หยดธรรมนำชีวิต เล่ม 1

Page 1

หยดธรรม นำชีว�ต 1 พระอาจารยหนูพรม สุชาโต เจาอาวาสวัดสุนันทวนาราม ภาพประกอบ ธนวัฒน สุดสุนทร จัดรูปเลม ฉันทวัฒน พรหมว�ทักษ, อรไพล�ญญ ธนดลโอฬาร


คำนำ อาตมาขออนุโมทนาบุญกับคณะญาติธรรม ทั้งหลาย ที่มองเห็นความสำคัญของธรรมะเหมือน หนึง่ วามองเห็นความสำคัญของน้ำ และอาหาร วาจำเปน ตอรางกายฉันใด ธรรมะก็เปนเชนนั้น ยอมมีความ จำเปนตอจิตใจการขาดอาหารยอมเปนผลรายตอชีว�ต จิตใจขาดธรรมะ ยอมเปนผลราย ตอตนเองและสังคม กิเลสตัณหา เปร�ยบเสมือนเชื้อโรค ธรรมคือยาแก ชวยบรรเทา ชวยระงับ ชวยควบคุม ชวยกำจัดกิเลส ตัณหาใหอยูในขอบเขต เพ�่อเปนการปองกันไมใหเกิด ภัยข�น้ กับสังคม ความสุขคือความปรารถนา ของทุกชีวต� ธรรมะเทานั้นที่จะนำพาชีว�ตใหพบกับความสงบสุข อยางแทจร�ง บุคคลผู ฉลาดยอมรู จักว�ธีจัดการกับ อารมณ เหมือนตำรวจที่จัดการกับผู รายซึ่งเปนภัย ตอสังคม

ลมหายใจเปนอาหารกาย บุ ญ ละบาปเปน อาหารใจ ธรรมะทำจิตใหเปนบุญเปนที่มาของความสุข อธรรมทำจิตใหเปนบาปเปนที่มาของความทุกข ผู มี สติป�ญญายอมรู จักว�ธีเล�อกธรรมะ คืออารมณที่ เกิดข�้นในใจ กอนนำออกมาใช เพ�่อใหเกิดคุณเกิด ประโยชนตอตนเอง และสังคม การศึกษาธรรม ประพฤติธรรมคือจ�ดมุงหมาย ที่แทจร�งของชีว�ต การละชั่ว ทำดี คือหนาที่ที่แทจร�งของ ชีวต� ผูมีธรรมะอยูในใจ เปร�ยบเสมือนมีแกวว�เศษอยูในมือ ยอมสามารถเนรมิตความสุขใหกับตนเองและคนอื่นได เร�ยกวาธรรมบันดาล

พระอาจารยหนูพรม สุชาโต เจาอาวาสวัดสุนันทวนาราม


คำนำ มูลนิธิ มายาโคตมีมีความยินดีที่คณะผูมีจิต ศรัทธาในพระพ�ทธศาสนา โดยคุณตุมระยา มังคละพฤกษ และเพ�่อนๆไดแสดงความประสงคที่จะจัดพ�มพหนังส�อ รวบรวมคติธรรมที่พระอธิการ หนูพรม สุชาโต เจาอาวาส วัดสุนันทวนาราม ไดเมตตาเข�ยนข�้นมา เพ�่อเผยแพรในเฟสบุคและเวปไซตของมูลนิธิฯ ในชวง เวลาหลายปที่ผานมา ซึ่งธรรมเหลานี้มีสาระที่อาน เขาใจงายแตมีความล�กซึ้งกินใจ ผูอานสามารถใชใน การดำเนินชีว�ตประจำวันอยางมีสติอันจะนำมาซึ่ง ความสุขทั้งสำหรับตนเองและในการมีปฏิสัมพันธกับ ผูอื่นไดเปนอยางดี

นอกจากคติธรรมทีเ่ คยลงพ�มพแลว พระอาจารย หนูพรม สุชาโต ยังกรุณาเข�ยนหลักธรรมที่นาอาน เพ�่มเติมใหอีกชุดหนึ่ง ซึ่งทำใหหนังส�อมีความสมบูรณ ยิ�งข�้น อีกทั้งหนังส�อยังมีรูปเลมที่สวยงาม อานแลวเกิด ความรูส�กสดชื่น มูลนิธิ ฯ จึงขออนุโมทนากับคณะ ผูจัดทำที่เส�ยสละทั้งเวลา และทุนทรัพย เพ�่อเผยแผ ธรรมใหกวางขวางโดยไมหวังผลตอบแทน และหวังเปน อยางยิ�งวา คติธรรมในหนังส�อเลมนี้ จะเปนประโยชน แกทานผูอานในทางใดทางหนึ่งสมดังเจตนารมยของ ครูบาอาจารยและคณะผูจัดทำตอไป สุจิตราหิรัญพฤกษ มูลนิธิมายาโคตมี


