newsletter%20June12

Page 1

จดหมายขาว

เพือ่ การเตือนภัย ดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูดานมาตรฐานระบบการ จัดการและการเตือนภัย

ปที่ 2 ฉบับที่ 14 เดือนมิถุนายน 2555

I Coca-Cola กับ ISO 50001 ISO 50001 มาตรฐานที่ถูกนําไปใชทั่วโลก ฉลาก WindMade™ สัญลักษณของการใชพลังงานสะอาด ISSN 2228-9925


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

จดหมายขาวเพือ่ การเตือนภัยดานมาตรฐาน ภายใตโครงการสรางระบบขอมูล และองคความรูด า นมาตรฐานระบบการจัดการและการเตือนภัย

สืบเนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยาง รวดเร็วของประเทศกําลังพัฒนา ประกอบกับจํานวน ประชากรของโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ทําใหความตองการใช พลังงานสูงขึน้ ตามไปดวย แตแหลงผลิตพลังงาน ยังไมมแี นวโนมเพิม่ ขึน้ ซึง่ อาจสงผลกระทบตอการ เกิดวิกฤตดานพลังงานได ดวยเหตุนี้มาตรฐานที่ เกีย่ วของกับการจัดการพลังงานจึงไดรบั การพัฒนา และเริ่มมีการนําไปประยุกตใชแพรหลายมากขึ้น เพือ่ ใหมแี นวทางในการจัดการ และใชประโยชนจาก แหลงพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จดหมายข า วเพื่ อ การเตื อ นภั ย ด า นมาตรฐาน ฉบับนี้ จึงไดนําเสนอเกี่ยวกับความเคลื่อนไหว ของมาตรฐาน และแนวปฏิบัติดานการจัดการ พลังงาน ไดแก Coca-Cola กับ ISO 50001 และ ISO 50001 มาตรฐานที่ถูกนําไปใชทั่วโลก รวม ถึง ฉลาก WindMade™ สัญลักษณของการใช พลังงานสะอาด ทายนีข้ อขอบคุณสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ที่สนับสนุนการจัดทําจดหมายขาวเพื่อการเตือน ภัยดานมาตรฐานมา ณ ที่นี้ กอง บก.

Coca-Cola กับ ISO 50001

ปที่ 2 ฉบับที่ 14 เดือนมิถุนายน 2555

Management System Certification Institute (Thailand): MASCI 1025, 2nd 11th 18th Floor, Yakult Building, Phaholyothin Road, Samsen Nai, Phayathai, Bangkok 10400, Thailand Tel. (+662) 617-1727-36 Fax. (+662) 617-1708

www.masci.or.th

•Coca-Cola มีการริเริ่มแผนงานในทุกพื้นที่ ซึ่ง ISO 50001 เนนที่การหาปริมาณการใช พลังงาน แต Coca-Cola ก็ยังมีการขยาย ขอบขายไปยังการหาปริมาณการใชนํ้าเพื่อ บริหารจัดการนํา้ ใหมปี ระสิทธิภาพเชนกัน และ องคกรสามารถลดการใชพลังงานได โดยแผน งานที่ไดดําเนินการ เชน การใชไฟ LED การ เพิม่ ประสิทธิภาพเตาอบขวด การนําความรอน จากระบบทําความเย็นกลับมาใชใหม การใช พลังงานจากธรรมชาติในพืน้ ทีท่ สี่ ามารถทําได การบรรจุนาํ้ ลงกระปองและขวดทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ ง เพือ่ ลดการใชพลังงานของชิลเลอร และการติด ตั้งระบบติดตามแบบ real time เพื่อวัดการ ใชพลังงานและนํ้า สถานที่ใช เวลา และสภาพ แวดลอม

