Creative Thinking การคิดอย่างสร้างสรรค์

Page 1

Creative Thinking

เอกสารประกอบการเรียนรู้

วิชา ETM 345 Creative Thinking การคิดอย่างสร้างสรรค์



คํานํา Creative Thinking การคิดอย่างสร้างสรรค์ เล่มนีจ ้ ัดทําขึน ้ เพื่อเป็ นเอกสาร ประกอบการเรียนการสอนสําหรับนักศึกษาในรายวิชา ETM 345 Creative Thinking เพื่อช่วยชีแ ้ นะทฤษฎีของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการคิดทีห ่ ลากหลายและแปลกใหม่ จนนําไปสู่การคิดค้นและนวัตกรรม มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ เรือ ่ ง ความคิดสร้างสรรค์ และเพิ่มทักษะกระบวนการการคิดอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้ เกิดผลสัมฤทธิท ้ หนังสือ Creative Thinking การคิดอย่าง ์ างการเรียนรู้ทีเ่ พิ่มมากขึน สร้างสรรค์ทจ ี่ ัดทําขึน ้ ได้สอดแทรกเนือ ้ หา ภาพประกอบ และสือ ่ โมชันกราฟิก ทีจ ่ ะช่วย ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความเพลิดเพลิน เกิดเจตคติทด ี่ ีในการเรียนรู้ คณะผู้จัดทําหวังเป็ นอย่างยิง ่ ว่าหนังสือ Creative Thinking จะเป็ นประโยชน์แก่ ผู้เรียน หรือ ผู้ทีส ่ นใจในเรือ ่ งความคิดสร้างสรรค์ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ ทีน ี้ ้วย ่ ด

คณะผู้จัดทํา

Creativity Box


สารบัญ หน้า

บทที่ 1 นิยามความคิดสร้างสรรค์...........................................................................................1 1.1 นิยามความคิดสร้างสรรค์ 1.2 ความคิดสร้างสรรค์ 1.3 การคิดเชิงสร้างสรรค์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ 1.4 สถานะทางความคิดของคนในสังคมที่กําหนดรูปแบบและ

ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ 1.5 เทคนิคในการแก้ปัญหาและพั ฒนางานในชีวิตประจําวัน

บทที่ 2 องค์ประกอบ.....................................................................................................................7 2.1 องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ 2.2 ระดับความคิดสร้างสรรค์ 2.3 ผลผลิตจากความคิดสร้างสรรค์

บทที่ 3 กระบวนการ-วิธีการ.....................................................................................................11 3.1 กระบวนการสร้างความคิดสร้างสรรค์ 3.2 กระบวนการดําเนินการการพิ จารณาความคิด 3.3 วิธีการฝึ กเพื่ อพั ฒนาศักยภาพการคิดสร้างสรรค์ 3.4 วิธีพํฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่มักใช้ในการทํางาน 3.5 วิธีการคิดสร้างสรรค์ 3.6 วิธีการปรับปรุงทักษะความคิดสร้างสรรค์ 3.7 ลักษะการทํางานของสมอง

บทที่ 4 ทัศนคติ..............................................................................................................................18 4.1 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ 4.2 สิ่งที่หยุดยั้งความคิดสร้างสรรค์ 4.3 ทัศนคติเชิงบวกที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ 4.4 ทัศนคติทางลบที่เป็ นอุปสรรคต่อความคิดสร้างสรรค์ 4.5 การส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4.6 ข้อควรปฏิบัติในการพั ฒนาทัศนคติและพั ฒนานิสัยนักคิดสร้างสรรค์

สื่อโมชันกราฟิกประกอบการเรียนรู้........................................................................................23


บทที่

นิยาม ความคิด สร้างสรรค์

1


นิยามความคิดสร้างสรรค์ Creativity มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน “creo” = to create, to make = สร้างหรือทําให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ คือ ปรากฏการณ์ทบ ี่ ุคคลสร้างสรรค์

”สิง ่ ใหม่” อาทิ ผลผลิต การแก้ปัญหา นวัตกรรม หรืองานศิลปะ ฯลฯ การจะตีความเกีย ่ วกับ ”ความใหม่” ขึน ้ อยู่กับผู้สร้างสรรค์ หรือสังคม หรือ แวดวงทีส ิ่ ใหม่เกิดขึน ่ ง ้

คุณสมบัติทม ี่ ักใช้ในการตีความ “ความใหม่” 1. สิง ่ ประดิษฐ์ทไี่ ม่เคยปรากฏมาก่อน 2. สิง ี่ าจปรากฏอยู่ทอ ี่ น ื่ ่ ประดิษฐ์ทอ แต่มีผู้สร้างสรรค์ขน ึ้ ใหม่โดยอิสระ 3. การคิดวิธีดําเนินการใหม่ 4. ปรับกระบวนการผลผลิตเข้าสู่ตลาด ทีแ ่ ตกต่างออกไป 5. คิดวิธีการใหม่ในการแก้ไขปั ญหา 6. เปลีย ื่ ่ นแนวคิดทีแ ่ ตกต่างจากผู้อน

2


ความคิดสร้างสรรค์ คือ ความคิดเชือ ่ มโยงที่

พยายามหาทางออกหลายๆทาง ใช้ความคิดทีห ่ ลากหลาย แสวงหาความเป็ นไปได้ใหม่ๆคัดสรรค์หาทางเลือกใหม่ๆและ พยายามปรับปรุงให้ดีขน ึ้ เรือ ่ ยๆ ซึง ่ มีวิธีการอยู่ 6 ขัน ้ ตอน คือ

1. แสวงหา ข้อบกพร่อง (Mess Finding)

2. รวบรวม ข้อมูล (Data Finding)

3. มองปัญหา ทุกด้าน (Problem Finding)

4. แสวงหา ความคิดทีห ่ ลากหลาย (Idea Finding

5. หาคําตอบ ทีร ่ อบด้าน (Solution Finding)

6. หาข้อสรุป ทีเ่ หมาะสม (Acceptance Finding)

กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ อาจเกิดขึน ้ โดยบังเอิญหรือโดยความตัง ้ ใจ ซึง ่ สามารถทําได้ด้วยการศึกษา การอบรมฝึกฝน การระดมสมอง (brain-storming) มากกว่าครึง ิ่ ใหญ่ของโลก เกิดจากการค้นพบโดยบังเอิญ (serendipity) ่ หนึง ่ ของการค้นพบทีย ่ ง

3


การคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

การคิดเชิงสร้างสรรค์ หมายถึง การขยายขอบเขต

ความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมทีม ่ ีอยู่ สู่ความคิดใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคําตอบทีด ี่ ุดให้กับปั ญหาทีเ่ กิดขึน ่ ีทส ้ การคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ นการคิดทีม ่ ีลักษณะเป็ นกระบวนการ มักประกอบไปด้วยขัน ้ ตอนสําคัญ 3 ขัน ้ ตอน ได้แก่ 1. กําหนดเป้าหมายการคิด 2. การแสวงหาแนวคิดใหม่ 3. การประเมินและ คัดเลือกแนวคิด

เหตุผล ทต ี่ ้องม ความค ี สร้างส ิด รรค์

เพราะ ความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้เราแก้ปัญหาได้ลงตัวกับปั ญหา ก่อให้เกิดนวัตกรรม ทีไ่ ม่หยุดยัง ิ่ ที่ ”ดีกว่า” แทนการจมอยู่กับสิง ้ ช่วยให้เราได้สง ่ เดิมๆ และเป็ นองค์ประกอบ สําคัญของความฉลาด ในการสร้างสรรค์ (creative intelligence) การวิเคราะห์ (analytical intelligence) และการปฏิบัติจริง (practical intelligence)

4


สถานะทางความคิดของคนในสังคมทีจ ่ ะกําหนดรูปแบบ และความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ มีอิทธิพลมาจาก แหล่งใหญ่ๆ ได้แก่ 1. บริบทสังคมไทย • • • • • •

สังคมไทยพึ่งพิงผู้ใหญ่มากกว่าพึ่งพิงตนเอง ระบบการศึกษาสอนให้จํามากกว่าสอนให้คิด สังคมให้คุณค่าความดังมากกว่าความสร้างสรรค์ สังคมให้คุณค่าความเหมือนมากกว่าความแตกต่าง สังคมไทยดําเนินการตามสถานการณ์ ไม่ช่างคิด สังคมลงโทษคนคิดสร้างสรรค์ด้วยการลอกเลียน

2. ความเป็ นตัวเรา • • • • • • •

การตอบสนองตามความเคยชิน มองตัวเองไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เต็มไปด้วยความคิดแง่ลบ ความกลัวว่าตัวเองจะเป็ นแกะดํา กลัวต่อความผิดพลาด ล้มเหลว ยึดติดกับความรู้ ความเชีย ่ วชาญมากเกินไป ยึดติดกรอบความคิดเดิม

การฝึกมองในมุมทีแ ่ ตกต่างจะช่วยพัฒนา สร้างจินตนาการอิสระ ขย ายขอบเขตของความเป็ นไป ได้ ตัง ้ คําถามแบบมองต่างมุม ด้ วยคําถาม “ทําไม” กระตุ้น ความคิดด้วยคําถาม “อะไร จะเกิดขึน ้ ” ถ้ามองมุมตรงข้าม ตัง ้ คําถามและหาคําตอบ เชอ ื่ มโยงสิง ่ ทีไ่ ม่คุ้นเคย คิดทางลัด ค้นหาข้อบกพร่องเพื่อพัฒ นา และคิดเองทําเอง

5


เทคนิคในการแก้ปัญหาและพัฒนางานใน ชีวิตประจําวันทีช ่ ่วยให้ค้นพบแนวคิดใหม่ๆ นอกกรอบความซํ้าซากเดิมๆ ก่อนทีจ ่ ะนําไปสู่ การค้นพบทางออกของปั ญหา ได้แก่

STEP

01

หาความคิดใหม่ที่ หลากหลายด้วยการ ระดมสมอง (Brainstorming)

เป็ นเทคนิคการระดม ความคิดแปลกๆใหม่ๆ เป็ นการแก้ปัญหาในองค์กร ทีไ่ ด้รับความนิยมมากทีส ่ ุด

โดยการพิจารณา 9 แนวทาง ได้แก่ เอาไปใช้อย่างอืน ่ ดัดแปลง ใช้อย่างอืน ่ ปรับเปลีย ่ น เพิ่ม,ขยาย ลด,หด ทดแทน จัดใหม่ สลับ และผสม,รวม ได้หรือไม่ เป็ นเทคนิคทีช ่ ่วยในการสร้างสิง ่ ประดิษฐ์ใหม่ๆ

STEP

03

05

กลับสิง ่ ะคิด ่ ทีจ แล้วลองคิด ในมุมกลับ

02

ทําของเก่า ให้เป็ น ของใหม่

คือ ไม่คิดในเรือ ่ งทีก ่ ําลังคิดอยู่ แต่คิดในความเป็ นนามธรรมของ เรือ ่ งนัน ่ ีอยู่ในสิง ้ ทีม ้ ปวง ่ ทัง เนือ ่ งจากนามธรรมของปั ญหา สามารถนําไปสู่การสร้างสรรค์ และนวัตกรรมใหม่ๆ

ขยายขอบเขต ปัญหาจาก รูปธรรมสู่ นามธรรมแล้ว ค่อยคิด

การอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบเดียวกันนานๆ อาจจํากัดความคิดสร้างสรรค์ และเวลาก็มี ความสําคัญต่อการคิด ในบางเวลาจะคิดได้ดี และในบางเรือ ่ งการจํากัดเวลาช่วยกระตุ้น ความคิดได้

STEP

STEP

STEP

04

ปรับสภาพแวดล้อม และเวลาให้เหมาะสม สําหรับการคิด

เป็ นเครือ ่ งทีช ่ ่วยให้มองมุมอีกมุมหนึง ่ ทีเ่ รา ไม่เคยคิดทีจ ่ ะมองมาก่อน และการคิดแบบ กลับด้านจะทําให้ไม่ยึดติดกับรูปแบบการคิดเดิมๆ

6


เป็ นวิธีการหาสิง ่ ยู่ตรงข้ามในลักษณะ ่ ทีอ ขัดแย้ง เพื่อก่อให้เกิดการหักมุมความ คาดหวังทีค ่ นทัว ่ ๆ

STEP

07

คิดแหวกวง ความน่าจะเป็ น ย้อนกลับมาหา ความเป็ นไปได้

09

ใช้เทคนิค การสังเคราะห์ ส่วนประกอบ

06

จับคู่ตรงข้าม เพื่อหักมุม สู่สิง ่ ใหม่

เป็ นการเชือ ่ มโยงถึงความเป็ นไปได้โดย แสวงหาแนวคิดใหม่ จากการคิดนอกกรอบของ ตรรกศาสตร์ทม ี่ ีตัวเลือกว่าถูก-ผิด ใช่-ไม่ใช่ แต่ พยายามหาคําตอบทีแ ่ หวกกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้มากทีส ่ ุด

เพื่อให้เกิดการค้นพบสิง ่ ใหม่ เพื่อตอบปั ญหา ทีค ่ ิดอยู่ให้เห็นทางออกของปัญหาทีส ่ ร้างสรรค์ และปฏิบัติได้จริงโดยตัวเขีย ่ ความคิด หาได้จาก เปิ ดหนังสือ และเปิดพจนานุกรม

STEP

STEP

STEP

08

หาสิง ่ มโยง ่ ไม่เชือ เป็ นตัวเขีย ่ ความคิด สร้างสรรค์

เป็ นการเขียนรายการของแนวคิดทีเ่ กีย ่ วกับ ลักษณะหรือแง่มุมของสิง ่ ้องการตอบออกมา ่ ทีต เขียนไว้ในแกนหนึง ่ และเขียนรายการของแนวคิด ทีเ่ กีย ่ วกับลักษณะหรือแง่มุมของสิง ่ ้องการตอบ ่ ทีต ออกมาแล้วเขียนไว้อีกแกนหนึง ่ ผลทีไ่ ด้คือ ช่วงตัดระหว่างรายการของแนวคิดทัง ้ สอง

เทคนิคนีไ้ ด้รับความนิยมในวงการ STEP ใช้การเปรียบเทียบ อุตสาหกรรมและองค์กรทีต ่ ้องการสร้าง เพื่อกระตุ้น นวัตกรรมใหม่ๆ วิธีการรวมกันขององค์ประกอบ มุมมองใหม่ๆ ทีแ ่ ตกต่างและไม่เกีย ่ วข้องกันในลักษณะของการ เทียบเคียงหรืออุปมาอุปไมย เพราะทําให้เห็นภาพ ชัดขึน ้ การอุปมาหรือเทียบเคียงในลักษณะทีเ่ รา ไม่คุ้นเคยจะช่วยกระตุ้นให้เราคิดในมุมทีแ ่ ตกต่างได้ โดยเปรียบเทียบตนเองกับสิง ่ เปรียบเทียบสิง ่ กับอีกสิง ่ โดยตรง ่ อืน ่ หนึง ่ หนึง

10

7


บทที่

องค์ประกอบ

8


องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์

1 2

3

ความคิดริเริม ่ (Originality)

มีลักษณะแปลกใหม่แตกต่างจากของเดิม คิดดัดแปลง ประยุกต์เป็ นความคิดใหม่

ความคิดคล่องตัว (Fluency)

2.1 ด้านถ้อยคํา (Word Fluency) หลากหลาย ใช้ประโยชน์ได้และไม่ซ้ําแบบผู้อน ื่ 2.2 ด้านความสัมพันธ์ (Associational Fluency) จากสิง ่ ิดริเริม ่ ทีค ่ ออกมาได้อย่างเหมาะสม 2.3 ด้านการแสดงออก (Expressional Fluency) เป็ นความคิดทีส ่ ามารถนําเอา ความคิดริเริม ้ มา . ่ นัน แสดงออก ให้เห็นเป็ น รูปภาพได้อย่างรวดเร็ว 2.4 ความคิดคล่องด้านความคิด (Ideational Fluency) เป็ นการสร้างความคิดให้เกิดขึน ้ อย่างรวดเร็วคิดได้ทันที ทีต ่ ้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)

มีความเป็ นอิสระคิดได้หลายๆอย่าง

4 ความคิดสวยงามละเอียดละออ (Elaboration) มีความรอบคอบ มีความคิดสวยงาม ด้านคุณภาพ มีความประณีต ในความคิดสามารถนําไปประยุกต์ ใช้ได้อย่างมีคุณภาพในทุกๆด้าน

9


ระดับความคิดสร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์ระดับต้น เป็ นความคิดทีม ่ ีอิสระ แปลกใหม่ ยังไม่คํานึงถึงคุณภาพและการนําไปประยุกต์ใช้

1

ความคิดสร้างสรรค์ระดับกลาง คํานึงถึงผลผลิตทางคุณภาพ นําไปประยุกต์ใช้งานได้

2 3

ความคิดสร้างสรรค์ระดับสูง สรุปสิง ่ ้นพบเป็ นรูปธรรมนําไปใช้ ่ ทีค ในการสร้างหลักการ ทฤษฎีทเี่ ป็ นสากล ยอมรับโดยทัว ่ ไป

ผลผลิตจากความคิดสร้างสรรค์ นิวแวล ชอล์ และ ซิมสัน ได้เสนอหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 1. เป็ นผลผลิตทีแ ่ ปลกใหม่และมีค่าต่อผู้คิด สังคมและวัฒนธรรม

2. เป็ นผลผลิตทีเ่ ป็ นไปตามปรากฏการณ์นิยมในเชิงทีว ่ ่ามีความคิดดัดแปลง หรือ ยกเลิกความคิดทีเ่ คยยอมรับกันมาก่อน

3. เป็ นผลผลิตซึง ่ ได้รับจากการกระตุ้นอย่างสูงและมัน ่ คงในระยะยาว หรือ ความพยายามอย่างสูง

4. เป็ นผลผลิตทีไ่ ด้จากการประมวลปั ญหาซึง ่ ค่อนข้างจะคลุมเครือ และ ไม่แจ่มชัด

10


บทที่

กระบวนการ วิธีการ

11


กระบวนการสร้างความคิดสร้างสรรค์

01

เกิดสิง ่ กระทบ ความรู้สึก ให้ต้องคิด

เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง ทุกประเด็น ทุกแง่มุม

03

แจกแจง

จัดระบบความคิดตามข้อมูลทีไ่ ด้แจกแจงและ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ให้สามารถมองเห็นภาพ ขัน ่ มโยงของแต่ละส่วนได้อย่าง ้ ตอน ความเชือ ชัดเจน

05

แสดงออก

เป็ นต้นเหตุหรือสาเหตุของเรือ ่ งทีต ่ ้องใช้ ความคิดในการทําให้ เรือ ่ งนัน ้ ๆ บรรลุตาม วัตถุประสงค์

รวบรวมข้อมูล

02

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูล นําข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมได้มาแจกแจง วิเคราะห์ ความสัมพันธ์หรือดูความเชือ ่ มโยงระหว่างกัน

การคิดและ ทําให้กระจ่างชัด

04

เป็ นการนําเสนอผลจากการคิดเพื่อทดสอบ ความคิดและพิสูจน์ให้เห็นจริง

12


James Webb Young ได้เสนอแนวความคิด 5 ขัน ้ ตอน 1. ขัน ้ รวบรวมวัตถุดิบ

1.1 วัตถุดิบเฉพาะ เป็ นข้อมูลวัตถุดิบต่างทีเ่ กีย ่ วข้องโดยตรงกับเรือ ่ งทีต ่ ้องการ ประชาสัมพันธ์ 1.2 วัตถุดิบทัว ่ ไป เป็ นข้อมูลวัตถุดิบทัว ่ ๆไปทัง ้ ในส่วนขององค์การและ สภาพแวดล้อม เพื่อนํามาประกอบการสร้าง ความคิดสร้างสรรค์ ให้สมบูรณ์ 2. ขัน ้ การนําข้อมูลวัตถุดิบต่างๆ ทีไ่ ด้เก็บรวบรวมมาได้ ้ บดย่อยวัตถุดิบ เป็ นขัน นํามาแจกแจง พิจารณาวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ ความเกีย ่ วข้องกันของข้อมูล

3. ขัน ้ ความคิดฟักตัว 4. ขัน ้ กําเนิดความคิด

5. ขัน ้ ปรับแต่งและพัฒนา ก่อนไปใช้ปฏิบัติจะนําเสนอความคิดสู่การวิพากษ์วิจารณ์ เพื่อการปรับแต่ง และพัฒนาความคิด ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ทเี่ ป็ นจริง

กระบวนการดําเนินการการพิจารณาความคิด 1. ประเมินค่าของความคิด 2. การปรับแต่งความคิด 3. การนําความคิดไปปฏิบัติให้เกิดผล

วิธีการฝึกเพื่อพัฒนาศักยภาพการคิดสร้างสรรค์ มีวิธีการดังนี้

1. ฝึกคิดเชิงบวก (Positive Thinking) ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึน ้ เราต้องฝึกคิดว่ามีอะไรทีเ่ ป็ นประโยชน์กับเราบ้าง การฝึกคิดเชิงบวก นอกจากจะช่วยให้เราฝึกการแสวงหาโอกาสแล้วยังช่วยให้เราเกิดการเรียนรู้ที่ เหนือกว่า คนอืน ั้ สิง ่ เพราะถ้าเหตุการณ์หนึง ่ เกิดขึน ้ เราสามารถเรียนรู้ทง ่ นทัว ่ ไปเขารู้กันแล้ว ่ ทีค เรายังเรียนรู้ใน สิง ่ นอืน ่ ๆ เขามองข้ามไป เมือ ่ เราฝึกแบบนีไ้ ปนาน ๆ หลายๆครัง ้ เข้า ่ ทีค จํานวนเท่าของความรู้ของเราจะ เหนือกว่าคนทัว ่ ไปอย่างน้อยสองสามเท่าตัว

13


2. ฝึกคิดย้อนศร (Backward Thinking) เมือ ี่ ีๆ ่ ไหร่ก็ตามเราคิดสวนทางกับคนอืน ่ อาจจะทําให้เราเกิดความคิดสร้างสรรค์ทด ขึน ้ มา เช่น ปกติรถเสียต้องพารถไปหาอู่ แต่เมือ ่ คิดใหม่คือเอาอู่ไปหารถ จึงทําให้เกิด ธุรกิจบริการซ่อมรถฉุกเฉินขึน ้ มามากมาย

3. ฝึกคิดในสิง ่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ (Impossible Thinking) บางสิง ่ บางอย่างทีเ่ ราเคยคิดว่ามัน เป็ นไปไม่ได้ในอดีต แต่ในปัจจุบันมันเป็ นไปได้และ เป็ นไปแล้ว ดังนัน ้ อะไรก็ตามทีเ่ ราคิดว่าเป็ นไปไม่ได้อย่าเพิ่งด่วนตัดทิง ่ ้ ไป เพราะนัน เท่ากับเป็ นการดับอนาคตแห่งความคิดสร้างสรรค์ของเราเอง

4. ฝึกคิดบนหลักของความเป็ นจริง (Thinking Based Principle) การฝึกคิดแบบนี้ คือ การคิด วิเคราะห์สง ิ่ ต่าง ๆ โดยย้อนกลับไปหาหลักความเป็ นจริงของ สิง ั้ จะต้องเข้าใจถึงหลักความเป็ น ่ ามารถผลิต เครือ ่ งบินได้นน ้ ๆว่าคืออะไร เช่น คนทีส ่ นัน จริงในเรือ ่ งแรงโน้มถ่วงของโลกก่อน จึงจะสามารถออกแบบเครือ ่ งบิน มีความเร็วเท่าไหร่ จึงจะสามารถหนีออกจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้

5. ฝึกคิดข้ามกล่องความรู้ (Lateral Thinking) การคิดข้ามกล่องความรู้ คือ การนําเอา ความรู้ทีม ่ ีอยู่ในหัว ในเรือ ่ งต่างๆ มาคิดไขว้กัน ยิง ่ เรามีกล่องความรู้หลากหลาย โอกาสทีเ่ รา จะคิดข้ามกล่อง เพื่อให้เกิดความคิดใหม่ๆก็มี มากยิง ้ ่ ขึน

14


1. ช่วยกันระดมสมอง ( Brainstorming )

2. ลองคิดในมุมกลับ ทําให้เราไม่ยึดติดกับความคิดเดิมๆ และ เป็ นการช่วยกระตุ้นให้เกิด ความคิดใหม่ๆ ทีเ่ ราไม่คาดคิด มาก่อน

เป็ นวิธีทีไ่ ด้รับความนิยม มากทีส ่ ุดในองค์กร เพราะวิธีนี้ สามารถ ทําให้เกิด ความคิดใหม่ๆ วิธีพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ขึน ้ มากมาย 4. ใช้การ เปรียบเทียบ

(Creative Thinking) ทีม ่ ักใช้ในการทํางาน

ได้รับความนิยม อย่างมากในการพัฒนาองค์กร ปัญหาที่ เราไม่คุ้นเคย จะถูกทําให้เข้าใจได้ง่ายขึน ้ เมือ ่ เรานํามาเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปไมย

3. ตัง ้ คําถาม ให้ตัวเอง

เป็ นการฝึกนิสัยเรา ให้เป็ นคนใช้ความคิด โดยทีเ่ ราหมัน ่ ตัง ้ คําถามกับสิง ้ รอบตัว ่ ที่ เกิดขึน ( What?, Why?, What's happen?, If? )

วิธีการคิดสร้างสรรค์ มีวิธีการทีห ี่ ําคัญมี 5 วิธีการ คือ ่ ลากหลายแต่ทส

1 2 3 4 5

วิวัฒนาการ (evolution) เป็ นวิธีการปรับปรุงให้ดีขน ึ้ ด้วยวิธีการแบบ สะสมทีละขัน ้ ตอน ความคิดใหม่เกิดจากความคิดหลากหลาย แนวทาง แก้ปัญหาใหม่ๆเกิดจากแนวทางเก่าๆ แต่ปรับปรุงให้ดีขน ึ้ การผสมผสาน (synthesis) เป็ นการผสมผสานหรือสังเคราะห์แนวคิด ที่ 1 กับ ที่ 2 เป็ นแนวคิดที่ 3 ซึง ่ กลายเป็ นความคิดใหม่ การปฏิวัติ (revolution) ในบางครัง ่ นแปลง ้ ความคิดใหม่ๆเป็ นการเปลีย อย่างมากมาย เช่น แทนทีจ ่ ะให้อาจารย์บรรยายให้นักเรียนฟังแบบเดิม ๆ ก็เปลีย ่ นเป็ นให้นักเรียนทํางานเป็ นทีมและแลกเปลีย ่ นเรียนรู้ ปรับเปลีย ่ นวิธีการใหม่ (reapplication) ปรับมุมมองเรือ ่ งเก่าด้วยมุมมองใหม่ หรือมองแบบนอกกรอบ ปรับเปลีย ่ นทิศทาง (changing direction) เป็ นการปรับเปลีย ่ นทิศทางการ มองปัญหาด้วยวิธีการทีห ่ ลากหลาย 15


วิธีการปรับปรุงทักษะความคิดสร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์และการค้นหาวิธีการแก้ปัญหาเป็ นกิจกรรมทีป ่ ฏิสัมพันธ์กัน ด้วยการใช้ เหตุผล(ตรรกะ)หนึง ่ เชือ ่ มโยงไปยังอีกเหตุผลหนึง ่ เป็ นขัน ้ ไปเรือ ่ ยๆ เพื่อให้บรรลุการ ้ ตอนขึน แก้ปัญหา เรียกวิธีการนีว ้ ่า “ความคิดแนวตัง ่ เป็ นการใช้งาน ้ ” (vertical thinking) ซึง สมองซีกซ้ายเป็ นหลัก

Dr.Edward de Bono

Dr. Daniel Pink

นักจิตวิทยาและนักวิจัยทางการแพทย์ แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้เสนอการใช้ ความคิดสร้างสรรค์ด้วย แนวคิดทีเ่ รียกว่า ”ความคิดข้างเคียง” (lateral thinking) ซึง ่ แตกต่างจากวิธีการเดิมๆ จากการใช้ ความคิดในแนวตัง ้ แต่ใช้จินตนาการ วาดภาพแบบนอกกรอบ ซึง ่ เป็ นการใช้ งานสมองซีกขวา

ยืนยันประเด็นทีเ่ ป็ นทีถ ่ กเถียงกันตลอด ศตวรรษที่ 2๐ ว่า เรากําลังเข้าสู่ยุคสมัยที่ ความสร้างสรรค์มีความสําคัญมากขึน ้ เรือ ่ ยๆ ในยุคแห่งวิสัยทัศน์ เราต้องเสริมสร้าง และ กระตุ้นการใช้สมองซีกขวา ซึง ่ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ มากกว่าสมองซีกซ้ายซึง ่ หมายถึงเพียงการใช้เหตุผลและการวิเคราะห์ ซึง ่ เป็ นเรือ ่ งปกติอยู่แล้ว

Dr. Pink ยังอธิบายถึง “แรงจูงใจ”(Motivation) ทีจ ่ ะช่วยกระตุ้นให้ เกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างน่าสนใจว่า 1. แรงจูงใจในการสร้างความคิดสร้างสรรค์ทด ี่ ีมีคุณภาพ ไม่สามารถใช้เงินเป็ นตัวนําหลักได้ ยิง ิ่ มีคุณภาพตํ่า ่ ใช้เงินมากเท่าใด งานสร้างสรรค์ยง 2. การใช้เงินสร้างแรงจูงใจต้องระมัดระวังและเฉพาะทีจ ่ ําเป็ นอย่างเหมาะสม แต่ต้องให้ความ สําคัญกับจิตใจและความตัง ้ ใจจริง 3. การจะสร้างความคิดสร้างสรรค์ทีด ่ ี ต้องใช้องค์ประกอบสําคัญ 3 ประการ คือ o อิสระในการคิดและทํางาน(Autonomy) o มีสิทธิและอํานาจทีจ ึ้ เรือ ่ ะพยายามปรับปรุงให้ดีขน ่ ยๆหรือก้าวไปสู่ ความเป็ นเลิศ (Mastery) o มีความตัง ้ ใจจริง (Purpose) 16


ลักษณะการทํางานของสมอง

สมองซีกซ้าย 1.เป็ นการใช้สติปัญญาอย่างมีเหตุมีผล 2.เป็ นเรือ ่ งเกีย ่ วกับตัวเลข 3.เป็ นการคิดแบบนามธรรม 4.เป็ นการคิดเป็ นเส้นตรง 5.เป็ นเรือ ่ งของการวิเคราะห์ 6.ไม่เกีย ่ วกับจินตนาการ 7.คิดแบบต่อเนือ ่ งตามลําดับ 8.เป็ นเรือ ่ งของวัตถุวิสัย 9.ไม่เกีย ่ วกับคําพู ด เห็นเป็ นภาพ

สมองซีกขวา 1.เป็ นเรือ ่ งของสหัชญาณ (ไม่เกีย ่ วกับเหตุผล)(สหัช=ทีม ่ ีมาแต่กําเนิด) 2.เป็ นเรือ ่ งของการอุปมาอุปมัย 3.เป็ นการคิดแบบเป็ นรูปธรรม 4.คิดอิสระไม่เป็ นเส้นตรง เห็นภาพทัง ้ หมด 5.เป็ นเรือ ่ งของการสังเคราะห์ 6.ใช้จินตนาการ 7.ไม่เป็ นไปตามลําดับ 8.เป็ นเรือ ่ งของอัตวิสัย 9.ไม่เกีย ่ วกับคําพู ด เห็นภาพ

การทํางานของสมองทัง ้ สองด้าน ทําให้ดูเสมือนจะมีลักษณะตรงกันข้าม แต่ในความเป็ นจริง การใช้ความคิดสร้างสรรค์ต้องใช้สมองทัง ้ สองด้าน เพื่อเสริมซึง ่ กันและกัน ซึง ่ จะช่วยให้ความคิดสมบูรณ์ขึน ้

17


บทที่

ทัศนคติ

18


ความเชือ ่ ผิดๆเกีย ่ วกับความคิดสร้างสรรค์

1. ทุกปัญหามีคําตอบเดียว 2. มีคําตอบทีด ี่ ุดอยู่แล้ว ่ ีทส 3. คําตอบทีส ่ ร้างสรรค์ซับซ้อนเกินไป 4. คิดว่าไม่ต้องทําอะไร เดีย ๋ วก็คิดได้เอง

สิง ่ ยุดยัง ้ ความคิดสร้างสรรค์ ่ ทีห

ยิง ่ อายุมาก ยิง ่ มีอคติมาก

ชอบอ้างว่าอายุมาก ไม่มีเงิน ไม่มีเครือ ่ งมือ ไม่มีความสามารถ ชอบจํากัดตนเอง

4. ปิ ดกัน ้ ตนเอง -------

เช่น ไม้กวาดใช้สําหรับ กวาดพื้น แต่ลืมคิดไปว่า สามารถใช้ประโยชน์ อย่างอืน ่ ได้

-----------

3. หมดหวัง ทีจ ่ ะเรียนรู้

----

----------

1. อคติ

2. ยึดติดกับ ภาระหน้าที่ มากเกินไป

บางครัง ้ แม้จะพบหรือ ได้ฟง ั ความคิดดีๆ แต่ก็ไม่ยอมรับเพราะ ไม่ชอบหรือไม่คุ้นเคย

19


ทัศนคติเชิงบวกทีก ่ ระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ 1. ความกระหายใคร่รู้ : อยากรู้ไปหมดทุกเรือ ่ ง(Curiosity) 2. ความท้าทาย(Challenge) 3. ไม่ยอมรับความไม่สร้างสรรค์(Constructive Discontent) ความเชือ ่ ว่าปัญหาส่วนใหญ่สามารถแก้ไขได้ (A belief that most problems can be solved) 4. ความอดทน (Perseverence) ในการรับฟังคําวิจารณ์และไม่ด่วนตัดสินใจ 5. มีความคิดและจินตนาการทีย ่ ืดหยุ่น(A flexible imagination)

6. มองเห็นสิง ่ งทีไ่ ม่ดี ่ ดีๆในเรือ 7. การเกิดปั ญหาย่อมนําไปสู่การแก้ไขปั ญหาคือเรือ ่ งปกติ 8. ปัญหาในตัวของมันเองคือทางแก้ไขปัญหาคือโอกาส 9. ปัญหาเป็ นเรือ ่ งน่าสนใจและยอมรับได้ 10.ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ เอาจริงเอาจัง

" เพื่อการแก้ไขปั ญหา สร้างสิง ่ ใหม่ ก้าวไกลเกินฝัน " การฝึกการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ : โดยกระบวนการพัฒนาจิตเหนือสํานึก การพัฒนา

ของมนุษย์นน ั้ จะต้องพัฒนา 3 ด้าน คือ ร่างกาย จิตวิญญาณ และสมอง การพัฒนาสมองโดย การฝึกให้คิด แบบสร้างสรรค์ เป็ นการพัฒนาทีง ่ ่าย และมี พลังอย่างยิง ่ ะนําความสําเร็จ ่ ในการทีจ มาสู่ผู้ทส ี่ ามารถพัฒนาได้ กระบวนการฝึกการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ประกอบด้วยการฝึก ดังต่อไปนี้

1. การใช้สมองซึกขวาเชือ ่ มโยงกับสมองซีกซ้าย 2. การฝึกการคิดนอกกรอบ 3. การฝึกการคิดทางบวก 4. การฝึกการคิดแบบริเริม ่ คล่องตัว ยืดหยุ่น และละเอียดลออ ฯลฯ และทีส ่ ําคัญยิง ้ มาทํางานใน ่ คือ การฝึกดึงเอาพลังจิตเหนือสํานึก (Super Conscious) ขึน สถานการณ์ต่างๆ ซึง ่ เป็ นกลไกสําคัญในการพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานทีแ ่ ปลกใหม่และมีคุณค่า 20


ทัศนคติทางลบทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่อความคิดสร้างสรรค์

1. ไม่ยอมรับฟังปั ญหา 2. ถอดใจหรือยอมแพ้ตัง ้ แต่ยังไม่เริม ่ เพราะ เชือ ่ ว่าไม่สามารถแก้ไขได้ 3. ไม่เชือ ่ ว่าตนจะสามารถทําอะไรได้ 4. คิดเอาเองว่าตนไม่มีความคิดสร้างสรรค์ 5. กลัวคนอืน ่ ว่า 6. กลัวล้มเหลว

การส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 1. ทางตรง คือ การฝึกอบรม 2. ทางอ้อม อาจทําได้หลายวิธี เช่น 2.1 ยอมรับในความสามารถของแต่ละบุคคล 2.2 แสดงให้เห็นว่าความคิดทีแ ่ สดงออกมานัน ้ มีคุณค่าและ นําไปใช้ประโยชน์ได้ 2.3 อย่าพยายามให้ทุกคนคิดไปในแนวทางเดียวกันต้อง ยอมรับในความคิดทีแ ่ ปลก 2.4 อย่าสนับสนุนเพียงผลงานเหมือนกับผู้ทเี่ คยได้รับรางวัล หรือเป็ นทีย ่ อมรับมาแล้ว ควรให้การสนับสนุน ยกย่องชมเชย ให้รางวัลกับผลงานทีแ ่ ปลกใหม่แต่มีคุณค่า 2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้คิดค้นผลงานทีส ่ ร้างสรรค์อย่าง ไม่มีขีดจํากัด 2.6 ให้กําลังใจและเอาใจใส่ต่อการสร้างสรรค์ผลงานทีอ ่ าจต้อง ใช้เวลาและค่อยเป็ นค่อยไป

21


ข้อควรปฏิบัติในการพัฒนาทัศนคติ และ พัฒนานิสัยนักคิดสร้างสรรค์ มี 9 ข้อ ดังนี้

1

3

2 อย่าคิดแง่ลบ ต้องคิดแง่บวก

อย่าชอบ พวกมากลากไป

เพราะพลังความคิดแง่บวก จะช่วยสร้างให้เกิด ความเชือ ่ มัน ่

ต้องกล้าคิดเองและ เชือ ่ มัน ่ ในตัวเอง กล้าเรียนรู้ ทีจ ่ ะเชือ ่ มัน ่ ในตนเองเพื่อ พัฒนาความเชือ ่ มัน ่ ในตนเอง

4

5

อย่าปิดตนเอง ในวงแคบ ต้องเปิ ดรับประสบการณ์ ใหม่ๆเพราะความรู้ใหม่ จะช่วยให้เกิดมุมมองที่ แตกต่างและต่อยอดสู่ ความคิดใหม่ๆ

6

อย่ารักสบาย ทําไปเรือ ่ ยๆ

อย่ากลัว ต้องกล้าเสีย ่ ง

อย่าหมดกําลังใจ เมือ ่ ไม่พบคําตอบ

ต้องลงแรง บากบัน ่ มุ่งความสําเร็จ เพราะ ความสําเร็จใดๆต้องแลก มาด้วยหยาดเหงือ ่ แรงงาน

ต้องฝึกตนเองให้เป็ น คนท้าทายตนเองให้ คิดสิง ่ ใหม่ๆอยู่เสมอ

ต้องอดทนต่อ ความคลุมเครือ

8

7 อย่าท้อใจกับ ความผิดพลาด ต้องเรียนรู้จากความล้มเหลว ความผิดพลาดเป็ นครู เพื่อเรียนรู้ในก้าวต่อไป

อย่าละทิง ้ ความคิดใดๆจนกว่าจะ พิสูจน์ได้ว่าไร้ประโยชน์ ต้องชะลอการตัดสินใจ เพราะ บางความคิดเห็น อาจจะยังใช้ไม่ได้ในตอน นีแ ้ ต่อาจนําไปใช้ได้ใน สถานการณ์อน ื่

9 อย่ากลัว การเผยแพร่ผลงาน ต้องกล้าเผยแพร่ ผลงานทีแ ่ ตกต่าง เพราะ หลายครัง ่ ารค้นพบใหม่ๆ ้ ทีก มักมาจากการคิดแหวกแนว

22


สือ ่ โมชันกราฟิก ประกอบการเรียรู้

23


เอกสารอ้างอิง :

วัชราภรณ์ หาสะศรี. 2560, ความคิดสร้างสรรค์มิใช่พรสวรรค์ แต่ฝึกฝนได้ [Online] Availabl: https://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Creative_Thinking.htm [17 มีนาคม 2562].

ผู้จัดทํา :

นางสาวอรัญญิกา ดวงศรีแก้ว, นางสาวชานิตา โฮ่คํา, นางสาวปิณิดา รูปกระต่ายทอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.