Mangroves for the Future information brochure (Thai)

Page 1

โครงการป่ าชายเลนเพื ออนาคต (Mangrove for the future: MFF)

ประเทศไทย

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

1/10


ิ บทสรุปผู้บรหาร

่ อโครงการป่ าชายเลนเพื ออนาคต (Mangroves For the Future) ความรวมมื ั างยั งยืนโดยจากประสบการณ์ ที มตี ่อเหตุการณ์ เพื อตอบสนองความพยายามในการจัดการทรัพยากรชายฝงอย่ ธรณีพบิ ตั สิ นึ ามิ เริม จัดตัง& โครงการป่ าชายเลนเพือ อนาคต หรือ Mangrove for the future (MFF) ขึ&น ด้วยการระดม ิ ย มัลดีฟ เชย์เซล ศรีลงั กา ทุนเข้ามาช่วยเหลือใน 6 ประเทศที ได้รบั ผลกระทบค่อนข้างรุนแรงจากสึนามิ ได้แก่ อนเดี ิ อนโดนี เชี ย และประเทศไทย โดยมีอ งค์การระหว่างประเทศเพื อ การอนุ ร กั ษ์ ธ รรมชาติ (IUCN) ร่ว มกับ สํานักงาน โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นดีพี (UNDP) เป็ นผูบ้ ริหารงาน และความร่วมมือกับหน่ วยงานต่างๆ ของ ส ห ป ร ะ ช าช าติ ดั ง นี& อ ง ค์ การ อ า ห าร แ ล ะ เ กษ ต ร แ ห่ ง ส ห ป ร ะ ช าช า ติ ( FAO) อ ง ค์ กร สิ ง แ ว ดล้ อ ม แ ห่ ง สหประชาชาติ (UNEP)องค์การแคร์ (CARE) และองค์การพื&น ที ชุ่ม นํ& านานาชาติ (WI) โดยโครงการ MFF ในระดับ ภูมภิ าคจะอยู่ภายใต้คาํ แนะนําของคณะกรรมการระดับภูมิ ภาค (Regional Steering Committee: RSC) ซึง มีประธาน ร่ว มจาก IUCN และ UNDP คณะกรรมการประกอบได้ด้ว ยผู้แ ทนรัฐ บาลจากแต่ ล ะประเทศ หน่ ว ยงานขององค์การ สหประชาชาติ องค์กรเอกชนอิสระและผูท้ ไี ด้รบั มอบหมายในแต่ละภูมภิ าค ส่วนในระดับชาตินนั & แต่ละประเทศได้แต่งตัง& ิ า นป่ าชายเลนเพื อ อนาคต (National Coordinating คณะกรรมการประสานความร่ ว มมื อ ระดับ ชาตด้ ้ Body:NCB) ในแต่ละประเทศเปาหมายจะทํ าหน้าทีป ระสานและชีแ& นะการดําเนินการของโครงการในระดับชาติรวมทัง& จัด ่ ม สี ว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรชายฝงภายใต้ ั ประชุมผูท้ เี กีย วข้องทุกฝายที กรอบเนื&อหาของโครงการ (MFF) ประกอบ ั นประธาน ไปด้วยสมาชิก 26 คน โดยมีอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเป็ นอกจากนี& NCB ก็ยงั มีบทบาทในกิจกรรมระดับภูมภิ าค คือ การประชุมเชิงวิชาการนานาชาติดา้ นระบบนิเวศปา่ ชายเลน ที จ ัดขึ&น ณ จัง หวัดระนอง ระหว่างวัน ที 22 – 25 พฤศจิกายน 2552 โดยมีผู้เข้าร่ว มกว่า 140 คนจาก 12 ั างบูรณาการ ณ ประเทศอินโดนีเชีย ประเทศ และผูแ้ ทนจาก NCB ได้เข้าร่วมการอบรมการจัดการระบบนิเวศชายฝงอย่ ภายใต้ 15 แผนงานเพื อส่งเสริมการลงทุนเพื อการอนุรกั ษ์และฟื& นฟูระบบนิเวศชายฝงั คณะกรรมการ NCB ได้ม ี การคัดสรรกลั นกรองและให้การอนุ มตั ิสนับสนุ นงบประมาณในการดําเนินงานโครงการขนาดเล็กโดยผ่านกระบวนการ จัดการโดยกองทุน ขนาดเล็กของ UNDP เป็ นจํ านวน 15 โครงการ (จากโครงการทัง& หมด 30 กว่าโครงการ) ด้ว ย งบประมาณกว่า 5 ล้านบาท สําหรับโครงการขนาดใหญ่นนั & ได้เสนอให้กบั คณะกรรมการระดับภูมภิ าค โดยประเทศไทย ได้รบั การอนุมตั งิ บประมาณสนับสนุนโครงการ 3 โครงการ (จากโครงการทีเ สนอไป 9 โครงการ) รวมเป็ นงบประมาณกว่า 30 ล้านบาท โดยประเทศไทยเป็นประเทศทีป ระสบความสําเร็จมากทีส ดุ ในการดําเนินงานโครงการ MFF การดําเนินงานโครงการ MFF ในประเทศไทยช่วง Phase I นัน& อยู่ระหว่าง 2550 – 2552 และโครงการใน Phase II จะเริม ในปี 2553 – 2556 โดยจะส่งเสริมการแลกเปลียนองค์ความรูแ้ ละส่งเสริมการลงทุนกับการอนุรกั ษ์และ ั ฟื& นฟูระบบนิเวศชายฝงโดยผ่ านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งและธรรมาภิบาล

