หยดธรรมนำชีวิต เล่ม 2

Page 1

หยดธรรม นำชีวิต 2 พระอาจารย์หนูพรม สุชาโต เจ้าอาวาสวัดสุนันทวนาราม ภาพประกอบ ธนวัฒ น์ ทร ภาพประกอบ น์ สุสุด ดรสุสุิยน นาภรณ์ ทร ภาพประกอบ กันธนวั ติทัตฒโรจนวิ จัจัด ดรูรูป ปเล่ เล่ม ม ฉัฉัน นทวั ทวัฒ ฒน์ น์ พรหมวิ พรหมวิท ทักักษ์ ษ์,, อรไพลิ อรไพลิญ ญญ์ ญ์ ธนดลโอฬาร ธนดลโอฬาร จัดรูปเล่ม อรไพลิญญ์ ธนดลโอฬาร


ค�ำน�ำ โบราณกล่าวไว้ว่า...น�้ำหยดลงหิน ด้ ว ยเวลาอั น ยาวนาน หิ น มั น ยั ง กร่ อ นได้ ฉันใด หยดแห่งธรรม ที่เราน�ำไปปฏิบัติอยู่ เป็ น ประจ� ำ ย่ อ มท� ำ ให้ บ าปอกุ ศ ลค่ อ ยๆ จางคลายออกไปจากใจเราได้ฉันนั้น หยดน�้ำ ที ล ะหยด ด้ ว ยเวลาอั น ยาวนานย่ อ มท� ำ ให้ หม้อน�ำ้ เต็มได้ฉนั ใด หยดแห่งธรรม คือความดี

ที่เราสะสมมาด้วยเวลาอันยาวนาน วันหนึ่ง ก็ต้องเต็ม ท�ำให้เรากลายเป็นพระอริยบุคคล ขึ้นมาได้เช่นกัน


อาตมาขออนุ โ มทนาบุ ญ กั บ จิ ต และ เจตนาอันเป็นบุญเป็นกุศลของคณะศรัทธา พุทธะอุบาสก พุทธอุบาสิกา ผู้มุ่งหวัง และ มี ความเพี ย รพยายามที่ จ ะหว่ า นเมล็ ด พั น ธ์ุ แห่ ง พุ ท ธะ ให้ เ จริ ญ งอกงามในใจคน เพื่ อ บรรเทาทุ ก ข์ และคลายเครี ย ดทางใจ และ เพื่อสันติสุขของคนในครอบครัว และสังคม อย่างแท้จริง สาธุเจริญพร พระอธิการหนูพรม สุชาโต เจ้าอาวาสวัดสุนันทวนาราม


ค�ำน�ำ หนังสือ หยดธรรมน�ำชีวิต เล่ม 1 ได้ รั บ การเผยแพร่ ในช่ ว งงานกฐิ น ของวั ด สุนันทวนาราม เมื่อปีที่แล้ว นับเป็นหนังสือที่มี คุณค่า เพราะคณะผูจ้ ดั ท�ำได้รวบรวมธรรม ที่ พระอาจารย์ ห นู พ รม สุ ช าโต ได้ เ ขี ย นเป็ น คติน�ำใจสั้นๆ และง่ายๆ แต่มีสาระลึกซึ้งกินใจ น�ำไปปฏิบัติได้ ไม่ยาก สมกับเป็นธรรมของ สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า มาอยู ่ ใ น ที่เดียวกัน


มาบัดนี้ ทางคณะผู้จัดท�ำมีด�ำหริ จะจัด พิมพ์หนังสือ หยดธรรมน�ำชีวิต เล่ม 2 ขึ้น มูลนิธิมายา โคตมี จึงรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง ทีพ ่ ทุ ธศาสนิกชน และบุคคลทัว่ ไปจะได้มโี อกาส ศึกษาคติธรรมที่จะน�ำไปใช้ ในการด�ำรงชีวิต อย่ า งมี ค วามสุ ข เพิ่ ม เติ ม จึ ง ขออนุ โ มทนา กั บ คณะผู ้ จั ด ท� ำ และผู ้ อุ ป ถั ม ถ์ ก ารพิ ม พ์ ทุกท่าน มา ณ ที่นี้ สุจิตรา หิรัญพฤกษ์ มูลนิธิมายา โคตมี


