อ่าวพังงา

Page 1

การศึกษาดูงานเรื่องการผลกระทบจากการ ทองเที่ยวในอาวพังงา 24-25 มกราคม 2554

เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553 นายจอรน เกรย ผูประกอบการทองเที่ยวโดยเรือแคนูและผูอํานวยการบริษัทจอรนเกรยซีแคนูได นําเสนอเรื่องผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการทองเที่ยวในอาวพังงาจากประสบการณที่ตนไดทําธุรกิจทองเที่ยวอยูในจังหวัด ภูเก็ตและพังงามากวา 20 ป ใหกับเจาหนาที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ผูแทนองคกรระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ผูแทนสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม (GSEI) ผูแทนโครงการปาชายเลนเพื่อ อนาคต (Mangroves for the Future: MFF) รวมผูเขารับฟงทั้งสิ้นกวา 20 คน1 0

โดยนายจอรน เกรยเปนผูคนพบเกาะหอง ในจังหวัดพังงาเมื่อป 2534 และเปนผูริเริ่มการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยการพายเรือ แคนูเนื่องจากเปนวิธีการที่สงผลกระทบตอธรรมชาตินอยที่สุด แตดวยการทองเที่ยวในประเทศไทยนั้นยังขาดการจัดการอยางมี ทิศทางทําใหไมมีมาตราการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยว นอกจากนี้ผูประกอบการจํานวนมากที่ไมมีความรูความเขาใจในเรื่อง 1

http://issuu.com/mffthailand/docs/tourismimpactoncoastal


การทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืนทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในอาวพังงาอยางมากทั้งปญหาขยะ คราบมลพิษจาก น้ํามันเครื่องเรือสปดโบท การคาสัตวปา โดยไดแสดงหลักฐานภาพถายประกอบ

ตารางสรุปปญหาและแนวทางการแกไข/ปรับปรุงในการจัดการการทองเที่ยวในพังงาและภูเก็ต ปญหา การคาสัตวปา เชน งูเหลือม นก สัตวเลื้อยคลาน โดยสัตวปาเหลานี้ สามารถหาซื้อไดที่หาดปาตอง จังหวัดภูเก็ต

• • •

การลักลอบตัดไมในพื้นที่อุทยาน

• •

การใหอาหารลิง ที่อยูอาศัยตามเกาะทําใหเปลี่ยนพฤติกรรมลิง ทํา ใหมีพฤติกรรมกาวราว โดยคนที่ทํางานกับบริบัทนําเที่ยวจํานวนมาก ยังไมบรรลุนิติภาวะ และมีฐานะยากจน ไมไดรับการอบรมในดาน อาชีพ บางคนไมมีพื้นฐานการปฐมพยาบาลเบื้องตน และไมสามารถ วายน้ําไดดี ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากกิจกรรมพายเรือแคนูในทะเล เกิดขึ้น จากขาดการควรคุมปริมาณนักทองเที่ยว โดยใชเรือเร็ว และ Travel Agents จํานวนมาก หลายบริษัท นํานักทองเที่ยวเขามาโดยขาด ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวที่ไมสงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ดังนี้ • ปาชายเลน เนื่องมาจากจํานวนนักทองเที่ยวที่มากในแตละ วันและการนําเรือแคนูลากจอดในพื้นที่เปนรากหายใจของ ตนไมทําใหปาชายเลนเกิดความเสื่อมโทรม

• •

แนวทางการแกไข/ปรับปรุง เพิ่มการลาดตระเวนตรวจตราการลักลอกนําสัตวปา เจาหนาที่รัฐตองเครงครัดในการบังคับใชกฎหมาย รณรงคใหขอมูลผานสื่อประชาสัมพันธตางๆ (หลายภาษา) เพิ่มการลาดตระเวนตรวจตรา มีการติดปายทะเบียนเรือ โดยเรือที่เขามาในเขต จะตองแสดงเลขทะเบียนไม (lumber certification) อบรมและใหความรูแกผูนําเที่ยว ทั้งเรื่อง การปฐม พยาบาลเบื้องตน การชวยชีวิต การวายน้ํา สิ่งแวดลอม ควรมีเจาหนาที่อยูในพื้นที่ในชวงเวลาที่มีการ ทองเที่ยวโดยเรือแคนู การรณรงคปลูกปาชายเลนในเกาะหอง จะทําให เกิดการกระตุนจิตสํานึกของผูประกอบการและ นักทองเที่ยว ใหความรู และสรางความเขาใจใหกับ ผูประกอบการ ผูนําเที่ยว และเจาหนาที่อุทยาน ใน หลักการเบื้องตนของการเที่ยวชมธรรมชาติในทะเล โดยเรือแคนู และคูมือการเที่ยวโดยใชเรือเร็ว โรงพยาบาลและคลีนิคควรมีบันทึกรายงานผูที่