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

2/10


โครงการป่ าชายเลนเพื ออนาคต (Mangrove for the future: MFF) ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์สนึ ามิพดั ถล่มประเทศแถบมหาสมุทรอินเดียเมื"อเดือนธันวาคม 2547 ซึ"ง 6 จังหวัด ั" ชายฝงทะเลอั น ดามัน ของประเทศไทยก็ได้ร บั ผลกระทบด้ว ยนัน4 เมื"อ วัน ที" 2 ธัน วาคม 2549 อดีต ประธานาธิบ ดี สหรัฐอเมริกา บิล คลินตัน ในฐานะทูตพิเ ศษองค์กรสหประชาชาติเพื"อการฟื4 นฟู ภยั ภิบตั ิสนึ ามิ ที"ได้เดินทางมาดูพ4นื ที" ่ ้ นพื4นที"บางจุดไม่ให้ได้รบั ประสบภัยที" จ.ภูเก็ต และพังงา และได้ให้ความสนใจเรื"องปาชายเลนที "มบี ทบาทในการปองกั ผลกระทบ จนได้เริม" จัดตัง4 โครงการป่ าชายเลนเพือ อนาคต หรือ Mangrove for the future (MFF) ขึ4น ด้วยการระดม ิ เดีย มัลดีฟ เชย์เซล ศรีลงั กา ทุนเข้ามาช่วยเหลือใน 6 ประเทศที"ได้รบั ผลกระทบค่อนข้างรุนแรงจากสึนามิ ได้แก่ อน ิ อนโดนี เ ชี ย และประเทศไทย โดยมีอ งค์การระหว่างประเทศเพื"อ การอนุ รกั ษ์ ธรรมชาติ (IUCN) ร่วมกับสํานักงาน โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นดีพี (UNDP) เป็ นผูบ้ ริหารงาน และความร่วมมือกับหน่ วยงานต่างๆ ของ ส ห ป ร ะ ช าช าติ ดั ง นี4 อ ง ค์ การ อ า ห าร แ ล ะ เ กษ ต ร แ ห่ ง ส ห ป ร ะ ช าช า ติ ( FAO) อ ง ค์ กร สิ" ง แ ว ดล้ อ ม แ ห่ ง สหประชาชาติ (UNEP)องค์การแคร์ (CARE) และองค์การพื4นทีช" มุ่ นํ4านานาชาติ (WI)

ประเทศสมาชิก: อินเดีย มัลดีฟ เชย์เซล ศรีลงั กา อินโดนีเชีย ประเทศไทยเวียดนาม* และปากีสถาน* ประเทศคูเ่ จรจา: เคนย่า แทนซาเนีย บังคลาเทศ มาเลเชีย การให้ความช่วยเหลือให้กบั ประเทศพม่าภายหลังเหตุการณ์ภยั ภิบตั ไิ ซโคลนนาร์กสี