โ ล กส ร้ า งเครื่ อ งผู ก ด ้ ว ยอ� ำ นา จของตั ณ หา

ธ ร รม เป็ น เครื่ อ งแก้

ด ้ ว ยอ� ำ นา จของศี ล ธรรม


แก้ความหิว แก้ความขี้เกียจ แก้ความตระหนี่ แก้ความถือตัวตน แก้ความไม่มีสัมมาคารวะ แก้ความอกตัญญู

ด้วยการกิน ด้วยความขยัน ด้วยการให้การแบ่งปัน ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน ด้วยความเคารพ ด้วยความกตัญญู

แก้ ที่ ไหน แก้ ที่ ใ จ


โ ล ก แ ห่ ง ก า ร แ ส ว ง ห า แ ล ะ ส ะ ส ม

สะสมความรู้ สะสมการงาน สะสมวัตถุต่างๆ สะสมบาปอกุศล สะสมความโลภ สะสมการให้ทาน สะสมการภาวนา

สะสมประสบการณ์ สะสมเงินทอง สะสมบุญกุศล สะสมกิเลส โกรธ หลง สะสมการรักษาศีล สะสมบุญบารมี

แ ล้ ว คุ ณ ล่ ะ ก�ำ ลั ง ส ะ ส ม อ ะ ไ ร อ ยู่ ?


ชีวิตมีค่า ไม่ควรปล่อยใจ

ใ ห้ ต กเป็ น ท า สของตั ณ หา คุณค่าของชีวิต อยู่ที่การท�ำคุณงามความดี


ที่สุดของน�้ำร้อนจะไม่ร้อน ที่สุดของความโกรธ จ ะ ไ ม่ โ ก ร ธ ที่สุดของความทุกข์ จ ะ ไ ม่ ทุ ก ข์ เพราะมันสุดๆ แล้ว


ความเห็นผิดของผู้ปฏิบัติโดยเข้าใจว่า สมถะได้แต่ความสงบ วิปัสสนาเท่านั้น ที่ท�ำให้เกิดปัญญา มีพระถามหลวงปู่ชาว่า... สมถะและวิปัสสนาต่างกันอย่างไร หลวงปู่ชาตอบว่า... คุณจะเข้าใจว่าอย่างไร ถ้าผมจะตอบว่า

อ า ห า ร กั บ อุ จ จ า ร ะ เ ป็ น อั น เ ดี ย ว กั น


เอโกธั ม โม ธรรมเป็นอันเดียวแต่เปลี่ยนอาการ ซึ่งเกิดจากการปฏิบัติ ศีล สมาธิ ปัญญา ก็อันเดียวกัน หลวงปู่ชาเปรียบเทียบให้ฟังว่า

ศี ล ส ม า ธิ ปั ญ ญา เปรียบเสมือนมีดเล่มหนึ่ง เมื่อเรายกมีดขึ้นมา มันก็ขึ้นมาทั้งสัน คม และด้าม แยกออกจากกันไม่ได้


โลกวางแผนชีวิต เพื่อสนองตัณหา

ธ ร ร ม วา งแผ นชี วิ ต เพื่อสนองความดี


ธ ร ร มในต� ำ รา เป็นการเรียบเรียงจัดเป็นหมวดหมู่ จากท่านผู้รู้เพื่อการศึกษาเล่าเรียนธรรม ที่เกิดขึ้นในใจ ไม่ได้ ไหลออกมาเป็นข้อๆ ตามต�ำรา กิเลสก็เช่นกัน ทุกข์เป็นหินลับให้เกิดปัญญา ทุกข์ ไม่มี ไม่เห็นทุกข์

ปั ญ ญ า ไ ม่ เ กิ ด


โลกสร้างเครื่องผูก

ธ ร ร ม เ ป็ น เ ค รื่ อ ง แ ก้ ผูกที่จิต แก้ที่จิต แก้ความโลภด้วยการให้ทาน แก้ความโกรธด้วยเมตตา แก้ความหลงด้วยปัญญา แก้ความขี้เกียจด้วยความ ข ยั น แก้ ค ว า ม โ ง่ ด้วยความฉลาด แก้ความอ่อนแอด้วย คว า มอดทน