พระพ�ทธเจาสอนให ตอสูกับกิเลส ตัณหา และอารมณ พยายามเอาชนะตนเอง คือการเอาชนะความรูส�ก อันจะนำไปสูการทำชั่ว

การไมคิดราย การไมทำราย อาฆาตพยาบาท ไมเอาเปร�ยบคนอื่น ใหอภัยตนเอง

การไมพ�ดราย การไมโกรธแคน ไมเบียดเบียนไมเห็นแกตัว และรูจักใหอภัยคนอื่น ทำไดเชนนี้เร�ยกวา

" รั ก ตนเอง"


คนจบ ป. 4 หร�อจบปร�ญญา หากทำผิดศีลธรรม ตกเปนทาสของอบายมุข ก็โงพอ ๆ กัน

ความเกิดเปนจ�ดเร�่มตน ของป�ญหาชีว�ต พระอร�ยเจาทั้งหลาย จึงเบื่อหนายตอการเกิด


“ค ติ โ ลก ง า น คื อ เ ง� น ” การดำเนินชีว�ตอยางไรศีลธรรม ชีว�ตก็ ไมตางจากสัตวเดรัจฉานตัวหนึ่ง

เง�นคืองาน เง�นคือแรงบันดาลใจ เง�นสนองความอยาก ทำทุกอยางเพ�่อเง�น และความทุกข

บันดาลสุข ในการทำงาน ความตองการของคนหลง เปนที่มาของความสุข ได ทั้งบุญทั้งบาป


“จิ ต ที่ มั่ น คง ” แมบุคคลใดจะทำไมดีไมงาม นั่นก็เปนเร�่องของเขา ไมใชหนาที่ของเรา ที่จะเอาพฤติกรรมไมดี ของคนอื่น มาเปนมลทิน กาย วาจา ใจ ของตนเอง

จิตที่มั่นคง ไมไดเกิดข�้นมาเอง การฝกฝน โดยอาศัยหลักธรรม เปนแนวทาง ใหจิต ตั้งมั่นอยูในศีล

อารมณที่ไมหวั่นไหว แตเกิดข�้นมาจาก อบรมตนเอง ของพระพ�ทธเจา แหงการปฏิบัติ มีความอดทน ในคุณงามความดี


การทำดีที่มีอยูในตัวเรา คือทำดีดวยกาย วาจา ใจ อันนี้ทำไดตลอดไป ไมเล�อกกาลเวลา และสถานที่

บุ ญคื อ อ ะ ไ ร ? บุญคือ บุญคือ บุญคือ แลวกระจาย เปนการ

ความดี ความสบายใจ ความไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง ออกไป… บำเพ็ญความดีตางๆ


ถาเรารักศักดิ์ศร�ความเปนมนุษย ตองรักษาศีล 5 ใหได ถารักษาไมได เทากับเราไดทำลาย การเปนมนุษยดวยตัวเราเอง

“คว า ม รั ก ”

เปนที่มาของความทุกข มีรักที่ไหนมีความไมสบายใจที่นั้น การไมรักไมชัง เปนที่มาของความสงบสุข


“คว า ม อ ย า ก ” การประพฤติตน ใหเปนคนมีความเคารพ ออนนอมถอมตน เปนการทำบุญ ที่ไมตองใชเง�น แตใชใจเปนหลัก

ความอยาก อยูในขอบเขต ความอยาก จึงจำเปน เขามาควบคุม

ของพระโสดาบัน ของศีลหา ของปุถุชนไรข�ดจำกัด ตองเอาศีลหา ความอยากที่เกิดข�้นในใจ


ใหทาน เพ�่อลดความโลภ รักษาศีล เพ�่อลดความโกรธ ภาวนา เพ�่อลดความหลง คือไมรูธรรมตามความเปนจร�ง

การทำบุญ หร�อการทำความดี เปนการถักทอสายใยแหงความรัก ความผูกพัน ที่งดงามของจิตใจ


การปฏิบัติ ตองทำใหมาก ทำใหตอเนื่อง ทำใหจร�งเปนส��งสำคัญ เพราะธรรมเปนของจร�ง คนทำจร�งเทานั้นจึงจะเห็นธรรม