*หมายเหตุ ประเทศ ประเทศเวียดนามและปากีสถาน เป็นสองประเทศสมาชิกใหม่ทเี พิง เข้าร่วมในโครงการ ระยะทีส อง ปี 2553-2556*

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

3/10


โครงการ MFF ในระดับภูมภิ าคอยู่ภายใต้คําแนะนํ าของคณะกรรมการระดับภูมิ ภาค (Regional Steering Committee) ซึ"งมีประธานร่วมจาก IUCN และ UNDP คณะกรรมการประกอบได้ดว้ ยผูแ้ ทนรัฐ บาลจากแต่ล ะประเทศ หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติ องค์กรเอกชนอิสระและผูท้ ไี" ด้รบั มอบหมายในแต่ละภูมภิ าค

ิ านป่ าชาย ส่วนในระดับชาตินนั 4 แต่ละประเทศได้แต่งตัง4 คณะกรรมการประสานความร่วมมือระดับชาตด้ ้ เลนเพือ อนาคต (National Coordinating Body:NCB) ในแต่ละประเทศเปาหมายจะทํ าหน้าที"ประสานและชี4แนะการ ่ "มสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรชายฝงั " ดําเนินการของโครงการในระดับชาติรวมทัง4 จัดประชุมผูท้ ี"เกีย" วข้องทุกฝายที ภายใต้กรอบเนื4อหาของโครงการ (MFF) โดยประเทศไทยได้มกี ารแต่ง ตัง4 คณะกรรมการดัง กล่าวตามคําสั "งกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง" แวดล้อมที" 229/2550 ลงวันที" 31 สิงหาคม ประกอบไปด้วยสมาชิก 26 คน โดยมีอธิบดีกรม ั " นประธาน โดยมีอํานาจหน้าทีด" งั นี4 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเป็ 1) จัดทํ าแผนยุทธศาสตร์แ ละแผนปฏิบตั ิการระดับประเทศให้สอดคล้องกับกรอบนโยบายและวัต ถุประสงค์ ภายใต้โครงการ MFF 2) กลั "นกรองและคัดเลือกโครงการทีด" าํ เนินการในประเทศไทยภายใต้โครงการ MFF 3) สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทีเ" กีย" วข้องในการสนับสนุนให้เกิดการดําเนินงานตามโครงการ 4) พิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการขนาดเล็ก ในพื4นทีส" าธิต 5) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและจัดทํารายงานการดําเนินโครงการ 6) แต่งตัง4 คณะทํางานเพื"อดําเนินการสําหรับเรือ" งใดเรือ" งหนึ"งขึน4 ตามความเหมาะสม ่ นอกจากนี4โครงการปาชายเลนเพื "ออนาคตนี4จะช่วยส่งเสริมด้านการลงทุนและการดําเนินการใดๆ เพื"ออนุ รกั ษ์ ระบบนิเวศชายฝงั " โดยจะมีการให้ทุนสองประเภท คือ ทุนโครงการขนาดเล็ก งบประมาณสูงสุดทีจ" ะให้การสนับสนุ นได้คอื 25,000 เหรีย ญสหรัฐต่อโครงการ และทุน โครงการขนาดใหญ่ งบประมาณสูงสุดที"จะให้การสนับสนุ นได้คอื 300,000 เหรียญสหรัฐต่อโครงการ