แ ก้ ค ว า ม เ ห็ น ผิ ด ด้ ว ย ค ว า ม เ ห็ น ถู ก


พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า... ตรัสรู้ในปัจจุบันเมื่อ 2,500 ปีก่อน จิตของพระพุทธเจ้า จิตของพระอรหันต์ จิตของสัตว์โลก อาศัยอยู่กับปัจจุบัน การคิดเรื่องอดีต เรื่องอนาคต เป็นอาการของจิต


ปั จ จุ บั น - ณ - ธ ร ร ม เป็นที่เกิดของธรรม การตามดูจิต ด้วยสติปัญญา ก็ตามดูจิตใน ขณะปัจจุบัน เพราะธรรมเกิดขึ้นมา ให้รู้ ให้เห็น ให้คิด ให้พูด ให้ท�ำ ในขณะปัจจุบัน ณ จิต


ล ม ห า ย ใ จ เ ข้ า ลมหายใจออก คือปัจจุบัน กรรมที่ท�ำ กรรมที่ให้ผล กรรมที่จะติดตามตัวไปทุกภพชาติ เกิดจากกรรมที่ท�ำในปัจจุบัน

ก า ร ส ะ ส ม ก ร ร ม ใ น อ ดี ต เกิดจากการท�ำกรรมในปัจจุบันของกาลนั้นๆ


การกระท�ำในปัจจุบัน คือตัวกรรมที่จะ

ก�ำ ห น ด ช ะ ต า ชี วิ ต ข อ ง เ ร า เ อ ง สัจธรรมคือความจริง ย่อมให้ผลอยู่ในตัวของมันเอง


อดีต อนาคต เป็นธรรมเมา

ปั จ จุ บั น เ ป็ น ธ ร ร ม จ ริ ง ท�ำดี ท�ำชั่ว ท�ำได้ในปัจจุบัน มีใครบ้างถอยหลังไปท�ำความดีที่อดีต แล้วเดินก้าวไปท�ำความชั่วที่อนาคตไม่มี เพราะฉะนั้น... ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นได้ในปัจจุบัน

ปั จ จุ บั น จึ ง เ ป็ น เ ว ล า ที่ ส�ำ คั ญ ที่ สุ ด


ฉลองปีใหม่ด้วย

ก า ร ท�ำ ค ว า ม ดี เป็นการกระท�ำของคนดี ย่อมน�ำความสุขมาสู่ตน และสังคม ฉลองปีใหม่ด้วย

อ บ า ย มุ ข ข อ ง มึ น เ ม า เป็นการกระท�ำของคนพาล น�ำความทุกข์มาสู่ตน และสังคม


แก้ทุกข์ ไม่ถูกจุด เกาไม่ถูกที่คัน จะคลายทุกข์ ได้อย่างไร

คั น ที่ ใ จ แ ต่ ไ ป เ ก า ที่ ข ว ด เ ห ล้ า จะแก้ปัญหาชีวิตได้อย่างไร (ทุกข์เกิดที่ใจ จะดับทุกข์ต้องดับที่ใจ)


ผู้ ที่ ใ ห้ อ ภั ย ค น อื่ น ไ ด้ ย่อมได้รับผลจากการให้อภัย คือ ความสบายใจ

ผู้ ที่ ไ ม่ ย อ ม ใ ห้ อ ภั ย ค น อื่ น ย่อมได้รับผลจากการไม่ให้อภัย คือ ความไม่สบายใจ การไม่ให้อภัยเป็นการผูกเชือก คือความอาฆาตพยาบาท เป็นเชือกกรรม เชือกเวร ท�ำลายความสุข ความดีของตนเอง การให้อภัยทาน มีแต่ผลดีไม่มีผลเสีย


ก า ร ใ ห้ ธ ร ร ม ะ จ า ก ใ จ เป็นของขวัญปีใหม่ แก่กันและกัน น�ำมาซึ่งความสุขตลอดไป เช่น ให้ความซื่อสัตย์ จริงใจ ให้ความเคารพ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ให้ความกตัญญู ให้ความรัก ความเมตตา ความปรารถนาดี ให้ความคิดความรู้สึกดีๆ ค�ำพูดดีๆ การกระท�ำดีๆ ต่อกันและกัน ความสุขความสงบ ก็จะเป็นรางวัลของเราทุกคน


