุ เจือครอบครัว ปัญหาก็จะวนเวียนกลับมาเรื่องของหนี้สินที่ไม่รู้จักจบสิ้น โครงการข้าวใหม่ปลามันจะช่วยให้เกษตรกรมีความรู้ในเรื่องของ การใช้ทฤษฎีเกษตรแบบผสมผสาน ในการแบ่งพื้นที่ท�ำนาส�ำหรับท�ำบ่อกักเก็บน�้ำและเลี้ยงปลา รวมถึงการเลี้ยงปลาท้องถิ่น ที่เติบโตเร็วในแปลงนาด้วย ช่วยให้เกษตรกรสามารถเพิ่มรายได้จากสองทาง พลังปัญญา
POWER of WISDOM
121
การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการข้าวใหม่ปลามัน มีกิจกรรมหลักอยู่สองแนวทางคือ
1. พัฒนาคน ให้มีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งทฤษฎีนี้รวมไปถึงการเลี้ยงสัตว์
ด้วย การเลีย้ งสัตว์สามารถท�ำร่วมกับการเพาะปลูกได้อย่างดี เพราะทัง้ สองอย่างนีส้ ามารถเกือ้ กูลกันได้ มูลสัตว์สามารถ น�ำมาเป็นปุ๋ยส�ำหรับพืชได้ พืชเองก็มีหลายส่วนที่สามารถน�ำมาท�ำเป็นอาหารสัตว์ได้ ดังนั้นการให้ความรู้ความเข้าใน ทฤษฎีเกษตรแบบผสมผสานนั้นสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างดี
2.พัฒนาพืน ้ ที่ ข้าวใหม่ปลามันผลักดันให้เกษตรกรจัดสรรพืน้ ให้มปี ระสิทธิภาพ แบ่งพืน้ ทีใ่ นการขุดบ่อ
เลี้ยงปลาซึ่งได้ประโยชน์สองทางด้วยกัน คือใช้เป็นแหล่งน�้ำส�ำรองในช่วงเวลาแล้ง คัดเลือกพันธุ์ปลาที่เลี้ยงง่ายโตเร็ว ในช่วงระยะเวลาทีต่ น้ ข้าวเก็บเกีย่ วได้พอดี ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้จากการเลีย้ งปลาซึง่ สามารถขายได้ทงั้ ปลาสด และ ปลาแปรรูปชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปลาแดดเดียว ปลาส้ม ปลาร้า ฯลฯ ในการด�ำเนินโครงการของข้าวใหม่ปลามัน ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการแปรรูปอาหารจากปลา • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ ในการน�ำเศษ อาหารพืช ฯลฯ มาท�ำเป็นอาหารเลี้ยงปลา แปรรูปอาหารจากปลา
122 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
น�ำเศษพืชมาท�ำ อาหารเลี้ยงปลา
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืชผสมผสาน
บริหารจัดการพื้นที่ ให้เกิดประโยชน์
การใช้ศาสตร์สากล
คัดเลือกพันธุ์ปลา ให้เหมาะกับพื้นที่
ศึกษาการเลี้ยงปลา ให้เหมาะสมกับพื้นที่
• ได้ ยึ ด ถื อ หลั ก ปรั ช ญาการปลู ก พื ช ผสมผสานมา ประยุกต์และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงานตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ ใช้ ในการบริหารจัดการพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การใช้ศาสตร์สากล
• ใช้ ค วามรู ้ ท างศาสตร์ สั ง คมและวิ ท ยาศาสตร์ มา ประยุ ก ต์ ใช้ ในการคั ด เลื อ กพั นธุ ์ ปลาที่ เ หมาะสมกั บ สภาพพื้นที่ • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ รือ่ งของการเลีย้ งปลาใน นาข้าว กระชัง บ่อ และรูปแบบอื่นๆ ตามความเหมาะ สมของพื้นที่เกษตรกรแต่ละคน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
123
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ข้าวสวย รวยสุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นางสมจันทร์ นางโชคระพี นายศุภฤกษ์ นางสาวฐิติสุดา นายประจวบ นายประทีป นายทองสุข นางอรทัย นายบุญ นางล�ำไย นางธนานาธ นางฉิมพลี นางสุนันธินี
124 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ดอนสินพลู (ประธานโครงการ) ภูโทถ�้ำ ธารบุญ ยานจรัส คงตรง พันระรื่น จ�ำเริญรักษ์ สามี จังโกฏิ กายากุล โคสมบูรณ์ อังคะแสน เพิ่มสินธุ์
นายประเทศ นางทวีสุข นายบุญตา นางกรรณิกา นายประดิษฐ์ นางปิยะพร นางบุญเรือน นายสามารถ นายรัศมี นายชูชาติ นางอัมพร นายสมศักดิ์ นายเลิศบุศย์
ดงรุ่ง ศรีประโชติ จ�ำเริญสัตย์ ผลบุญ น้อยสมบัติ นาใจแก้ว หนองเสนา นาสมวาส วรสินธุ์ ภูวาสโสม จันทระวิชัย ยอดยุ่ง กองทอง
วัฒนธรรมปลูกข้าวแบบดั้งเดิม เพิ่มเติมด้วยระบบอินทรีย์
นานมาแล้วทีช่ าวนาไทยตกอยูภ่ ายใต้การใช้ปยุ๋ เคมี เพือ่ หวังเพิม่ ผลผลิตให้มากขึน้ น�ำมาซึง่ ต้นทุนแบบไม่รตู้ วั ซ�ำ้ ร้าย สารเคมียงั ท�ำร้ายคนกินส่งผลเสียต่อสุขภาพ การท�ำนาใช่วา่ ต้องเน้นแต่แนวใหม่เพียงอย่างเดียว ถ้าวัฒนธรรมดัง้ เดิมตัง้ แต่ปยู่ า่ ตายายที่มีมานั้นยังดีอยู่ ก็สามารถน�ำมาผสมผสานกับการปลูกข้าวแนวใหม่ ท�ำให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมาได้ โครงการข้าวสวยรวยสุขภาพเน้นการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอนุรักษ์วัฒนธรรมดั้งเดิมสมัยปู่ย่าตายาย คงไว้ซึ่งข้าว สายพันธุ์พื้นเมืองเป็นหลัก แต่ปลูกด้วยระบบอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม เพิ่มมูลค่าให้ข้าวด้วยการแปรรูป
ก่อนเข้าโครงการพลังปัญญาไม่มีความรู้ด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด ท�ำนาเท่าไหร่คนที่รวยคือพ่อค้า คนกลางเท่านั้น หลังจากที่ได้เข้ามาสัมผัสกับวิถีแห่งพลังปัญญา ท�ำให้เรียนรู้วิธีการที่จะท�ำให้ผลผลิตข้าวมีมูลค่าเพิ่มขึ้นด้วย การแปรรูป สร้างรายได้อย่างยั่งยืน ด้วยการปลูกระบบอินทรีย์ กินแล้วดีต่อสุขภาพอีกด้วย เส้นทางรวยสุขภาพ
วิธีด�ำเนินงานงานของโครงการ แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ 1. ด้านการบริหารคน โดยท�ำการคัดเลือกเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเข้ารับการฝึกอบรมให้รับความรู้โครงการพลังปัญญา เพื่อขยายเครือข่าย ขยายผลผูผ้ ลิตข้าวให้ได้มาตรฐานจากกลุม่ เป้าหมายต้นแบบทีผ่ า่ นการอบรม แกนน�ำพลังปัญญา 30 คน ขยายผลจาก 30 คน จาก 1 คน เป็น 300 คน เพือ่ ผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ ว สูก่ ารเพิม่ มูลค่าด้วยการแปรรูปข้าว เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้สู่ชุมชน 2. การจัดกิจกรรม เกษตรกรต้นแบบจ�ำนวน 30 ราย ที่ผ่านการฝึก อบรมพลังปัญญา เปลีย่ นวิธคี ดิ จนเกิดการคิดนอกกรอบ โดยจัดให้เกษตรกร จ�ำนวน 30 ราย จัดการพืน้ ทีป่ ลูกข้าวคนละ 1 ไร่ เพือ่ เข้าร่วมโครงการเพือ่ ผลิต เมล็ดข้าวพันธุด์ ไี ว้เป็นเมล็ดพันธุต์ น้ แบบ และน�ำสูก่ ารแปรรูปเพือ่ เพิม่ มูลค่าให้ เกิดการสร้างงานสร้างรายได้สร้างแรงจูงใจเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ข้าวกล้อง ข้าว ฮางงอก ผลิตภัณฑ์จากจมูกข้าว เช่น ชาจมูกข้าว กาแฟจมูกข้าว พลังปัญญา
POWER of WISDOM
125
3. การจัดการทุน เพื่อให้การด�ำเนินโครงการฯ ได้อย่างต่อเนื่อง ทุนส�ำรองจ่ายในการผลิตประกอบด้วย ทุนเรือน หุ้นของสมาชิกจ�ำนวน 30 ราย ต่อ 3,000 บาท ทุนจากเงินออมสัจจะรายเดือนๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท ทุนจากหุ้นข้าวของสมาชิกข้าวคนละ 10 กิโลกรัมต่อ 300 กิโลกรัม เป็นเงิน 4,500 รวมเป็นเงิน 37,500 บาท โดยจัดสรรให้ สมาชิกเป็นทุนหมุนเวียน รายละ 5,000 บาท และมีมติในทีป่ ระชุมให้สมาชิกท�ำสัญญา และก�ำหนดคืนตามระเบียบข้อบังคับ ของกลุม่ พร้อมดอกเบีย้ ส่งคืนกองทุน เพือ่ ให้สมาชิกคนต่อไปมีสทิ ธิใ์ นการใช้ทนุ ฯ เพือ่ เป็นทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ 4. ด้านตลาด มีการเชื่อมต่อกับแหล่งกระจายสินค้า เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดจ�ำหน่ายก่อนที่ผลผลิต จะออก ดังนี้ • ตลาดในชุมชน • ตลาดในตัวจังหวัด เช่น ตลาดนัดสีเขียว ตลาดเกษตรกร • ตลาดส่งออกต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ จีน ใต้หวัน โดย บ.เทลักซ์ เทรดดิ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล • ตลาดของฝาก โดย บริษัท กู๊ดเนสโปรดักส์ (ไทยแลนด์) ในการด�ำเนินโครงการข้าวสวย รวยสุขภาพ ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ปลูกข้าวแบบปักด�ำ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• การปลูกข้าวยังเป็นการปลูกแบบวิถีชีวิตชาวบ้าน แบบปักด�ำ