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

4/10


р╣Ар╕Ыр╣Й р╕▓р╕лр╕бр╕▓р╕в р╕нр╕Щр╕гр╕▒р╕╕ р╕Бр╕йр╣М р╣Бр╕ер╕░р╕Яр╕╖ р╕Щр╕Яр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Щр╕┤ р╣Ар╕зр╕ир╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Ар╕Юр╕╖ р╕нр╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕кр╕гр╣Й р╕▓р╕Зр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣З р╕Щр╕нр╕вр╣Ир╕Чр╕╣ р╕╡ р╕Фр╕╡р╕Вр╕╢ р╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕бр╕╡р╕Др╕зр╕▓р╕б р╕╣ р╕бр╕▒ р╕Щр╕Др╕Зр╕Вр╕нр╕Зр╕Кр╕бр╕Кр╕Щр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Гр╕Щр╕Др╕▓р╕Ър╕бр╕лр╕▓р╕кр╕бр╕Чр╕гр╕нр╕┤ р╕╕ р╕╕ р╕Щр╣Ар╕Фр╕╡р╕в р╕Ир╕╕р╕Фр╕Ыр╕гр╕░р╕кр╕Зр╕Др╣М р╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Юр╕┤ р╕бр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Вр╣Й р╕бр╣Бр╕Вр╣Зр╕Зр╕Фр╣Й р╕▓р╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕вр╕▒р╕З р╕вр╕╖р╕Щр╕Вр╕нр╕З р╕кр╕┤ р╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Й р╕нр╕бр╣Ар╕Юр╕╖ р╕нр╕Бр╕▓р╕гр╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З

р╕кр╣И р╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕ер╕Зр╕Чр╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Юр╕вр╕▓р╕вр╕▓р╕бр╣Гр╕Щр╕Бр╕▓р╕г р╕╕ р╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Щр╕┤р╣Ар╕зр╕ир╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З р╕Ьр╕ер╕ер╕▒р╕Юр╕Шр╣М

р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╣И р╕зр╕бр╕бр╕╖р╕нр╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕ар╕╣р╕бр╕┤р╕ар╕▓р╕Д

р╣Бр╕Ьр╕Щр╕Зр╕▓р╕Щр╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕Кр╕▓р╕Хр╕┤

р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╣И р╕зр╕бр╕бр╕╖р╕нр╕Ир╕▓р╕Бр╕ар╕▓р╕Др╣Ар╕нр╕Бр╕Кр╕Щ

р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╣И р╕зр╕бр╕бр╕╖р╕нр╕Ир╕▓р╕Бр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ

р╣Бр╕Ьр╕Щр╕Зр╕▓р╕Щ р╕вр╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕Чр╕╡ р╣Ар╕Бр╕╡ р╕вр╕зр╕Вр╣Й р╕нр╕Зр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕кр╕гр╕┤р╕бр╕кр╕гр╣Й р╕▓р╕З р╕╕ р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╣Й р╕╣ (Building knowledge) 1. р╕Ыр╕гр╕▒р╕Ър╕Ыр╕гр╕╕ р╕Зр╕Рр╕▓р╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣ р╣Йр╣Ар╕Юр╕╖ р╕нр╕Ир╕▒р╕Фр╕Чр╣Нр╕▓р╕Щр╣Вр╕вр╕Ър╕▓р╕в р╕Бр╕▓р╕гр╕зр╕▓р╕Зр╣Бр╕Ьр╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З 2. р╕Бр╣Нр╕▓р╕лр╕Щр╕Фр╕гр╕╣ р╕Ыр╣Бр╕Ър╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕Яр╕╖& р╕Щр╕Яр╕╣р╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Щр╕┤р╣Ар╕зр╕и р╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╕Чр╕╡ р╕Др╕▓р╣Н р╕Щр╕╢р╕Зр╕Цр╕╢р╕Зр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Щр╕┤р╣Ар╕зр╕ир╣Бр╕ер╕░ р╣Ар╕ир╕гр╕йр╕Рр╕Бр╕┤р╕Ир╣Бр╕ер╕░р╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕б 3. р╕Ир╕▒р╕Фр╕лр╕▓р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Кр╣Ир╕зр╕вр╣Ар╕лр╕ер╕╖р╕нр╕кр╕Щр╕▒р╕Ър╕кр╕Щр╕╕р╕Щр╕Бр╕▓р╕г р╕Хр╕▒р╕Фр╕кр╕┤ р╕Щр╣Гр╕Ир╣Вр╕Фр╕вр╕бр╕нр╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕ар╕▓р╕Юр╕гр╕зр╕б р╕Фр╕┤р╕Щ р╕Щр╣Н& р╕▓р╣Бр╕ер╕░р╕Чр╕гр╕▒р╕Юр╕вр╕▓р╕Бр╕гр╕нр╕╖ р╕Щр╣Ж 4. р╣Гр╕Кр╣Йр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕бр╕┤р╕Щр╕Др╣Ир╕▓р╕Чр╕▓р╕Зр╣Ар╕ир╕гр╕йр╕Рр╕Бр╕┤р╕Ир╕Вр╕нр╕Зр╕гр╕░р╕Ъ р╕Щр╕┤р╣Ар╕зр╕ир╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Ар╕Юр╕╖ р╕нр╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕зр╕▓р╕Зр╣Бр╕Ьр╕Щ 5. р╣Ар╕гр╕╡ р╕вр╕Щр╕гр╕╣ р╣Йр╕Ир╕▓р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕бр╕┤р╕Щр╕Ьр╕ер╕Бр╕гр╕░р╕Чр╕Ъ р╕кр╕┤ р╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕бр╕Ир╕▓р╕Бр╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕г р╕Чр╕гр╕▒р╕Юр╕вр╕▓р╕Бр╕гр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╕Хр╣Ир╕▓р╕Зр╣Ж р╕гр╕зр╕бр╣Др╕Ыр╕Цр╕╢р╕Зр╕Ьр╕ер╕Бр╕▓р╕г р╕Хр╕нр╕Ър╕кр╕Щр╕нр╕Зр╕лр╕ер╕▒р╕Зр╣Ар╕лр╕Хр╕╕р╕Бр╕▓р╕гр╕Ур╣Мр╕Шр╕гр╕Ур╕╡ р╕Юр╕┤р╕Ър╕Хр╕▒ р╕┤ р╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕Бр╕▓р╕г

р╣И р╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕▓р╕Кр╕▓р╕вр╣Ар╕ер╕Щр╣Ар╕Юр╕╖ р╕н р╕нр╕Щр╕▓р╕Др╕Х

р╕вр╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕Чр╕╡ р╣Ар╕Бр╕╡ р╕вр╕зр╕Вр╣Й р╕нр╕Зр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕кр╕гр╕┤р╕бр╕кр╕гр╣Й р╕▓р╕Зр╕Др╕зр╕▓р╕б р╕╕ р╣Ар╕Вр╣Й р╕бр╣Бр╕Вр╣Зр╕З (Strengthening empowerment) 6. р╕кр╣И р╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕Хр╕гр╕░р╕лр╕Щр╕▒р╕Бр╕Вр╕нр╕Зр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕г р╕бр╕╡р╕кр╣Ир╕зр╕Щр╕гр╣И р╕зр╕бр╣Гр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Хр╕▒р╕Фр╕кр╕┤ р╕Щр╣Гр╕Ир╣Ар╕Бр╕╡ р╕вр╕зр╕Бр╕▒р╕Ър╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З 7. р╕гр╕░р╕Ър╕╕р╕Бр╕ер╣Др╕Бр╕Чр╕▓р╕Зр╕Фр╣Йр╕▓р╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Зр╕┤р╕Щр╕Чр╕╡ р╕вр╕З р╕▒ р╕вр╕╖р╕Щр╕кр╣Нр╕▓р╕лр╕гр╕▒р╕Ъ р╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕Щр╕╕р╕гр╕▒р╕Бр╕йр╣Мр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Щр╕┤р╣Ар╕зр╕ир╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З 8. . р╕кр╕Щр╕▒р╕Ър╕кр╕Щр╕╕р╕Щр╕Кр╕╡р╕зр╕┤р╕Хр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣З р╕Щр╕нр╕вр╕╣р╕Ч р╣И р╕╡ р╕Др╕▓р╣Н р╕Щр╕╢р╕Зр╕Цр╕╢р╕З р╕кр╕┤ р╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕бр╕Чр╕╡ р╕вр╕З р╕▒ р╕вр╕╖р╕Щр╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Щр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З 9. р╕Ыр╕гр╕▒р╕Ър╕Ыр╕гр╕╕ р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Яр╕╖& р╕Щр╕Хр╕▒р╕зр╕Вр╕нр╕Зр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щр╕Хр╣Ир╕нр╕ар╕▒р╕вр╕Юр╕┤р╕Ър╕Хр╕┤р╕▒ р╕Чр╕▒& р╕Зр╕Ир╕▓р╕Бр╕бр╕Щр╕╕р╕йр╕вр╣Мр╣Бр╕ер╕░р╕Шр╕гр╕гр╕бр╕Кр╕▓р╕Хр╕┤ 10. р╕Бр╕▓р╕гр╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Вр╕╡р╕Фр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕▓р╕бр╕▓р╕гр╕Цр╕Вр╕нр╕Зр╕Ьр╕╣р╕Ир╣Й р╕Фр╕▒ р╕Бр╕▓р╕г р╕кр╣Нр╕▓р╕лр╕гр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Бр╕Ър╕Ър╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕г