ลบบาปในอดีต ลบบาปในอนาคต ด้ ว ย ย า ง ล บ ใ น ปั จ จุ บั น คือ ไ ม่ ท�ำ อดีต ปัจจุบัน อนาคต กรรมในอดีต กรรมในอนาคต

ขึ้ น อ ยู่ กั บ ก ร ร ม ใ น ปั จ จุ บั น ท�ำดีในอดีต ท�ำดีในอนาคต

ด้ ว ย ก า ร ก ร ะ ท�ำ ใ น ปั จ จุ บั น


ความเจริญของโลก กลายเป็นเครื่องมือของตัณหา

ผู้ บ ริ โ ภ ค ต้ อ ง ใ ช้ ส ติ ปั ญ ญ า ในการเกี่ยวข้องกับโลก เพื่อไม่ให้เกิดโทษแก่ตนเอง


ความเห็นของโลก

เ มื่ อ ค น อื่ น ท�ำ ไ ม่ ดี พู ด ไ ม่ ดี สมควรแล้วที่จะโกรธที่จะด่า นี้เป็นความเห็นผิด จึงกลายเป็น การเอาทุกข์เอาบาปใส่ตัว ทั้งๆ ที่ตนเองไม่ได้ท�ำ เพราะขาดสติปัญญา


โลกนี้มีทั้ง

ค น ดี ค น ชั่ ว เ ป็ น ธ ร ร ม ด า เขาท�ำไม่ดี พูดไม่ดี เป็นเรื่องของเขา กรรมของเขา การที่เราไปโกรธเขา ไปด่าเขา ทั้งๆ ที่เขาไม่ได้ท�ำอะไรเราเลย นี้เรียกว่าจิตของเราชอบหาทุกข์ใส่ตัว ทั้งๆ ที่ตนเองไม่ได้เป็นคนพูดคนท�ำ


มีค�ำพูดว่า...

“ เ กิ ด ม า ตั ว เ ป ล่ า ต า ย ไ ป ตั ว เ ป ล่ า ไ ม่ เ ห็ น มี ใ ค ร ไ ด้ อ ะ ไ ร ติ ด ตั ว ไ ป ”


นี้เป็นคติธรรม เพื่อลดแรงดันของตัณหา แท้จริงแล้วตัวเรา คือ จิตไม่ได้มาเปล่าๆ มาพร้อมกับกิเลส ตัณหา บุญ และบาป ติดตามมาให้ผลกับชีวิตเรา แม้ตายไปแล้ว ก็ ไม่ได้ ไปตัวเปล่าเช่นกัน ย่อมมีกิเลสตัณหาบุญ และบาปติดตามดวงจิตไป เพื่อให้ผลในชาติต่อๆ ไป อย่างแน่นอน


ปริญญาบัตร เกิดจากการศึกษา ปริญญาเจ็บ เกิดจากกิเลสตัณหา ปริญญาจิต เกิดจากการภาวนา

ป ริ ญ ญ า ใ จ ข อ ง ศิ ริ พ ร คื อ เ สี ย ง เ พ ล ง ก ล่ อ ม ใ จ


ธรรมะ ดี ชั่ว บุญ บาป มรรค ผล นิพพาน ท�ำให้มาก

เกิดขึ้นเพราะการกระท�ำ เกิดขึ้นเพราะการกระท�ำ เกิดขึ้นเพราะการกระท�ำ เจริญให้มาก

แ ล้ ว ผ ล ง า น ข อ ง ธ ร ร ม จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ใ จ เ ร า


ชีวิตนี้มีโรคอยู่สองอย่าง คือ

โ ร ค ท า ง ก า ย แ ล ะ โ ร ค ท า ง ใ จ ยาแก้โรคทางกาย ธรรมะแก้โรคทางใจ (กิเลส)


โบราณว่า...

