INTRODUCTION
4 SCENARIOS OF THE FUTURE OF THAILAND THE
(2020)
ท่ามกลางวิกฤตทางการเมืองและ สังคมที่แตกแยก ความผันผวนและ ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ ทัง้ ในระดับ ประเทศและระหว่างประเทศ กลายเป็น เรือ่ งทีท่ า้ ทายต่อความอยูร่ อดและการ พัฒนาองค์กรให้มีความยั่งยืน แต่ละ องค์กรจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะ ต้องหาวิธีหรือเครื่องมือในการรับมือ กับความไม่แน่นอน (Uncertainty) ที่ อาจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต และตั ด สิ น ใจ ภายใต้สถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วได้
การสร้างความเข้าใจต่อปัจจัยแวดล้อม แนว โน้มและประเด็นปัญหาส�ำคัญทีจ่ ะมีผลกระทบต่อ ธุรกิจ ด้วยการมองภาพของอนาคตที่มีอยู่เพียง ภาพเดียว คงจะรับมือกับการเปลีย่ นแปลงทีม่ ขี นึ้ อย่างรวดเร็วไม่ได้อกี ต่อไป ผูบ้ ริหารจ�ำเป็นต้องมี การวางแผนเพื่อรองรับเหตุการณ์ในอนาคตใน หลายๆ สถานการณ์ เพื่อให้เห็นถึงความเสี่ยง และโอกาสทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ และ มีผลต่อความส�ำเร็จขององค์กร ซึง่ เครือ่ งมือหรือ วิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริหารเกิดความเข้าใจ ว่าองค์กรจะจัดการกับการเปลี่ยนแปลงได้ คือ Scenario Planning สถาบั น รั บ รองมาตรฐานไอเอสโอได้ น� ำ Scenario Planning มาใช้ในการสร้างภาพ เหตุการณ์จ�ำลองอนาคตภายใต้ค�ำถามส�ำคัญที่ ว่า “อนาคตประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหน้า จะสามารถ เติบโตอย่างยั่งยืนหรือไม่ (Will Thailand be able to attain sustainable growth in the next 5 years?)” โดยวิเคราะห์เหตุผลที่อาจเป็น ไปได้ (Plausible) จาก 2 แรงผลักดัน (Driving Force) คือ การเปลี่ยนแปลงของประชาธิปไตย (Shift of Democracy) และ การแบ่งแยกทาง สังคม (Social Divide) ซึง่ สามารถแบ่งภาพเหตุ การจ�ำลองอนาคตณ์ทอี่ าจเกิดขึน้ ในแต่ละจตุภาค (Quadrant) ประกอบด้วย 4 ภาพเหตุการณ์ (Scenario) คือ
SCENARIO 1: รัฐบาลมีเสถียรภาพ เน้นการ
บริหารแบบมีสว่ นร่วม (Anticipatory Governance) เศรษฐกิจพัฒนาอย่างก้าวกระโดด และสังคมมี ความเท่าเทียมกัน เรียกภาพเหตุการณ์จ�ำลอง อนาคตนี้ว่า “Land of the Rising Star”
SCENARIO 2: รัฐบาลมีหลักการปกครอง
ประชาธิปไตยอย่างเสรี แต่รฐั ไม่สามารถแก้ปญ ั หา ความเหลื่อมล�้ำทางสังคมและเศรษฐกิจได้ เรียก ภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคตนี้ว่า “Land of the Freedom”
SCENARIO 3: รัฐบาลไม่ได้รับความชอบ
ธรรมและไม่สามารถบริหารประเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สังคมมีความแตกแยกอย่างรุนแรง ความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจและสังคมมีมากขึ้น เรียกภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคตนี้ว่า “Land of the Falling Star”
SCENARIO 4: รัฐบาลมาจากการรัฐประหาร
ไม่เป็นทีย่ อมรับในภูมภิ าคยุโรป และสหรัฐอเมริกา มีการก�ำหนดมาตรฐาน กฎระเบียบ และการปรับ โครงสร้างต่างๆ เพือ่ ลดปัญหาการคอร์รปั ชัน่ และ ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจและสังคม เรียกภาพ เหตุการณ์จำ� ลองอนาคตนีว้ า่ “Land of the Junta”