หนึ่งในนั้น คือ Coca-Cola Enterprises Ltd. ใน Wakefield ประเทศอังกฤษ ที่ถือเปนองคกรแรก ของโลกในอุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีไ่ ดรบั การรับรอง ISO 50001 ซึ่งเปนโรงงานขนาดใหญที่ มีปริมาณการผลิตเครือ่ งดืม่ ทีส่ งู ทีส่ ดุ ในยุโรป มีสาย จากขอมูลของ German Federal Environ- การผลิตถึง 10 สายการผลิต โดยสามารถผลิต ment Agency เมื่อเดือนพฤษภาคม 2012 ระบุ เครื่องดื่มไดสูงถึง 6,000 กระปอง/นาที ว า มี ผู  ที่ ไ ด รั บ การรั บ รอง ISO 50001 หรื อ Coca-Cola มีเปาหมายดานการอนุรักษพลังงาน มาตรฐานระบบการจัดการพลังงานแลวกวา 300 และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การลด แห ง ซึ่ ง มี ทั้ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมและอาคาร คารบอนฟุตปริ้นลง 15% ในป 2020 (จากป 2007) •ISO 50001 มุงเนนที่การลดการใชพลังงาน และระบบการติดตามที่เหมาะสม ซึ่งสิ่งเหลานี้ สํานักงาน จาก 33 ประเทศ เพื่อกาวสูการเปนธุรกิจคารบอนตํ่า ซึ่งระบบการ จะชวยให Coca-Cola ประสบความสําเร็จใน จัดการพลังงาน ถือเปนเครื่องมือหนึ่งที่จะชวยให การปรับปรุงผลการดําเนินงานดานพลังงาน บรรลุเปาหมาย โดยในป 2006-2007 สามารถลด อยางตอเนื่อง และมีการใชพลังงานอยางมี ปริมาณการใชพลังงานและนํา้ ลงได 16.5% และ 10% ประสิทธิภาพ รวมถึงผลประโยชนดานการเงิน ตามลําดับ ตอธุรกิจ แนวคิดและแนวทางการดําเนินงานทีน่ า สนใจเกีย่ วกับ จะเห็นไดวา แนวทางในการดําเนินงานเพื่อลด ISO 50001 ของ Coca-Cola เชน การใช พ ลั ง งานนั้ น อาจจะคล า ยกั บ หลายๆ •การไดรบั รอง ISO 50001 จะชวยผลักดันใหองคกร กาวหนาดวยประสิทธิภาพใหมๆ และลดคารบอน ฟุตปริน้ และตนทุนใหมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ในปจจุบนั CocaCola มีแนวทางในการระบุโอกาสเพื่อการปรับปรุง และมีการทบทวนขอบขายการบริหารเพื่อติดตาม การดําเนินงานและการบันทึกผล

องคกร แตประเด็นสําคัญ คือ ตองใหความ สํ า คั ญ กั บ การติ ด ตามผลและการปรั บ ปรุ ง อยางตอเนื่อง ซึ่งจะทําใหองคกรมีระบบการ จั ด การพลั ง งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและธุ ร กิ จ มี ความยั่งยืน ที่มา: ISO focus+, March 2012, www.cokecce.co.uk

PAGE 2


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

ISO 50001 ม า ต ร ฐ า น ที่ ถู ก นํ า ไ ป ใ ช  ทั่ ว โ ล ก

แมวา ISO 50001 จะเพิ่งประกาศใชมาประมาณ 1 ป (ประกาศใชเมื่อ 9 มิ.ย.11) แตมีจํานวนผูที่ ไดรับการรับรองแลวกวา 300 แหงทั่วโลก ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบขอมูลจํานวนที่ไดรับการรับรอง ISO 50001 เดือนมกราคม 2012 ที่มีประมาณ 100 แหง กับขอมูลในเดือนพฤษภาคม 2012 พบวามี อัตราการเติบโตสูงขึ้นเกือบ 70% ทั้งนี้ ISO 50001 ไดถูกนํามาใชแทนที่ BS EN 16001 ซึง่ เปนมาตรฐานการจัดการพลังงานของฝง ยุโรป ทีป่ ระกาศใชมาตัง้ แตป 2009 โดยจะถูกเพิก ถอนในกลางป 2012 นี้ แตในปจจุบันยังมีจํานวน ผูที่ไดรับการรับรองอยูถึง 500 แหง ซึ่งหาก BS EN 16001 นี้ถูกเพิกถอนก็นาจะทําใหมีจํานวนผู ที่เปลี่ยนถายมาใชมาตรฐาน ISO 50001 เพิ่มขึ้น อีกเปนจํานวนมาก สําหรับประเทศไทยเองยังถือวามีจํานวนผูที่ไดรับ การรับรอง ISO 50001 อยูใ นอันดับตนๆ ของโลก แตหาก BS EN 16001 ถูกเพิกถอน ก็นา จะทําให จํานวนและสัดสวนของผูที่ไดรับการรับรอง ISO 50001 เปลี่ยนแปลงไปมาก