126 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การใช้ศาสตร์พระราชา ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ด�ำเนินทางสายกลาง
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงให้สมาชิกได้ด�ำเนินชีวิต ด้วยทางสายกลาง การใช้ศาสตร์สากล
ใช้รถไถนากลบตอฟางข้าว
การใช้ศาสตร์สากล
• มีการใช้รถไถนาไถ่กลบตอฟางข้าว
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
127
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ปลาบืนฟื้นชุมชน จังหวัดศรีสะเกษ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสุรมิตร นางสาวสุติมา นางสาวนงค์เยาว์
ศรีสุรักษ์ (ประธานโครงการ) ค�ำเคน ประสาร
ท�ำเกษตรแบบเดิมที่เพิ่มเติมคือหนี้สิน
การท�ำเกษตรเชิงเดี่ยว ปลูกข้าวอย่างเดียว รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ต้องกู้เงินมาเพิ่ม กลับสู่วงจรเดิมของเกษตรกร ไทย คิดและท�ำตามความรู้เดิมเท่าที่ตนเองมีอยู่เท่านั้น คิดและท�ำแต่ส่ิงเดิมๆ ไม่มีการพัฒนาสินค้า คิดและท�ำอยู่คนเดียว ไม่มีการแบ่งปันเพราะกลัวคนอื่นได้วิชา ท�ำให้ชุมชนไม่เกิดการพัฒนา ปรับเปลี่ยนความคิดเพื่อชีวิตที่ดีกว่า
โครงการพลังปัญญาผู้มาปลุกความคิดให้กับสมาชิกได้คิดใหม่ ท�ำใหม่ คิดอย่างมีเหตุผล และรู้จักแบ่งปันสู่ชุมชน จากทีป่ ลูกพืชเชิงเดีย่ วหันมาปลูกพืชแบบผสมผสม และรูจ้ กั เรียนรูก้ ารแปรรูปผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กบั ชุมชน โดยใช้กจิ กรรม การเผาถ่านกัมมันต์ (ถ่านประจุลบ) เป็นกิจกรรมหลักในการด�ำเนินโครงการฯ ซึ่งแต่ก่อนการเผาถ่านถูกมองว่าเป็นการตัด ไม้ท�ำลายป่า สร้างมลพิษ แต่ถ่านกัมมันต์ช่วยลดการตัดไม้ท�ำลายป่าเพราะใช้กิ่งไม้ เศษไม้ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร มาผลิต เช่น กิ่งไม้จากการตัดแต่งกิ่งสวนผลไม้ นอกจากนี้ยังช่วยลดการใช้สารเคมีได้ด้วย จากการน�ำน�้ำส้มควันไม้มาเป็น สารขับไล่แมลง และการใช้ผงถ่านกัมมันต์มาเป็นส่วนผสมในการท�ำปุ๋ยบ�ำรุงพืชได้อีกด้วย 128 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ถ่านกัมมันต์เพื่อชุมชน
โครงการปลาบืนฟื้นชุมชน บริหารจัดการโครงการโดย มีการประชุมเพื่อเปิดรับสมัครบุคคลภายนอกที่สนใจเข้าร่วม โครงการฯ โดยตั้งเป้าไว้จ�ำนวน 20 คน หลังจากนั้นจัดให้มีการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมกัน ประกอบด้วย การก�ำหนดระเบียบข้อบังคับต่างๆ พร้อมทัง้ จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการเผาถ่านกัมมันต์ (ถ่านประจุลบ) การแปรรูผลิตภัณฑ์จากผงถ่าน การท�ำบรรจุภณ ั ฑ์ ตลอดจนการท�ำการตลาด ตามหลักของโครงการพลังปัญญา สินค้าทีท่ างกลุม่ ได้ผลิตออกจ�ำหน่าย ได้แก่ สินค้ากลุม่ ของทีร่ ะลึกจากถ่าน เช่น บ้านถ่าน ก้อนดับกลิน่ ในตูเ้ สือ้ ผ้า ดอกกุหลาบ จากถ่าน สบู่ถ่านกัมมันต์ นอกจากนี้ยังมีสินค้าส�ำหรับบริโภคที่มีส่วนผสมของผงถ่านกัมมันต์อีกด้วย เช่น น�้ำพริกปลาร้า น�้ำปลาร้าปรุงรส น�้ำปรุงรสผัดหมี่ ซึ่งได้รับการตอบรับจากชุมชนเป็นอย่างดี นอกจากนี้ทางกลุ่มยังจัดหาช่องทางการท�ำการตลาดที่หลากหลาย เช่น การออกงานแสดงสินค้า ร้านจ�ำหน่าย เครื่องส�ำอาง ร้านขายอาหารปิ้งย่าง ฝากขายตามแหล่งท่องเที่ยว เช่น โรงแรม รีสอร์ท รวมถึงใช้สื่อโซลเซียลมีเดียอย่าง เฟสบุ๊ค ไลน์ เป็นช่องทางในการขยายตลาดอีกด้วย ในการด�ำเนินโครงการปลาบืนฟื้นชุมชน ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตาม โครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อพัฒนาสินค้า
เผาถ่านแบบดั้งเดิม
ให้ความรู้แก่ชุมชน และผู้ที่สนใจอยู่เสมอ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ได้นำ� เอาภูมปิ ญ ั ญาเรือ่ งการแปรรูปอาหารมาประยุกต์ใช้รว่ มกับเทคโนโลยีสมัยใหม่เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ • ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาการเผาถ่านแบบดั้งเดิม มาต่อยอดเพื่อให้ได้ถ่านคุณภาพสูง • ใช้ความรู้และประสบการณ์ เป็นวิทยากรให้ความรู้ในชุมชนและผู้ที่สนใจอยู่เสมอ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
129
การใช้ศาสตร์พระราชา
ยืดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
ใช้หลักการทรงงาน เป็นแนวทางบริหาร
ยึกถือความพอเพียง ในการด�ำเนินชีวิต
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชา เป็นแนวทางในการบริหารโครงการฯ และใช้ในการด�ำเนินชีวติ • ยึดถือความพอเพียงเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต การใช้ศาสตร์สากล
หาความรู้ผ่านสื่อ ประยุกต์ใช้ความรู้ ศึกษาความรู้จากแหล่ง ต่างๆ น�ำมาพัฒนาสินค้า ร่วมการได้อย่างเหมาะสม อินเตอร์เน็ตพัฒนาสินค้า
การใช้ศาสตร์สากล
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาจากแหล่งต่างๆ มาปรับประยุกต์ใช้พัฒนาสินค้ากลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • การประยุกต์ใช้ความรู้ทางสังคมวัฒนธรรมร่วมกับวิทยาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ รือ่ งการแปรรูปผ่านสือ่ อินเตอร์เน็ตน�ำมาประยุกต์ใช้และพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนือ่ ง 130 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ปลูกหน่อไม้ฝรั่ง ยั่งยืน จังหวัดชัยภูมิ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายประยูร นางกัญชพร นายทวี นายปรีชา นายมีมิตร นายดวง
ไชยแสง (ประธานโครงการ) บุญอินทร์ พะละเอ็น ฝอยเงิน ธงพรรษา ขอเชื่อมกลาง
นายทองขัน นางสุมาลี นางโสรยา นางนิตยา นายทวี นายสอน
แสนภูธร ยงยืน มาตรา หฤแสง บุญชมภู กาละพันธ์
เสริมสร้างรายได้ด้วยหน่อไม้ฝรั่ง
แต่ก่อนมีอาชีพเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน มีรายได้ประจ�ำจากเงินเดือนเพียงอย่างเดียว ดูเหมือนจะพอกินพอใช้แต่ก็ ไม่มีเก็บ บางครั้งยังต้องดิ้นรนขวนขวายเพราะรายได้ไม่พอกับรายจ่ายอยู่เนืองๆ จนได้มาเข้าร่วมกับโครงการพลังปัญญา ได้เรียนรูถ้ งึ วิธกี ารคิดนอกกรอบ คิด แล้วต้องรูจ้ กั เรียนรู้ เรียนรูแ้ ล้วต้องลงมือปฏิบตั จิ งึ จะเกิดผล จึงหันมาลองท�ำเกษตรกรรม เป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้เพิม่ และรูจ้ กั ลดรายจ่ายในครอบครัว โดยเริม่ ต้นจากการปลูกผักไว้กนิ เองทีบ่ า้ น ท�ำให้ชวี ติ ไม่ตอ้ ง ดิ้นรนเหมือนเมื่อก่อน
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
131
ปลูกหน่อไม้ฝรั่งอย่างยั่งยืน
จากการปลูกพืชผักไว้กนิ เองสร้างรายได้เสริมให้ครอบครัว สูก่ ารสร้างรายได้ให้ชมุ ชน โครงการปลูกหน่อไม้ฝรัง่ ยัง่ ยืน ได้น�ำความรู้ตามหลักของโครงการพลังปัญญา ที่ว่าเมื่อเราสามารถอยู่ได้ด้วยตัวเองแล้ว ต้องรู้จักแบ่งปันสู่ผู้อื่น จึงได้ขยาย ความรู้สู่ชุมชนเพื่อมุ่งหวังให้ชุมชนมีอาหารปลอดภัยไว้บริโภคตลอดช่วงฤดูกาล สร้างศูนย์การเรียนรู้ ท�ำให้ชุมชนเกิดรายได้ จากการปลูกหน่อไม้ฝรั่ง ซึ่งเป็นพืชผักที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน และยังเป็นพืชผักที่มีศักยภาพในการส่งออกสามารถ บริโภคได้ทั้งแบบสดและการแปรรูป โดยมีการส่งเสริมการปลูกหน่อไม้ฝรั่งอย่างครบวงจร การเดินทางสู่จุดหมาย