р╕вр╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕Чр╕╡ р╣Ар╕Бр╕╡ р╕вр╕зр╕Вр╣Й р╕нр╕Зр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕кр╕гр╕┤р╕бр╕кр╕гр╣Й р╕▓р╕Зр╕Шр╕гр╕г р╕╕ р╕бр╕▓р╕ар╕┤р╕Ър╕▓р╕е (Enhance governance) 11. р╕кр╕Щр╕▒р╕Ър╕кр╕Щр╕╕р╕Щр╣Бр╕Ьр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Бр╕Ър╕Ъ р╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕Кр╕▓р╕Хр╕┤ 12. р╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Вр╣Йр╕бр╣Бр╕Вр╣Зр╕Зр╣Гр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓ р╕Бр╕▓р╕гр╣Бр╕ер╕░р╕Ыр╕Бр╕Ыр╣Й р╕нр╕Зр╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕бр╣Бр╕ер╕░р╕кр╕┤ р╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕б р╣Гр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕зр╕▓р╕Зр╣Бр╕Ьр╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Бр╕▓р╕гр╣Гр╕Кр╣Йр╕Чр╕╡ р╕Фр╕┤р╕Щ 13. р╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Юр╕╖&р╕Щр╕Чр╕╡ р╕Др╕б р╕╕ р╣Й р╕Др╕гр╕нр╕Зр╕Чр╕▓р╕З р╕Чр╕░р╣Ар╕ер╣Бр╕ер╕░р╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╕Вр╕нр╕Зр╕Кр╕▓р╕Хр╕┤ р╕Лр╕╢ р╕Зр╕Ир╕░р╕Щр╣Нр╕▓р╣Др╕Ыр╕кр╕╣р╣И р╣Ар╕Др╕гр╕╖ р╕нр╕Вр╣Ир╕▓р╕вр╕Вр╕нр╕Зр╕ар╕╣р╕бр╕┤р╕ар╕▓р╕Д 14. р╕кр╣И р╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕Зр╣Бр╕Ър╕Ъ р╕Ыр╕гр╕░р╕вр╕╕р╕Бр╕Хр╣М р╕Лр╕╢ р╕Зр╕гр╕зр╕бр╣Др╕Ыр╕Цр╕╢р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕бр╕┤р╕Щр╣Бр╕ер╕░ р╕Бр╕▓р╕гр╕Хр╕┤р╕Фр╕Хр╕▓р╕бр╕Чр╕▓р╕Зр╕Фр╣Йр╕▓р╕Щр╣Ар╕ир╕гр╕йр╕Рр╕Бр╕┤р╕Ир╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕б 15. р╕кр╣И р╕Зр╣Ар╕кр╕гр╕┤ р╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕Пр╕┤р╕Ър╕Х р╕▒ р╕┤р╕Чр╕▓р╕Зр╕Шр╕╕р╕гр╕Бр╕┤р╕Ир╕Чр╕╡ р╣Ар╕Ыр╣З р╕Щр╕бр╕┤р╕Хр╕г р╕Бр╕▒р╕Ър╕кр╕┤ р╕Зр╣Бр╕зр╕Фр╕ер╣Йр╕нр╕бр╣Гр╕Щр╕Юр╕╖&р╕Щр╕Чр╕╡ р╕Кр╕▓р╕вр╕Эр╕▒ р╕З