ป�ญญาที่เกิดจากการฟ�ง และป�ญญาที่เกิดจากการพ�จารณา ยังไมสามารถดับทุกขได ป�ญญาที่เกิดจากการภาวนาเทานั้น

จึ งดั บ ทุ ก ข ไ ด


ถ าเราฉ ล าดทํ าบุ ญ

เราก็จะไดบุญตามสถานที่ตางๆ ที่เราไปเกี่ยวของ

ก า ร ตร ะ ห นี่ บุ ญ ห ว ง บุ ญ

คือการที่เราไมยอมใหผูอื่นมีสวนรวม ในการทำบุญ หร�อเมื่อทำบุญแลว ไมยอมอุทิศบุญใหผูอื่น


“ปุ ถุ ช น ค นธร ร มด า”

ตางก็มีกิเลสอยูแลว เราไมควรดู ควรฟ�งส��งที่จะทำให กิเลสกำเร�บมากไปกวานี้

การทำจิตของเราใหมีความยินดี อนุโมทนาบุญกับการทำดีของผูอื่น ผลที่เกิดข�้นกับใจเรา คือ ความมีปติ ผองใส มีความสุชใจ อิ�มใจ ไปดวย


การฟ� ง ธร ร ม? ที่จะทำให จิตตองมีศรัทธา มีความสงบ เกิดความสุขใจ

เกิดบุญ มีความเล�่อมใส เกิดปติ ขณะฟ�งธรรม

เราควรเชื่อกรรม เชื่อผลของกรรม ไมใชเชื่อมงคลตื่นขาว จะสุขจะทุกข ข�้นอยูกับกรรมของเรา ไมใชผีสางเทวดาที่ไหน จะมาดลบันดาล


“ถ า รั ก ตนเอง จร� ง ” ตองรูจัก สะสมบุญบารมี รักษาศีล รูจักให ชวยเหล�อผูอื่น ไมเอาเปร�ยบผูอื่น และส��งเสพติดตางๆ เล�อกคบแตคนดี ข�้นชื่อวา

ละชั่ว ทำดี ดวยการใหทาน เจร�ญเมตตา ภาวนา รูจักแบงป�น ไมเห็นแกตัว ไมตกเปนทาสอบายมุข ไมคบคนพาล มีศีลธรรม ปฏิบัติเชนนี้ได รักตนเองโดยแทจร�ง

“ป ล อ ย ว า ง ” หมดรัก หมดความ หึงหวง หวง ระแวง สงสัย มีโศกเศรา เส�ยใจ หวงหาอาวรณ กวนจิตใจ

หมดทุกข โศกเศรา เส�ยใจ อาลัยอาวรณ มีรัก มีทุกข มีหึง หวง หวาดระแวง สงสัย ใหวุนวาย


“เ ง� น ย ศ อ ำ น า จ” “ คว ามเ กิ ด ”

เปนศูนยรวมของความทุกข ความอยากเปนศูนยรวมของตัณหา โทรศัพท เปนศูนยรวมของความอยาก โทรศัพทเปนเคร�่องมือ สนองตัณหาของคนโง

เมื่อตกไปอยู ยอมกลายเปน ทำความชั่ว เหมือนโจร เง�น ยศ อำนาจ ในมือของคนดี ในการทำความดี เหมือนคนดี

ในมือคนพาล เคร�่องมือในการ ใหกับตนเองและสังคม มีมีดอยูในมือฉันนั้น เมื่อตกไปอยู ยอมเปนเคร�่องมือ ใหกับตนเองและสังคม มีมีดอยูในมือฉันนั้น


ความอัปมงคลของชีว�ต คือความโง ไมรูดีรูชั่ว ไมรูบุญรูบาป ไมรูผิดรูถูก ไมรูอะไรควรไมควร ตอใหจบปร�ญญา ชีว�ตก็ ไรความหมาย.