ปลาหมอตายเพราะปาก คนห่างศีล ห่างธรรม ย่อมขาดสติปัญญา ขาดการใคร่ครวญพิจารณาให้ดีก่อน แล้วจึงพูดจึงท�ำ ค�ำพูดเปรียบเสมือนอาวุธ

ใ ห้ ทั้ ง คุ ณ แ ล ะ โ ท ษ หากไม่รู้จักใช้ ก็จะเป็นภัยแก่ตนเอง และคนอื่นในภายหลัง การส�ำนึกผิด การให้อภัยเป็นหัวใจของคนดี เพราะในโลกนี้ไม่มีใครไม่เคยคิดผิด พูดผิด ท�ำผิดมาก่อน


ทุ ก ข์ บี บ คั้ น ก า ย ท ร ม า น ก า ย ทุ ก ข์ บี บ คั้ น จิ ต ใ จ ท ร ม า น ใ จ


ทุ ก ข์ ส มุ ทั ย เ ป็ น ธ ร ร ม ส่วนบาป อกุศล ท�ำหน้าที่ผลิตทุกข์ ผลิตกรรม ด้วยอ�ำนาจของตัณหา


นิ โ ร ธ ม ร ร ค เป็นธรรมส่วนบุญกุศล ผลิตศีล สมาธิ ปัญญา เจริญมรรคให้เกิด น�ำจิตสู่

ม ร ร ค ผ ล นิ พ พ า น


บ�ำรุงต้นไม้ด้วยปุ๋ย และน�้ำ บ�ำรุงคนด้วยกาม

บ�ำ รุ ง ม นุ ษ ย์ ด้ ว ย ศี ล ด้ ว ย ค ว า ม ดี บ�ำรุงพระด้วยข้อวัตรปฏิบัติ มีพระธรรมวินัย


คน เกิดจากท้อง มนุษย เกิดจากศีล พระ เกิดจากธรรมวินัย


กาย วาจา ใจ เป็นที่เกิดของบุญ และบาป กาย วาจา ใจ เป็นที่เกิดของกิเลส ตัณหา กาย วาจา ใจ เป็นที่เกิดของมรรค ผล นิพพาน

ก า ร รั ก ษ า ก า ย ว า จ า ใ จ ให้อยู่ในขอบเขตของศีลธรรม ด้วยสติ ปัญญา

เ ป็ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม


จงมองคนทุกคน เป็นครูเป็นอาจารย์ คนท�ำผิด ก็เอาเป็นครูสอนตน ว่าเราจะไม่ท�ำ คนท�ำดีก็เอาเป็นครู ว่าเราจะพยายามท�ำตาม

จ ง อ ย่ า ม อ ง ค น อื่ น ด้ ว ย ตั ณ ห า เ พ ร า ะ จ ะ เ กิ ด ก ร ร ม ไ ม่ ดี ต า ม ม า


การท�ำผิดศีล... น�ำไปสู่การฆ่า ฆ่ามิตร สร้างศัตรู การไม่ท�ำผิดศีล... น�ำไปสู่การฆ่า ฆ่าศัตรู สร้างมิตร การท�ำผิดศีล... เป็นการประทับตราบาปไว้ในหัวใจด้วยมือตนเอง

ผ ล ข อ ง ก า ร ผิ ด ศี ล 5 ท�ำให้ผิดใจกัน โกรธแค้นเกลียดชัง อาฆาต พยาบาท ผูกเวรกรรม น�ำไปสู่การฆ่า


การท�ำผิดศีล เบียดเบียนชีวิตคนอื่น เบียดเบียนทรัพย์สินคนอื่น ล่วงเกิน สามี ภรรยา พูดจาโกหกหลอกลวง ดื่มสุราเมรัย

น�ำไปสู่การฆ่า น�ำไปสู่การฆ่า น�ำไปสู่การฆ่า ลูก หลาน คนอืน่ น�ำไปสูก่ ารฆ่า น�ำไปสู่การฆ่า น�ำไปสู่การฆ่า

เ ป็ น ว ง จ ร ข อ ง บ า ป อ กุ ศ ล


รู้ ธ ร ร ม รั ก ธ ร ร ม สามัคคีธรรม น�ำสุขมาให้

ไ ม่ รู้ ธ ร ร ม ไ ม่ รั ก ธ ร ร ม ไม่สามัคคีธรรม น�ำทุกข์มาให้


กิเลส ตัณหา มีบุญ และบาปเป็นเครื่องปรุง

จึ ง ท�ำ ใ ห้ ค น เ ร า ท�ำ ก ร ร ม ต่ า ง กั น ความคิดเห็นต่างกัน ชอบไม่เหมือนกัน นิสัยต่างกัน


ธ ร ร ม า ธิ ป ไ ต ย คือระบบปกครองของอริยชน โดยยึดหลัก ของศีลธรรม และกฎหมายปกครองบ้านเมือง

ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย คือระบบปกครองของปุถุชน โดยยึดหลัก กฎหมายปกครองบ้านเมืองเป็นหลัก


พระพุทธเจ้าสอนธรรม เพื่อท�ำกาย วาจา ใจ ให้เป็นศีล เป็นธรรม ด้วยการกระท�ำ

ธ ร ร ม เ ป็ น เ ค รื่ อ ง แ ก้ กิ เ ล ส กิเลสเกิดขึ้นที่จิต แก้กิเลสต้องแก้ที่จิต


โ ท ษ ข อ ง กิ เ ล ส เ ห็ น ย า ก โทษของคนอื่นเห็นง่าย บอกคนอื่น สอนคนอื่น เตือนคนอื่น นั้นง่าย บอก สอน เตือน ตนเองนั้นยาก เพราะกิเลสมันไม่ยอมรับว่ามันผิด


บุ ญ แ ล ะ บ า ป คือ เ ส้ น ท า ง เ ดิ น ข อ ง ชี วิ ต อันเกิดจากการกระท�ำของเราเอง ผู้มีปัญญาย่อม เลือกท�ำแต่กรรมดี


จ ง เ อ า ศี ล เ อ า ธ ร ร ม เ ป็ น ค รู เ ป็ น อ า จ า ร ย์ แล้วชีวิตจะพบแต่ความสุขความเจริญ อย่าเอาตัณหาเป็นครู เป็นอาจารย์ ชีวิตจะล่มจมหาความสงบสุขไม่ได้


อาชญากรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับสังคม

เ กิ ด จ า ก กิ เ ล ส ตั ณ ห า โ ล ภ โ ก ร ธ ห ล ง ที่มีอ�ำนาจเหนือจิตใจ ระงับความโลภ โกรธ หลงได้ ตัวเอง และสังคมย่อมอยู่เป็นสุข อ�ำนาจของความโลภ โกรธ หลง ท�ำให้คนดีๆ กลายเป็นฆาตกร


เผากิเลส

เ ป็ น ม ร ร ค เ ป็ น ผ ล เ ป็ น พ ร ะ นิ พ พ า น กิเลสเผา เป็นทุกข์ เป็นกรรม เป็นเวร ไม่มีที่สิ้นสุด


โลกคือโรงงานผลิตกรรม ได้แก่บุญ และบาป

ผ่ า น ก า ร คิ ด ก า ร พู ด ก า ร ก ร ะ ท�ำ แล้วผลิตผลออกมาเป็นสุข เป็นทุกข์ ท�ำให้สัตว์โลกมีชีวิต ความเป็นอยู่ต่างกัน นิสัยต่างกัน

ด้ ว ย อ�ำ น า จ ข อ ง ก ร ร ม ที่ ส ะ ส ม ม า ท�ำหน้าที่ออกดอกออกผล


นั ก พู ด มี ม า ก นั ก ป ฏิ บั ติ มี น้ อ ย พระนักพูดมีมาก พระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบมีน้อย


ค ว า ม ดี ไ ม่ มี วั น ต า ย ติดตามตัวไปทุกภพ ทุกชาติ

เ ร า ค ว ร ท�ำ ค ว า ม ดี ด้วยหัวใจที่เป็นธรรม


ตั ณ ห า ป รุ ง แ ต่ ง จิ ต ใ ห้ ห ล ง ก า ย ร่างกายเป็นของเน่า เกิด แก่ เจ็บตาย หลงไปเพื่อประโยชน์อะไร


เบื่ออะไรเบื่อได้ ท้ออะไรท้อได้

แ ต่ อ ย่ า เ บื่ อ อ ย่ า ท้ อ กั บ ก า ร ส ร้ า ง บุ ญ บ า ร มี ท�ำ ค ว า ม ดี ให้พากันขยันท�ำความดี เพราะความดีมีก�ำลังมาก ย่อมให้ผลเป็นความสุข


จุ ด เ ด่ น ข อ ง ค น มี ดี มี ศี ล ธ ร ร ม จะไม่สนใจสิ่งเสพติด และอบายมุข จุดเด่นของคนไม่ดี ไม่มีศีลธรรม ชอบสนใจในสิ่งเสพติด และอบายมุข