ISO 50001 มาตรฐานที่ถูกนําไปใชทั่วโลก

จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นวาการจัดการพลังงาน ไมใชเรือ่ งใหมในภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมของ โลก ดังนั้น ผูประกอบการไทยที่ตองการสรางขีด ความสามารถในการแขงขันทัง้ ในระดับประเทศและ ระดับสากล รวมถึงตองการมีสว นรวมในการสราง ความมัน่ คงดานพลังงานอยางยัง่ ยืน คงตองหันมา •Delhi International Airport – อินเดีย ใหความสําคัญกับการจัดการพลังงานอยางจริงจัง โดยสามารถนํา ISO 50001 นีม้ าประยุกตใชควบคู •Hong Kong Science and Technology กับมาตรฐานระบบการจัดการอืน่ ๆ ทีอ่ งคกรมีอยู Parks Corporation – ฮองกง อยางบูรณาการ เพือ่ ลดคาใชจา ยและระยะเวลาใน การประยุกตใชมาตรฐานใหมนี้ •Siam Industrial Wire (SIW) – ไทย

หลายๆ คน คงรู  จั ก ISO 50001 Energy management systems หรือมาตรฐานระบบ การจัดการพลังงานแลว เพราะในประเทศไทยเอง มีหลายหนวยงานทีม่ กี ารสงเสริมและสนับสนุนให องคกรหรือสถานประกอบการไดรบั ความรูแ ละนํา ประเทศทีม่ จี าํ นวนผูท ไี่ ดรบั การรับรอง ISO 50001 ที่ ม า: Mr.Reinhard Peglau, German มาตรฐานระบบการจัดการพลังงานไปใช เพื่อให มากที่สุด คือ เยอรมัน อิตาลี เกาหลีใต สเปน Federal Environment Agency และ เกิดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ไตหวัน อังกฤษ สวีเดน ไอรแลนด ตุรกี ไทย และ www.bsigroup.com ขอมูลลาสุด จากการรวบรวมของ Reinhard ฝรั่งเศส ตามลําดับ Peglau จาก German Federal Environment No. Country Site Company Agency (Umweltbundesamt - UBA) ณ เดือน 1 Germany 131 84 พฤษภาคม 2012 ระบุวา มีผทู ไี่ ดรบั การรับรอง ISO 2 Italy 26 24 50001 แลว จํานวน 328 แหง ใน 33 ประเทศ ซึ่งมี South 3 Korea 22 13 ทั้งโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารสํานักงาน เชน •Automobili Lamborghini - อิตาลี •Bouygues Telecom – ฝรั่งเศส

4

Spain

17

15

5

Taiwan

12

12

6

UK

11

11

7

Sweden Ireland

11

8

10

8

10

8

9

9

•Equinix Data Centre – ฮอลแลนด

8

•Lindt & Sprüngli – เยอรมัน

10

Turkey Thailand

11

France

9

5

12

Other

60

58

Total

328

255

•Northern Rail – อังกฤษ •China Steel Corporation – ไตหวัน

PAGE 3

9


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

ฉลาก WindMade™ สัญลักษณของการ ใชพลังงานสะอาด โดย

PAGE 4

Intellige nce Te am

The WindMade™ Label หรือฉลากพลังงาน ลม เปนฉลากที่แสดงใหเห็นวาผลิตภัณฑหรือ องคกรมีการใชพลังงานลม เพื่อใหสอดคลองตอ แนวโนมการรักษาและคุมครองสภาวะแวดลอม ของโลก ทั้งนี้ ฉลากดังกลาวถือเปนการใหขอมูล แกลูกคาและคนทั่วไปเพื่อใชในการตัดสินใจและ เปนชองทางในการประชาสัมพันธและสรางภาพ ลักษณใหแกผลิตภัณฑและองคกร