เริ่มต้นจากการพัฒนาความรู้ให้กับคนในชุมชน โดยการจัดประชุมพร้อมฝึกอบรม ก�ำหนดคุณสมบัติเครือข่าย สร้างกฎระเบียบ และตัง้ คณะกรรมการแบ่งหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาพืน้ ที่ และจัดหาวัสดุอปุ กรณ์เพือ่ การปลูก หน่อไม้ฝรัง่ เริม่ ตัง้ แต่จดั หาพันธุห์ น่อไม้ฝรัง่ จัดหาพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเหมาะสมกับการปลูกหน่อไม้ฝรัง่ จัดหาวัสดุสำ� หรับท�ำปุย๋ หมัก รองพืน้ ซึง่ จะมีการตรวจสอบคุณภาพดินอย่างสม�ำ่ เสมออยูต่ ลอด พร้อมไปกับการปรับปรุงพืน้ ทีใ่ ห้สะอาดไม่รกร้าง จัดหาท่อ พีวีซีและปั๊มน�้ำแรงดัน เพื่อท�ำระบบน�้ำส�ำหรับการปลูกหน่อไม้ฝรั่งอย่างครบวงจร อีกทั้งได้จัดตั้งฝ่ายการตลาด เพื่อออกไปพูดคุยกับบริษัทเอกชนที่รับซื้อหน่อไม้ฝรั่งอยู่แล้วให้ท�ำเป็นสัญญาการ ซื้อขายอย่างเป็นระบบระเบียบตามค�ำแนะน�ำของอาจารย์ รวมทั้งหาช่องทางการเปิดตลาดใหม่ๆ ในการด�ำเนินโครงการปลูกหน่อไม้ฝรั่งยั่งยืน ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง
132 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มีการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง
การใช้ศาสตร์พระราชา
ใช้หลักสามห่วง สองเงื่อนไข
การใช้ศาสตร์พระราชา
• มีการใช้หลัก 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข มาประยุกต์ใช้ภายในกลุม่ คือค่อยๆ ก้าวเดินโครงการแบบมีภูมิคุ้มกันที่ดี รู้จัก ประมาณตนและรับฟังเหตุผลของผู้อื่น • สมาชิกภายในกลุ่มน�ำคาสตร์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในครัวเรือน โดยรู้จักการออมและการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ กินเอง เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้
รู้จักการออม ลดการใช้จ่าย
การใช้ศาสตร์สากล
ใช้เครื่องจักรทุ่นแรง
ก�ำจัดเชื้อรา และขับไล่แมลง
ตรวจคุณภาพดิน ก่อนปลูก
การใช้ศาสตร์สากล
• มีการใช้เครื่องจักรทางการเกษตรเพื่อเป็นเครื่องทุ่นแรง • มีการเพาะเลี้ยงเชื้อไตโคโดมากับ บิวเวอร์เรีย เพื่อใช้ในการก�ำจัดเชื้อราและขับไล่แมลง • มีการน�ำเครื่องมือตรวจคุณภาพในดินมาใช้ในพื้นที่ก่อนการน�ำหน่อไม้ฝรั่งลงไปปลูก
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
133
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
พลิกฟื้นหนองเลิงเปือย จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายพิเชฐ นายโสภา นายดิรุก นายสมปอง นายเด่นพงษ์ นางละมัย นางม้วย นางส�ำเนียง นางสุภาพร นางดวงจันทร์ นางค�ำพันธุ์ นางชุติกาส นายสมบัติ นายรัศมี
134 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
เขตประกร ค�ำวิโส วงพิเดช ทุริวัน หงส์วิไล ปัญญา เขตประกร ขันวิสิทธิ์ ชมพูวิเศษ ขันประมาณ จันทรสมบัติ จิตรวิกรม ยุบลพันธุ์ ชูศรีมงค์
นายสดใส นายใจเพชร นายสมบูรณ์ นางปุ่น นางสง่า นางอ�ำพร นางทองนิล นายบุญมี นายสุพันธ์ นายสายสนธิ์ นางนิภาพร นางส�ำราญ นางกุหลาบ นายทองอิน
อัตโณ เขตสินยิ่ง ขันวิสิทธิ์ ไขแลง เขตบุญเรือง ผาสุจริต ค�ำแสนโคตร ควงดี ทองด่านเหนือ วานนท์ ระวิชัย ขันปรึกษา กเกษม จ�ำปารัก
อยู่ในวงจรชีวิตที่คิดแบบเดิม
“หนองเลิงเปือย” พื้นที่ที่เคยประสบปัญหาน�้ำท่วมซ�้ำซากเวลาหน้าฝน ปัญหาไม่มีน้�ำใช้เวลาหน้าแล้ง แต่เมื่อเกิด โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ท�ำให้หนองเลิงเปือยกลับมาอุดมสมบูรณ์ ประชาชนรอบ พื้นที่สามารถท�ำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี แต่ถึงกระนั้นท�ำไมชาวนายังคงวนเวียนอยู่กับค�ำว่า “จน” ปลูกข้าวได้ก็ต้องไปจ้าง เขาสี ไหนจะค่าปุ๋ยเคมีที่เป็นต้นทุนแบบไม่รู้ตัว “ปลูกข้าว ต้นทุนสูง ขายข้าว เป็นหนี้ กู้เพิ่ม” อยู่ในวังวนเดิมๆ เปลี่ยนวิธีคิด พลิกชีวิตหนองเลิงเปือย
การคิดเป็นระบบ มีการค�ำนวณราคาต้นทุนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งออกขายสู่ตลาด การปรับเปลี่ยนการ ใช้ชวี ติ รูจ้ กั คิด รูจ้ กั หา ปลูกผลผลิตทีส่ ามารถสร้างรายได้หมุนเวียน รายวัน รายเดือน และรายปี เพือ่ เพิม่ รายได้ให้กบั ครอบครัว ตามศาสตร์ทไี่ ด้เรียนมาจากโครงการพลังปัญญา ท�ำให้โครงการพลิกฟืน้ หนองเลิงเปือยจึงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาโครงการฯ โดยจัด ตั้งโรงสีข้าวและโรงปุ๋ยชุมชน จากการน�ำวัตถุดิบจากการสีข้าว คือ ร�ำ แกลบ มาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง เพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมี และลดต้นทุนในการซื้อวัตถุดิบท�ำปุ๋ย รวมทั้งยังท�ำให้สมาชิกในชุมชน มีโรงสีส่วนกลางในการน�ำข้าวมาสี ลดการเสียเปรียบ โรงสีเอกชน อีกทั้งยังสามารถน�ำ ร�ำ และแกลบ รวมถึงวัตถุดิบที่เหลือจากการสีข้าว กลับมาผลิตเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพได้ ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ทันที พลิกฟื้นหนองเลิงเปือย โดย
1. รวมกลุม่ กันปรับพืน้ ทีน่ าเฉพาะบริเวณพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย ข้างหนองเลิงเปือย วงแหวนรอบที่ 3 เพือ่ เตรียมปรับปรุงดิน ประมาณ 1 ไร่ 2. จัดอบรมสมาชิกแกนน�ำโครงการพลังปัญญาและชาวบ้านสมาชิกกลุ่มปุ๋ยเริ่มต้นประมาณ 37 คน เพื่อสอนความรู้ เรื่องการท�ำปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง จากวัสดุเหลือใช้ทางธรรมชาติ 3. ให้สมาชิกและชาวบ้านในชุมชน น�ำปุ๋ยที่ผลิตแล้วไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง เพื่อปรับปรุงดิน ให้มีคุณภาพ น�ำมาซึ่งผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น แต่ต้นทุนในการผลิตลดลง ตามความตั้งใจ รวมถึงได้น�ำไปปรับปรุงดินในพื้นที่เป้าหมาย 1 ไร่ จนปัจจุบัน สามารถปลูกผักคะน้า หอมแดง กระเทียม ผักกาดขาว และ ผักชี เพื่อบริโภคในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้รับชัดเจนว่า ปุ๋ยอินทรีย์ที่ทางโครงการผลิตใช้เองนั้น สามารถปรับปรุงบ�ำรุงดินที่เสื่อมคุณภาพแล้ว ให้กลับมามีชีวิต สามารถปลูกผักต่างๆ ไว้รับประทานได้อย่างต่อเนื่อง พลังปัญญา
POWER of WISDOM
135
ในการด�ำเนินงานโครงการพลิกฟื้นหนองเลิงเปือย ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ มาประยุกต์ใช้ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ท�ำปุ๋ยหมักธรรมชาติ จากวัตถุดิบเหลือใช้
• ได้ น� ำ เอาภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า น และใช้ วั ต ถุ ดิ บ เหลื อ ใช้ จากธรรมชาติ มาประยุกต์เป็นปุ๋ยหมักตามธรรมชาติ
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา
ยึดถือหลักเศรษฐกิจ พอเพียง
136 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ใช้หลักทรงงาน ในการบริหารงาน
• ได้ยดึ ถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชา มาใช้ในการ ท�ำงานโครงการฯ อย่างเป็นระบบ
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้มาปรับใช้ พัฒนาโครงการ
ถ่ายทอดความรู้ การท�ำปุ๋ยหมัก
ศึกษาความรู้เรื่อง เครื่องมือ เครื่องจักร
การใช้ศาสตร์พระราชา
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงานในสถานที่ต่างๆ มาประยุกต์และปรับใช้พัฒนา โครงการ พลิกฟื้นหนองเลิงเปือย • ใช้ความรู้การผลิตปุ๋ยชีวภาพจากหน่วยงานรัฐ คือ ส�ำนักงานพัฒนาที่ดิน มาถ่ายทอด และปรับใช้ในการท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องเครื่องมือ เครื่องจักร ในการจัดท�ำโรงสีข้าวชุมชน มาใช้ในโครงการฯ ได้อย่างเหมาะสม ตามงบประมาณที่มี
