THE DESIGN DEVELOPMENT AND RESTORATION OF CULTURE OF THE KUI AJIANG TO PROMOTE CULTURAL TOURISM

Page 1

โครงการออกแบบพั ฒนาและฟื้นฟู วัฒนธรรมชาวกูยอาเจียง เพื่ อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

THE DESIGN DEVELOPMENT AND RESTORATION OF CULTURE OF THE KUI AJIANG TO PROMOTE CULTURAL TOURISM


จากพระราชเสาวนีย์ สู่ “โครงการนาช้างคืนถิน ่ ”

• ในปี พ.ศ. 2553 องค์การสวนสัตว์ได้รับงบประมาณการแปรญัตติจากรัฐบาล เพื่ อริเริ่ม “โครงการนาช้างคืน ถิน ้ เพื่ อแก้ไขปัญหาช้าง ่ ” ในพระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ ในขณะนัน เร่ร่อนในเขตพื้ นที่ชุมชนเมือง โดยที่ตั้งของโครงการอยู่ในเขตพื้ นที่ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ บนพื้ นที่ปา่ สงวนดงภูดิน เนื้อที่กว่า 3000 ไร่ และได้มีการก่อสร้างวางแผนแม่บทของโครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร์ขึ้นในปี พ.ศ. 2554 • ในปี พ.ศ. 2553 ได้เปิดรับช้างเร่ร่อนเข้าร่วมโครงการทั้งสิน ้ เป็นจานวน 100 เชือก และได้เปิดรับช้างคืนถิน ่ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน จานวนช้างที่ร่วมโครงการทั้งหมดมีทั้งสิน ้ 260 เชือก ที่มาของข้อมูล: https://sites.google.com/site/sukunyasenarlameen5720210120/su-kayya-sen-xa-la-min

Elephants world และ Elephants kingdome คืออะไร • Elephants world หรือ ศูนย์คชศึกษา และ Elephants kingdome หรือ โครงการคชอาณาจักร เป็นโครงการ ่ าหน้าทีใ่ นการบริหารจัดการและดูแลภายใน ย่อยภายใต้ของแผนงานของ “โครงการนาช้างคืนถิน ่ ” ที่มี 2 หน่วยงานทีท พื้ นที่ได้แก่ “ องค์การสวนสัตว์ ” ที่บริหารจัดการโครงการคชอาณาจักร และ “ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรน ิ ทร์ “ ที่บริหารจัดการศูนย์คชศึกษา โดยได้มีการแบ่งพื้ นทีใ่ ห้ทั้งสองหน่วยงานในการออกแบบและวางผัง พร้อมทั้งเปิดรับ ช้างเพื่ ออยู่ในความดูแลของทัง ้ สองหน่วยงาน จานวนประชากรช้างเลี้ยงที่เปิดรับขององค์การสวนสัตว์ปัจจุบันมี จานวนช้างในความดูแลอยู่ท่ี 200 เชือก ส่วนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ปจ ั จุบันมีจานวนช้างที่อยู่ใน ่ างส่วนให้อยู่ภายใต้การดูและของวัดป่าอาเจียงอีกเช่นกัน ความดูแลอยู่ที่ 60 เชือก นอกจากนี้ยังมีการแบ่งพื้ นทีบ


ขอบเขตของโครงการภายในพื้ นที่ ป่าสงวนดงภูดิน

วัดป่าอาเจียง

ELEPHANT WORLD โครงการคชศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์

ELEPHANT KINGDOM โครงการคชอาณาจักร องค์การส่วนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์