SCENARIO 1: LAND OF THE RISING STAR
(PARTICIPATORY DEMOCRACY, NARROWING SOCIAL DIVIDE)
Social • เกิดการปฏิรปู การศึกษาอย่างจริงจัง การ ศึกษาพื้นฐานเริ่มปรับเปลี่ยนจากระบบ ท่องจ�ำมาสูร่ ะบบการพัฒนาความคิด มุง่ เน้นการศึกษาด้วยตนเอง (Self-Learning) โดยให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางและเรียนรูด้ ว้ ย ตนเองจากสถานการณ์จริงและฝึกทักษะ การแก้ปัญหา ส่วนการศึกษาระดับสูงจะ เป็นการพัฒนาร่วมระหว่างสถานศึกษา และภาคธุรกิจ และการศึกษาระดับอาชีวะ ได้รับการยอมรับมากขึ้น • การเข้าถึงระบบการศึกษา สาธารณูปโภค และโอกาสในการสร้างอาชีพและรายได้ มีการกระจายตัว ท�ำให้คนในสังคมไทย โดยเฉพาะคนในกลุม่ ฐานรากของสังคมมี คุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความเท่าเทียมทางสังคม มากยิง่ ขึน้ เช่น การพัฒนาระบบ Massive Open Online Course (MOOC) เพือ่ ให้ ทุกคนในสังคมสามารถเข้าถึงการศึกษาที่ มีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียม
• คนในสังคมมีวิถีชีวิตแบบ Net Citizen โดยมีพฤติกรรมทีใ่ ฝ่รู้ และอาศัย Internet ในการศึกษา เรียนรู้ มากกว่าเพื่อความ บันเทิง ตลอดจนการใช้ Internet ในการ แสดงออกทางความคิดแบบ Proactive มากยิ่งขึ้น • กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มคนรากหญ้าก้าว ขึ้นมาเป็นชนชั้นกลาง • เกิดการเคลื่อนย้ายประชากรไปสู่เมือง ใหญ่ๆตามภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศ จาก การพัฒนาเศรษฐกิจทีก่ ระจายตัวไปทัว่ ทุก ภูมิภาค ไม่กระจุกตัวเฉพาะในเมืองหลวง • ความส�ำเร็จในการด�ำเนินนโยบายบริหาร ประเทศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ตลอด จนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ท�ำให้ไทย สามารถแก้ปญ ั หาความแตกแยกทางสังคม มีการเจรจาพูดคุย เกิดความปรองดอง และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสามัคคี
Technology • การเคลื่อนย้ายเทคโนโลยีจากประเทศ ตะวันตกสู่ภูมิภาคอาเซียนเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วด้วยต้นทุนที่ลดลง เช่น การเกิด ความร่วมมือระหว่างไทยและเกาหลีใต้ใน การพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์เพื่อใช้ใน ภาคอุตสาหกรรม • ยุคของข้อมูลมหาศาล (Big Data) ได้เริม่ ต้นขึ้นอย่างมโหฬารเบ่งบานภายใต้ช่วง เวลานี้ จากการที่คนส่วนใหญ่ของสังคม สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี IT ผ่าน Mobile Devices จนเกิดเป็นยุคของสังคมการ เชื่อมต่อแบบ Hyper Connected • เกิด Internet of Things ร่วมกับ Artificial Intelligence (AI) โดยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ มีการติดต่อสื่อสาร และ แบ่งปัน (Share) ข้อมูลระหว่างกัน เกิดเป็น Smart City, Smart Building, Smart Home ในขณะทีโ่ รงงานอุตสาหกรรมก็ได้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดงั กล่าวในการท�ำให้ เครือ่ งจักรของโรงงานสามารถปรับตัวตาม การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ โดยอัตโนมัติ • เทคโนโลยีในกลุ่มอุตสาหกรรมมีความ ก้าวหน้า จากการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ ก่อให้เกิดการลงทุนในเชิงรุก เช่น การเกิด โรงงานแบบอัตโนมัติ ทีด่ ำ� เนินการโดยหุน่ ยนต์และควบคุมด้วยระบบ AI • เทคโนโลยียงั กระจายตัวไปสูค่ นส่วนใหญ่ ในสังคม เช่น การใช้ 3D Printing อย่าง แพร่หลาย ที่ท�ำให้คนในสังคมพัฒนา ตนเองเป็นผู้ผลิตสินค้าและเป็นเจ้าของ กิจการ การใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์อย่าง ง่ายในภาคเกษตรกรรม เป็นต้น
Economy
Environment
Politic
• ความมัน่ คงทางการเมืองส่งผลให้นกั ลงทุน
• เกิด Distributed Economy ที่ท�ำให้
• ภาครัฐและเอกชนใส่ใจในการแก้ไขปัญหา
• เกิ ด การปฏิ รู ป ระบบการเมื อ งโดยภาค
ต่างชาติหลั่งไหลเข้ามาลงทุนในประเทศ เป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับประเทศไทย ตั้งอยู่ในภูมิศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางของ ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) จึงท�ำให้การค้าการลงทุนทัง้ ในและ นอกประเทศมีปริมาณที่สูงขึ้น
คนในสังคมมีโอกาสในการท�ำธุรกิจ ขนาดย่ อ มของตนเอง และเกิ ด การ กระจายรายได้ไปสู่ชนชั้นกลางมากขึ้น ในขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยจะลดลง
สิ่งแวดล้อม เนื่องจากมีระดับการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตมากขึ้น ทัศนคติของคนในสังคมจึงให้ความส�ำคัญ กับการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
• อ�ำนาจซือ้ ในประเทศเพิม่ สูงขึน้ และเมือง
• ประเด็นด้านความยั่งยืน ได้มีการน�ำมา
ตามแนวชายแดนได้รบั การพัฒนาด้าน การลงทุนเนือ่ งจากมีการค้าขายระหว่าง ชายแดน มีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นจากตะเข็บ ชายแดนกระจายต่อไปตามแนวจังหวัด ที่ติดกัน
พิจารณาให้เป็นประเด็นส�ำคัญในการด�ำรง ชีวิตและการท�ำธุรกิจโดยทั่วไป
ประชาชน กล่าวคือ มีการถ่ายโอนอ�ำนาจ ทางการเมืองสู่ภาคประชาชนโดยแท้จริง ภาคประชาชนเข้ามามีบทบาทในการตรวจ สอบการด�ำเนินงานของรัฐบาลเพิม่ มากขึน้ ท�ำให้การคอรัปชั่นลดลง และมีกฎหมาย ที่เอื้ออํานวยต่อการตรวจสอบคอรัปชั่น อย่างมีประสิทธิภาพ
• รัฐบาลใช้จา่ ยในการลงทุนพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ รวม ทัง้ ระบบโลจิสติกส์เชือ่ มโยงเมืองเศรษฐกิจ ภายในและนอกประเทศ ตลอดจนการส่ง เสริมธุรกิจทีส่ นับสนุนการสร้างรายได้ของ คนฐานราก เช่น Bottom of the Pyramid Business Model ให้สามารถแข่งขันได้
• เศรษฐกิจไทยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
เศรษฐกิจกระจายตัวอยูต่ ามภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศมากยิ่งขึ้น
โดยศูนย์กลางการผลิตอาหารแปรรูป ยานยนต์ หุ ่ น ยนต์ จนมี ร ะดั บ การ พัฒนาทางเศรษฐกิจ ตามหลังเพียงแค่ สิงคโปร์ เมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศใน หมู่ประชาคมอาเซียน
• รายได้ตอ่ หัวของประชากรโดยเฉลีย่ สูงขึน้
• เศรษฐกิจอเมริกาเริ่มฟื้นฟู ในขณะ
จากการปฏิรูปอาชีพโดยมีการสร้างงาน สร้างอาชีพในลักษณะที่เป็น Creative Destruction คือ การวางแผนการพัฒนา งาน อาชีพใหม่ทเี่ หมาะสมกับอนาคต และ ลดระดับอาชีพทีไ่ ทยไม่สามารถแข่งขันได้