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
137
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
สายใยกล้วย จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้เข้าร่วมโครงการ นายเจริญ นายรุธ นายสมยศ นางประภาภรณ์ นางสาวเฉลียว นางสาวรสสุคนธ์
สุขวิบูลย์ (ประธานโครงการ) พันธ์ภูมิ แปนแก้ว สุขรัมย์ สีดา นาดี
เมื่อเรื่องไม่กล้วยอย่างที่คิด
กล้วย เป็นได้ทั้งพืชท้องถิ่นที่ผู้คนนิยมปลูกไว้กินเองที่บ้าน และเป็นได้ทั้งพืชเศรษฐกิจที่ท�ำเงินให้กับเกษตรกร ที่เพาะปลูก กล้วยหอมทองหนึ่งในตระกูลกล้วยที่สามารถสร้างรายได้ให้ไม่น้อยเลยทีเดียว แต่บางครั้งพื้นที่ในการเพาะปลูก ก็ไม่อ�ำนวยอวยพรให้กล้วยได้เติบโตอย่างตั้งใจไว้ บางพื้นที่เป็นดินดาน แข็ง ท�ำให้กล้วยแคระแกรน บางพื้นที่เป็นที่ลุ่ม น�้ำท่วมขังในหน้าฝน ท�ำให้กล้วยเน่า แต่พอเข้าหน้าแล้งก็ไม่ค่อยมีน�้ำ ท�ำให้กล้วยไม่โต ผลผลิตไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้
138 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้เป็นเรื่องกล้วยๆ
หากปลูกแต่กล้วยก็ได้แค่กล้วย แต่ถ้าปลูกอย่างอื่นร่วมด้วยจะช่วยให้สภาพดินดี ผลผลิตกล้วยก็ดีตามไปด้วย การใช้หลักของพลังปัญญาเข้ามาด�ำเนินงาน โดยการท�ำเกษตรแบบผสมผสาน สามารถช่วยแก้ปัญหาเรื่องการเสื่อมโทรม ของสภาพดิน อีกทัง้ ยังมีเครือข่ายทีส่ ามารถแลกเปลีย่ นความรูซ้ งึ่ กันและกันได้ ท�ำให้มอี งค์ความรูเ้ พิม่ ขึน้ มีทกั ษะในการปลูก การดูแลรักษา รวมไปถึงการเพิ่มมูลค่าให้กล้วยหอมทอง ด้วยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว และชุมชน การเดินทางของกล้วย
เพื่อเพิ่มทักษะในการปลูก การดูแลรักษา การแปรรูป และสร้างเครือข่ายผู้ปลูกและแปรรูปกล้วยหอมทองให้ขยาย ออกไปในวงกว้าง ทางโครงการได้ด�ำเนินงานโดยจัดกิจกรรมต่างๆ คือ 1.พัฒนาคน โดยการจัดประชุมชี้แจง แนวทางการด�ำเนินงานของโครงการ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ
ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมจัดอบรมส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการท�ำเกษตรแบบผสมผสาน รวมทั้งการส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการแปรรูป การบรรจุภัณฑ์และการตลาดของกล้วยหอมทอง
2.พัฒนาพื้นที่ โดยให้ผู้น�ำกลุ่มไปให้ความรู้ในการพัฒนาพื้นที่ว่างเปล่าให้สามารถท�ำเงินได้ ส่งเสริม
ให้ปลูกพืชอื่นๆ ร่วมด้วยเพื่อช่วยลดปัญหาสภาพดิน เพิ่มคุณภาพของดินโดยใช้ปุ๋ยหมัก เพื่อให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ พลิกฟื้นให้ดินกับมามีสภาพอุดมสมบูรณ์ สร้างเครือข่ายเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบส�ำคัญในการแปรรูปจากแต่ก่อนปล่อย ให้พื้นที่รกล้างว่างเปล่าไม่สนใจ หลังจากมีการปลูกพืชแบบผสมผสาน คุณพ่อคุณแม่ ก็สามารถเข้าไปอยู่ในสวน ดูแล เก็บเกี่ยวผลผลิตเอง ถือเป็นการสร้างสัมพันธ์ในครอบครัวได้อีกทางหนึ่ง
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
139
ในการด�ำเนินโครงการของโครงการสายใยกล้วย ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ปลูกพืชชนิดอื่นควบคู่กับ กล้วยหอมทอง
• การน� ำ องค์ ค วามรู ้ ค วามช� ำ นาญในการปลู ก พื ช ชนิ ด อื่ น มาประยุกต์ใช้กับการปลูกกล้วยหอมทอง
การใช้ศาสตร์พระราชา น้อมน�ำทฤษฎี เกษตรผสมผสาน มาใช้ในพื้นที่
การใช้ศาสตร์พระราชา
• น้อมน�ำทฤษฎีเกษตรผสมผสานมาใช้ในพื้นที่
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์สากล ท�ำการทดลอง ศึกษาปัญหา และเก็บข้อมูล
140 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• น�ำการทดลอง ศึกษาปัญหา ก่อนการด�ำเนินโครงการเพื่อ เก็บข้อมูล ไว้เป็นตัวอย่างให้กับสมาชิก
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
สมุนไพรคลายทุกข์เส้น จังหวัดนครราชสีมา ผู้เข้าร่วมโครงการ นางนรินทร์ จงกล (ประธานโครงการ) นางสมศรี หนุนกระโทก นางอรสา จอมสันเทียะ นางสาวชิดชนก เกียนสันเทียะ นางวันเพ็ญ ชูยังศิริตรีศักดิ์ นายแก้ว เผนโคกสูง
นางสาวมิ่ง นางชโลม นางสมพร นายสมพงษ์ นางประวิง นายประเสริฐ
เกือนสันเทียะ เหล็กลอย เกือนสันเทียะ โสภาพ ถาวรพรม เขตสันเทียะ
ผลผลิตจากธรรมชาติที่ถูกลืม
สมุนไพร คือผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักน�ำมาใช้ประโยชน์ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บกันตั้งแต่โบราณกาล เนิ่นนานมา แต่เมื่อวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้า มีการพัฒนา สังเคราะห์ ผลิตยาจากสารเคมี ให้ใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น ท�ำให้ สมุนไพรได้รบั ความนิยมลดลงไปมาก แต่เมือ่ กาลเวลาผ่านไปได้พสิ จู น์แล้วว่าผลทีไ่ ด้จากการสกัดสมุนไพร ให้คณ ุ ประโยชน์ได้ ไม่แพ้ยาที่สังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และประเทศไทยเป็นแหล่งสมุนไพรธรรมชาตินานาชนิดที่อุดมสมบูรณ์ ขาดแต่ความ ตื่นรู้ที่จะพัฒนาด้านพืชสมุนไพรเท่านั้น
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
141
พลิกฟื้นคืนชีพสมุนไพร
ด้วยทุนเดิมของพื้นที่ชุมชนต�ำบลด่านจาก ซึ่งอุดมไปด้วยพืชสมุนไพรหาได้ง่าย หลากหลายชนิดไม่ว่าจะเป็น ใบบัวบก ใบขัดมอน ขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ชิงช้าชาลี ใบเถาวัลย์เปรียง ใบกระดูกไก่ด�ำ ฯลฯ ประกอบกับโครงการพลังปัญญา ผู้มาจุดประกายความรู้แห่งการคิดนอกกรอบ ท�ำให้ผู้ร่วมโครงการสมุนไพรคลายทุกข์เส้น มองเห็นโอกาสในการพัฒนา พืชสมุนไพรให้เป็นสินค้าภายในชุมชน อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์มรดกไทย ให้คนในชุมชนรู้จักช่วยเหลือตนเองโดยการน�ำ พืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงเกิดการแปรรูปเป็นน�้ำมันสมุนไพร ทิพย์สว่างอารมณ์ ช่วยบรรเทาอาการ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ออกจ�ำหน่ายภายในชุมชน ซึ่งเป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวอีกด้วย เส้นทางสมุนไพร
ทางกลุ่มได้จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้เรื่องสมุนไพรเพื่อให้ความรู้แก่สมาชิกและคนในชุมชนที่มีความสนใจโดย • จั ด ท� ำ ข้ อ มู ล ศู น ย์ ส มุ น ไพรก� ำ หนดกฎเกณฑ์ ร ะเบี ย บกติ ก า การเป็ น สมาชิ ก ชมรมพื ช สมุ น ไพรพร้ อ มติ ด ตั้ ง ป้ายศูนย์สมุนไพร • จัดฝึกอบรมส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการมีและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพร รวมถึงการแปรรูป • ทดสอบความรู้พื้นฐานเรื่องสมุนไพรในกลุ่มสมาชิกก่อนที่จะน�ำไปลงมือปฏิบัติจริง และให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ได้น�ำพืชสมุนไพรที่เป็นวัตถุดิบไปปลูกในพื้นที่ของตนเอง • เป็นศูนย์กลางการรับซื้อ ผลิต จ�ำหน่าย และแปรรูปสมุนไพร • จัดหาวัสดุอุปกรณ์ส�ำหรับการผลิต แปรรูป และบรรจุพืชสมุนไพร • วางแผนการผลิตและการตลาดในท้องถิ่นเพื่อก�ำหนดทางเลือกของการจ�ำหน่ายผลผลิตกลุ่ม • หาช่องทางประชาสัมพันธ์เผยแพร่ขา่ วสารการส่งเสริมการตลาดสมุนไพรในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนการจัดจ�ำหน่าย น�้ำมันสมุนไพร โดยการประชาสัมพันธ์แบบปากต่อปาก การออกร้านกับหน่วยงานในพื้นที่ และให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกัน น�ำไปจ�ำหน่ายตามช่องทางทีแ่ ต่ละคนมี โดยทางกลุม่ จะแบ่งเปอร์เซ็นต์การขายให้สมาชิกทีข่ ายได้ 10 เปอร์เซ็นต์ จากยอดขาย