-- Version 1.0, October 13, 2011 สัญลักษณของฉลากพลังงานลมสําหรับบริษัท และองคกร แบงออกไดเปน 2 แบบ คือ • แบบที่ 1 (Label type 1) ฉลากแสดงเฉพาะ การใชพลังงานลมเพียงอยางเดียว

หนวยงานทีเ่ ปนเจาของ The WindMade™ Label คือ WindMade™ ซึง่ เปนองคกรอิสระไมแสวงหา กําไรในเบลเยีย่ ม ซึง่ ไดรบั การสนับสนุนจากหลาย หนวยงาน เชน UN Global Compact, Vestas Wind Systems, The Global Wind Energy ตัวอยาง Label type 1: 100% wind energy Council (GWEC), WWF, The LEGO Group, • แบบที่ 2 (Label type 2) ฉลากแสดงการใช PwC และ Bloomberg พลังงานลมและพลังงานทดแทนอื่นๆ ฉลาก WindMade™ ถือเปนมาตรการของเอกชน (รูปที่ 1) โดยสมัครใจ โดยมีเกณฑแบงเปน 2 ประเภท คือ 1) ฉลากสําหรับบริษทั และองคกร โดยมีขอ กําหนด ในการขอรับสิทธิการใชฉลาก คือ องคกรตองมี การนําพลังงานลมมาใชอยางนอย 25% ของปริมาณ ไฟฟาทัง้ หมด โดยใหเปนไปตามมาตรฐานพลังงาน ลมสําหรับบริษัทและองคกร หรือ WindMade Standard for Companies and Organizations


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

(รูปที่ 2)

ตัวอยาง Label type 2: Mix of energy sources 2) ฉลากสําหรับผลิตภัณฑ จะตองเปนไปตาม Technical Standard for Products ซึง่ ยังอยูร ะหวาง การพัฒนา คาดวาจะแลวเสร็จภายในป 2012 นี้ องคกรแรกที่ไดรับ The WindMade™ Label เปนแหงแรก คือ Widex ในเดนมารก ซึ่งเปนผูผลิต เครื่องชวยฟงดิจิตอลรายใหญและมีสาขาทั่วโลก โดยมีการใชพลังงานลม 25% ของการใชพลังงาน ทั้งหมด ซึ่งกังหันลมที่ตั้งอยูที่สํานักงานใหญในเดนมารกสามารถผลิตกระแสไฟไดถึง 95% จาก ปริมาณทีต่ อ งการใชทงั้ หมด ซึง่ สูงกวาความตองการพืน้ ฐานของการเขารวมโครงการกับ WindMade นอกจาก Widex ยังมีอกี หลายบริษทั /องคกร ทีเ่ ขารวมโครงการ และนาจะไดรบั The WindMade™ Label ในเร็วๆ นี้ เชน Becton Dickinson, Motorola, Deutsche Bank และ PricewaterhouseCoopers Denmark พลังงานลมนี้ถือเปนพลังงานสะอาดในหลายๆ ประเทศ สนับสนุนและสงเสริมใหมีการพัฒนาและใช พลังงานลมเปนพลังงานทดแทนการใชพลังงานจากโรงไฟฟาหรือถานหินทีก่ อ ใหเกิดกาซเรือนกระจก ที่เปนอันตรายตอสภาวะแวดลอม ประเทศไทยในอดีต สวนใหญจะใชกังหันลมเพื่อการสูบนํ้ามากกวาการผลิตกระแสไฟฟา เนื่องจาก ขอจํากัดทางกายภาพของการผลิตพลังงานลม โดยตองมีความเร็วลมสูง (ประมาณ 8 เมตรตอ วินาที) กระแสลมไมแปรปรวน และมีกระแสลมตอเนื่อง แตประเทศไทยมีอัตราความเร็วลมสูงสุดที่ 2.5-4.2 เมตรตอวินาทีเทานั้น อยางไรก็ตาม มีหลายหนวยงานที่มีการศึกษาพื้นที่ที่มีศักยภาพของพลังงานลม เชน กระทรวง พลังงานที่รวมกับคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และตามที่กระทรวงพลังงานงานได กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาพลังงานทดแทน พ.ศ.2551-2565 ซึง่ พลังงานลมก็ถกู บรรจุเปนหนึง่ ในโครงการพลังงานทดแทน (Renewable Portfolio Standard: RPS) โดยการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทยไดดาํ เนินการกอสรางกังหันลมผลิตไฟฟาลําตะคองระยะที่ 1 บริเวณรอบอางพักนํา้ ตอนบนของโรงไฟฟาลําตะคองชลภาวัฒนา อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ทีเ่ ริม่ จายไฟฟาได ตั้งแตเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 และยังมีการดําเนินโครงการอยางตอเนื่อง จากความมุง มัน่ ในการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนของภาครัฐ และการคิดคนและพัฒนานวัตกรรม ใหมๆ ของภาคเอกชนทีม่ ศี กั ยภาพ นาจะทําใหประเทศไทยมีการใชพลังงานลมทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม มากขึ้น และอาจมีองคกรที่ไดรับ WindMade™ ในอนาคตอันใกล ที่มา: www.windmade.org , กระทรวงพลังงาน และ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