ที่เศรษฐกิจจีนเริ่มชะลอตัว จนท�ำให้ สหรัฐอเมริกากลับมาเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของประเทศไทย
• เกิดการพัฒนาเมืองใหญ่ทเี่ ป็นศูนย์กลาง
• เครือ่ งมือทางภาษีได้มกี ารน�ำมาใช้สำ� หรับ
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เช่น มาตรการภาษีด้านการใช้พลังงาน และ การจัดการของเสีย • ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ภัยแล้ง น�้ำท่วม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เริ่ม บรรเทาความรุนแรง
• เกิดการเมืองรูปแบบใหม่ทเี่ น้นการท�ำเพือ่
ผลประโยชน์ของประเทศ (Collectivism -Focused) มากกว่าผลประโยชน์ส่วน ตน (Individualism-Focused) • นโยบายการบริ ห ารประเทศมุ ่ ง เน้ น รู ป
แบบการบริหารอนาคต หรือ Foresight Management และการมีส่วนร่วมจาก ภาคสังคมและประชาชน เข้ามาใช้ในการ วางแผนการน�ำพาประเทศไทยไปสู่การ เป็นศูนย์กลาง และผูน้ ำ� ของอาเซียนจนเกิด เป็นนโยบายการพัฒนาประเทศทีม่ ปี ระสิทธิผล และประสิทธิภาพ • ความส�ำเร็จทางการเมืองท�ำให้รฐั บาลได้รบั การ ยอมรับและท�ำให้การเมืองมีเสถียรภาพ
SCENARIO 2: LAND OF THE FREEDOM
(PARTICIPATORY DEMOCRACY, WIDENING SOCIAL DIVIDE)
Social • ระบบการศึกษา สวัสดิการขัน้ พืน้ ฐานจาก
• สังคมมีความแตกแยก มีการกดขี่ ข่มเหง
ภาครัฐได้รบั การพัฒนา และสามารถเข้าถึง ได้โดยคนส่วนใหญ่ในสังคม แต่ไม่สามารถ พัฒนาคุณภาพได้เทียบเท่าบริการจาก ภาคเอกชนทีเ่ น้นการท�ำธุรกิจแบบทุนนิยม
ชนชัน้ ล่าง ซึง่ เป็นผลมาจากปัญหาในการ เข้าถึงโอกาสทางสังคมที่แตกต่างกัน
• คนในสังคมมีทัศนคติแบบบริโภคนิยม
วัตถุนิยม • ช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมยังคงเพิ่ม
สู ง ขึ้ น จากการที่ ก ลุ ่ ม ผู ้ มี ร ายได้ สู ง ใน สั ง คมสามารถอาศั ย อ� ำ นาจเศรษฐกิ จ ในการเข้าถึงโอกาสที่ดีกว่า เช่น การเข้า ถึงการศึกษาที่มีคุณภาพมากกว่าจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา และสิงคโปร์ การ เข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ทตี่ อ้ งอาศัยเงิน ลงทุนสูง เป็นต้น • เกิดการย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองใหญ่ที่เป็น
ฐานอุตสาหกรรมและการค้า เพือ่ แสวงหา โอกาสทางอาชีพ จนเกิดปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความขัด แย้งระหว่างชนชั้นอย่างรุนแรง
Technology
Economy
• อุตสาหกรรมของกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่
• ระบบเศรษฐกิจอยูบ่ นพืน้ ฐานของทุนนิยม
มีการลงทุนในเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีผล ตอบแทนทางการลงทุนสูง เช่น การใช้ หุ่นยนต์เข้าแทนที่การใช้แรงงาน การใช้ เทคโนโลยีช้ันสูงในการควบคุมผลผลิต ทางการเกษตร ท�ำให้เกษตรกรรายย่อย ไม่สามารถแข่งขันได้
อย่างเต็มตัวและแสวงหาผลก�ำไรสูงสุด • เกิดการรวมกลุม่ ของธุรกิจทีม่ อี ยูเ่ ดิมเพือ่
รักษาผลประโยชน์ของตนเอง ท�ำให้ธรุ กิจ เกิดใหม่ไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ • กลุม่ เกษตกรประสบปัญหาความยากจน
• โครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีถกู พัฒนา
• กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่มีการลงทุนด้าน
โดยเอกชน ท�ำให้โครงสร้างพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น ระบบ Smart City, Smart Building กระจุกตัวอยู่ใน เมืองขนาดใหญ่ทคี่ นมีรายได้เพียงพอต่อ การจ่ายค่าบริการ
ระบบวิเคราะห์และจัดเก็บข้อมูลทีซ่ บั ซ้อน เพือ่ อาศัยประโยชน์จาก Big Data อย่าง เต็มที่ โดยที่ธุรกิจรายย่อยไม่สามารถ ด�ำเนินการในลักษณะเดียวกันได้ • ธุ ร กิ จ ขนาดย่ อ ยไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง
เทคโนโลยีทที่ นั สมัย เนือ่ งจากเทคโนโลยี เหล่านัน้ ต้องการเงินลงทุนทีส่ งู ในขณะ ทีก่ ลุม่ ธุรกิจขนาดย่อยไม่สามารถเข้าถึง เงินลงทุนจ�ำนวนมากได้
จากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ และการขาดเงินทุนในการลงทุน ทางเทคโนโลยี จนท�ำให้ผลผลิตทางการ เกษตรตกต�่ำ
Environment
Politic
• กลุม่ ธุรกิจมีการด�ำเนินงานด้านการพัฒนา
• การปฏิรูปทางการเมืองเริ่มต้นจากความ
สังคมและสิ่งแวดล้อม ในระดับพื้นฐาน จากการบังคับจากกฎระเบียบ โดยไม่ได้ เป็นการด�ำเนินงานโดยความสมัครใจ การ ด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนจึงยังไม่เกิด ประสิทธิผลอย่างเต็มที่
พยายามในการขจัดคอร์รปั ชัน่ ท�ำให้เกิด แนวทางในการตรวจสอบการใช้งบประมาณ ของภาครัฐอย่างเข้มงวด การแก้ไขกฎหมาย จนท�ำให้การเมืองมีความโปร่งใส เกิดการ เลือกตั้งที่เป็นธรรม ประชาชนมีอ�ำนาจ ทางการเมือง และมีความเป็นประชาธิปไตย อย่างสมบูรณ์
• เกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร เช่น น�ำ้
พลังงาน และการท�ำลายทรัพยากรอย่าง ต่อเนื่อง จากการบริโภคที่เกินตัว
• มีการออกนโยบายการบริหารประเทศ
• รัฐบาลใหม่เป็นรัฐบาลที่ได้รับความเชื่อ
อยู่ในเมืองอุตสาหกรรมและการค้าที่เป็น ฐานของกลุ่มธุรกิจที่มีอยู่เดิม
ส�ำหรับโครงการระยะสัน้ และการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้า เช่น การสร้างสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน การฟื้นฟูปัญหาภัยแล้งและ ปรับปรุงที่ดินท�ำกิน โดยการสร้างการมี ส่วนร่วมกับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม
มั่นจากสังคม มีความเข้มแข็ง สามารถ แก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด สเถี ย รภาพและความมั่ น คง ทางการเมือง
• อุตสาหกรรมเกิดการควบรวมธุรกิจโดย
• รัฐบาลใหม่มคี วามจ�ำเป็นต้องใช้งบประมาณ
• เศรษฐกิจของประเทศพัฒนากระจุกตัว
กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีเงินทุนมหาศาล • กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่กลายเป็นแรงผลัก
ดันเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของประเทศ ในขณะที่ กลุม่ เกษตกรและกลุม่ คนรากหญ้าประสบ ปัญหาทางรายได้ ท�ำให้เศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศเติบโตอย่างช้าๆ
• เกิดปัญหาภัยแล้ง สภาพภูมิอากาศแปร
ปรวน เกิดโรคระบาดทีม่ คี วามรุนแรงมากขึน้
ในประเด็นเร่งด่วน เช่น การขจัดความขัด แย้ง และการสร้างความพึงพอใจให้กบั คน ทุกฝ่ายในสังคม ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในการ ใช้งบประมาณ และท�ำให้นโยบายพัฒนา เศรษฐกิจ การปฏิรูประบบการศึกษาและ สวัสดิการพืน้ ฐานของประเทศไม่สามารถ ด�ำเนินการอย่างเต็มรูปแบบได้ในทันที