142 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ในการด�ำเนินโครงการสมุนไพรคลายทุกข์เส้น ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำสมุนไพรมาประยุกต์ ใช้กับการเกษตร
เปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ใช้ภมู ปิ ญ ั ญาชาวบ้านโดยน�ำสมุนไพรต่างๆ มาประยุกต์ ใช้กับการเกษตรได้อย่างเหมาะสม • เปิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ พร้อมที่จะให้ความรู้ผู้ที่สนใจ อยู่เสมอ
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ และเป็นแนวทางด�ำเนินโครงการฯ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชา ยึดถือหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชา
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
143
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำความรู้พัฒนาสินค้า กลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง
การใช้ศาสตร์สากล
น�ำประสบการณ์ ความรู้มาประยุกต์ใช้
หาความรู้เรื่องสมุนไพร จากอินเตอร์เน็ต
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร มาปรับประยุกต์ใช้พัฒนา สินค้ากลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง • ใช้ความรู้ทางศาสตร์สังคมวัฒนธรรม และ วิทยาศาสตร์ต่างๆ จากประสบการณ์ทั้งหมด มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องสมุนไพรผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตและน�ำมาประยุกต์ใช้อย่าง ต่อเนื่อง
144 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ผักไร้ดินปลูกง่ายรายได้แสน จังหวัดพิษณุโลก ผู้เข้าร่วมโครงการ ร.ต. รังสฤษฎ์ นายประดิษฐ์ นายไพฑูรย์ นางปทิดา น.ส.จารุณี น.ส.จิรภิญญา ส.อ. กฤตเมธ
ค�ำนวณศร (ประธานโครงการ) สารีค�ำ ชาญชิต เพชรลานน์ อุทัย ชาญชิต อักษรศรี
ส.ท. ธีรพันธ์ ส.ท.ธนากร พลฯ ณัฐกร นางสุมาลี นายเฉลา น.ส.วารี นางจุฑามาศ
ศรีจันทร์ บุญมา ณฐธนมหธร เรืองรักษา พรหมพิทักษ์ ทัพทองหลาง ทิพย์จ�ำนง
เสริมรายได้ด้วยผักไร้ดิน
ประเทศไทยถือเป็นประเทศทีโ่ ชคดีมาก ทีอ่ ยูใ่ นเขตโซนร้อนชืน้ ไม่มฤี ดูหนาวทีห่ นาวเหน็บอันยาวนาน ท�ำให้บา้ นเรา สามารถปลูกผักได้ทั้ง 3 ฤดู ผักนั้นหาซื้อได้ง่ายราคาไม่แพงมาก แต่การที่เราซื้อผักมารับประทาน เราไม่สามารถรู้เลยว่าผัก 1 ก�ำนั้น ผ่านอะไรมาบ้าง มีสารเคมีอะไรเจอปนหรือเปล่า มันจะดีแค่ไหนถ้าเราปลูกผักกินเองได้ เราสามารถเฝ้าดูการเจริญ เติบโต ควบคุมดูแลทุกอย่างได้ด้วยตัวเอง ปลอดภัยต่อสุขภาพ ที่ส�ำคัญยังสามารถเก็บขายเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว อย่างยั่งยืนอีกด้วย
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
145
ผักไร้ดิน ปลูกง่ายรายได้แสน
จากแต่ก่อนสมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่รับราชการมีแต่เงินเดือนเพียงอย่างเดียว เรียกว่าพอกินพอใช้แต่ไม่เหลือเก็บ หลังจากได้เข้ามาเรียนรู้กับโครงการพลังปัญญา ท�ำให้มีความคิดที่เป็นระบบมากขึ้น มองเห็นปัญหาได้ชัดเจน และสามารถ วิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขปัญหาได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น และพร้อมที่จะน�ำความรู้แบ่งปันสู่ชุมชุน เพื่อเปลี่ยนความคิด พลิกแรงจูงใจ ให้สมาชิกหันมาสนใจปลูกผักไร้ดิน สร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก และเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับ ผู้สนใจปลูกผักไร้ดิน ประกอบกับคนในชุมชนหันมาดูแลสุขภาพกันมากยิ่งขึ้น ผักไร้ดินจึงได้รับการจับตามองจากชุมชน และ มีความต้องการทางการตลาดค่อนข้างสูง เส้นทางสร้างรายได้
โครงการผักไร้ดิน ปลูกง่ายรายได้แสนมีแนวทางในการด�ำเนินงานโดย 1. ฝึกอบรมให้ความรู้ พร้อมพากลุ่มเป้าหมายเข้าศึกษาดูงานสถานที่จริง ที่บ้าน นายไพฑูรย์ ชาญจิต ผู้เป็นปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้ที่ท�ำเรื่องผักไร้ดินมานาน 2. ลงมือปฏิบัติโดย 2.1 สร้างโรงเรือนต้นทุนต�่ำ ราคาหลังละ 9,000 บาท 2.2 จัดหาเมล็ดพันธุ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักไร้ดิน 2.3 ลงมือปลูก โดยเริ่มจากปลูกผักไทย เช่น ผักชี และทดลองปลูกผักสลัด และการปลูกแตงกวา ซึ่งได้ผลทุกชนิด 3. น�ำผลผลิตที่ได้ออกสู่ตลาด ขายให้กับคนในพื้นที่ เพื่อนที่ท�ำงาน คุณหมอในโรงพยาบาลสุขภาพต�ำบล 4. เพิ่มช่องทางการขายทางอินเตอร์เน็ต 5. ประเมินผลการด�ำเนินงาน โดยวิธีการท�ำรายรับรายจ่าย ผลตอบจากชุมชนที่มีการตอบรับเป็นอย่างดี ศูนย์การ ศึกษานอกโรงเรียน อ�ำเภอวัดโบสถ์มคี วามสนใจ ทีจ่ ะท�ำโครงการนีก้ บั นักเรียนเพิม่ เติมอีกด้วย และในอนาคตได้มกี ารวางแผน ที่จะให้ชุมชน เป็นชุมชนตัวอย่างในการปลูกผักไร้ดิน เป็นชุมชนผักปลอดสารพิษ และเป็นศูนย์เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
146 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
การด�ำเนินงานของโครงการผักไร้ดินปลูกง่าย รายได้แสน ได้น้อมน�ำศาสตร์ต่างๆ ตามหลักของพลังปัญญามาใช้ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน เผยแพร่การปลูกผักไร้ดิน
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• นายไพฑูรย์ ชาญจิต รองประธานเป็นปราชญ์ชาวบ้าน ที่ได้ท�ำเรื่องผักไร้ดินมาเป็นเวลานาน จึงมีการลองผิดลอง ถูกด้วยตัวเอง จนประสบผลส�ำเร็จและน�ำมาเผยแพร่ให้กับ สมาชิกกลุ่ม และกลุ่มเป้าหมาย
การใช้ศาสตร์พระราชา ท�ำตามแนวคิดเศรษฐกิจ ในครัวเรือน ลดต้นทุนในครัว เรือน มาด�ำเนินโครงการ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• การน�ำแนวความคิด เศรษฐกิจในครัวเรือน ลดต้นทุน ในครัวเรือน มาด�ำเนินงานโครงการ
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์พระราชา
สร้างระบบนํ้าวน มาใช้ในการเพาะปลูก
วิเคราะห์ความร้อน และใช้สารเพาะเลี้ยงพืช
• มีการน�ำเทคโนโลยีการสร้างระบบน�้ำวนมาใช้ในการ เพาะปลูก • การวิเคราะห์ความร้อน และการใช้ สาร A และ B ใน การเพาะเลี้ยงพืช
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
147
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
เกษตรยกก�ำลังสอง จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เข้าร่วมโครงการ นายจักริน นางอาภาภรณ์ นางสาวอัจฉรา นางดวงใจ นายจ�ำนง
ทองจินดา (ประธานโครงการ) ตั้งสมาธิกุล แสงบุญ สันธนะไพศาล ศรีอินทร์
ยกรายได้ก�ำลังสองแบบพลังปัญญา
นายสมบูรณ์ นางเกษรา นางสาวอภิญญ์ชญา นายชมพูนุช นางเกษรา
ก๋าค�ำ จุมปู แสนขัติ ใจเย็น จุมปู
ปัญหาหลักของเกษตรกรไทยคือต้นทุนสูงแต่รายได้ต�่ำกว่าที่ควรจะเป็น แล้วอะไรคือปัจจัย ที่ท�ำให้เหลือก�ำไรน้อย ? ปัญหาหลักคือเกษตรกรไม่เคยท�ำบัญชีรับจ่ายจึงไม่ทราบต้นทุนที่แน่ชัด เวลาซื้อของจะใช้เครดิตและช�ำระหลังจากขาย ผลผลิตแล้ว ซึ่งต้นทุนหลักๆ จะอยู่ที่เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีราคาแพง แล้วท�ำอย่างไรให้มี รายได้เพิ่มขึ้นในขณะที่ราคาขายยังเท่าๆ เดิม นั่นก็คือการลดต้นทุนตามแบบแผนของโครงการพลังปัญญาในรูปแบบของ เกษตรอินทรีย์
148 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
เพิ่มรายได้ด้วยเกษตรอินทรีย์