р╣Вр╕Др╕гр╕Зр╕Бр╕▓р╕г

5/10


ั" เนื" องจากที"ผ่านมารัฐบาลไทยมีการจัดทํ าแผนฟื4 น ฟู ป่าชายเลนโดยเน้ นการมีส่วนร่วมของชุมชนชายฝงมา ่ ตลอด ทําให้ไ ทยได้ร บั การคัดเลือ กจากโครงการปาชายเลนเพื " ออนาคต (MFF) เป็ นหนึ" งในพื+นทีน ํ าร่องในการจัดทํ า ั " ่ ั " นดามัน ได้แก่ โครงการ ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั กิ ารการจัดการ พื4นที"ชายฝงทะเล เพื"อการฟื4 นฟู ปาชายเลนชายฝงอั ั "การใช้หลักนิเวศวิทยาและด้านเศรษฐกิจสังคม ในการฟื+ นฟูระบบนิเวศชายฝงและการอนุ รกั ษ์พ+นื ทีป ระสบภัยสึนามิของ ประเทศในมหาสมุทรอินเดีย" (โครงการBMZ) ทีด" าํ เนินการในพื4นทีต" วั อย่าง ในเขต จ.พังงา และระนอง โครงการป่ าชายเลนเพื ออนาคตในประเทศไทย ่ ตัง4 แต่มคี าํ สั "งแต่งตัง4 คณะกรรมการประสานความร่วมมีระดับชาติดา้ นปาชายเลนเพื "ออนาคตในวันที" 31 สิงหาคม ่ 2550 ได้มกี ารจัดทําแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั กิ ารสําหรับปาชายเลนเพื"ออนาคต (Thailand National Strategy and Action Plan) โดยให้ความสําคัญกับกรอบต่างๆ ดังนี4

1. วิถชี วี ติ ความเป็ นอยู่ที"ย ั "งยืน โดยคํานึงถึงความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติลดความเสื"อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ และเพิม" ความสามารถของชุมชนต่อการปรับตัวหลังจากภัยพิบตั ิ 2. การบูรณาการของทุกภาคส่วน 3. พัฒนาองค์ความรู้ ซึง" จะต้องกระจายอย่างต่อเนื"องผ่านการวิจยั และเรียนรูอ้ ย่างมีสว่ นร่วม

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

6/10


่ โครงการปาชายเลนเพื "ออนาคตสําหรับประเทศไทย ได้คดั เลือกพื4นทีด" ําเนินการใน 2 พื4นที" ได้แก่ พื4นที"ชายฝงั" ั " าวไทย ได้แก่ จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ ทะเลอันดามัน ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี" และตรัง และพื4นที"ชายฝงอ่ ธานี นครศรีธรรมราช ตราด และจันทบุร ี

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

7/10


รายชื อโครงการที ได้รบั การอนุมตั ิ โครงการขนาดเล็ก รอบที 1 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

การอนุรักษ์พ&ืนที!ชุ่มนํ& าแนวชายฝั!งทะเลอันดามัน (ระนอง) เครื อข่ายอ่าวบ้านดอนร่ วมฟื& นฟู อนุรักษ์ป่าชายเลน (สุ ราษฎร์ ธานี) ปลูกเตยปาหนันเป็ นแนวเขตป่ าชายเลน (กระบี)! สร้างพื&นที!ป่าชายเลนให้นากทะเล (ภูเก็ต) พัฒนาเครื อข่ายองค์กรชุมชนกับการจัดการป่ าชายเลนและทรัพยากรชายฝั!งอย่างยัง! ยืน (พังงาและภูเก็ต) อาหารท้องถิ!นรักษาป่ าชายเลน (พังงา) ฟื& นฟูอนุรักษ์ป่าชายเลนและเพาะเลี& ยงหอยแครงชุมชน (ชุมพร) อนุรักษ์และฟื& นฟูสร้างแหล่งถิ!นที!อยูอ่ าศัยสัตว์น& าํ วัยอ่อนโดยประชาชนมีส่วนร่ วม ต.แม่นางขาว (พังงา)