PAGE 5


M A N A G I N G T O D AY F O R T O M O R R O W ’ S W O R L D

News & Activities

PAGE 6

ขอเชิญเขารวมงานสัมมนา หัวขอ How Your Organization Can Continue to manage your business over the next 100 years: Application for ISO 22301:2012 (Business Continuity Management System) สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ไดจดั ใหมกี ารสัมมนาเพือ่ ใหความรูแ กผทู สี่ นใจ ใน หั ว ข อ “How your organization can continue to manage your business over the next 100 years: Application for ISO 22301:2012 (Business Continuity Management System)” ซึ่ ง บรรยายโดย วิทยากรผูเ ชีย่ วชาญจากสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ โดยจัดขึ้นในวันพุธที่ 25 กรกฎาคม 2555 เวลา 09:00 – 17:00 น. ณ หองบอลรูม 1 ชั้น 4 โรงแรมอินเตอรคอนติเนลตัล กรุงเทพฯ โดยการสัมมนา ในหัวขอ “How Your Organization Can Continue to manage your business over the next 100 years: Application for ISO 22301:2012 (Business Continuity Management System)” มีวตั ถุประสงคเพือ่ นําเสนอแนวทางและเทคนิคใน การยกระดับใหองคกรสามารถบริหารจัดการ ความต อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ได ค รบถ ว นสมบู ร ณ สอดคลองตามมาตรฐานสากล ISO 22301:2012 ซึ่งเปนมาตรฐานเพื่อการรับรอง (Certifiable Standard) ฉบับใหมที่ผูประกอบการใหความ สนใจในขณะนี้ นอกเหนือจากการจัดการในสภาวะ วิกฤต (Crisis Management) ดังนั้น สถาบันฯ จึงใครขอเรียนเชิญทานและบุคลากรเขารวมการ

สัมมนาครั้งนี้ โดยมีคาใชจายทานละ 5,000 บาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม7%) และขอไดโปรดแจง ความประสงคในการเขารวมการสัมมนาไปยัง สถาบันฯ โดยติดตอคุณนัคมน หรือ คุณธีรกุล หมายเลขโทรศัพท (662) 617-1727 ตอ 308 หรือ 307


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.