SCENARIO 3: LAND OF THE FALLING STAR (ABUSED DEMOCRACY, WIDENING SOCIAL DIVIDE)
• เกิดการย้ายถิน่ ฐานของคนเข้าสูเ่ มืองใหญ่
ที่เป็นฐานอุตสาหกรรมและการค้า เพื่อ แสวงหาโอกาสทางอาชีพ จนเกิดปัญหา ทางสังคม เช่น อาชญากรรม ยาเสพติด อย่างรุนแรง
Social • ระบบการศึกษาพืน้ ฐานของประเทศล้าหลัง
จากการขาดการพัฒนา และถูกจัดอันดับ เป็นล�ำดับสุดท้ายในกลุม่ ประเทศอาเซียน ส่งผลให้แรงงานไทยไม่สามารถแข่งขันกับ แรงงานจากประเทศอืน่ ในภูมภิ าคอาเซียนได้ • นโยบายการเมืองที่มุ่งเน้นการสนับสนุน
กลุม่ ธุรกิจของตนเอง โดยละเลยการพัฒนา ประเทศในส่วนรวม ท�ำให้เกิดการพัฒนา ระบบการศึกษาเฉพาะทาง การให้สวัสดิการ การรักษาพยาบาลทีด่ เี ฉพาะส�ำหรับกลุม่ ธุรกิจการเมือง ในขณะที่ระบบสวัสดิการ พื้นฐานของประเทศไม่ได้รับการพัฒนา • ช่องว่างของคนในสังคมขยายตัวขึน้ อย่าง
ต่อเนือ่ งจากการทีค่ นกลุม่ ฐานรากไม่ได้รบั โอกาสทางการศึกษา สวัสดิการ และการ สร้างรายได้ทเี่ ท่าเทียมกับกลุม่ คนทีอ่ ยูใ่ น กลุ่มธุรกิจการเมือง จนเกิดการแบ่งแยก ชนชั้นทางสังคมอย่างชัดเจน
• สังคมเกิดความแตกแยกจากปัญหาการ
แบ่งชนชัน้ แบ่งฝ่ายในสังคม จนท�ำให้เกิด ปัญหาความไม่สงบทางสังคมอย่างรุนแรง • คนในสั ง คมไทยที่ ไ ม่ ส ามารถทนต่ อ
สถานการณ์ของประเทศได้ เริ่มหมดหวัง และย้ายถิ่นฐานสู่ประเทศอื่นในภูมิภาค อาเซียนเพื่อแสวงหาโอกาสที่ดีกว่า
Technology • ความขัดแย้งทางสังคม ท�ำให้เกิดการใช้
เทคโนโลยีทมี่ ใี นทางทีผ่ ดิ เช่น การเพิม่ สูง ขึน้ ของอาชญากรรมด้าน IT ในการ Hack ข้อมูลเพื่อ Hijack อุปกรณ์ต่างๆที่เชื่อม ต่อในระบบ Internet of Things การใช้ 3D Printing ในการผลิตอาวุธ เป็นต้น จนท�ำให้เกิดนโยบาย และกฎหมายในการ ควบคุมการใช้เทคโนโลยีอย่างเข้มงวด
Environment
• นโยบาย และกฎหมายในการควบคุมการ
ถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น หุ่นยนต์ 3D Printing เป็นต้น และจ�ำเป็นต้องประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีทลี่ า้ หลังและภูมปิ ญ ั ญาท้อง ถิ่นในการด�ำเนินธุรกิจและด�ำเนินชีวิต • เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย มี ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้
อย่างกระจุกตัวเฉพาะในกลุม่ ธุรกิจสือ่ สาร พลังงาน ปิโตรเคมี อาหารแปรรูป ทีมี ความเกี่ยวข้องกับกลุ่มการเมือง จนมี ความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีท่ี ทันสมัยในประเทศไทยจึงเป็นเทคโนโลยีที่ ต้องการการลงทุนสูง เช่น การใช้หนุ่ ยนต์ ในกระบวนการผลิตอาหารแปรรูป เป็นต้น
• เริม่ ท�ำให้เกิดปัญหาความข้อพิพาทระหว่าง
ประเทศที่ย�่ำแย่ ท�ำให้แนวโน้มด้านการ ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนเริ่มหายไปจาก ประเทศไทย
ชาติในหมู่ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจาก ประเด็นด้านมลพิษ และการแย่งชิงน�้ำ (Pollution Dispute, Water Dispute)
• การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังคง
ใช้เทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนาแรงงาน ทีล่ า้ หลัง ท�ำให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก ประเทศพัฒนาแล้วเป็นไปอย่างล่าช้าและเกิด ขึน้ อย่างจ�ำกัดเฉพาะคนบางกลุม่ ในสังคม • ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมไม่สามารถเข้า
• สถานการณ์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของ
เลวร้ายลงอย่างต่อเนื่อง จนท�ำให้เกิดภัย ธรรมชาติทมี่ คี วามรุนแรงและความถีส่ งู ขึน้ • ประเทศไทยประสบปัญหาการขาดแคลน
Economic • สถานการณ์ในประเทศท�ำให้ตา่ งชาติขาด
ความเชื่อมั่น และลดระดับการลงทุนและ การติดต่อค้าขายกับประเทศไทย
น�้ำ จนเริ่มเกิดสถานการณ์การแย่งชิง น�้ำระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม และ ภาคครัวเรือน
Politic • รูปแบบทางการเมืองของประเทศไทยยัง
ท�ำให้แรงงานไทยตกงานเป็นจ�ำนวนมาก ส่ง ผลเสียต่อการเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันอย่าง มีนัยส�ำคัญ โดยยังคงเกิดการแบ่งฝ่าย และความขัดแย้งทางการเมือง จนท�ำให้ สถานการณ์ทางการเมืองไม่มเี สถียรภาพ
• เศรษฐกิจไทยพัฒนาอย่างกระจุกตัวเฉพาะ
• นโยบายการเมื อ งมุ ่ ง เน้ น การสร้ า งผล
• ปัญหาแรงงานไทยไม่สามารถแข่งขันได้
ในกลุ่มธุรกิจสื่อสาร พลังงาน ปิโตรเคมี อาหารแปรรูป ทีมคี วามเกีย่ วข้องกับกลุม่ การเมือง ในขณะทีเ่ ศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศล้าหลัง ไม่สามารถแข่งขันได้ใน ตลาดโลก • ประเทศอื่ น ในกลุ ่ ม อาเซี ย นได้ รั บ การ
ประโยชน์ส่วนตนโดยไม่ได้มองเรื่องผล ประโยชน์ของประเทศเป็นที่ตั้ง เช่น การ ออกนโยบายสนับสนุนกลุม่ ธุรกิจทีเ่ ป็นฐาน อ�ำนาจของกลุ่มการเมือง การใช้นโยบาย ประชานิยมแบบเกินเลย โดยละเลยการ พัฒนาประเทศในระยะยาว
สนับสนุนด้านการลงทุนจากสหรัฐอเมริกา และสิงคโปร์ จนท�ำให้เศรษฐกิจในประเทศ เหล่านี้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
• เกิดการคอร์รัปชั่นเป็นวงกว้าง จนท�ำให้
• ประเทศไทยถู ก ลดอั น ดั บ การพั ฒ นา
• รัฐบาลไม่มีนโยบายการบริหารประเทศ
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ล้าหลัง ประเทศเวียดนาม
ประเทศไทยถูกจัดอันดับเป็นประเทศที่มี การคอร์รปั ชัน่ มากทีส่ ดุ ในภูมภิ าคอาเซียน ที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้ไม่เป็นที่ยอมรับ และเกิดกระบวนการต่อต้านรัฐบาล จน เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง เป็นระยะ
SCENARIO 4: LAND OF THE JUNTA
(ABUSED DEMOCRACY, NARROWING SOCIAL DIVIDE)
Social • พัฒนาระบบการศึกษา โดยมุง่ เน้นความรัก
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม • การเข้าถึงระบบการศึกษา สาธารณูปโภค
และโอกาสในการสร้างอาชีพและรายได้ มีการกระจายตัว ท�ำให้คนในสังคมไทย โดยเฉพาะคนในกลุ่มฐานรากของสังคม มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ความแตกแยกทาง สังคมเริ่มลดลง • ประชาชนให้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งความ
โปร่งใส และการต่อต้านคอร์รัปชั่น • คนในสังคมมีวถิ ชี วี ติ โดยอาศัย Internet
ในการศึกษา การเรียนรู้ รวมถึงเพือ่ ความ บันเทิงและสุขภาพ • มีการเคลือ่ นย้ายแรงงานจากต่างชาติเข้า