รอบที 2 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการทรัพยากรชายฝั!ง ต.ตลิ!งชัน อ.เหนือคลอง (กระบี)! เสริ มสร้างการอนุรักษ์ป่าชายเลน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั!งอ่าวท้องตม (ชุมพร) ฟื& นฟูป่าชายเลนและป่ าชายหาด ต.คลองประสงค์ (กระบี)! เสริ มสร้างศักยภาพเครื อข่ายชุมชนเพื!อการจัดการทรัพยากรชายฝั!ง (ภูเก็ต) เสริ มสร้างจิตสํานึกและส่ งเสริ มภูมิปัญญาการจัดการนิเวศน์ชายฝั!งทะเลโดยการมีส่วนร่ วมของชุมชนอ่าวพังงา (พังงา) ป่ าชายเลนเพื!ออนาคต (ภูเก็ต ) เสริ มสร้างวิถีชีวิตและการท่องเที!ยวเชิงนิเวศเพื!อความมัน! คงต่อสิ! งแวดล้อมและทรัพยากรชายฝั!ง (ภูเก็ต)

โครงการขนาดใหญ่ รอบที 1 1.

การจัดการสภาวะแวดล้อมเชิงบูรณาการเพื!อความยัง! ยืนของวิถีชีวิตชุมชนชายฝั!งอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี

รอบที 2 2.

โครงการการจัดการทรัพยากรชายฝั!งแบบบูรณาการโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่ วมของภาคีที!มีส่วนเกี!ยวข้องทาง ตอนใต้ของประเทศไทย (นครศรี ธรรมราชและตรั ง)

3.

โครงการประเมินและปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลในประเทศไทย (อุทยาน แห่งชาติทางทะเล 21 แห่ง)

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

8/10


รายชื อคณะกรรมการ NCB อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั (ประธานกรรมการ) 2. ท่านผูห ้ ญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย (ทีป รึกษา) 3. ศาสตราจารย์สนิท อักษรแก้ว (ทีป รึกษา) 4. ผูแ้ ทนกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุ์พช ื 5. ผูแ้ ทนสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง แวดล้อม 6. ผูเ้ ชีย วชาญเฉพาะด้านจัดการทรัพยากรทางทะเล กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั 7. นายวิจารณ์ สิมาฉายา กรมควบคุมมลพิษ 8. ผูแ้ ทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 9. ผูแ้ ทนสํานักนโยบายและแผน กระทรวงมหาดไทย 10. ผูแ้ ทนสํานักงานพัฒนาการท่องเทีย ว กระทรวงการท่องเทีย วและกีฬา 11. ผูแ้ ทนสหภาพสากลว่าด้วยการอนุรกั ษ์ (IUCN) 12. ผูแ้ ทนองค์กรพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) 13. ผูแ้ ทนองค์กรสิง แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) 14. ผูแ้ ทนองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ่ 15. ผูแ้ ทนองค์การกองทุนสัตว์ปาโลกสากล (WWF) 16. ผูแ้ ทนองค์การพื&นทีช มุ่ นํ& านานาชาติ ประเทศไทย 17. ผูแ้ ทนมูลนิธริ กั ษ์ไทย 18. รองศาสตราจารย์อภิวนั ท์ กําลังเอก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 19. รองศาสตราจารย์นพรัตน์ บํารุงรักษ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 20. นายอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศูนย์เครือข่ายศึกษาการเปลีย นแปลงของโลกแห่งภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 21. นายจําเนียร วรรัตน์ชยั พันธ์ สถาบันสิง แวดล้อมไทย 22. นางเรวดี ประเสริฐเจริญสุข มูลนิธก ิ ารพัฒนาเพื อความยั งยืน 23. นายพิศษ ิ ฐ์ ชาญเสนาะ มูลนิธหิ ยาดฝน 24. นางสาวสมหญิง สุนทรวงษ์ ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชม ุ ชนแห่งภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก ั ่ 25. ผูเ้ ชีย วชาญเฉพาะด้านจัดการทรัพยากรทางชายฝงและปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั (กรรมการและเลขานุการ) ่ 26. หัวหน้ากลุ่มวิจยั และพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั (กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ)

1.

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

9/10


ิ อนุรกั ษ์ ฟื; นฟูระบบนเวศชายฝั ง เพือ ิ างความปลอดภัยและความ เสรมสร้ เป็ นอยู่ทีด ีข; นึ ของชุมชนชายฝัง ไทย ่ บอีก 8 ประเทศ ในเอเชี ย รวมกั www.mangrovesforthefuture.org

่ โครงการปาชายเลนเพื อ อนาคต

10/10


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.