Jukraphun Chaisri

Page 1


2


3

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขา้ พเจ้าได้มาฝึ กงาน ณ บริ ษทั Thai TV Pool ตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2555 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ส่งผลให้ขา้ พเจ้าได้รับความรู ้ใหม่ๆและประสบการณ์ต่างๆอย่างมากมาย สำาหรับ รายงานการฝึ กงานฉบับนี้ สาำ เร็ จลงได้ดว้ ยดีจากความร่ วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่ ายดังนี้ 1. คุณพีระยุ วงค์ยตุ ิธรรม Art design 2. คุณสุเมธ รุ่ งโรจน์ Art design และบุคคลท่านอื่นๆในแผนก Art design ทุกท่านที่ได้ให้คาำ แนะนำาช่วยเหลือในการจัดทำารายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าใคร่ ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล เป็ นที่ปรึ กษาใน การทำารายงานฉบับนี้ จนเสร็ จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตการทำางานจริ ง ข้าพเจ้าขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่น้ ี

นายจักรพันธ์ ไชญศรี ผูจ้ ดั ทำารายงาน 25 มิถุนายน 2556


4

บทคัดย่ อ (Abstract) บริ ษทั Thai TV Pool เป็ นบริ ษทั ที่ผลิตนิตยสาร หนังสื อ รายสัปดาห์ เกี่ยวกับแวดวงดารา ข่าวคนดัง มีลกั ษณะของการบริ หารงานเป็ น Worldgroup โดยนอกจาก Thai TV Pool แล้ว ยังมีการหนังสื อ Spicy , Starnews ภายใต้ผบู้ ริ หาร คุณ พรรทิภา สกุลชัย ซึ่งถือเป็ นลักษณะของการบริ หารงานแบบ Worldgroup สำาหรับการทำางานในส่วนของ Art design ของ Thai TV Pool นั้น ปั จจุบนั การทำางานระหว่าง Creative Art Design ค่อนข้างที่จะเป็ นการทำางานใกล้กนั หรื อมีลกั ษณะที่เป็ นแบบ One Team One Voice อย่างที่ผา่ นมา หากครี เอทีฟรับงานมาจากลูกค้า ทีมงานของ Art design ทุกคนจะต้องเข้ามาช่วยกันวิเคราะห์ถึงความ ต้องการของลูกค้า มานัง่ ทำา Focus Group ทำาด้วยกัน เนื่องจาก Art design มัน่ ใจว่าการที่พนักงานได้มีส่วน ในงานด้วยกัน จะทำาให้การบริ หารงานสามารถทำาได้ง่ายขึ้น


5

สารบัญ เรื่ อง จดหมายนำาส่ง กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนำา 1.1 ชื่อและที่ต้ งั สถานที่ประกอบการ 1.2 ลักษณะการประกอบกิจการดำาเนินงานเกี่ยวกับ 1.3 รู ปแบบการจัดการองค์กรและการบริ การงานขององค์กร 1.4 หลักการ 1.5 วัตถุประสงค์ของการฝึ กงาน 1.6 การปฏิบตั ิตวั ระหว่างการฝึ กงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกีย่ วกับงานที่ปฏิบัติ 2.1 ที่มาและจุดเริ่ มต้นของเอเจนซี่ Thai TV Pool 2.2 บทบาทของเอเจนซี่โฆษณาและองค์กรสื่ อสารการตลาดอื่นๆ 2.3 บริ ษทั ประชาสัมพันธ์ บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 การปฎิบตั ิงานของฝ่ าย Creative บริ ษทั McCann Worldgroup 3.2 งานที่ได้รับมอบหมาย บทที่ 4 ผลทีไ่ ด้ รับจากการปฎิบัติงาน 4.1 ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) บทที่ 5 สรุ ปผลการปฎิบัติงาน 5.1 ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ารับการฝึ กงาน 5.2 ด้านนักศึกษาผูป้ ฏิบตั ิงาน 5.3 ด้านสถานประกอบการ

หน้า 1 2 3 4 5 5 5 6 6 6 7 8 8 9 16 17 17 19 27 28 34 24

35 35


6

บทที่ 1 บทนำา ชื่อและทีต่ ้งั สถานทีป่ ระกอบการ 197 ซอยราชพงษ์ ลาดพร้าว แขวงคลองจัน่ เขตบางกะปิ กทม 10240 โทรศัพท์ : 027312079,027312081-3,027312119-25,027312212,027312623-4,027313223-4,027339000 โทรสาร : 027312202-3,027312389 เวลาทำาการ จันทร์ -ศุกร์ 08:00-17:00

ลักษณะการประกอบกิจการดำาเนินงานเกีย่ วกับ เป็ นบริ ษทั ที่ทาำ หนังสื อนิตยสารรายสัปดาห์เกี่ยวกับดารานักแสดง หรื อ ข่าวในแวดวงคนดัง รายการ ทีวี ซึ่งมีลูกค้าอีกมากมาย ลักษณะของการบริ หารงานแบบ Worldgroup สำาหรับการทำางานในส่ วนของ Advertising (โฆษณา) ของ Thai TV Pool ปัจจุบนั การทำางานระหว่าง ค่อนข้างที่จะเป็ นการทำางานใกล้กนั หรื อมีลกั ษณะที่เป็ นแบบ One Team One Voice อย่างที่ผา่ นมาหากครี เอทีฟไป Brief งานมาจากลูกค้า ทีมงานของ Thai TV Pool ทุก คนจะต้องเข้ามาช่วยกันวิเคราะห์ถึงความต้องการของลูกค้า มานัง่ ทำา Focus Group นัง่ ทำา ด้วยกัน โดยงาน ครี เอทีฟของ Thai TV Pool จะต้องไม่ใช่งานที่แค่เน้นในเรื่ องของความคิดสร้างสรรค์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องมีเรื่ องของ Consumer เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจาก Thai TV Pool เชื่อว่างานครี เอทีฟที่ดีตอ้ งเป็ น Consumer in mind Event เพราะงานโฆษณาถือเป็ นการลงทุนของลูกค้าที่ตอ้ งทำาให้อยูใ่ น Art form ที่ดี ดัง นั้นจะเห็นว่างานโฆษณาของ Thai TV Pool ส่ วนใหญ่มกั จะไม่ค่อยมีเรื่ องของรางวัลเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่เมื่อ เทียบกันในเรื่ องของยอดขายแล้วงานโฆษณาของ Thai TV Pool ถือว่าติดอยูใ่ นอันดับต้นๆ ในการสร้างยอด ขายให้กบั ลูกค้า ซึ่งงานโฆษณาที่สามารถสร้างยอดขายของผลิตภัณฑ์ให้เพิ่มขึ้นได้ถือว่าเป็ น รางวัลของคน


7

ทำางานซึ่ง Thai TV Pool จะให้ความสำาคัญในส่ วนนี้ เป็ นอันดับแรก ส่ วนการได้ รางวัลจากการประกวด จะ ให้ความสำาคัญในเรื่ องนี้ เป็ นอันดับ 2 ผูด้ ูแลควบคุมการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ

รู ปแบบการจัดการองค์ กรและการบริการงานขององค์ กร

เห็นได้ชดั อีกอย่างคือการที่ Thai TV Pool ต้องการที่อยากจะให้บริ ษทั มีลกั ษณะที่เป็ นแบบ Small Family โดยทุกคนไม่ตอ้ งมีลกั ษณะเฉพาะตัวที่เหมือนกันแต่สามารถทำางานร่ วมกันได้ เนื่องจาก Thai TV Pool เชื่อว่าคนจะสามารถทำางานได้ดีจะต้องมีทศั นคติในการทำางานที่ดีดว้ ย

ตำาแหน่ งและลักษณะงานทีน่ ิสิตได้ รับมอบหมายให้ รับผิดชอบ 1. คุณพีระยุ วงค์ยตุ ิธรรม ตำาแหน่ง Art design 2. คุณสุเมธ รุ่ งโรจน์ ตำาแหน่ง Art design ช่ วงระยะเวลาฝึ กงาน : วันที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทำางานช่วงเวลาในการฝึ กงาน :เริ่ มฝึ กงานตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ทำางานวันจันทร์ -ศุกร์ หยุดเสาร์ อาทิตย์ เริ่ มงานเวลา 9.00 น.จนถึงเวลา 18.00 น.เวลาพัก กลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. สภาพในการทำางาน : สถานที่ทาำ งานตั้งอยูใ่ นอาคาร Thai TV Pool ชั้น 2 แผนก Art ซึ่งเป็ นส่ วนของการ ปฏิบตั ิงานด้านจัดหน้าหนังสื อ การทำาโฆษณาในหนังสื อนิตยสารและหนังสื อรายสัปดาห์โดยมีหอ้ งทำางาน เป็ นโต๊ะทำางานแบบล็อคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์ คนละเครื่ องส่ วนนักศึกษาฝึ กงานมีให้เป็ นเครื่ อง MAC ISO. ให้ทาำ งานทำาได้จริ ง

หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็ นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.ให้มีการฝึ กสถานการณ์จริ งให้มากที่สุดเพื่อเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการทำางานให้กบั นักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนำาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศกั ยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผูใ้ ช้


8

วัตถุประสงค์ ของการฝึ กงาน 1. เพื่อให้นกั ศึกษามีโอกาสเรี ยนรู ้และได้รับ ประสบการณ์ชีวิตการทำางานที่แท้จริ ง 2. เพื่อให้นกั ศึกษาได้เตรี ยมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทำางาน 3. เพื่อให้นกั ศึกษาได้รู้จกั การปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นกั ศึกษานำาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ กงานมาประยุกต์ใช้ในการทำางานต่อไป

การปฏิบัตติ วั ระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดนักไปเวศได้ แต่ตอ้ งติดบัตรประจำาตัวนักศึกษาฝึ กงาน 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่ อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสิ นใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทำางาน และทำาการ ฝึ กงานอย่างเต็มกำาลังความสามารถ 9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้อง ไม่กระทำาการ ใด ๆ ที่จะทำาให้เสื่ อมเสี ยต่อส่ วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคำาปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อกลับมายังอาจารย์ประจำาภาควิชา แต่ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะฯ หรื อมหาวิทยาลัย


9

บทที่ 2 รายละเอียดเกีย่ วกับทีป่ ฎิบัตงิ าน การจัดการภายในองค์ กร ทีม่ าและจุดเริ่มต้ นของเอเจนซี่ Thai TV Pool Thai TV Pool เป็ นบริ ษทั ที่ทาำ หนังสื อนิตยสารรายสัปดาห์เกี่ยวกับดารานักแสดง หรื อ ข่าวในแวดวง คนดัง รายการทีวี ที่สร้างขึ้นบนฐานของความเชื่อมัน่ ในความจริ ง เชื่อว่าความจริ งจะทำาให้ธุรกิจเติบโต และ แบรนด์มนั่ คง เราเชื่อมัน่ ว่า ความจริ ง จะเป็ นตัวขับเคลื่อนไอเดีย และไอเดียที่มีพลังจะสามารถทำาให้คนเชื่อ ถือได้ และจะสามารถทำาให้คนมีความรู้สึกเชิงบวกระหว่างแบรนด์และผูบ้ ริ โภค ในโลกที่การแข่งขันทางธุรกิจเติบโตขึ้น เรากลายมาเป็ นเพื่อนที่ดีของลูกค้า เพื่อการจะนำาพาแบรนด์ ของลูกค้าให้ประสบผลสำาเร็ จ Thai TV Pool) จำากัด มีลกั ษณะของการบริ หารงาน Worldgroup โดยนอกจาก Thai TV Pool จะมี Advertising แล้ว ยังมีการทำา Research , Media , Event , Internet , Momentum ภายใต้ Concept เดียวกันซึ่ง ถือเป็ นลักษณะของการบริ หารงานแบบ Worldgroup สำาหรับการทำางานในส่ วนของ Advertising ของ Thai TV Pool นั้น ปัจจุบนั การทำางานระหว่าง Creative Account Management Strategic Planing Department Media ค่อนข้างที่จะเป็ นการทำางานใกล้กนั หรื อมีลกั ษณะที่เป็ นแบบ One Team One Voice อย่างที่ผา่ นมา หากครี เอทีฟไป Brief งานมาจากลูกค้า ทีมงานของ Thai TV Pool ทุกคนจะต้องเข้ามาช่วยกันวิเคราะห์ถึง ความต้องการของลูกค้า มานัง่ ทำา Focus Group นัง่ ทำา Research ด้วยกัน เนื่องจาก Thai TV Pool มัน่ ใจว่าการ ที่พนักงานได้มีส่วนในงานด้วยกันหรื อมีความ Ownership จะทำาให้การบริ หารงานสามารถทำาได้ง่ายขึ้น โดยงานครี เอทีฟของ Thai TV Pool จะต้องไม่ใช่งานที่แค่เน้นในเรื่ องของความคิดสร้างสรรค์เพียง อย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องมีเรื่ องของ Consumer เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจาก Thai TV Pool เชื่อว่างาน ครี เอทีฟที่ดีตอ้ งเป็ น Consumer in mind Event ไม่ใช่เป็ นแค่ Art Form เพราะงานโฆษณาถือเป็ นการลงทุน ของลูกค้าที่ตอ้ งทำาให้อยูใ่ น Art form ที่ดี ดังนั้นจะเห็นว่างานโฆษณาของ Thai TV Pool ส่ วนใหญ่มกั จะไม่ ค่อยมีเรื่ องของรางวัลเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่เมื่อเทียบกันในเรื่ องของยอดขายแล้วงานโฆษณาของ Thai TV Pool ถือว่าติดอยูใ่ นอันดับต้นๆ ในการสร้างยอดขายให้กบั ลูกค้า ซึ่งงานโฆษณาที่สามารถสร้างยอดขายของ


10

ผลิตภัณฑ์ให้เพิ่มขึ้นได้ถือว่าเป็ น รางวัลของคนทำางานซึ่ง Thai TV Pool จะให้ความสำาคัญในส่ วนนี้ เป็ น อันดับแรก ส่วนการได้ รางวัลจากการประกวด Thai TV Pool จะให้ความสำาคัญในเรื่ องนี้ เป็ นอันดับ 2 บริ ษทั มีลกั ษณะที่เป็ นแบบ Small Family โดยทุกคนไม่ตอ้ งมีลกั ษณะเฉพาะตัวที่เหมือนกันแต่ สามารถทำางานร่ วมกันได้ เนื่องจาก Thai TV Pool เชื่อว่าคนจะสามารถทำางานได้ดีจะต้องมีทศั นคติในการ ทำางานที่ดีดว้ ย DNA ของครี เอทีฟ Thai TV Pool ไม่เหมือนกับบริ ษทั อื่นๆ โดยจะมีไกด์ไลน์ไว้สาำ หรับ ครี เอทีฟทั้งหมด 8 ข้อ ซึ่ง 4 ข้อแรกคือการที่ครี เอทีฟจะต้องพูดอย่างไรให้เกิดความแตกต่าง ส่ วน 4 ข้อหลังค รี เอทีฟจะต้องทำาอย่างไร ให้เกิด Action ซึ่งงานครี เอทีฟของ Thai TV Pool จะต้องสามารถตอบทั้ง 8 ของ บริ ษทั Thai TV Pool เริ่ มก่อกำาเนิดขึ้นเป็ นครั้งแรกในประเทศและขอบคุณข้อมูลบางส่ วนจากบริ ษทั Thai TV Pool ประเทศไทย

บทบาทของเอเจนซี่โฆษณาและองค์ กรสื่ อสารการตลาดอืน่ ๆ

การพัฒนาและใช้งานโปรแกรมการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมักจะมีการซับซ้อนและ กระบวนกานในการทำางานมักจะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลจำานวนมาก ในฐานะผูบ้ ริ โภคทัว่ ไปมักจะไม่ได้ให้ ความสนใจถึงบุคคลหรื อองค์ต่างๆ ที่สร้างสรรค์โฆษณาอย่างชานฉลาดที่สามารถดึงดูดความสนใจได้อย่างดี เยีย่ ม หรื อการแข่งขันหรื อการชิงโชคที่เราอยากได้รับรางวัล แต่สาำ หรับผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการ ตลาดแล้ว นับว่ามีความสำาคัญอย่างยิง่ ที่ตอ้ งเข้าใจในลักษณะของอุตสาหกรรมและโครงสร้างรวมทั้งการ ทำางานต่างๆ ขององค์กรที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากจะเห็นได้วา่ ธุรกิจโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาดกำาลังอยู่ ระหว่างการเปลี่ยนแปลง บรรดานักการตลาดต่างมองหาวิธีการต่างๆ เพื่อจัดการการสื่ อสารการตลาด รวมทั้ง ความสำาพันธ์กบั เอเจนซี่โฆษณาและผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการสื่ อสารอื่นๆ

ผู้มสี ่ วนในกระบวนการการสื่ อสารตลาดแบบครบวงจร ผูโ้ ฆษณาหรื อลูกค้า คือผูม้ ีส่วนร่ วมหลักของกระบวนการส่ งเสริ มการตลาด โยเป็ นผูท้ ี่มีสินค้า บริ การหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการทำาตลาด เป็ นผูใ้ ห้งบประมาณสำาหรับการโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาดผู ้ โฆษณาเป็ นผูร้ ับผิดชอบหลักต่อการพัฒนาโปรแกรมการตลาดและเป็ นผูต้ กั สิ นใจว่าจะนำาเอาโปรแกรมการ โฆษณาและการส่งเสริ มการตลาดนั้นๆ มาใช้งานหรื อไม่ โยอาจให้ฝ่ายโฆษณาขอลบริ ษทั ทำาหน้าที่ต่างๆ เอง หรื อตั้งเอเจนซี่ภายในขั้นเอง อย่างไรก็ดีองค์กรจำานวนมากจะใช้เอเจนซี่โฆษณา (Advertising Agency) ที่เป็ นบริ ษทั ภายนอกซึ่งมี ความเชี่ยวชาญในการสร้าง ผลิต และ/หรื อส่ งผ่านข้อความที่ตอ้ งการสื่ อสารโดนอาจมีบริ การอื่นๆด้านการ


11

ตลาดหรื อการส่งเสริ มการตลาด ผูโ้ ฆษณารายใหญ่จาำ นวนมากเลือกใช้บริ การจากเอเจนซี่หลายรายพร้อมกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อมีสินค้าหลายชนิด เช่น Kraft Foods ใช้เอเจนซี่โฆษณาถึงแปดรายเพื่อดูแลตราสิ นค้า ขณะที่ Procter & Gamble ใช้เอเจนซี่โฆษณาหลักห้ารายและบริ ษทั ให้บริ การซื้ อสื่ อโฆษณาหลักอีกสองราย บริ ษทั ขนาดใหญ่จาำ นวนมากมักจะว่าจ้างเอเจนซี่ซ่ ึงมีความเชี่ยวชาญในการสร้างโฆษณาสำาหรับกลุ่ม Media organiza) คือผูม้ ีส่วนร่ วมหลักอีกรายในกระบวนการการโฆษณาและส่ งเสริ มการตลาด หน้าที่ หลักของสื่ อส่วนใหญ่คือ เพื่อให้ขอ้ มูลหรื อให้ความบันเทิงแก่สมาชิก ผูช้ มหรื อผูอ้ ่าน แต่สาำ หรับมุมมองของ เจ้าหน้าที่วางแผนด้านการส่งเสริ มการตลาดขององค์กร โดยสื่ อต้องมีแนวทางของเนื้ อหา (Editorial) ที่ดึงโด ความสนใจของผูบ้ ริ โภคได้ เพื่อให้ผโู้ ฆษณาและเอจนซี่ตอ้ งการซื้ อเวลาหรื อพื้นที่โฆษณา ภาพประกอบที่ 31 แสดงโฆษณาสิ่ งพิมพ์ที่ลงในนิตยสาร Thai TV Pool เพื่อสื่ อสารว่าสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่เป็ นผูห้ ญิง แม้วา่ สื่ อจะทำาหน้าที่อื่นๆ ที่ช่วยให้ผโู้ ฆษณาสามารถเข้าใจตลาดและผูบ้ ริ โภคของตน แต่ในแง่ของสื่ อย่อม ต้องการนำาเสนอตัวเองว่าเป็ นวิธีการที่บริ ษทั ต่างๆ จะสามารถสื่ อสารข้อความของตนไปยังกลุ่มเป้ าหมายที่ ต้องการได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

การจัดโครงสร้ างเพือ่ การโฆษณาและการส่ งเสริมการตลาดในองค์ กร : บทบาทของลูกค้ า

โดยพื้นฐานแล้วทุกองค์กรธุรกิจจะมีการใช้รูปแบบการสื่ อสารทางการตลาดรู ปแบบใดแบบหนึ่งโย วีการที่บริ ษทั จัดโครงสร้างเพื่อการทำางานเหล่านี้ จะขึ้นกับปั จจัยหลายๆ ประการ เช่น ขนาดองค์กรจำานวน สิ นค้าที่ทาำ ตลาด บทบาทของการโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาดในส่ วนประสมทางการตลาดงบประมาณ เพื่อการโฆษณาและการส่งเสริ มการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการตลาด โยอาจมีบุคคลหลายบุคคลใน องค์กรมีส่วนร่ วมในกระบวนการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่ งเสริ มการตลาดพนักงานด้านการ ตลาดซึ่งความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการโฆษณามักจะมีส่วนเกี่ยวข้องมากที่สุดนับตั้งแต่การเตรี ยมข้อมูลของ แคมเปญ การเลือกเอเจนซี่ไปจนถึงการประเมินผลโปรแกรม ขณะที่ผบู ้ ริ หารระดับบนจะสนใจเพียงว่า โปรแกรมการโฆษณาแสดงภาพลักษณ์ขององค์กรอย่างไร และอาจเข้ามามีส่วนในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการ โฆษณา การวางแผนและกำาหนดงบประมาณ ฝ่ ายโฆษณามีหน้าที่รับผิดชอบต่อการพัฒนาแผนการโฆษณา และการส่ งเสริ มการตลาด เพื่อเสนอให้ผบู้ ริ หารอนุมตั ิและเสนอโปรแกรมการส่ งเสริ มการตลาดที่สอดคล้อง กับแผนการตลาดโดยรวม วัตถุประสงค์และงบประมาณ โดยมีการเสนอแผนงานประจำาปี หรื อเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงโปรแกรมอย่างชัดเจนหรื อเมื่อมีการพัฒนาโปรแกรมใหม่ การจัดการและใช้ งาน ผูจ้ ดั การต้องจัดโครงสร้างฝ่ ายโฆษณาและควบคุกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งดูแล การทำางานตามแผนงานโดยประสานงานกับเอเจนซี่โฆษณา ซึ่งต้องทำางานร่ วมกับฝ่ ายผลิต สื่ อฝ่ ายศิลป์ ฝ่ าย


12

ครี เอทีฟและการส่งเสริ มการขาย กรณีที่มีการใช้บริ การเอเจนซี่ภายนอก จะสามารถลดความรับผิดชอบของ ฝ่ ายโฆษณาลงได้หลายประการ โดยต้องตรวจสอบและรับรองแผนของเอเจนซี่

บทบาทของเอเจนซี่โฆษณา

หน้าที่การทำางานต่างๆ ที่ทาำ โดยเอเจนซี่โฆษณาอาจได้รับการควบคุมโดยลูกค้าเองตลอดการ ออกแบบที่ได้กล่าวถึงไว้ก่อนหน้านี้ โดยบริ ษทั ขนาดใหญ่ส่วนมากจะใช้บริ การเอเจนซี่ภายนอก ส่ วนนี้จะมี การอธิ บายถึงสาเหตุที่ผโู้ ฆษณาเลือกใช้เอเจนซี่ภายนอก เอจนซี่แบบครบวงจร จะมีฝ่ายวิจยั ซึ่งทำาหน้าที่ในการรวบรวม วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล ที่จะมีประโยชน์ในการพัฒนาการโฆษณาให้ลูกค้า ซึ่งสามารถทำาได้โดยใช้วิจยั เบื้องต้น โดยที่การศึกษาได้ รับการออกแบบ ใช้งานและตีความโดยฝ่ ายวิจยั หรื อโดยการใช้ขอ้ มูลทุติยภูมิ บางครั้งฝ่ ายวิจยั อาจใช้ผลการ ศึกษาโดยบริ ษทั หรื อที่ปรึ กษาด้านการวิจยั อิสระ พนักงานวิจยั จะตีความหมายของรายงานต่างๆ และแจ้งให้ พนักงานดูแลบัญชีทราบ ฝ่ ายวิจยั อาจออกแบบและการวิจยั เพื่อทดสอบความมีประสิ ทธิ ภาพของการโฆษณา เช่น การทดสอบคำาโฆษณาเพื่อดูผลการตีความหมายของผูร้ ับข้อความ ในเอเจนซี่ขนาดใหญ่หลายแห่ง ฝ่ ายบริ การทางการตลาดอาจรวมถึงเจ้าหน้าที่วางแผนบัญชี Account Planner ซึ่งเป็ นผูร้ วบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับสิ นค้าหรื อบริ การของลูกค้าและสามารถใช้ในการพัฒนากลยุทก์ าร สร้างสรรค์รวมทั้งส่วนอื่นๆ ของแคมเปญ IMC เจ้าหน้าที่วางแผนบัญชีทาำ งานร่ วมกับพนักงานอื่นๆ ของเอ เจนซี่รวมทั้งผูด้ ูแลบัญชี พนักงานในทีมสร้างสรรค์ ผูเ้ ชียวชาญด้านสื่ อและพนักงานของฝ่ ายวิจยั เพื่อรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเป้ าหมาย จากนั้นจึงรวบรวมข้อมูลและให้คาำ แนะนำาสำาหรับกลยุทธ์การโฆษณาและการ ส่ งเสริ มการตลาดซึ่งมีประโยชน์ต่อฝ่ ายครี เอทีฟและฝ่ ายอื่นๆ ในบริ ษทั เอเจนซี่ ฝ่ ายสื่ อของเอเจนซี่ทาำ หน้าที่วิเคราะห์ เลือกและทำาสัญญาซื้ อเวลาหรื อพื้นที่ในสื่ อต่างๆ ที่จะใช้ส่ง ผ่านข้อความโฆษณาของลูกค้า ฝ่ ายสื่ อต้องพัฒนาแผนการใช่สื่อที่เข้าถึงตลาดเป้ าหมายและสื่ อสารข้อความที่ ต้องการได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เนื่องงบโฆษณาส่ วนใหญ่ของลูกค้าจะใช้ไปกับการซื้ อเวลาหรื อพื้นที่สื่อ ฝ่ ายนี้ตอ้ งพัฒนาแผนงานที่สามารถสื่ อสารไปยังกลุ่มเป้ าหมายได้คุม้ กับค่าใช้จ่ายที่เสี ยไป ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสื่ อต้องทราบว่าสื่ อต่างๆ เข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายใดบ้าง อัตราค่าโฆษณาและตรงกับ ตลาดเป้ าหมายของลูกค้าหรื อไม่ ฝ่ ายสื่ อจะตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ผูอ้ ่านนิตยสารและ หนังสื อพิมพ์ ผูฟ้ ังวิทยุและรู ปแบบการดูขอ้ มูลของผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ต ผูช้ มโทรทัศน์เพื่อให้สามารถพัฒนา แผนการใช้สื่อได้อย่างมรประสิ ทธิภาพ ผูซ้ ้ือสื่ อใช้แผนการใช้สื่อโดยการซื้ อเวลาและพื้นที่จริ ง


13

ฝ่ ายสื่ อของเอเจนซี่ มีความสำาคัญเพิ่มขึ้นมากในแง่ของเอเจนซี่เอง ความสามารถในการต่อรองราคา และใช้สื่อประเภทต่างๆ ได้อย่างดีมีความสำาคัญมากพอๆ กับการสร้างสรรค์ชิ้นงานโฆษณา เอเจนซี่ขนาด ใหญ่หรื อบริ ษทั โฮลดิ้งจัดตั้งบริ ษทั ให้บริ การเกี่ยวกับสื่ ออิสระเพื่อให้สามารถให้บริ การแก่ลูกค้าได้ดียงิ่ ขึ้น เช่น Starcom Media Vest Group และมีสาำ นักงานเครื อข่ายในกว่า 67 ประเทศ ขณะที่ McCann Erickson Worldwide จัดตั้ง Universal McCaan ซึ้งกลายเป็ นเอเจนซี่ที่มีความเชี่ยวชาญด้านสื่ อที่มีชื่อเสี ยงของกลุ่ม Interpublic หรื อ MindShare ของ WPP Group และ OMD Worldwide ที่เป็ นของ Omnicom Group ฝ่ ายวิจยั และฝ่ ายสื่ อทำาหน้าที่ส่วนใหญ่เอเจนซี่ซ้ึ งให้บริ การครบวงจรต้องใช้เพื่อวางแผนและใช้งาน โปรแกรมการโฆษณาของลูกค้า เอเจนซี่บางแห่ งเสนอบริ การทางการตลาดอื่นๆ ให้กบั ลูกค้าเพื่อช่วยในการ ส่ งเสริ มการตลาดด้านอื่นๆ หรื ออาจมีฝ่ายการส่ งเสริ มการขายฝ่ ายกิจกรรมพิเศษที่มีความเชี่ยวชาญในการ สร้างการประกวด สิ นค้าพรี เมี่ยม การส่งเสริ มการตลาด เอกสาร ณ จุดขายสิ นค้าและเอกสารประกอบการขา ยอื่นๆ หรื ออาจมีผเู้ ชี่ยวชาญด้านการตลาดแบบตรงและนักออกแบบบรรจุภณั ฑ์รวมทั้งฝ่ ายประชาสัมพันธ์/ ให้ข่าว เอเจนซี่หลายแห่งมีฝ่ายพัฒนาสื่ อโต้ตอบเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ลูกค้าความนิยมที่เพิ ่มขึ้นของการ สื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรส่งผลให้เอเจนซี่แบบครบวงจรหลายแห่ งเพิ ่มขีดความสามารถเพื่อให้บริ การ ส่ งเสริ มการตลาดได้อย่างครบวงจร เอเจนซี่โฆษณาต่างตระหนักดีกว่าจำาเป็ นต้องพัฒนาขีดความสามารถใน การให้บริ การทางการตลาดให้ครบวงจรที่เหนือกว่าการโฆษณาผ่านสื่ อเท่านั้น การจัดโครงสร้ างของเอเจนซี่ เอเจนซี่แบบครบวงจรต้องพัฒนาโครงสร้างองค์กรที่ตรงตามความ ต้องการของลูกค้าและตอบสนองความต้องการภายในขององค์กรเองได้อย่างดี เอเจนซี่ขนาดกลางมักจะใช้ ระบบฝ่ ายหรื อระบบกลุ่ม ในระบบฝ่ ายจะมีการแบ่งส่ วนการทำางานต่างๆ ของเอเจนซี่ออกเป็ นฝ่ ายต่างๆ เพื่อ ให้บริ การแก่ลูกค้าตามความต้องการ เอเจนซี่ขนาดใหญ่จาำ นวนมากเลือกใช้ระบบกลุ่ม คือการที่บุคลากรจากแต่ละฝ่ ายมาทำางานร่ วมกัน ในกลุ่ม เพื่อให้บริ การแก่บญั ชีลูกค้า แต่ละกลุ่มมีหวั หน้าคือผูด้ ูแลบัญชีน้ นั ๆ และมีเจ้าหน้าที่ดา้ นสื่ ออย่าง น้อยหนึ่งรายการ เช่น พนักงานวางแผนการใช้สื่อ (Media Planner) และวางแผนซื้อสื่ อ (Media Buyer) ทีม ครี เอทีฟ ซึ่งประกอบด้วยก็อปปี้ ไรเตอร์ นักออกแบบศิลป์ พนักงานฝ่ ายผลิตและผูด้ ูแลลูกค้าอย่างน้อยหนึ่ง คน และอาจมีพนักงานจากฝ่ ายอื่นๆ เช่น เจ้าหน้าที่วิจยั การตลาดการตลาดแบบตรงหรื อการส่ งเสริ มการขาย ขนาดและจำานวนบุคคลในกลุ่มจะขึ้นกับยอดบิลลิ่งของลูกค้าและความสำาคัญของบัญชีน้ นั ๆ ต่อเอเจนซี่ สำาหรับลูกค้ารายสำาคัญอาจมีการกำาหนดทีมงานดูแลเฉพาะ แต่สาำ หรับลูกค้ารายย่อยๆ อาจมีทีมรับผิดชอบ งานให้หลายรายพร้อมกันได้


14

ค่ าตอบแทนของเอเจนซี่ จะเห็นว่ามีบริ การของเอเจนซี่หลายรู ปแบบ ดังนั้นเอเจนซี่จึงต้องมีวิธีการคิดค่าตอบแทนจาการ ทำางานที่หลากหลายตามไปด้วย โดยปกติเอเจนซี่จะมีการเรี ยกค่าตอบแทนในสามวิธี ได้แก่ คอมมิชชัน่ การ กำาหนดค่าใช้จ่ายตายตัวหรื อคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ การสร้ างลูกค้ าเพิม่ และสู ญเสียลูกค้ า กระบวนการประเมินที่อธิบายไว้ขา้ งต้นช่วยให้ได้รับความคิดเห็นที่มีค่าต่อเอเจนซี่และลูกค้า เช่น จะทราบถึงการแก้ไขที่ตอ้ งทำาโดยเอเจนซี่หรื อเพื่อเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพ เอเจนซี่หลายแห่ งมีความสัมพันธ์อนั ยาวนานกับลูกค้า เช่น General Electric เป็ นลูกค้าของเอเจนซี่ BBDO Worldwide นานกว่า 80 ปี Marlboro ใช้บริ การ Leo Burnett นานกว่า 50 ปี หรื อ McDonald ที่เป็ นลูกค้า DDB Worldwide กว่า 37 ปี ภาพประกอบ ที่ 3-7 แสดงโฆษณาที่ Dr Pepper และ Seven Up inc. ฉลองความสัมพันธ์ที่ยายนานกับเอเจนซี่ Young & Rubicam แม้วา่ ความสัมพันธ์ที่ยดื ยาวระหว่างเอเจนซี่กบั ลูกค้าจะยังคงมีต่อไป แต่การจะภัคดีกบั เอเจนซี่ราย เดียวนั้นแทบเป็ นไปไม่ได้อีกต่อไป เนื่องจากนักการตลาดต้องการมองหาวิธีการใหม่ๆ ในการติดต่อกับผู ้ บริ โภค ในปี 2004 PepsiCo เปลี่ยนบัญชี Diet Pepsi จาก BBDO ไปให้ DDB Worldwide เพราะต้องการ แนวคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ สำาหรับตราสิ นค้า ทั้งที่ Diet Pepsi นั้น BBDO เป็ นผูด้ ูแลมาตั้งแต่แนะนำาสิ นค้าสู่ ตลาดในปี 1960 แม้วา่ BBDO จะยังคงได้รับความไว้วางใจให้ดูแลเครื่ องดื่มอื่นๆ ของ PepsiCo ต่อไป เช่น Pepsi-cola, Mountain Dew และ Sierra Mist ความเปลี่ยนแปลงนี้ เป็ นตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงความ ต้องการเปลี่ยนแปลงเอเจนซี่สาำ หรับตราสิ นค้าที่เอเจนซี่ไม่สามารถดูแลให้ประสบความสำาเร็ จ บางบริ ษทั เปลี่ยนแปลงเอเจนซี่ค่อยข้างบ่อยเพื่อให้ได้รับงานสร้างสรรค์หรื อเพื่อต้องการความหลากหลายรวมทั้งอาจมี เหตุผลอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงผูบ้ ริ หารระดับสูง การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ทางการตลาดหรื อการโฆษณา หรื ออาจเกจากความขัดแย้งหลังเกิดการวบรวมกิจการเช่น Gateway เปลี่ยนเอเจนซี่ถึงเจ็ดรายในระยะเวลาสิ บ ปี เนื่องจากมีความเปลี่ยนแปลงผูบ้ ริ หารระดับสูงและกลยุทธ์ทางธุรกิจ สาเหตุที่เอเจนซี่เสียลูกค้ า มีสาเหตุหลายประการที่ส่งผลให้เอเจนซี่ตอ้ งสูญเสี ยลูกค้าได้แก่ − การทำางานหรื อการให้บริ การที่ดอ้ ยประสิ ทธิ ภาพ ลูกค้าไม่พอใจกับคุณภาพของโฆษณาหรื อบริ การ ต่างๆ ที่ได้รับจากเอเจนซี่ − การสื่ อสารไม่ดี พนักงานด้านเอเจนซี่และลูกค้าขาดการสื่ อสารที่ดี


15

− ความต้องการที่ไม่สมเหตุสมผลของลูกค้า ลูกค้าเรี ยกร้องจากเอเจนซี่เกินกว่าผลตอบแทนที่เอเจนซี่ จะได้รับและส่งผลให้ไม่มีกาำ ไร − ความขัดแย้งส่วนบุคคล เกิดความขัดแย้งส่ วนบุคคลระหว่างด้านลูกค้าและเอเจนซี่ − การเปลี่ยนคนทำางาน การเปลี่ยนพนักงานทั้งด้านเอเจนซี่หรื อผูโ้ ฆษณาอาจส่ งผลให้เกิดปั ญหาขึ้ นได้ ผูจ้ ดั การคนใหม่อาจต้องการใช้เอเจนซี่สนิทสนมกับตนเอง ขณะที่พนักงานของเอเจนซี่มกั จะดึงเอา ลูกค้าไปด้วยเมื่อเปลี่ยนที่ทาำ งานหรื อเริ่ มตั้งบริ ษทั ของตนเอง − การเติบโตของลูกค้าหรื อเอเจนซี่ ลูกค้าอาจเติบโตและตัดสิ นใจที่เลือกใช้บริ การเอเจนซี่รายใหญ่ข้ึ น หรื อในทางกลับกันหากเอเจนซี่เติบโตมาก อาจส่ งผลให้ลูกค้าบางรายแทบไม่มีผลต่อรายรับของ บริ ษทั − ผลประโยชน์ทบั ซ้อน อาจเกิดกรณี น้ ี ข้ ึนได้เมื่อเอเจนซี่มีการควบรวบกิจการกับเอเจนซี่อื่นหรื อ บริ ษทั ของลูกค้ามีการควบรวมกิจการ โดยมารยาทแล้วเอเจนซี่ไม่สามารถถือบัญชีลูกค้าสองรายที่ เป็ นคู่แข่งทางตรงพร้อมกันได้ หรื อในบางกรณี แม้จะเป็ นคูแ้ ข่งทางอ้อมก็ไม่สามารถทำาได้เช่นกัน − การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์บริ ษทั หรื อการตลาดของลูกค้า ลูกค้าอาจเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์กางการตลาด และเลือกใช้บริ การเอเจนซี่รายอื่นเพื่อเสนอโปรแกรมใหม่ที่ตอ้ งการ ยิง่ มีการยอมรับแนวคิดของการ สื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมากขึ้นเท่าไหร่ ลูกค้าตึงต้องมองหาเอเจนซี่ที่สามารถให้บริ การแบบ ครบวงจรได้มากขึ้น ไมใช่เพียงดูแลการโฆษณาผ่านสื่ อเท่านั้น − ยอดขายลดลง เมื่อยอดขายของสิ นค้าหรื อบริ การของลูกค้าลดลงอาจส่ งผลให้โฆษณาถูกมองว่า เป็ นต้นเหตุและมีการมองหาเอเจนซี่ใหม่เพื่อแก้ไขปั ญหา − ข้อตกลงการจ่ายผลตอบแทนไม่ลงตัว อาจเกิดความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันสำาหรับรู ปแบบการจ่ายผล ตอบแทน ซึ่งเป็ นเรื่ องที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้มาก


16

− การเปลี่ยนแปลงของนโยบายต่างๆ ความเปลี่ยนแปลงของนโยบายต่างๆ ส่ งผลให้ท้ งั สองฝ่ ายต้อง ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น การให้ลูกค้าใหม่ของเอเจนซี่หรื อเกิดการควบรวมกิจการ หากเอเจนซี่พบว่ามีปัญหาเตือนอย่างใดอย่างหนึ่ง ต้องพยายามปรับโปรแกรมและนโยบายเพื่อให้ แน่ใจว่าลูกค้าจะพอใจ ปัญหาบางอย่างอาจไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้หรื อบางปั ญหาอาจไม่อยูใ่ นความควบคุม ของของเอเจนซี่ อย่างไรก็ตาม หากปัญหาใดอยูใ่ นวิสยั ที่สามารถควบคุมได้ เอเจนซี่ตอ้ งปรับแก้เพื่อรักษา ลูกค้าไว้ และหากเอเจนซี่พบว่าการทำางานกับลูกค้าไม่ให้ผลตอบแทนที่ดีพอ เกิดความขัดแย้งส่ วนบุคคล การเปลี่ยนแปลงปรัชญาการบริ หาร หรื อไม่มีการจ่ายผลตอบแทนที่พอ ฯลฯ เอเจนซี่อาจต้องบอกเลิกบริ การ กับลูกค้ารายนั้น วิธีการได้ ลูกค้ าใหม่ ของเอเจนซี่ การแข่งขันเพื่อให้ได้ลูกค้าของเอเจนซี่มีความเข้มข้นขึ้นมาก เนื่องจากบริ ษทั ต่างๆ มักมีการพัฒนาส่วนโฆษณาของตนเอง และมีธุรกิจเกิดใหม่ในแต่ละปี ไม่มากนักที่ ต้องการใช้บริ การในส่วนนี้ เอเจนซี่ขนาดเล็กอาจพร้อมทำางานกับบริ ษทั ขนาดย่อมขณะที่เอเจนซี่รายใหญ่ อาจไม่ได้ให้ความสำาคัญกับบริ ษทั เหล่านี้ จนกว่าพร้อมจ่ายงบประมาณสำาหรับการโฆษณาปี ละ 1 ล้านเหรี ยญ เอเจนซี่รายใหญ่ 15 อันดับแรกจะไม่ให้ความสนใจหากลูกค้ามีงบโฆษณาไม่ถึงปี ละ 5 ล้านเหรี ยญ สำาหรับเอเจนซี่ขนาดใหญ่โดยมากจะได้ลูกค้าจากกรณี ที่เดิมลูกค้ามีเอเจนซี่อยูแ่ ล้วแต่ตอ้ งการ เปลี่ยนแปลงมาใช้บริ การเอเจนซี่ที่มีขนาดใหญ่ข้ึ น เอเจนซี่ต่างๆ จึงต้องทำาการแข่งขันกันเพื่อให้ได้ลูกค้า ใหม่ๆโดยมีวธิ ีการต่างๆ ดังนี้ − การแนะนำา เอเจนซี่ดีๆ จำานวนมากได้ลูกค้าเพิม่ จาการแนะนำาของลูกค้าเดิมที่ใช้บริ การอยู่ หรื อแม้ กระทัง่ จากการแนะนำาของเอจนซี่รายอื่นๆ เนื่องจากเอเจนซี่เหล่านี้ สามารถรักษาความสัมพันธ์อนั ดี กับลูกค้า สื่ อและเอเจนซี่อื่นๆ ซึ่งอาจแนะนำาลูกค้าใหม่ๆให้ได้อย่างดี − การหาลูกค้า วิธีการพื้นฐานที่สุดคือการหาลูกค้าใหม่ๆ เอเจนซี่ขนาดเล็กประธานบริ ษทั อาจหาลูกค้า เอง ส่วนเอเจนซี่ขนาดใหญ่จะมีฝ่ายพัฒนาธุรกิจใหม่ที่หาโอกาสและติดต่อกับลูกค้าใหม่ๆ ส่ ง จดหมายเชิญ โทรติดต่อและติดตามผล − การนำาเสนอ เป้ าหมายหลักของฝ่ ายพัฒนาธุรกิจใหม่คือการได้รับคำาเชิญจากบริ ษทั เป้ าหมายให้เข้า นำาเสนองาน ซึ่งเป็ นโอกาสที่เอเจนซี่จะได้รับโอกาสในการนำาเสนอตัวเอง อธิ บายประสบการณ์ บุคลากร ความสามารถและกระบวนการการทำางานรวมทั้งแสดงตัวอย่างงานที่เคยทำามาแล้ว บาง


17

ครั้งเอเจนซี่อาจได้รับคำาขอให้นาำ เสนอเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการตลาดของลูกค้ารวมถึงแคมเปญ การสื่ อสารที่อาจมีการนำามาใช้งาน เอเจนซี่บางรายอาจไม่ตอ้ งการเข้าร่ วมการนำาเสนอในลักษณะดัง กล่าวโดยเชื่อว่าควรได้รับเลือกจากประสบการณ์ที่ผา่ นมาอย่างไรก็ตามมีเอเจนซี่จาำ นวนหนึ่งที่ยนิ ดี เข้าร่ วมการแข่งขันในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน − การประชาสัมพันธ์ เอเจนซี่สามารถหาลูกค้าได้ผา่ นทางการให้ข่าว/การประชาสัมพันธ์เช่นกัน การมี ส่วนร่ วมในกิจกรรมเพื่อสังคมหรื อองค์กรการกุศล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากสังคม การเข้าร่ วม ในสมาคมต่างๆ เอเจนซี่ที่ประสบความสำาเร็ จมักจะได้รับการเผยแพร่ ข่าวสารในสื่ อต่างๆ อยูเ่ สมอ

บริษัทประชาสั มพันธ์ (Pubic Relation Firms) บริ ษทั ขนาดใหญ่จาำ นวนมากใช้ท้ งั เอเจนซี่โฆษณาและบริ ษทั ประชาสัมพันธ์พฒั นาและการใช้ โปรแกรมเพื่อให้ข่าวเกี่ยวกับองค์กร สร้างภาพลักษณะและสื่ อสารกับผูบ้ ริ โภคและบุคคลอื่นๆ เช่น พนักงาน ซัพพลายเออร์ ผูถ้ ือหุน้ รัฐบาล สหภาพแรงงานและสาธารณชน บริ ษทั ประชาสัมพันธ์จะวิเคราะห์ความ สัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและสาธารณชน ตรวจสอบว่านโยบายและการทำางานใดของลูกค้าที่มีความสัมพันธ์กบั สังคม พัฒนากลยุทธ์การปะชาสัมพันธ์ ใช้งานโปรแกรมเหล่านี้โดยใช้เครื่ องมือสำาหรับการประชาสัมพันธ์ที่ หลากหลาย และประเมินประสิ ทธิภาพในการทำางาน กิจการของบริ ษทั ประชาสัมพันธ์ เริ่ มตั้งแต่การวางกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์และโปรแกรมการให้ ข่าว การล็อบบี้และการเข้าร่ วมกิจการของสังคมและเหตุการณ์ต่างๆ จัดเตรี ยมการแถลงข่าวและการสื่ อสา รอื่นๆ ทำาการวิจยั โฆษณาและจัดการกิจกรรมพิเศษและบริ หารวิกฤติต่างๆ และเนื่องจากบริ ษทั ต่างๆ รับเอา แนวคิดของ IMC มาใช้กบั การวางแผนการส่ งเสริ มการตลาด จึงต้องเพิม่ การประสานงานระหว่างกิจกรรม PR กับการโฆษณาและการส่งเสริ มการตลาดอื่นๆ บริ ษทั หลายแห่ งรวมเอาการประชาสัมพันธ์และการให้ ข่าวเป็ นส่ วนหนึ่งของส่วนประสมของการสื่ อสารเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของข้อความได้มากขึ้นและลดค่า ใช้จ่ายจากการซื้ อสื่ อ ปกติบริ ษทั ประชาสัมพันธ์จะได้รับผลตอบแทน


18

บทที่ 3 การปฏิบัตงิ าน หลักการของการปฎิบัตงิ าน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็ นจริ งในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบตั ิงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ อย่างมีเหตุผล 3. เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินยั และทำางานร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. เพือให้มีเจตคติที่ดีต่อการทำางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบ อาชีพต่อไปภายหลังจากสำาเร็ จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหน่วยงานรัฐบาล ระเบียบว่าด้วยงานที่ได้รับมอบหมาย

การปฏิบัตติ วั ระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดไปเวศ แต่ตอ้ งติดบัตรประจำาตัวนักศึกษาฝึ กงาน 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่ อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสิ นใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทำางาน และทำาการ ฝึ กงานอย่างเต็มกำาลังความสามารถ


19

9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้อง ไม่กระทำาการ ใด ๆ ที่จะทำาให้เสื่ อมเสี ยต่อส่ วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคำาปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อกลับมายังอาจารย์ประจำาภาควิชา แต่ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ หรื อ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

การปฎิบัตงิ านของฝ่ าย ART บริษัท Thai TV Pool โดยแผนกที่ผฝู้ ึ กประสบการณ์วิชาชีพได้เข้าไปปฎิบตั ิงานคือแผนกครี เอทีฟ ซึ่งทำางานออกแบบ สร้างสรรค์งานกราฟิ ก โดยภายในแผนกจะมีครี อีทีฟดีไชด์เป็ นคนรับงานใหญ่แล้วมีผดู ้ ูแลคิวดีไชด์เนอร์ แล้ว จัดแบ่งภาระงานตามเหมาะสมโดยแผนกครี เอทีฟจะแบ่งเป็ นฝ่ าย Art Design Art ad มีโอการได้รับงานจาก ฝ่ าย AE (Account Exclusive) เมื่ออกแบบเสร็ จจะมีการ internal จาก AE (Account Exclusive) ก่อนเพื่อให้ได้ ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ขั้นตอนการปฎิบตั ิงานของกราฟิ กดีไซด์เนอร์ เป็ นดังนี้ 1. การรับ Brief งานจากฝ่ าย AE (Account Exclusive) 2. กราฟิ กดีไซด์เนอร์เริ่ มปฎิบตั ิงานตามโจทย์ที่ได้รับซึ่งแต่ละงานอาจเป็ นแก้ไขปรับปรุ งจากแบบเดิม พัฒนา สร้างใหม่ ซึ่งจะมีผลต่อระยะเวลาในการผลิตและจะระบุกาำ หนดระยะเวลามาอย่างชัดเจน 3. Internal หรื อการตรวจสอบจาก AE (Account Exclusive) ก่อนนำาไปขายลูกค้าครั้งแรกโดยการใช้ ภาพประกอบต่างเป็ นการนำาถาพจากสต็อกภาพ ภาพฟรี ที่ไม่ติดลิขสิ ทธิ์ ภาพถ่ายใหม่ หรื อภาพที่ ขายก็ได้แต่ตอ้ งดูงบประมาณของลูกค้าด้วยโดยจะมีผปู ้ ระเมินราคาอยูแ่ ล้ว 4. ขายงานลูกค้าโดยกราฟิ กดีไซด์เนอร์ กบั AE (Account Exclusive) จะเป็ นผูน้ าำ ผลงานไปขายให้กบั ลูกค้า 5. ปรับแก้ไขงานตามต้องการของลูกค้า คนหรื อ 6. ทำาการจัดวางเพื่อขายลูกค้าต่อไป และแก้ไขปรับปรุ งต่อไป 7. เมื่อลูกค้าสรุ ปแบบเรี ยบร้อยทำาการออกแบบเรี ยบร้อย ลูกค้าจะไปดูดว้ ยตัวเองหรื อบางทีก็ AE จะส่ ง ให้ 8. อาร์ตดีไซด์เนอร์นาำ ภาพมาจัดวางคอมโฟสออกแบบตามคำาแนะนำาลูกค้า


20

9. นำาเสนองาน

งานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Star stayle ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 1 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Star stayle หน้า 30 ฉบับที่ 1202

สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ได้เรี ยนรู ้การจัดวางองค์ประกอบเพื่อให้ภาพมีความสมดุลกัน สบายตา อ่านหนังสื อได้งานมากขึ้น ปัญหาที่เกิดขึน้ มีรูปภาพนำาเสนอเยอะเกินไป จึงทำาให้ยากต่อการจัดวาง เพราะมีเนื้ อน้อย การแก้ ไขปัญหา คัดรู ปภาพที่สาำ คัญเพื่อที่จะนำาเสนอ ประสบการณ์ ที่ได้ รับ ได้รับรู้การทำางาน การเรี ยบเรี ยง การจัดวางองค์ประกอบเพื่อให้หนังสื อดูน่าสนใจมาก ขึ้น


21

2. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ TV Pool Talk ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 2 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ TV Pool Talk หน้า 36 – 37 ฉบับที่ 1202 สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ TV Pool Talk แบบ 2 หน้า โดยการใช้รูปภาพสร้างระดับ เพื่อให้หนังสื อมีการจัดวางที่ดี ปัญหาที่เกิดขึน้ มีรูปภาพไม่เพียงพอ และรู ปภาพมักจะไม่ตรงกับข้อความ จึงทำาให้ยากต่อการทำางาน การแก้ ไขปัญหา หารู ปและศึกษาข้อมูลข่าวนั้นให้มาก และชัดเจน ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การจัดวางตำาแหน่งของภาพ การสร้างภาพกราฟิ กโดยใช้เทคนิคพิเศษทางด้าน คอมพิวเตอร์


22

3. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Snap ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 3 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Snap หน้า 62 ฉบับที่ 1202

สาระสำาคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ Snap ลักษณ์เด่นของคอลัมน์คือการจัดวางรู ป ให้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้อ่านและเข้าใจได้ง่าย ปัญหาที่เกิดขึน้ วางรู ปภาพเกินเส้นตัดหนังสื อ จึงทำาให้ออกมาไม่ดีนกั การแก้ไขปัญหา ควรมีการตั้งไกล์เพื่อได้รู้ขอบเขตของงาน


23

4. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Rumor ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 4 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Rumor หน้า 118 ฉบับที่ 1202

สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ Rumor เป็ นการออกแบบเน้นความเรี ยบง่าย เพื่อให้ เข้ากับบทข่าว ปัญหาที่เกิดขึน้ ไม่ค่อยเข้าใจบทข่าว จึงทำาให้ยากต่อการเรี ยบเรี ยงหนังสื อ การแก้ ไขปัญหา อ่านข่าวให้เข้าใจ หรื อติดต่อกับฝ่ ายนักข่าว


24

5. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Online ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 5 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Online หน้า 94 ฉบับที่ 1202 สาระสำาคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ Online มีการออกแบบคล้ายๆ คอลัมน์ Rumor แต่จะมีลกั ษณะเด่นตรงรู ปหลักมีการ Cut เพื่อให้รูปมีความสำาคัญต่อข่าว ปัญหาที่เกิดขึน้ การแก้ไขปัญหา ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การเรี ยบเรี ยงหนังสื อที่ดี ควรมีรูปภาพหลักกำากับเพื่อให้เข้าแก่การอ่าน


25

6. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Home ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 6 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Home หน้า 126 – 127 ฉบับที่ 1202

สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ TV Pool Talk แบบ 2 หน้า โดยการใช้รูปภาพสร้าง ระดับ เพื่อให้หนังสื อมีการจัดวางที่ดี ปัญหาที่เกิดขึน้ การจัดวาง AD โฆษณาไม่ตรง ไกล์ ที่วางไว้จึงทำาให้ AD โฆษณา ดูไม่ตรง การแก้ ไขปัญหา หัดจัดวางให้บ่อย เพื่อให้เข้าใจในการทำางาน ประสบการณ์ ที่ได้ รับ ได้รู้จกั การวาง AD โฆษณา และเทคนิก เครื่ องสื อใหม่ๆ ในการทำา 7. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Birthday ฉบับที่ 1202


26

สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 7 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Birthday หน้าฉ 91 ฉบับที่ 1201 สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ Birthday จะเน้นบทสนทนาหรื อบทข่าว และมีภาพ ประกอบเล็กน้อย ปัญหาที่เกิดขึน้ ไม่ค่อยเข้าใจบทข่าว จึงทำาให้ยากต่อการเรี ยบเรี ยงหนังสื อ การแก้ ไขปัญหา อ่านข่าวให้เข้าใจ หรื อติดต่อกับฝ่ ายนักข่าว ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การศึกษาดูตวั อย่างจากงานของต่างประเทศเพื่อให้ งานดูทนั สมัย เลือกฟอนต์และ ออกแบบได้ทนั สมัย


27

8. เรื่อง/รายการ ออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Insider ฉบับที่ 1202 สถานที่ แผนก Art Design

ภาพที่ 8 แสดงภาพออกแบบและเรี ยบเรี ยงหนังสื อ คอลัมน์ Insider หน้า 99 ฉบับที่ 1202

สาระสำ าคัญที่ได้ เรียนรู้ และฝึ กปฎิบัติ ออกแบบ คอลัมน์ Online มีการออกแบบคล้ายๆ คอลัมน์ Rumor แต่จะ มีลกั ษณะเด่นตรงรู ปหลักมีการ Cut เพื่อให้รูปมีความสำาคัญต่อข่าว ปัญหาที่เกิดขึน้ การแก้ ไขปัญหา ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การเรี ยบเรี ยงหนังสื อที่ดี ควรมีรูปภาพหลักกำากับเพื่อให้เข้าแก่การอ่าน


28

บทที่ 4 ผลทีไ่ ด้ รับจากการฝึ กงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบตั ิงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อสร้างสรรค์ตน้ แบบงาน ที่สามารถออกแบบ เพื่อสื่ อสารใช้เป็ นงานต้นแบบเพื่อผลิตและนำาเสนอให้แก่ลูกค้าได้นาำ ไปผลิตได้จริ ง โดยผูป้ ฎิบตั ิงานได้วาง แนวทางวิธีการทำางานและสร้างผลงานออกแบบหลังได้รับงานจากนักข่าว ไว้เป็ นลำาดับขั้น ดังนี้ ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาข้อมูลความต้องการของผูผ้ ลิต และความต้องการในการออกแบบ(Creative Brief) กรุ ณาดูที่ ภาคผนวก 3. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา(Case Study) 4. ศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์ ข. การกำาหนดแบบร่ างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน 1. วิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการศึกษา 2. กำาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่ างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรู ปแบบภาพแบบขาว-ดำา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. ถ่ายภาพเพื่อเตรี ยมสร้างภาพกราฟิ กและสร้างภาพจำาลองโครงสร้างหรื อหาภาพในสต็อกภาพ 6. การปรับปรุ งแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม 7.ส่งโรงพิมพ์ ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1. การเขียนแบบกราฟิ กแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แก้ไขปรับปรุ งตามความต้องการของลูกค้า จนถูกต้อง 2. การ onscreen รี ทชั ภาพจากทาง studio 3. การทำาแบบจำาลองเลเอาท์รายละเอียดประกอบแบบ


29

ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1. คิดต่อคอลัมน์ข่าวและรู ปภาพจากนักข่าวแล้วอ่านข่าวให้เข้าใจ 2. เข้าโปรแกรม Photo Shop นำารู ปภาพนั้นมาปรับ Mode เป็ น CMYK และ Image Size (ถ้ารู ปภาพนั้นเป็ นแนวตั้งให้ปรับ Width 6 ,แนวนอนให้ปรับ Height 6)

ภาพที่ 9 การเลือกรู ปภาพมา Die Cut


30

ภาพที่ 10 การปรับ Mode และ Image Size ของรู ปภาพ

3. แล้วนำารู ปภาพที่ปรับขนาดแล้วมา Diecut โดยการใช้เครื่ องมือ Pen Tool ในการตัดเส้น กด Ctrl + Enter เพื่อจำากัดรู ปภาพส่ วนที่ตอ้ งการ กด Ctrl + Shift + I เพื่อจำากัดส่ วนที่ตดั ออกแล้ว Delete

ภาพที่ 11 ขั้นตอนการ Die Cut รู ปภาพ

แล้ว Save File เป็ นนามสกุล .PDS


31

ภาพที่ 12 การ Save File , เครื่ องมือที่ใช้,โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง

4. เข้าโปรแกรม Indesign สร้างหน้ากระดาษใหม่แบบ 2 คอลัมน์ แล้วสร้าง Layuot ตามข่าวที่เรา ต้องการ

ภาพที่ 13 แสดงการสร้างหน้ากระดาษงาน ขนาด A4


32

ภาพที่ 14 แสดงการสร้าง Layuot สำาหรับข่าวนี้

5. ดึงข่าวมาวางไว้โดย กด Ctrl + O ข้างๆ กระดาษงานแล้วปรับ Font ให้เป็ นของบริ ษทั ( Font DilleniaUPC ) แล้ว Copy เนื้อข่าวทั้งหมดใส่ บนเนื้ อที่ที่เราจัดวางไว้

ภาพที่ 15 แสดงการวางเนื้อข่าวที่สมบูรณ์

กด Ctrl + O เพื่อเป็ นการเปิ ดรู ปภาพที่ Die Cut มาจัดวางตามข่าวที่ได้รับมอบหมาย


33

(ในคอลัมน์ตอ้ งมีรูปภาพที่ Die Cut แล้ว 3 ภาพ) การจัดวางรู ปภาพควรมีองค์ประกอบที่สาำ คัญ เพื่อให้ข่าวได้เข้าใจง่ายมากขึ้น

ภาพที่ 16 แสดงการใส่ รูปภาพและการจัดวางรู ปภาพ

6. ตรวจงานให้เรี ยบร้อย เพื่อให้งานออกมามีคุณภาพ สิ่ งสำาคัญในการตรวจงานครั้งนี้ ควรเช็คดูบรรทัด ตัวหนังสื อ การใช้วรรณและสี ที่ใช้กบั ตัวหนังสื อ เพราะมีจุดบกพร่ องบ่อยครั้ง และยากต่อการสัง เกตุ 7. ให้ Save เป็ น .INDD (Indesign) 8. ส่งให้นกั ข่าวตรวจเช็คความเรี ยบร้อยงานข่าว เมื่อถูกตอบกลับ นักข่าวจะส่ งเลขที่หน้าคอลัมน์ 9. เปิ ดงาน เข้าไปที่ Layuot > Numbering & section Options… > คลิ๊กที่ Start Page Numbering at แล้ว เปลี่ยนเลขหน้าคอลัมน์


34

ภาพที่ 17 การเปลี่ยนเลขที่หน้าคอลัมน์

10. แล้วส่งไปยังห้องยิงฟิ ล์ม รอ Moodvord จากห้องยิงฟิ ล์ม 11. ตรวจ Moodbord เสร็ จ ส่งไปโรงพิมพ์ เพื่อยืนยันว่างานเสร็ จสิ้ น


35

ภาพที่ 18 แสดงงานที่เสร็ จสำาบูรณ์


36

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะได้ความรู ้ในหลักสูตรแล้ว การศึกษาประสบการณ์ วิชาชีพศิลปกรรมยังเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญและจำาเป็ นที่นกั ศึกษาต้องทำาการปฏิบตั ิก่อนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็ นในส่ วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดำาเนินชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็ นการฝึ กทักษะการทำางานและรู ้จกั การปรับตัวของการทำางานร่ วมกับผู ้ อื่น มีประโยชน์อย่างยิง่ สำาหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ณ Thai TV Pool ในครั้งนี้ ทำาให้นกั ศึกษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพได้เพิม่ พูนความรู้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิง่ ขึ้น เข้าใจการทำางานด้านโฆษณา การมี มนุษย์สมั พันธ์ที่ดีต่อผูอ้ ื่น การวางตัวในสังคมได้ อีกประการหนึ่งที่สาำ คัญที่สุดสำาหรับนักศึกษาที่ได้รับคือ การทำางานของตนเองได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยตนเองเปรี ยบเสมือนตนเองเป็ นบุคลากรคน หนึ่งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแต่วนั แรกของการฝึ กประสบการณ์จนถึง วันสุ ดท้ายของการฝึ กประสบการณ์เป็ นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรี จิตที่ดีต่อนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ อีกทั้งยังให้คาำ แนะนำาและช่วยเหลือในทุกๆเรื่ อง ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องงานและเรื่ องส่ วนตัวแก่นกั ศึกษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพเสมอมา

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการเข้ ารับการฝึ กงาน 1.ได้เรี ยนรู้ถึงกระบวนการทำางานต่างๆของการทำางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึ กงานในหน่วย งานที่ได้รับมอบหมายทำาให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทำางานของฝ่ ายอื่นๆอีกด้วยและได้ทราบถึง บทบาทหน้าที่และความสำาคัญของการทำางาน 2. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ illustrator photoshop และ indesign 3. งานด้านการสื่ อสารเช่น การรับ brief งานการสัง่ งานให้ฝ่ายรี ทชั การสื่ อสารระหว่างนักออกแบบ กับเจ้าของแบรนด์ขณะขายงานและการติดต่อสื่ อสารกับทางสตูดิโอภาพ นายแบบ นางแบบ ต่างๆ


37

4. ได้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพื่อเป็ นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ

ด้ านนักศึกษาผู้ปฏิบัตงิ าน

มากขึ้น

1. ได้รับความรู้ใหม่และประสบการณ์ในสภาวะการทำางานจริ ง 2. ฝึ กให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมัน่ ใจในการทำางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น 4. ได้เรี ยนรู้การทำางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและเพิ่มทักษะการเรี ยนรู ้ระบบการทำางานในองค์กร 5. สามารถนำาประสบการณ์จากการฝึ กงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำาวันได้ 6. ฝึ กฝนให้เป็ นคนช่างสังเกตและรู ้จกั ปรับปรุ งการพัฒนาการทำางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรี ยนรู้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนำามาใช้ในการทำางาน 9. ฝึ กฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทำางาน 10. สร้างเสริ มสร้างเสริ มลักษณะนิสยั ให้เป็ นคนตรงต่อเวลามากยิง่ ขึ้น 14. ทำาให้มีความขยันหมัน่ เพียรมากยิง่ ขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมากขึ่น 12. ฝึ กฝนให้เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่

ด้ านสถานประกอบการ 1. เปิ ดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึ กงานที่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในสิ่ งใหม่เข้ามาทำางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลืกบุคคลเข้ารับการฝึ กงาน 3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจ้างงานประจำามากขึ้นเนื่องจากการดำาเนินงานของนักศึกษา ฝึ กงานมาช่วยทำางานในส่วนที่สามารถช่วยทำาได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของ แต่ละมหาวิทยาลัย


38

ด้ านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่ วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกบั สถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ขอ้ มูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุ งและพัฒนาหลักสูตรในการเรี ยนการสอนต่อไป 3. จากการส่งตัวเข้ารับการฝึ กงานไปยังบริ ษทั ต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากตลาด แรงงานมากขึ้น

ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม เนื่องจากผูฝ้ ึ กงานยังเป็ นมือใหม่สาำ หรับงานออกแบบด้านกราฟิ กเพราะฉะนั้นควรฝึ กฝนฝี มือด้วย การดูงานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยัง ดูไม่ทนั สมัย และฝึ กการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิ กให้มีความชำานาญยิง่ ขึ้นเพื่อให้รวดเร็ วในการทำางาน

การตอบรับจากทีฝ่ ึ กงาน

จากการที่เข้าไปฝึ กประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั Thai TV Pool ได้รับการตอบรับเป็ น อย่างดี มีการให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน ไม่วา่ จะเป็ นการให้คาำ แนะนำาในการใช้งานโปรแกรม เทคนิคทาง ด้านโปรแกรม การให้ความรู้ท้ งั ในและนอกสถานที่โดยได้ไปศึกษางานในด้านการถ่านทำาในสตูดิโอ การ ทำางานตั้งแต่ข้ นั เริ่ มต้นและนำาเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อฝึ กทักษะการนำาเสนอ ให้เราทำางานจริ ง เสมือน นักศึกษาคือพนักงานคนหนึ่งขององค์กรณ์

ความรู้ สึกทีม่ ตี ่ อทีฝ่ ึ กงาน การฝึ กประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั Thai TV Pool นักศึกษามีความประทับใจและดีใจ เป็ นอย่างยิง่ ที่ได้เข้ารับการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพที่องค์กรณ์ ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยูก่ นั แบบพี่นอ้ ง คอย ให้คาำ ปรึ กษาและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การทำางานจะทำางานเป็ นทีม ทำาให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้การทำางาน ร่ วมกับบุคคลอื่นได้เป็ นอย่างดี และการทำางานที่น้ ี นกั ศึกษารู ้สึกว่าได้ความรู ้ต่างๆ มากมาย นอกเหนือจาก การศึกษาในชั้นเรี ยน คือ เกิดการเรี ยนรู้และพัฒนาตนเอง การทำางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ความรับผิดชอบ และมี ความมัน่ ใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของสถานประกอบการ ที่สาำ คัญนอกเหนือสิ่ งใด คือ งานที่นกั ศึกษาออกแบบสามารถนำามาใช้ได้จริ ง ซึ่งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดีต่อการทำางานจริ งต่อไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.