“ค ติ โ ลก ง า น คื อ เ ง� น ” เง�นคืองาน เง�นคือแรงบันดาลใจ เง�นสนองความอยาก ทำทุกอยางเพ�่อเง�น และความทุกข

บันดาลสุข ในการทำงาน ความตองการของคนหลง เปนที่มาของความสุข ไดทั้งบุญทั้งบาป


การดำเนินชีว�ตอยางไรศีลธรรม ชีว�ตก็ ไมตางจาก สัตวเดรัจฉานตัวหนึ่ง

ความรูส�กที่ถูกตองของพระ ตองอาศัยบุญเปนอยู เมื่ออาศัยบุญเปนอยูก็ตองหมั่นทำบุญ แลวทุกอยางก็จะเปนไปเอง ดวยอำนาจของบุญ


“ม นุ ษยมี คว า ม ส า ม าร ถ ห ลา ก ห ลา ย ”

การฝกฝนอบรมตนเอง คือการเดินตามรอยบาทพระศาสดา อยางแทจร�ง เมื่อใดเราสามารถ เอาชนะบาปที่เกิดข�้นในใจได นั่ นคือชัยชนะอันยิ� งใหญ

ในการฝกฝนตนเอง ควบคุมอะไร แตไมสนใจฝกฝน ควบคุม ซึง่ เปน ใหงานออกมาดี

ใหทำอะไร ดูแลอะไร ไดหลายอยาง อบรมใจตนเอง อารมณตนเอง สวนสำคัญทีจ่ ะทำ มีชวี ต� ทีด่ ี


กตั ญ ู ต อต นเอง

ดวยการละบาปทั้งปวง ดวยการทำกุศลใหถึงพรอม ดวยการชำระจิต ของตนใหขาวรอบ

“ก า ร ใ ห ก ำ เ นิ ด ” การเล�้ยงดู ใหการศึกษา ใหมรดก เร�ยกวา นี้คือ คร�่งหนึ่ง

การใหความรู ใหการงานทำ ใหทรัพยภายนอกแกลูก ความสำเร็จ ของความเปนพอแม


“ ทาน ศี ล ภ าว นา”

เปนหลักสูตรของการดำเนิน ชีว�ตของบัณฑิต เพราะความสำเร็จ ของชีว�ตเกิดจากผลของ ทาน ศีล ภาวนา

คิ ด ใ ห เ ป น ธ ร ร ม

ทำใหเกิดกรรมสัมพันธที่ดี

คิ ด ไ ม เ ป น ธ ร ร ม

ทำใหเกิดกรรมสัมพันธที่ไมดี


ทุกชีว�ตอ ยู ดวยการปฏิบัติธรรม มี 2 อย าง คือ ธรรมที่ไหลไปตามกระแสโลก คือ โลภ โกรธ หลง ธรรมที่ไหลไปตามกระแสธรรม คือ ทาน ศีล ภาวนา

“บ า ป เ ป นศั ตรู ข อ งชี ว� ต ”

นำความทุกข ความเดือดรอนมาสูตน

“ บุ ญ เ ป นมิ ตร ข อ งชี ว� ต ” นำความสุขสงบมาสูตน


ผูรับ ตองรูส�กขอบคุณผูให เพราะผูใหคือผูมีคุณ ผูให ตองรูจักขอบคุณผูรับ เพราะผูรับคือผูมีคุณ

กิเลสโกรธแคนเปน กรรม โกรธแคนกิเลสเปน มรรค


“ กำไร ของชี ว� ต ” คิดอะไรๆ พ�ดอะไรๆ ทำอะไรๆ ป�จจ�บัน

ก็ ไมสูการคิดดี ก็ ไมสูการพ�ดดี ก็ ไมสูการทำดี คิดดี พ�ดดี ทำดี

ถาคนเรา ใหอภัยกันงายๆ ชีว�ตพวกเราก็คง ความโกรธในบท มันตางกัน

คืนดีกันงายๆ เหมือนในละคร จะไมจมอยูกับกองทุกข กับความโกรธนอกบท ราวกับฟากับดิน


จิตไมเส�่อมไปตามวัย กิเลสตัณหาไมเส�่อมไปตามกาล

เ ร า แ สว ง ห า ที่ พ�่ ง ท า ง "โลก" มาตลอดหลายส�บป ควรจะถึงเวลาที่จะ ซึ่งคือ จากการเปนผูมี

ฉะนั้นเมื่ออายุมากข�้นๆ แสวงหาทีพ ่ ง่� ทาง "ใจ" เส�ยที "บุญกุศล" ทาน ศีล ภาวนา


การประพฤตตัว ใหเปนคนมีความเคารพ ออนนอมถอมตน เปนการทำบุญ ที่ไมตองใชเง�น แตใชใจเปนหลัก