มาภายในประเทศ และมีการจัดระบบการ จัดการแรงงานต่างชาติ
• ประชาชนสามารถด�ำเนินชีวิตในสภาพ
แวดล้อมที่เป็นปกติ จากเดิมที่มีความ ขัดแย้ง แต่มีการจ�ำกัดเสรีภาพในการ แสดงออกทางความคิด • ประชาชนที่ มี ก ารศึ ก ษาสู ง โดยเฉพาะ
Y-Generation ที่ มี ค วามสามารถใน การสื่อสารภาษาต่างประเทศ และการใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ จะเป็นผู้น�ำในองค์กร และมี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการสร้ า งการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
Technology • ภาคการเกษตรมีการใช้เทคโนโลยีและ
เครื่องจักรช่วยในการผลิตมากขึ้น • การเคลื่อนย้ายและการน�ำเข้าเทคโนโลยี
มาจากเฉพาะกลุม่ ประเทศในภูมภิ าคเอเชีย • Internet of Everything ท�ำ ให้เ กิ ด
การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะ Wearable Technology
• กลุ่มธุรกิจเปลี่ยนแปลงวิธีการในการ
เก็บ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ ข้ อ มู ล โดยการใช้ เ ทคโนโลยี แ บบ คลาวด์ (Cloud Technology) ผ่าน การ Outsource ซึ่งมีความคล่องตัว และช่วยลดต้นทุนในการพัฒนา ปรับปรุง และการบ�ำรุงรักษา
Political • รัฐบาลมาจากรัฐประหาร แต่ไม่เป็นทีย่ อมรับ
Economic
ในภูมิภาคยุโรป และสหรัฐอเมริกา
• การเติบโตของเศรษฐกิจภายในประเทศ
เกิดจากการท่องเที่ยวและการส่งออก ผู ้ ผ ลิ ต ในภาคอุ ต สาหกรรมและการ บริ ก ารจะมุ ่ ง ตอบสนองการบริ โ ภค ภายในประเทศควบคู่กับการส่งออก ภายในภูมิภาคเอเชีย • การลงทุนจากประเทศในภูมิภาคยุโรป
และสหรัฐอเมริกาชะลอตัว การลงทุน ส่วนใหญ่มาจากประเทศในภูมภิ าคเอเชีย • ภาครั ฐ มี ก ารลงทุ น ในการพั ฒ นา
โครงสร้างพืน้ ฐาน เพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจ ตลอดจนวางระบบโลจิสติกส์เพือ่ เชือ่ ม โยงเมืองเศรษฐกิจภายในประเทศและ กลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชีย และการ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม ให้สามารถแข่งขันได้
• ภาครัฐให้ความส�ำคัญกับนโยบายเศรษฐกิจ
พอเพียง การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ การจัดการน�ำ้ พลังงาน และระบบนิเวศ
Environment • ภาคอุตสาหกรรมยังคงให้ความส�ำคัญ
กับการด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เพือ่ ให้ อยู่รอดได้ในระยะยาว • ปัญหาสิง่ แวดล้อม อันเนือ่ งมาจากการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เช่น ภัย แล้ง น�้ำท่วม แผ่นดินไหว มีความถี่และ รุนแรงมากขึ้น • พึ่งพาพลังงานฟอสซิลเป็นหลัก และ
ขยายการพัฒนาพลังงานทดแทนให้ เป็นเชิงพาณิชย์มากขึ้น
• รัฐบาลมีนโยบายทีเ่ อือ้ อํานวยต่อการตรวจ
สอบการคอร์รัปชั่น • มีการปรับโครงสร้างภาษีเพื่อลดความ
เหลื่อมล�้ำทางสังคม รวมทั้งการก�ำหนด มาตรการทางภาษีส�ำหรับการดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เช่น มาตรการภาษี ด้านการใช้พลังงาน และการจัดการของเสีย • มีการก�ำหนดมาตรฐาน กฎระเบียบ ด้าน
ความยัง่ ยืน เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ความโปร่งใส เพื่อ เป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน