$0/5&/5 1SPKFDU 5)& (*-% ] 'BDBEF 3FOPWBUJPO 8&--/&44 $&/5&3 ] 1BL ,MPOH 5BSBE 1VCMJD #VJMEJOH )064& ] 6SCBOMJGF 4VQQPSU 6OJU *$0/%0 ] 5IF 6SCBO )PVTJOH 5"%$ ] 5IBJMBOE "SDIJUFDUVSBM %FWFMPQNFOU $FOUFS
1BHF
THE GILD FACADE RENOVATE
MUENG THONG THANI , NONTHABURI
THE GILD หรือการลงรักปดทองเปนการแสดงออกถึง วัฒนธรรมไทยและนํามาประยุกตดวยการ หรือการ Rearrange Pattern ใหมใหดู มีสีสันและลดทอนลวดลายใหเรียบงายแตยัง คงไวซึ่งเสนหของศิลปะวัฒนธรรมไทย และ ตองการสื่อถึงชื่อคําวา"เมืองทองธานี"ใหมี ความโดดเดนและเปนเอกลักษณ
DESIGN EXPERIMENT กระดาษ
ถึ ง แม จ ะมี ผิ ว ที่ เ รี ย บเนี ย นธรรมดาแต ด ว ยความอ อ นและ ยื ด หยุ น ทํ า ให ส ามารถนํ า มาทํ า ให เ กิ ด เป น สิ่ ง ต า งๆที่ มี มิ ติ มี ค วามหลายหลายก อ ให เ กิ ด เป น Space และ Form ตางๆไดอยางหลากหลาย โดยคอนเซปคือการนํากระดาษ มาทํ า ให เ กิ ด เป น มิ ติ ด ว ยวิ ธี ต า งๆและนํ า ความเป น มิ ติ ข อง กระดาษมาใช ประโยชนกับ facade ที่จะออกแบบในรูปแบบ ของการหออาคารดวยกระดาษ
ขยํา
การขยํากระดาษทําใหกระดาษที่เรียบเกิดมิติ ขึ้นมาได และเห็น ไดวาดวยการที่เกิดสวนนูนและ สวยที่เวาเขาไป ทําใหเกิดเงา ซึ่ ง สามารถนํ า ส ว นที่ เป น เงามาใช ป ระโยชน กั น งานได จากการไดศึกษา โดยการตัด Section กระดาษที่ขยําและ นําไปใช โปรแกรม 3D โดยการนําหลายๆเสนตัดมาประกอบ ขึ้นเปน Surface
พับ
การพับทําใหเกิดการจัดรูปของ Surface ใหมใหมีระเบียบ และยั ง คงเหลื อ มิ ติ ข องการ"ขยํ า " เอาไว ด ว ยนํ า ไปสู Processes ของการนํ า Surface เข า สู Plug-in Grasshopper ดวย Source Code "Nudibranch" ทําเกิดการพับ ตัวของ Suface ที่สรางขึ้นมา
Grasshopper (Rhinoceros plug-in)
อีกหนึ่งเครื่องมือเพื่อชวยในการประยุกตระหวางการออกแบบ และสถาปตยกรรม ดวยการนํา model ที่ไดจากการศึกษา ไปเขาสูกระบวนการออกแบบดวยคอมพิวเตอรทําใหไดรูปแบบ ใหมในการออกแบบ และมีความนาสนใจ พรอมดวยอยูในหลัก การของเหตุผลและความเหมาะสม
Ecotect Analysis
การพิสูจนความประสบความสําเร็จของการออกแบบ เพื่อใหได ผลงานที่สมบูรณและสามารถนําไปใชไดจริงคือ การใชผลการ วิเคราหดวยคอมพิวเตอร ดวยโปรแกรม ecotect ทําใหไดผล การวิเคราะหการปองกันอาคารจากรังสีของดวงอาทิตย และนํา ไปปรับแกกับ model เพื่อใหไดรูปแบบที่ดีที่สุด
03 | PORTFOLIO
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ REDUCE :
36.05 %
ทิศตะวันออกเฉียงใต
76.79%
LOW
TEMP.
HIGH
REDUCE :
ทิศตะวันตกเฉียงใต REDUCE :
82.08%
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ REDUCE :
78.34% 04 | PORTFOLIO
WELLNESS CENTER PUBLIC BUILDING
PAK KLONG TARAD , BANGKOK
FIRST FLOOR PLAN
GROUND FLOOR PLAN 0
1
3
0
7m
1
3
SECOND FLOOR PLAN 0
7m
1
3
7m
A
B
0
07 | PORTFOLIO
1
SECTION A 3
6
0
1
SECTION B 3
6
1
2
3
4
5
STRUCTURE
FORM
จากการวิเคราะหพื้นที่จึงมีการสังเคราะหขอมูลเหลา นั้นเพื่อที่จะใหรูปแบบตัวอาคารมีการเชื่อมตอกับ บริบทรอบขางใหไดมากที่สุดทั้งจากดานในอาคารสู ดานนอกหรือจากดานนอกเขามาสูตัวอาคารเชน
I-BEAM LOADING
CORE LOADING
CORE LOADING
ZONING
จากการวาง form ทำใหเกิดพื้นที่ที่มีลักษณะหลาย แบบเกิดโดยแบงตาม privacy แลวนำ program ไปวางในตำแหนงที่เหมาะสม ทำให user สามารถ ใชงาน program ในแตละสวนไดอยางเหมาะสม
FIRE ESCAPE CORE 1
2
3
ELEVATOR CORE
4
MAIN CIRCULATION
SECONDARY CIRCULATION
EL + 12.00 EL + 9.00 EL + 6.00 EL + 3.00 EL + 0.00 FRONT
RIGHT
BACK
LEFT 08 | PORTFOLIO
1.35 HOUSE URBAN LIFE SUPPORT UNIT SILOM ROAD , BANGKOK
THE GILD 1.35 HOUSE เนื่องจากชุมชนเมืองเริ่มแออัดมากขึ้น ตึกอาคารตางๆ ก็ถูกสรางเพิ่มขึ้นมามากมายเพื่อรองรับปริมาณคนที่ เพิ่มขึ้นภายในพื้นที่จํากัด ทําใหเกิดการทําพื้นที่เสียปลาว อยางเชนชองวางระหวางอาคารตางๆ จึงนํามาทําใหเกิด เปนที่พักอาศัยเพื่อริเริ่มใหคนเห็นวาพื้นที่ๆแคบก็สามารถ มาใชใหเกิดประโยชนไดเชนกัน "ดวยหนากวางของอาคารเพียง 1.35 เมตร" จึงทําให เกิดความทาทายใหมในดานการออกแบบจึงทําใหเกิด การออกแบบโปรเจคนี้ขึ้นมา
10 | PORTFOLIO
D
E
WORKING ROOM
C
BED ROOM
B
FOYER
LIVING ROOM
DECK
A
+11.70 +10.80
+8.70 +7.70
+6.00 +5.50 +4.80
+3.00 +2.40
11 | PORTFOLIO
+0.00
B E
VERTICAL ZONING
C
RESTROOM +2.40
D
FOYER +3.00
KITCHEN +3.00
A FIRST FLOOR PLAN 0
CLOSET +4.80
COURTYARD +6.00
1
2
3
LIVINGROOM +5.50
FUNCTIONAL SPACE
SECOND FLOOR PLAN 0
WORKINGROOM
BEDROOM
7.70
8.70
1
SHAPE DESIGN
2
3
THIRD FLOOR PLAN 0
1
2
3
จากการใชงานของแตละ Function และตัดสวนที่ไมจําเปนออกไปทําใหเริ่มเห็น zoning แตละสวนมีลักษณะเปนรูป หาเหลี่ยม จึงทําการระบุใหแตละดานมีหนาที่เพื่อให อาคารมีความเปนระบบมากขึ้น
12 | PORTFOLIO
ICONDO THE URBAN HOUSING RATCHATHEWI , BANGKOK
ICONDO
THE NEW ICONIC LANDMARK OF RACHATEWI JUNCTION
14 | PORTFOLIO
iRELAX
ICON + CONDO
LIVING SPACE
FACILITY
DWELING UNIT
iPLANT GREEN SPACE
iHEALTHY SPORT SPACE PARKING
15 | PORTFOLIO
RENTSTORE
ENTRANCE
SERVICE
UNIT
16 | PORTFOLIO
GROUND FLOOR PLAN
FACILITY FLOOR
TYPICAL PLAN
17 | PORTFOLIO
USER
กลุมผูอยูอาศัยจะเนนไปในสวนของนักเรียนนักศึกษาที่มีถานะ เนนการใชชีวิตที่สะดวกสบายคลองตัว และ มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพรียบพรอม สวยของ unti จะเนนไปในสวนของหอง Studio เปนสวนมาก ไวสำหรับตอบสนองชีวิตที่สะดวกงายดายของกลุมผูใช และในสวนของทางเลือกที่จะอยูอาศัยหลายคนจึง แยกใหมี 2 Bedroom 2 แบบ สำหรับคนที่ตองการ Space ที่กวางอยาง Delux Type หรือ คนที่ ตองการความคลองตัวเรียบงาย ในแบบ regular 2 bedroom
STUDIO 43 sq.m.
2 BEDROOM 60 sq.m.
2 BEDROOM DELUX 102 sq.m.
18 | PORTFOLIO
TADC THALAND ARCHITECTURAL DEVELOPMENT CENTER CHATUCHAK , BANGKOK
PRODUCER TEAM WORAPONG ROJANUSORN KITRAWEE RUDEEJARUSWAN INTOUCH AURSAKAREE
ZONING DIAGRAM
BUILDING TECHNOLOGY URBAN NODE
การกําหนดจุดเชื่อมตอของทางสัญจรหลักของเมืองที่สําคัญทั้งทางเทา รถไฟฟ า และรถไฟฟ า ใต ดิ น และร า งเส น ทางทั้ ง หมดด ว ยการสํ า รวจ จากปริมาณคนที่เดินผานสวนใหญ วามีจุดเริ่มตนและจุดหมายปลาย ทางที่จุดใด
MOVEMENT NODE
ทําการกําหนดเสนทางที่ชัดเจน จัดระเบียบใหมีความสอดคลองและมีเสนทางที่สามารถทําให ลักษณะการสัญจรของบุคคลที่เดินผานไปมารอบๆ ไซตดีขึ้น ออกแบบใหคนสามารถมีความ สัมพันธกับตัวอาคารใหมากที่สุด โดยทําเสนทางใหมีจุดที่สามารถรวมทางแยกตางๆ ทําใหเกิด จุดที่มีผูคนสามารถเดินผานไปมามากที่สุด และเปนจุดที่สามารถเห็นถึงกิจกรรมตางๆในอาคาร ไดมากที่สุด ทําใหสามารถนําเสนอผลงานและเกิดผูมาสนใจและ เขาใจไดถึงสถาปยกรรมมากขึ้น
CONTEXT LINK
จากการเชื่อมตอของแตละ node ของเมืองแลวก็จําเปนจะตอง คํานึงถึง context หรือบริบท โดยรอบของเมืองเนื่องจากตัวอาคาร เพื่อใหตัวอาคารมีความสอดคลองกับบริบทโดยรอบดวยการบิดงอ เสนที่เชื่อมตอของแตละจุดใหสอดคลองไปตามบริบทรอบๆ ตามความเหมาะสมและ ทําใหเสนตางๆ มีบิดเขาหากัน ทําใหแตละเสนทางมีจุดเชื่อมตอซึ่งกันและกัน
SHAPE DESIGN
ดวยการกําหนดเสนทางที่ทําใหผูคนสามารถ เขาถึงอาคารไดงาย ไปสูจุดหมายปลายทางไดงาย จะสามารถทําใหการสัญจรไปมา ของคนจํานวนมากทําให เปนระเบียบ และงายดายยิ่งขึ้นและ เสนทางสามารถนําสายตาของคนที่สัญจรไปมา หันมาสนใจและ เขาถึงสถาปตยกรรมมากยิ่งขึ้นดวยการออกแบบและการทดลอง ดวยการทํา study ในรูปแบบตางๆ ทําใหเกิด รูปทรงของ อาคารที่มาจากการนําเสนทางเหลานั้นรวมกับแนวคิดที่จะเชื่อม ตอความสัมพันธตางๆ
21 | PORTFOLIO
GREEN WALL
"กําแพงสีเขียว" ดวยการปลูกตนไมในแนวตั้ง เปนอีกหนึ่งการนําธรรมชาติเขามาใชกับเทคโนโลยีอาคาร ทําใหอาคารเย็นขึ้น สามารถชวยดูดซับมลพิษที่จะเขามาภายในอาคารได และชวยใหออกซิเจนกับอาคาร ทําใหคุณภาพของอากาศดีขึ้น โดยติดตั้งไวในสวนที่มีการเปดที่ตั้งอยูใกลกับถนนซึ่งมีมลพิษมาก ชวย เปน Buffer ทั้งมลพิษมากกลิ่นเสียงและความรอนใหกับอาคารแตลมยังสามารถพัดผานไดทําใหอาคาร มีบรรยากาศที่ดีขึ้น เกิดประโยชนตอผูเขามาใชงาน Reference | http://blog.boundaryspace.com/2011/06/green-walls/
PAVEGEN
Pavegen คือระบบเทคโนโลยีที่สรางพลังงานดวยการเดินเทา โดยใชพลังงานที่ถูกเหยียบนั่นก็คือ พลั ง งานจลน จ ากการเคลื่ อ นที่ อ อกแบบมาแปลงเป น พลั ง งานไฟฟ า และเก็ บ บรรจุ อ ยู ใ นแบตเตอรี่ สามารถนําไปใชงานไดจริง ยิ่งเดินมากเทาไร ยิ่งไดพลังงานมากเทานั้น และนํามาติดตังตรงสวนที่เปน Fast Track ซึ่งเปนสวนที่มีการสัญจรผานไปมาเปนจํานวนมาก ซึ่งก็จะสามารถสรางกระแสไฟฟาไดเปน จํานวนมาก และเก็บไฟฟาสวนนั้นไปใชในอาคาร Reference | http://www.creativemove.com/design/pavegen/
ROOF SYSTEM SHUTTER ROOF ระบบกันฝน กันแดด ของหลังคามีลักษณะที่สามารถควบคุมการเปด-ปดได ขึ้นอยูกับปริมาณของ แสงที่ตองการใหผาน โดยมีแนวคิดเดียวกับ สวนควบคุมแสงของกลอง นั่นคือ shutter ที่สามารถ ปรับขนาดชองเพื่อควบคุมแสงที่จะเขามา ในลักษณะเดียวกันดวยการควบคุมการเปด-ปด ดวยการ ปดในรูปแบบการหมุนใบแผนกันแสงใหเขามาในแตละจุดทําใหชวยควบคุมแสงที่จะเขามาในอาคารได และสามารถปองกันฝน หรือในวันที่อากาศดีมีลมที่ถายเทสะดวกทําให อากาศในอาคารมีการไหลเวียน
ENERGY FIELD Solar Cell คือการนําพลังงานแสงอาทิตยมาแปลงเปนพลังงานไฟฟาซึ่งเปนอีกหนึ่งทางเลือกของ พลังงานทดแทนที่เริ่มมีการใชงานแพรหลายมากขึ้นในประเทศ เนื่องจากประเทศไทยมีสภาพที่เหมาะสม มี แ สงแดดปริ ม าณมาก จึ ง นํ า มาติ ด ตั้ ง และวางตํ า แหน ง ที่ เ หมาะ สมตามลั ก ษณะการโค ง ของอาคาร และหันเขาหาทิศใตและเอียงตําแหนงของแผนกําเนิดพลังงานเขาหาแสงอาทิิตยเพื่อที่จะสรางพลังงาน ใหคุมคาตอการติดตั้งและชวยลดการใชพลังงานของอาคารและประเทศ
22 | PORTFOLIO
GROUND FLOOR PLAN
23 | PORTFOLIO
FIRST FLOOR PLAN
SECOND FLOOR PLAN
ROOF PLAN
24 | PORTFOLIO
25 | PORTFOLIO
26 | PORTFOLIO
27 | PORTFOLIO
28 | PORTFOLIO
WORAPONG ROJANUSORN snooze.n.sleep@gmail.com (66)898760766
T H A M M A S AT UN I V E RS I T Y
Faculty of Architecture and Planning
Rangsit Campus, Phatumthani, Thailand