ปญหา • ผูนําเที่ยวที่มีความคึกคะนอง โดยแสดงความโลดโผนโดย การโหนตนไมเพื่อเรียกความสนใจและทิปจาก นักทองเที่ยว สงผลทําใหตนไมเกิดความเสียหาย • ความเสียหายในถ้ํา เนื่องจากนักทองเที่ยวชาวตะวันออก เชน ชาวจีน มักชอบหักหินงอกหินยอยภายในถ้ําเปนของที่ ระลึก ปญหาขยะ ทั้งจากนักทองเที่ยวและครัวเรือน (50/50) และกวา 80% ของโฟมที่ลอยอยูในทะเลมาจากฟารมกุง

แนวทางการแกไข/ปรับปรุง ไดรับบาดเจ็บจากการถูกลิงทําราย

การจราจรทางน้ําการจราจรทางน้ําที่วุนวายและไมมีการจัดการ โดย เรือที่ทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากที่สุดคือมลพิษทางเสียง จากเรือหางยาว และเรือเร็ว Speed boat สองจังหวะ ที่ทิ้งคราบ น้ํามันเปนปริมาณมาก

o

o

o

จํานวนนักทองเที่ยวที่ไมมีการจํากัดใหเหมาะสม

o

o

o

การจัดเก็บเงินคาเขาอุทยานอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากในแตละ ปมีนักทองเที่ยวเดินทางสูจังหวัดภูเก็ตกวา 6,500,000 คน ตอป แต จากขอมูลจากอุทยานแหงชาติมีรายงานเพียง 39,000 คนตอป

o

ใหความรูและสรางความเขาใจใหกับผูประกอบการ นักทองเที่ยว และผูนําเที่ยวเรื่องปญหาจากขยะ และของเสีย ตรวจสอบนากุงเพื่อหาสาเหตุวาโฟมหลุดลอยออก มาจากนากุงไดอยางไร และควรหามาตราการใน การดูแล เชน การวางตาขายกั้น นํากฎหมาย California 2-cycle law มา ประยุกตใช สรางความรูความเขาใจใหกับผูประกอบการและ เจาของเรือเร็ววาเรือเร็วสองจังหวะสงผลกระทบใด ตอสิ่งแวดลอมบาง และประโยชนที่จะไดหากไดใช เครื่องยนตชนิด 4 จังหวะ รณรงคใหเรือหางยางติดตั้งเครืองกรองเสียง สราง ความรูความเขาใจกับผูขับเรือหางยาววาเรือจะ ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพหากไมไดถูกดัดแปลง เอาเครื่องกรองเสียงออก จํากัดจํานวนนักทองเที่ยวเปน 100 คน ตอวันตอ บริษัท กําหนดมาตราฐานการทองเที่ยวโดยมีการอบรม หลักสูตรการทองเที่ยวที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สรางความรูความเขาใจแกนักทองเที่ยว โดยอาจ อยูในรูปของวีดีทัศนในระหวางการเดินทาง (Inflight video) สื่อตางๆ ปรับปรุงระบบการจัดการเก็บคาเชาอุทยานและ การบริหารจัดการอุทยานฯ


โดยหลังจากทางนั้นทางโครงการปาชายเลนเพื่ออนาคตก็รับเรื่องมาประสานงานตอโดยมี ดร.จําเนียร วรรัตนชัยพันธ ผูอํานวยการอาวุโสเปนฝายประสานงานหลัก โดยไดนัดหมายกับทางทีมงานของนายจอรน เกรยเพื่อดูพื้นที่ที่เปนปญหา ระหวางวันที่ 24 -25 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยไดเชิญผูแทนจากคณะกรรมการประสานความรวมมือระดับชาติที่เกี่ยวของ และมีความสนใจกับเรื่องการทองเที่ยวและทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ทางทีมงานซึ่งประกอบไปดวย 1.

ดร. จําเนียร วรรัตนชัยพันธ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

2.

นางพีรนุช ดุลกุล แคพเพลา ผูแทนกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช

3.

ดร. นาโอมิ ดาก ผูแทนองคการระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ (ผูแทนโครงการประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการอุทยานแหงชาติทางทะเล MEE)

4.

นางสาวสายสุนีย จักษุอินทร กองทุนสัตวปาโลก (WWF)

5.

นางสาวศิริพร ศรีอราม โครงการปาชายเลนเพื่ออนาคต

6.

นายจอรน เกรย ผูประกอบการ Sea Canoe

7.

นายเดวิด ฟาเบกา ชางภาพ co-funder จากโครงการ David Without Borders 2

8.