สินค้าเกษตรเป็นที่รู้กันว่าราคาจะขึ้นลงตามความต้องการของตลาด ดังนัน้ การใช้ตน้ ทุนน้อยทีส่ ดุ จะเป็นผลดีตอ่ เกษตรกรเอง การรวมกลุม่ เพือ่ ศึกษา และขยายความรู้แบบพลังปัญญาสามารถช่วยเกษตรกรได้ในระยะยาว ด้วยการ ตั้งเป้าหมายให้เกษตรกรลดรายจ่าย 70% เพิ่มรายได้ 80% จากการไม่เผาตอซัง และการหมักปุ๋ยจุลินทรีย์หน่อกล้วย และการใช้เกษตรผสมผสานเพื่อพลิกฟื้น หน้าดินให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ ยิ่งลดการใช้สารเคมีมากเท่าไหร่ ต้นทุน ก็ลดลงมากเท่านั้น ผลพลอยได้อีกอย่างคือสุขภาพของตัวเกษตรกรเอง การเดินทางสู่จุดหมาย
โครงการเกษตรยกก�ำลังสอง จังหวัดเชียงรายด�ำเนินกิจกรรมหลัก 2 กิจกรรม คือ
1. พัฒนาคน ด้วย 6 ขั้นตอนของพลังปัญญา และเกษตรผสมผสานให้พึ่งพาตนเองได้ ลดต้นทุนจากการ
2. พัฒนาพื้นที่ ใช้ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์หน่อกล้วยเพื่อพลิกฟื้นหน้าดินให้กลับมามีความสมบูรณ์ บวกกับ
ใช้สารเคมี เพิ่มรายได้จากการแปรรูปสินค้าและขายน�้ำหมักจุรินทรีย์หน่อกล้วย และเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นจากการ บ�ำรุงดิน พัฒนาให้เกษตรรู้จักการท�ำตลาดในรูปแบบใหม่ๆ ตามความต้องการของตลาด และมีความคิดริเริ่มในการ พัฒนาสินค้าอยู่เสมอๆ
การไม่เผาตอซังใช้การไถกลบแทนท�ำให้หน้าดินไม่เสีย นอกจากนีย้ งั ใช้ทฤษฎีเกษตรแบบผสมผสานเพือ่ ให้หน้าดินเกิด การฟื้นตัวได้เร็วขึ้น และท�ำให้ชุมชนมีรายได้ต่อเนื่องจากผลิตผลทางการเกษตรที่หลากหลายกว่า
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
149
ในการด�ำเนินโครงการเกษตรยกก�ำลังสอง จังหวัดเชียงราย ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำปุ๋ยหมักจาก หน่อกล้วย
แปรรูปสินค้าเกษตร สร้างมูลค้าเพิ่ม
น�ำเศษวัสดุผลิตอาหาร สัตว์และปุ๋ยหมัก
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องการท�ำน�้ำหมักจุลินทรีย์จากหน่อกล้วยมาใช้ท�ำปุ๋ยหมัก • ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้ในการแปรรูปสินค้าเกษตรและสร้างมูลค้าเพิ่มได้อย่างเหมาะสม • ได้นำ� เอาภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านมาประยุกต์ใช้เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตอาหารสัตว์และปุย๋ หมัก การใช้ศาสตร์พระราชา
ปลูกพืชผสมผสาน
150 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ยึดหลักทรงงาน ในการบริหารทรัพยากร
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ได้ยึดถือหลักปรัชญาเกษตรผสมผสานมาประยุกต์และ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ • ใช้หลักการทรงงาน ตามศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางด�ำเนินโครงการ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรใน พืน้ ทีป่ รับเปลีย่ นแนวความคิด ในการหันมาใช้ปยุ๋ อินทรีย์ และการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อรักษาหน้าดิน
การใช้ศาสตร์สากล
เรียนรู้และแปรรูปสินค้า ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ
ท�ำตลาดผ่านสื่อ ออนไลน์ต่างๆ
การใช้ศาสตร์สากล
• น�ำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาประยุกต์ ใช้พัฒนาการ ท�ำเกษตรกรรม และการแปรรูปสินค้าให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว • มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่องการท�ำตลาดผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ เพื่อจะได้เจาะกลุ่มได้ ตรงตามตัวสินค้าซึ่งจะท�ำให้เกิดการขายที่ง่ายและต่อเนื่อง
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
151
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์ จังหวัดเชียงราย ผู้เข้าร่วมโครงการ นายสวัสดิ์ นายบุญเรือง นางฐิตาภา นางจุไรรัตน์
แสงบุญ (ประธานโครงการ) ค�ำแก้ว สุรเดชมารค ช้างมูป
นายหัสนัย ธิโนชัย นายมณเฑียร แลใจปา นายยุทธภูมิ สลีสองสม พระสมภพ สมนวล
วิถีชีวิตแบบใหม่ไฉไลจริงหรือ?
สมัยนีไ้ ม่วา่ จะมองไปทางไหนก็เต็มไปด้วยห้างร้านมากมาย อาหารก็มใี ห้เลือกหลากหลาย ทัง้ ฟาสฟูด้ อาหารส�ำเร็จรูป ขนมกรุบกรอบ ที่สามารถทานง่าย ทายได้ทันที ท�ำให้วิถีชีวิตของคนในชุมชนเปลี่ยนไป การบริโภคอาหารกันแบบง่ายๆ โดยไม่ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของคุณภาพชีวิต จึงท�ำให้เกิดโรคภัยต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ข้าวก�่ำสร้างสุขภาพ
การที่ได้เข้ามาเรียนรู้กับโครงการพลังปัญญา ท�ำให้สามารถมองอะไรได้รอบด้าน มองเห็นทั้งปัญหาและโอกาส จึงเกิดแนวคิดอยากให้คนในชุมชนได้บริโภคสิง่ ทีด่ มี ปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย โดยการส่งเสริมให้เกษตรกรในพืน้ ทีไ่ ด้ปลูกข้าวพันธุด์ ี ที่ได้รับการคัดสายพันธุ์ที่ดีมีคุณภาพ มีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระ มีสารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย อย่างข้าวก�่ำ 152 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง เมล็ดมีสีม่วงเข้มถึงด�ำ ทั้งล�ำต้นและเมล็ด มีสารส�ำคัญ 2 ชนิด คือ แอนโทไซยานินและแกมมา ออริซานอล การบริโภคข้าวก�ำ่ จะช่วยเรือ่ งความดันโลหิตสูง กระตุน้ การหมุนเวียนของกระแสโลหิต ชะลอความเสือ่ มของเซลล์ ร่างกายและยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้อีกด้วย เส้นทางสร้างสุขภาพ
เพื่อพัฒนาคนให้เป็นนักแก้ไขปัญหาในการผลิตข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์ เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีความสุข สุขภาพดี ผ่านกระบวนการผลิต การแปรรูป สู่ผู้บริโภคข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์ เพื่อน�ำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการ ผลิตข้าวก�่ำปลอดภัยมูลค่าสูง ทางโครงการมีแนวทางในการด�ำเนินงานโดย
• การจัดประชุมกลุม ่ เพือ ่ ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ให้แก่ผท ู้ ส ี่ นใจมาเข้าร่วมโครงการฯ
• การแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อก�ำหนดมาตรฐานและแนวทางในการผลิต ตรวจ
สอบ ประเมินผล และสรุปรายงานการด�ำเนินโครงการฯ
• การส�ำรวจพื้นที่ ที่เหมาะส�ำหรับด�ำเนินการเพาะปลูก
• การจัดซือ ้ เมล็ดพันธุข ์ า้ วก�ำ่ เพือ ่ ใช้เป็นกองทุนเมล็ดพันธุใ์ ห้กบ ั สมาชิกในโครงการฯ
• ด�ำเนินการเพาะปลูกข้าวก�ำ่ ในพืน ้ ทีต ่ ว ั อย่าง เพือ ่ ให้สมาชิกได้เห็นแนวทางอย่างเป็น
รูปธรรม และเพิ่มมูลค่าโดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
• น�ำข้าวเปลือกไปแปรรูปเป็นข้าวสารบรรจุถุงกิโลกรัมราคาถุงละ 50 บาท
• น�ำข้าวที่ได้รับจากการเพาะปลูก มาท�ำการแปรรูป คั่วบดบรรจุถุงผลิตเป็นชาผง
ข้าวก�่ำชงดื่มเพื่อสุขภาพ แปรรูปเป็นไอศกรีมข้าวก�่ำ และสบู่จากข้าวก�่ำ พลังปัญญา
POWER of WISDOM
153
ในการด�ำเนินโครงกาข้าวก�่ำจากน�้ำแร่ทิพย์ ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการพลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ใช้นํ้าแร่ตามธรรมชาติ ในการปลูกข้าว
เลือกพื้นที่ในการเพาะ ปลูกให้เหมาะสม
การใช้ศาสตร์พระราชา ด�ำเนินการตามแนวทาง ไร่นาสวนผสม