เ ห มื อ น ห น อ น ช อ บ อ า จ ม


แท้จริงแล้วทุกอย่างที่อยู่บนโลกใบนี้ เป็นเพียงภาพลวงตา (ใจ) ความจริงของสิ่งนั้นๆ หามีอยู่จริงไม่ มีแต่สภาวธรรมที่ไหลเลื่อนไป ต า ม ก ฎ แ ห่ ง สั จ จ ธ ร ร ม คือ

อ นิ จ จั ง ทุ ก ข์ ขั ง อ นั ต ต า


ค ว า ม ดี ที่ ส ะ ส ม ม า ใ ห้ ผ ล ท า ง จิ ต ใ จ คือละอายแก่ ใจ ไม่กล้าท�ำชั่ว ท�ำผิดศีลธรรม


คติทางธรรม

ถื อ เ อ า ค ว า ม ทุ ก ข์ เ ป็ น แ ร ง บั น ด า ล ใ จ ใ น ก า ร แ ส ว ง ห า ท า ง พ้ น ทุ ก ข์ จากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย


ด้วยการบ�ำเพ็ญเพียรทางจิต เจริญศีล สมาธิ ปัญญา

เ ป็ น ก า ร ดั บ ทุ ก ข์ ที่ ถู ก จุ ด ไ ม่ ต้ อ ง ก ลั บ ม า เ วี ย น ว่ า ย ต า ย เ กิ ด อี ก ให้เป็นทุกข์อยู่ร�่ำไป


บุญท�ำแล้วเป็นของเรา เพราะเราเป็นคนท�ำ บาปท�ำแล้วเป็นของเรา เพราะเราเป็นคนท�ำ บุญท�ำแล้วกลับมาคุ้มครองเราให้อยู่เย็นเป็นสุข

บ า ป ท�ำ แ ล้ ว ก ลั บ ม า ท�ำ ร้ า ย เ ร า ให้ ได้รับความทุกข์ เดือดร้อน


ประวัติโดยย่อ

พ ร ะ อ ธิ ก า ร ห นู พ ร ม สุ ช า โ ต วัดสุนันทวนาราม จ.กาญจนบุรี ก�ำเนิด : บิดาชื่อ : มารดาชื่อ : ภูมิล�ำเนาเดิม : การศึกษา : ปฐมวัย

วันศุกร์ที่ 9 พฤษภาคม 2512 ปีระกา นาย ค�ำ แสงสุข นาง จ�ำปี แสงสุข ต.บ้านเพชร อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนเพชรราษฎร์บ�ำรุง จ.ชัยภูมิ


บ ร ร พ ช า / อุ ป ส ม บ ท บรรพชา เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2541 (เมื่ออายุได้ 29 ปี) อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2541 (เมื่ออายุได้ 29 ปี) ณ วัดหนองป่าพง ต.โนนผึ้ง อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี - พระราชภาวนาวิกรม (หลวงพ่อเลี่ยม ฐิตธมฺโม) เป็นพระอุปัชฌาย์ - พระสุริยนต์ จนฺทปญฺโญ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ - พระมหาค�ำทูล กมฺพุทตฺโต เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ปั จ จุ บั น เป็นเจ้าอาวาสวัดสุนันทวนาราม บ้านท่าเตียน ต.ไทรโยค อ.ไทรโยค จ. กาญจนบุรี (สาขาที่ 117 ของวัดหนองป่าพง) การปฏิบัติธรรม และเผยแผ่พระพุทธศาสนา - ส�ำเร็จการศึกษานักธรรมชั้นโท - ได้ศึกษาหาความรู้จากครูบาอาจารย์ต่างๆ และปฏิบัติกรรมฐาน อย่างต่อเนื่อง - สอนวิปัสสนากรรมฐาน ณ วัดสุนันทวนารามและที่อื่นๆ หากมีความประสงค์จะพิมพ์หนังสือ หรือเผยแผ่หนังสือเล่มนี้ เป็นธรรมทาน กรุณาติดต่อ มูลนิธิมายา โคตมี เลขที่ 3 ซ.กรุงเทพกรีฑา 20 แยก 7 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-368-3991, 085-662-5490 www.mayagotami.net www.facebook.com/MayaGotamiFoundation



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.