นายเดวิด ไอเม

co-funder จากโครงการ David Without Borders

เดินทางสูจังหวัดพังงาเพื่อศึกษาสภาพปญหาที่เกิดจากการทองเที่ยวในอาวพังงา “อุทยานแหงชาติอาวพังงา มีพื้นที่ครอบคลุมในทองที่อําเภอตะกั่วทุง อําเภอ เมือง อําเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา เปนอุทยานแหงชาติประเภทชายฝงทะเล

เกาะหอง

มีความงดงามของทิวทัศน ชายฝง และทิวทัศนเหนือผิวน้ํา อุดมสมบูรณดวย ปาชายเลน ประกอบดวยเกาะทางดานทิศตะวันออกของเกาะภูเก็ตประมาณ 40 เกาะ และเอกลักษณทางธรรมชาติที่สวยงาม เชน เขาพิงกัน เขาตะปู ถ้ํา

ลอด รวมทั้งหาดทรายสวยงาม อุทยานแหงชาติอาวพังงามีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 250,000 ไร หรือ 400 ตารางกิโลเมตร 3” 2

เกาะเขาตะปู

ทางทีมศึกษาดูงานไดไปสถานที่ทองเที่ยวตางๆ ในอาวพังงา ดังรูปที่ 1

2 3

http://www.davidwithoutborders.com/web-documentaries/ http://www.dnp.go.th/parkreserve/asp/style1/default.asp?npid=197&lg=1

เกาะพํานัก


รูปที่ 1 เสนทางการศึกษาดูงาน โดยเริ่มจากเกาะ หอง เกาะพํานัก เกาะเขาตะปู (James Bond Island) จ.พังงา

สภาพปญหาที่พบคือ 1.

ปญหาขยะ โดยสวนมากเปนชิ้นสวนโฟมและพลาสติก


2.

ขาดการจัดการเรื่องจํานวนนักทองเที่ยว โดยมีจํานวนนักทองเที่ยวเกินความสามารถในการรองรับ สงผลกระทบ ทางตรงตอทรัพยากรธรรมชาติ

(ภาพลาง) นายจอรน เกรย อธิบายปญหาที่เกิดจากการที่ผูนําเที่ยวลากเรือแคนูมาจอดในชวงน้ําลงทําใหไปทําลายราก หายใจของตนไม


3.

ผูประกอบการและผูนําเที่ยวไมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางแทจริง ไมมีการใหความรูนัก เที่ยวและขาดความใสใจในเรื่องของน้ําขึ้นน้ําลง ซึ่งทําใหเกิดความเสี่ยงเนื่องการการเขาชมปาชายเลนในถ้ํานั้นหาก ไมคํานึงถึงระดับน้ําอาจทําใหนักทองเที่ยวติดอยูในถ้ําไดเปนเวลาหลายชั่วโมง

จากนั้นทีมงานจึงไดเขาหรือกับเจาหนาที่ประจําอุทยานแหงชาติอาวพังงาและไดขอตกลงวาทางอุทยานจะสงเจาหนาที่ไป อบรมกับทางทีมงานของจอรน เกรย เรื่องการทองเที่ยวโดยเรือแคนูและเรียนรูเขาใจถึงสภาพปญหาที่มีตอสิ่งแวดลอม เนื่องจากจํานวนนักทองเที่ยวที่เกินขีดความสามารถที่ทองที่จะรับไดและพฤติกรรมของผูประกอบการนําเที่ยวที่สงผลกระทบ ตอธรรมชาติ


แผนงานตอไป ทางทีมงานไดประชุมเพื่อหาแนวทางในการประสานงานใหเกิดกระบวนการแกไขปญหาการ ทองเที่ยวในอาวพังงาดังนี้ แนวทางแกไข การจัดการอุทยานแหงชาติทางทะเล โดยประสานกับทางกรมอุทยานฯ เพื่อให เจาหนาที่เขารววมอบรมกับทางบริษัทจอรน เกรย ซีแคนู

ผูประสานงาน นางพีรนุช ดุลกุล แคพเพลา ผูแทนกรม อุทยานฯ

ประสานงานกับภาคสวนที่เกี่ยวของคือ กรมอุทยานฯ กรมพัฒนาการทองเที่ยว สมาคมผูประกอบการนําเที่ยว (ภูเก็ต) กรมประมง องคกรปกครองสวนทองถิ่นใน การสงเสริมใหเกิดสรางมาตราการเพื่อควบคุมจํานวนนักทองเที่ยวเพื่อใหสงผล กระทบตอสิงแวดลอมนอยที่สุด โดยถอดบทเรียนจากอุทยานแหงชาติธารโบกขรณี โครงการรวมกันในเชื่อมโยงกับโครงการการจัดการการทองเที่ยวเพื่อเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม กับ Tour Operator Initiative (ToI) เผยแพรประเด็นปญหาและแนวทางแกไขผานสื่อสังคมออนไลน Social Network และประสานงานกับผูมีสวนเกี่ยวของอื่น

ดร.จําเนียร วรรัตนชัยพันธ สถาบัน สิ่งแวดลอมไทย นางพีรนุช ดุลกุล แคพเพลา ผูแทนกรม อุทยานฯ นางสาวสายสุนีย จักษุอินทร WWF โครงการปาชายเลนเพื่ออนาคตและ จอรน เกรย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.