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• สมาชิกในโครงการฯ เชื่อว่าการใช้น�้ำแร่ (น�้ำที่ผุดจากดิน) ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาตินั้น จะส่งผลให้ผลผลิตของข้าวที่ ได้รับนั้น จะมีแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย • การคัดเลือกพืน้ ทีด่ ำ� เนินการเพาะปลูกนัน้ จะเลือกจากพืน้ ที่ ที่อยู่ใกล้แหล่งก�ำเนิดน�้ำตามธรรมชาติจึงท�ำให้ในการเพาะ ปลูกนั้นไม่ได้รับผลกระทบเมื่อถึงฤดูแล้ง ส่งผลให้สามารถ เพาะปลูกได้ทั้งปี การใช้ศาสตร์พระราชา
• ด�ำเนินการตามแนวทางการปลูกไร่นาสวนผสม โดยทาง กลุ่มใช้วิธีการปลูกข้าวแบบผสมผสาน ระหว่างการปลูกข้าว จ้าวหอมมะลิประมาณ 60-70% ของพื้นที่ทั้งหมด โดยพื้นที่ ที่เหลือใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าวก่
การใช้ศาสตร์สากล การใช้ศาสตร์สากล ใช้โซเชียลมีเดียในการ ติดต่อสื่อสาร เพิ่มช่อง ทางการตลาด
154 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มีการใช้โซเชียลมีเดียในการติดต่อสื่อสาร เพื่อหาช่องทาง ทางการตลาด
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
หมัก ไม่เผา จังหวัดเชียงราย
ผู้เข้าร่วมโครงการ นางแววตา นายสมคิด นายกิตติโชติ นางสุรีรัตน์ นางลัดดา
แสงบุญ (ประธานโครงการ) วงศ์หาญ จินดาธรรม อินทรพรหมมา ใจกุณา
นางกรรณิการ์ นายอาโจ นางสุนันท์ นางมณีรัตน์ นางสุนัน
สุยะ อายิ ฉิมพานิช เทิ้มลง สุดใจ
ปัญหามลภาวะเป็นพิษ
ปุ๋ยเคมีมักเป็นของคู่ใจส�ำหรับเกษตรกรที่ท�ำไร่ท�ำสวนแบบเดิม ซึ่งได้ผลผลิตมาตั้งมากมายแต่ท�ำไมไม่เหลือก�ำไร แถมยังมีหนี้สินพ่วงท้ายมาอีก เพราะในการท�ำการเกษตรแต่ละครั้ง เกษตรกรไม่ได้มีการน�ำราคาปุ๋ยที่ซื้อมาค�ำนวณเป็น ต้นทุน จึงท�ำให้ตัวเองขาดทุนแบบไม่รู้ตัว อีกทั้งหลังจากฤดูเก็บเกี่ยว มีเศษวัตถุดิบ เศษขยะจากซากพืชที่เหลือใช้ ก็เผาทิ้ง ท�ำให้เกิดหมอกควัน เกิดมลพิษต่อสุขภาพทั้งจากสารเคมีที่ใช้ และการเผาขยะจากการเกษตร
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
155
หมัก ไม่เผา ชีวิตเราดีขึ้น
ปัญหาของเกษตรกรทีต่ อ้ งเป็นหนีส้ นิ สาเหตุสว่ นใหญ่มาจากการคิดไม่เป็น ไม่มกี ารค�ำนวณต้นทุนทีช่ ดั เจน ขาดความ รู้ใหม่ๆ ในการท�ำการเกษตร โครงการหมักไม่เผา ได้น�ำความรู้ที่ได้จากโครงการพลังปัญญา มาส่งเสริมให้เกษตรกรในชุมชน ท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์ มาใช้ในภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุน โดยการน�ำเศษวัตถุดิบ เศษขยะ และซากพืชที่เหลือจากการเกษตร มาใช้ท�ำปุ๋ยหมัก ช่วยลดปัญหามลภาวะเป็นพิษ ท�ำให้ชีวิตและสุขภาพของคนในชุมชนดี การเดินทางสู่จุดหมาย
ทางโครงการหมักไม่เผา มีการจัดประชุมเพื่อชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการไห้กับ เกษตรกรทีม่ คี วามสนใจ พร้อมจัดฝึกอบรมการท�ำปุย๋ หมัก โดยการท�ำเป็นตัวอย่างให้ดกู อ่ น และน�ำปุย๋ ทีไ่ ด้ไปใช้ในพืน้ ทีแ่ ปลง เกษตรของตัวเอง และศึกษาดูงานการท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์เคมีเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังมีการประสานงานไปยังหน่วยงานภาครัฐ อบต เทศบาล กรมพัฒนาที่ดินจังหวัด หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอรับการสนับสนุนงบประมาน และวิทยากรเพื่อให้ความรู้ เพิม่ เติมแก่เกษตรกร ท�ำให้เครือข่ายในชุมชนมีความรูแ้ ละมีปยุ๋ อินทรียเ์ คมีใช้ในชุมชนอย่างพอเพียง คนในชุมชนสามารถแก้ไข ปัญหาการคิดจากกระบวนการพลังปัญญา อย่างเป็นเหตุเป็นผล และปฏิบัติได้จริง เกษตรกรในชุมชนสามารถลดต้นทุนการ ผลิต ลดการใช้สารเคมี และมีรายได้เพิ่มขึ้น อีกทั้งชุมชนมีอากาศที่ดีขึ้นเมื่อลดการเผาขยะ ในการด�ำเนินโครงการหมักไม่เผา ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการ พลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน ท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง
156 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มีการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง
การใช้ศาสตร์พระราชา
จัดท�ำโครงการ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
บริหารโครงการ แบบเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้ศาสตร์พระราชา
• ด�ำเนินการจัดท�ำโครงการ แบบลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ • บริหารจัดการโครงการแบบเศรษฐกิจพอเพียง และการอยูร่ ว่ มกันของคนใน ชุมชนอย่างมีความสุขแบบยั่งยืน
การใช้ศาสตร์สากล น�ำเครื่องทุ่นแรงเก็บเกี่ยว ฟางข้าว ตอข้าว ในนาข้าว
การใช้ศาสตร์สากล
• มีการน�ำเครื่องทุนแรง เครื่องยนต์ มาเก็บเกี่ยวฟางข้าว ตอข้าว ในนาข้าว การน�ำ พด. มาช่วยย่อยสลาย
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
157
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
ยุงเผ่น
จังหวัดเชียงราย ผู้เข้าร่วมโครงการ นางสาวสมัยพร นางวารี นางพสุมนต์ นางอนันตญา นางอารีพร นางพิมพิ์ปวีย์ นายสมชาติ ยุงเจ้าปัญหา
สนแย้ม (ประธานโครงการ) มูลศรี เป็งมา ชุ่มแก้ว สุยะ เรือนค�ำ ริประพันธ์
ขึ้นชื่อว่ายุง ไม่ว่าพันธุ์ไหนก็กัดเจ็บทั้งนั้น ยิ่งถ้าเป็นยุงลายตัวการส�ำคัญของโรคไข้เลือดออกด้วยแล้ว สามารถแพร่ ระบาดได้อย่างรวดเร็วในทุกฤดูโดยเฉพาะฤดูฝน ความรุนแรงของไข้เลือดออกก็อย่างที่ทราบกันดีว่าสามารถคร่าชีวิตผู้คนมา นักต่อนักแล้ว ถือเป็นปัญหาด้านสุขภาพทีส่ ำ� คัญของวงการสาธารณสุขทีต่ อ้ งคอยรับมือ ป้องกัน อย่างต่อเนือ่ งและสม�ำ่ เสมอ ตลอดทั้งปี ซึ่งจะต้องท�ำให้ครอบคลุม ทุกครัวเรือน และการป้องกันตนเองที่ส�ำคัญคือ อย่าให้ยุงกัดโดยนอนในมุ้ง ทายา กันยุง ใช้สมุนไพร หลีกเลี่ยงที่มืด ทึบ อับ ชื้น
158 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
ท�ำอย่างไรให้ยุงเผ่น
วิธปี อ้ งกันยุงนัน้ สามารถท�ำได้หลายวิธตี งั้ แต่การปิดภาชนะกักเก็บน�ำ้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้ยงุ ลายเข้าไปวางไข่เป็นการตัด วงจรชีวิตของยุง ใช้ไม้ตียุง ไปจนถึงการพ่นเคมีก�ำจัดยุงซึ่งเป็นวิธีควบคุมยุงที่ให้ผลดี แต่ผลเสียที่ตามมาคือ อาจเป็นพิษต่อ คนและสัตว์เลี้ยง จึงควรใช้เฉพาะเมื่อจ�ำเป็นเท่านั้น สมุนไพรไล่ยุงจึงเป็นวิธีการป้องกันยุง ที่สามารถตอบโจทย์ได้เป็นอย่างดี เพราะปลอดภัยจากสารเคมีเนือ่ งจากท�ำมาจากสมุนไพร ซึง่ ทางโครงการฯ ได้นำ� หลักการเรียนรูท้ ไี่ ด้มาจากโครงการพลังปัญญา น�ำมาต่อยอดพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อให้ใช้ได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น การด�ำเนินงานให้ยุงเผ่น พัฒนาคน
• สมาชิก 1 ท่านขยายผลได้ด้วยการแนะน�ำชักชวนคนรอบข้างที่มีแนวคิด วิสัยทัศน์ก้าวไกลสนใจในการผลิตภัณฑ์ สเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงมาเพิ่ม 1 ต่อ 3 คน • เปิดการอบรมเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้ความรู้ในการปลูก แปรรูป รวมไปถึงกระบวนการการผลิตภัณฑ์สเปรย์ ตะไคร้หอมไล่ยงุ ปรับเปลีย่ นแนวคิดในการผลิตผลิตภัณฑ์ ให้หนั มาใช้และท�ำแบบไม่ใช้สารเคมี โดยการเชิญวิทยากร ปราชญ์ ผูช้ ำ� นาญการ มาอบรมให้ความรูท้ กุ ๆ ด้านกับกลุม่ ผูท้ สี่ นใจ เน้นการสร้าง และขยายการตลาดเพือ่ ชีแ้ นะแนวทางการขาย และ การขยายตลาดสเปรย์ตะไคร้หอมให้มากขึ้นไปอีกหลายๆ เท่าตัว และส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนต้องมีการปลูกตะไคร้หอมใน พื้นที่บ้านของตนเอง พัฒนาผลิตภัณฑ์ • เตรียมวัตถุดิบ โดยน�ำทั้งล�ำต้นและใบสดของตะไคร้หอมไปล้างให้สะอาด น�ำไปพึ่งลมให้แห้ง แล้วมัดเป็นก�ำๆ เตรียมน�ำไปลงหม้อกลัน่ เตรียมหม้อกลัน่ สเปรย์ ตัง้ เตาแก๊ส เติมน�ำ้ สะอาดลงในหม้อกลัน่ ใต้ตะแกลงหม้อโดยประมาณ 5 ลิตร น�ำตะไคร้หอมที่ท�ำความสะอาดและมัดไว้แล้ววางบนตะแกลงในหม้อกลั่นประมาณ 10 กิโลกรัมต่อครั้ง น�ำกระทะตั้งลงบน หม้อกลั่น เติมน�้ำเปล่าลงไปประมาณ 5 ลิตร และขยันเปลี่ยนน�้ำที่เริ่มร้อนออกทิ้งบ่อยๆ เพราะถ้าน�้ำร้อนจะท�ำให้ไม่เกิด ไอระเหย ดังนั้นต้องหมั่นเปลี่ยนน�้ำเปล่าตลอดการต้มกลั่นน�้ำตะไคร้หอม • น�ำเอาขวดแก้วเปล่าทีเ่ ตรียมเอาไว้รองรับไอระเหยจากการกลัน่ กรองน�ำ้ ตะไคร้หอม พอน�ำ้ ตะไคร้หอมหยอดลงเต็ม ขวดก็เปลี่ยนออกน�ำขวดต่อไปมารอง ผลัดเปลี่ยนขวดแก้วไปเรื่อยๆ จนหมด ได้น�้ำตะไคร้หอมที่เข้มข้นโดยประมาณ 5 ลิตร เสร็จแล้วน�ำน�้ำตะไคร้หอมที่เรากลั่นได้ใส่ขวดแก้วเอาไปพักไว้ให้เย็น ก่อนน�ำไปบรรจุภัณฑ์เพื่อรอจ�ำหน่ายต่อไป พลังปัญญา