แมบุคคลอื่น มันเปนเร�อ่ งของเขา ที่จะเอาพฤติกรรม มาเปนมลทิน

จะทำไมดี ไมงาม ไมใชหนาทีข่ องเรา ไมดีของคนอื่น กาย วาจา ใจ ของตนเอง


“เ กิ ด แ ก เ จ็ บ ตา ย” ถ าเราฉ ล าด ทำบุ ญ

เราก็จะไดบุญตามสถานที่ตางๆ ที่เราไปเกี่ยวของ

โดยสัจจะธรรมแลว ไมมีคนอีสาน มีแตเพ�่อนรวมโลก จะไปดาวา เหยียดหยามกัน

ไมมีคนไทย ไมมีคนลาว ไมมีพมา ไมมีเขมร เกิด แก เจ็บ ตาย นินทา ดูถูก เพ�่อประโยชนอะไร


การพ�ดจาดาวา นินทา ดูถูก เหยียดหยามคนอื่น เปนการกระทำ ของคนพาล เปนการประจานตนเองวา เปนคนไมมีดี เพราะคนดี เขาจะไมกลาววาจาเชนนั้น

สัจจะธรรม ที่เราควรรู ไว ยอมมีนินทา เราควรทำจิต ตอคนสรรเสร�ญ

อีกอยางหนึ่ง มีสรรเสร�ญ เปนเร�่องธรรมดา ใหมีเมตตา และคนนินทา


“จ ง ก ตั ญ ู ต อ ป า ก ” คนพาลยอมใช กาย วาจา ใจ ทำแตความชั่ว สวนบัณฑิตยอมใช กาย วาจา ใจ

“ ทํ า แต ค ว ามดี ”

จงกตัญ ูตอปาก เพราะปากนี้ ไมวาดื่มน้ำ การพ�ดคุยกัน ถาคนเราไมมีปากแลว

ดวยการพ�ดแตส��งที่ดีๆ มีคุณคามาก และทานอาหาร ลวนอาศัยปากทั้งนั้น คงลำบากนาดู


เคราะ หกร ร มของ ปาก ถูกกิเลสตัณหาเส�้ยมสอนจิต ใหพ�ดแตคำพ�ดไมดี

ความจร�งแลว จิตของคนพ�ด อยาไปโทษปาก คำพ�ดไมดี ออกจากจิต

ปากนี้ไมไดดีไมไดราย ตางหากที่ดีที่ราย วาปากไมดี ปากราย ในลักษณะตางๆ ที่ตกเปนทาส

“ข อ ง อ า ร ม ณ ต า ง ห า ก”


“ ก า รศึ ก ษา การ ง าน การ เ ง� น ” เปนหลักสูตร ในยุคป�จจ�บัน ตอการศึกษา เพราะมองเห็น ความสบาย

ในการดำเนินชีว�ต คนทั้งโลกมุงมั่น การทำงาน การเง�น ประโยชนคือ ความสุข ของชีว�ต

ไฟมีไวสองทาง ถนนมีไวใหเดิน

ธรรมมีไวสองใจ ธรรมมีไวใหทำ


ประวัติโดยยอ

พระอธิการหนูพรม สุชาโต

วัดสุนันทวนาราม จ.กาญจนบุร� กำเนิด : บิดาชื่อ : มารดาชื่อ : ภูมิลำเนาเดิม : การศึกษา : ปฐมวัย

วันศุกรที่ 9 พฤษภาคม 2512 ประกา นาย คำ แสงสุข นาง จำป แสงสุข ต.บานเพชร อ.ภูเข�ยว จ.ชัยภูมิ ชั้นประถมศึกษาที่โรงเร�ยนเพชรราษฎรบำรุง จ.ชัยภูมิ

บรรพชา/อุปสมบท อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2541 (เมื่ออายุได 29 ป) ณ วัดหนองปาพง ต.โนนผึ้ง อ.วาร�นชำราบ จ.อุบลราชธานี พระราชภาวนาว�กรม (หลวงพอเล�่ยม ฐิตธมฺโม ) เปนพระอุป�ชฌาย พระสุร�ยนต จนฺทป ฺโญ เปนพระกรรมวาจาจารย พระมหาคำทูล กมฺพ�ทตฺโต เปนพระอนุสาวนาจารย ป�จจ�บัน เปนเจาอาวาสวัดสุนันทวนาราม บานทาเตียน ต.ไทรโยค อ.ไทรโยค จ. กาญจนบุร� (สาขาที่ 117 ของวัดหนองปาพง) - การปฏิบัติธรรม และเผยแผพระพ�ทธศาสนา - สำเร็จการศึกษานักธรรมชั้นโท - ไดศึกษาหาความรูจากครูบาอาจารยตางๆ และปฏิบัติกรรมฐาน อยางตอเนื่อง - สอนว�ป�สสนากรรมฐาน ณ วัดสุนันทวนารามและที่อื่นๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.