POWER of WISDOM
159
นอกจากสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงแล้ว ทางโครงการฯ ยังพัฒนาผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีก เช่น หมอนตะไคร้ หอมไล่ยุง พวงกุญแจไล่ยุง เป็นต้น ในการด�ำเนินโครงการยุงเผ่น ได้น�ำศาสตร์ต่างๆ ตามโครงการ พลังปัญญามาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ ได้แก่
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
น�ำตะไคร้หอม แปรรูปผลิตอื่นๆ
ใช้ปุ๋ยคอกปลูก ตะไคร้หอม
• มีการน�ำตะไคร้หอมมาแปรรูปผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น หมอนตะไคร้ไล่ยุ่ง พวงกุญแจไล่ยุง โดยใช้แรงงานและ งานฝีมือในชุมชน • การใช้ปุ๋ยคอกในการปลูกตะไคร้หอม และพืชอื่นๆ
การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา ปลูกพืชผักแบบผสมผสาน
160 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• มีการปลูกพืชผักแบบผสมผสานกับการปลูกตะไคร้หอม และปลูกด้วยวิธีการปลอดสารพิษ
การใช้ศาสตร์สากล
ใช้เครื่องสกัด นํ้าตะไคร้หอม
ศึกษาข้อมูลทาง อินเตอร์เน็ต
การใช้ศาสตร์สากล
• การใช้เครื่องสกัดน�้ำตะไคร้หอม • ศึกษาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตเพื่อด�ำเนินโครงการ
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
161
นวัตกรรมเกษตรครบวงจร
โครงการพลังปัญญา
หญ้า+โค = 1 ล้าน จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้เข้าร่วมโครงการ นายไชยวัฒน์ นายล�ำพอง นายบันเทิง นางสาวนงเยาว์ นายดิตถ์ธรนินท์ นายสมเดช นายไขศิลป์
ปัญญาทา (ประธานโครงการ) ชวนสินธุ์ ปํญญาทา สานต๊ะ บัวดี ขึมจันทร์ รัตนเดชา
จากพื้นดินที่แห้งแล้งและแร้นแค้น
นายสมชาย นายอุบล นายชลนะที นายสมเดช นายแหวน นางบุญมา นายสมบุญ
เทีนรมนต์ แดงไสว ปัญญาทา บัวดี วงนาน้อย มากมาย เลี้ยงบ�ำรุง
ความยากล�ำบากของชาวบ้านที่ต้องรอช่วงฤดูฝนเพียงอย่างเดียว ที่พอจะสามารถเพาะปลูกพืชผักรวมถึงข้าวได้ แต่ด้วยความแห้งแล้งและฟ้าฝนที่ไม่ค่อยจะตกต้องตามฤดูกาลนัก ยิ่งท�ำให้ชาวบ้านได้รับความยากล�ำบาก เพราะขาดแคลน น�้ำที่เป็นสิ่งหล่อเลี้ยงทุกชีวิตในพื้นที่แห่งนี้ แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีแสงสว่างที่มาช่วยน�ำทางให้กับเกษตรกร ด้วยพืชที่หลายคน มองว่าไร้ประโยชน์ไม่มีค่า แต่เป็นพืชที่ขึ้นได้แม้ในสภาพแห้งแล้งนั่นก็คือต้นหญ้า เพียงแต่ว่าหญ้าชนิดไหนที่จะน�ำมาต่อยอด ให้เกิดรายได้และช่วยพลิกฟื้นสภาพแวดล้อม
162 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
เริ่มต้นจากสิ่งหนึ่งสู่อีกสิ่งหนึ่ง
หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 เป็นหญ้าที่สามารถขึ้นได้ในพื้นที่แห้งแล้ง ใช้น�้ำน้อยในการดูแล แต่ทว่าหญ้าไม่ใช่พืชเศรษฐกิจที่จะท�ำให้เกิดรายได้ เป็นกอบเป็นก�ำ ด้วยแนวคิดของพลังปัญญาที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถ ด�ำรงชีวติ ได้อย่างยัง่ ยืน ในเมือ่ ท�ำการเกษตรยากนัก การเรียนรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะหัน ไปเลี้ยงสัตว์โดยใช้หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ที่เหมาะกับการเลี้ยงสัตว์อย่าง โคพันธุ์พื้นเมืองและโคขุนที่มีราคาดี จึงเป็นหนทางที่จะก้าวไปสู่ข้างหน้า เรียนรู้จากประสบการณ์และหาข้อมูลเพิ่มเพื่อก้าวต่อ
โครงการหญ้าบวกโคเท่ากับ 1 ล้าน มี 2 กิจกรรมหลักคือ
1. พัฒนาคน โดยการให้ความรู้และความเข้าใจแก่เกษตรกรเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนการเพาะปลูก
และการเลี้ยงสัตว์ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อวางรากฐานและเครือข่ายในการปลูกหญ้า รวมถึงการเลี้ยงโค นอกจากเพื่อเป็นการรวมกลุ่มในการหาตลาดเพื่อจ�ำหน่ายหญ้าที่มากเกินความต้องการ เพราะหญ้า เนเปียร์ปากช่อง 1 เป็นหญ้าที่กลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ต้องการ ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
2. พัฒนาพื้นที่ โครงการหญ้าบวกโคเท่ากับ 1 ล้าน มีส่วนช่วยพัฒนาพื้นที่อันแห้งแล้งให้อุดมสมบูรณ์ขึ้น หลังจากการปลูกหญ้าจนเต็มพื้นที่แล้วความชุ่มชื้นในดินเริ่มมากขึ้น การปลูกพืชแบบผสมผสานก็ท�ำได้ดีขึ้น รวมถึงการ ใช้มูลจากโคมาท�ำเป็นปุ๋ยส�ำหรับปลูกหญ้าและพืชพรรณอื่นๆ เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนและครบวงจร
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
163
การด�ำเนินโครงการได้ยึดหลักของพลังปัญญา โดยใช้ 3 ศาสตร์ร่วมกัน คือ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
ท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์ จากมูลสัตว์ เพื่อเป็นสาร อาหารแก่หญ้าเนเปียร์
เลี้ยงไส้เดือน เพิ่มธาตุอาหาร
ให้ความรู้การเลี้ยงโค และการปลูกหญ้า แก่ผู้ที่สนใจ
การใช้ศาสตร์ชาวบ้าน
• ด�ำเนินการท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากมูลสัตว์ เพื่อน�ำไปเป็นสารอาหารให้แก่หญ้าเนเปียร์ • มีการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อเพิ่มแร่ธาตุให้แก่พื้นที่ท�ำการเกษตรของกลุ่ม • ให้ความรู้ในการเลี้ยงโคและปลูกหญ้าเนเปียร์แก่ผู้ที่สนใจ การใช้ศาสตร์พระราชา การใช้ศาสตร์พระราชา ยึกหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการด�ำเนินโครงการ
164 พลังปัญญา
POWER of WISDOM
• ยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยท�ำการ เกษตรแบบผสมผสานเป็ น หลั ก ในการด� ำ เนิ น งาน ของโครงการ
การใช้ศาสตร์สากล
หาความรู้เพิ่มเติม จากอินเตอร์เน็ต
หาข้อมูลพันธุ์หญ้า จากผู้เชี่ยวชาญ
ขอข้อมูลสายพันธุ์โค จากปศุสัตว์อ�ำเภอ
เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้
การใช้ศาสตร์สากล
• มีการสืบค้นหาข้อมูล หาความรู้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต • มีการศึกษาหาข้อมูลเกีย่ วพันธุห์ ญ้าจากผูท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน • มีการขอข้อมูลสายพันธุ์โคจากกรมปศุสัตว์อ�ำเภอ • เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ พร้อมที่จะให้ความรู้ผู้ที่สนใจอยู่เสมอ
จากพืน ้ ทีว ่ า่ งเปล่าอันแล้นแค้น สามารถปลูกหญ้าเนเปียร์ จนกลายเป็นพืน ้ ดินอันชุม ่ ชืน ้ สามารถปลูก
พืชพันธุ์ได้หลากหลาย กลายเป็นที่นิยมในชุมชน ผู้คนสนใจและหันมาปลูกกันเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ชุมชน เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
พลังปัญญา
POWER of WISDOM
165
www.palangpanya.com www.พลังปัญญา.com
พลังปัญญา Wisdom Line : 080-158-8883, 080-728-8883