่ ององค์ ขอบเขตพื้ นทีข การบริหารส่วนจังหวัด ่ ่าสงวนดงภูดน ขอบเขตพื้ นทีป ิ


จานวณประชากรช้างในประเทศไทย • ช้างในประเทศไทยถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ช้าง ป่า และ ช้างเลี้ยง ช้างป่าคือช้างที่อาศัยอยู่ตาม ธรรมชาติ ไม่มีตั๋วรูปพรรณหรือการฝั่งไมโครชิพเพื่ อ ระบุตัวตน ส่วนช้างเลี้ยงคือช้างลูกคอกที่เกิดจาก ช้างที่ถูกเลี้ยงกันมาตั้งแต่รุ่นสู่รุ่น มีการขึ้นทะเบียน ตั๋วรูปพรรณและฝั่งไมโครชิพเพื่ อระบุตัวตน ตาม พรบคุ้มครองสัตว์ได้มีการกาหนดให้ช้างเลี้ยงไม่ สามารถนาไปปล่อยทิ้งไว้ในป่าธรรมชาติเนื่องจากเป็น สัตว์ที่ถูกเลี้ยงดูมาตัง ้ แต่เด็ก ทาให้ไม่สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสภาพของป่าได้ • โดยพบข้อมูลสถิติประชากรช้างเลี้ยงปีที่ชัดเจนที่สุด คือปี พ.ศ. 2558 ข้อมูลจากสถาบันวิจัยและบริการ สุขภาพช้างแห่งชาติ ได้ทาการรวบรวมข้อมูลจานวน ประชากรช้างเลี้ยงในประเทศไทย โดยตัวเลขดังกล่าว ได้จากการออกตรวจสุขภาพและสารวจประชากรช้าง เลี้ยงประจาปี 2558 ประชากรช้างเลี้ยงทั้งหมดมี ทั้งสิ้น 4,179 เชือก แบ่งออกเป็น ภาคเหนือและ ภาคใต้ราว 1100 เชือก ภาคตะวันตก 550 เชือก ภาคกลาง 300 เชือก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบ มากที่สุดอยู่ที่ 1450 เชือก แต่ยังไม่พบข้อมูลของ จานวนประชากรช้างเลี้ยงที่ชัดเจนในปีล่าสุดเป็น เพี ยงแค่การประมาณการจากจานวนช้างที่กระจาย ตามส่วนต่างๆของประเทศอยู่ที่ 3700 เชือก


เมื่อนึกถึงช้างทาไมต้องเป็นจังหวัดสุรินทร์? • วัฒนธรรมการเลี้ยงช้างในอดีตนั้นไม่ได้มีเพี ยงแค่ที่จังหวัด สุรินทร์เพี ยงจังหวัดเดียว แต่เป็นวัฒนธรรมที่มก ี าร กระจายตัวไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศไทย แต่ปัจจุบัน วัฒนธรรมการเลี้ยงช้างในพื้ นที่ต่างๆนั้นได้เลือนหายไปจาก ความทรงจาเนื่องจากช้างไม่ได้เป็นสิ่งที่นารายได้สู่ ครอบครัวเมื่อเทียบเท่ากับยุคทองของอุตสาหกรรมป่าไม้ และการท่องเที่ยว • มีเพี ยงแต่ความเชื่อและความผูกพั นของกลุ่มชาติพันธ์ชาว กูยที่ยึดมั่นถือมั่นในการใช้ชีวิตร่วมกันกับช้างมาตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันและยังคงวิถีชีวิต ความเชื่อ ภาษาที่เป็น เอกลักษณ์สืบกันเรื่อยมาและพบมากที่สุดคือในเขตอีสานใต้ เช่น สุรินทร์ บุรีรีมย์และศรีษะเกศ แต่ที่พบว่ามีการเลี้ยง ช้างมากที่สุดคือกลุ่มชาติพันธ์ชาวกูยอาเจียงที่อาศัยอยู่ใน เขตจังหวัดสุรินทร์ตามพื้ นที่อาเภอต่างๆที่ยังคงผูกพั นธ์กับ ช้างเรื่อยมา • แต่ในช่วงยุคทองของการท่องเที่ยวช้างที่อยู่อาศัยใน จังหวัดสุรินทร์ต่างก็กลายเป็นช้างต่างถิ่นที่ต้องออก เดินทางไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศ เพื่ อประกอบ อาชีพหารายได้ในการจุนเจือครอบครัวในรูปแบบของการ ท่องเที่ยว ทาให้วัฒนธรรมบางอย่างในพื้ นที่ชุมชนนั้นต่างก็ ถูกลืมเลือน


จากวิกฤตการณ์การระบาดของไวรัสโคหวิด 19 กับช้างเลี้ยงทัว ่ ประเทศ • ช้างเลี้ยงมีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอย่างยิง ่ เพราะเป็นที่สิ่งแปลกใหม่ของนักท่องเที่ยวก็ต่างให้ความสนใจ แต่เมื่อ เกิดวิกฤตการณ์การระบาดของโรคไวรัส 19 สถานที่ท่องเที่ยวต้อง ถูกปิดตัวลง ทาให้ช้างที่อาศัยอยู่ในต่างถิ่นกลายเป็นช้างตกงาน ขาด อาชีพ ขาดรายได้ในการดูแลครอบครัว บางส่วนได้อพยพกลับไปยัง ถิ่นที่อยู่เดิม บางส่วนยังคงรอคอยความหวังที่จะผ่านฤติการณ์นี้ไป ให้ได้ • ช้างเลี้ยงต่างถิ่นของจังหวัดสุรินทร์ต่างก็ได้รับผลกระทบและได้ อพยพกลับมายังถิน ่ ฐานบ้านเกิดเช่นกันจึงส่งผลให้ปัจจุบันมีช้าง เลี้ยงที่ตกงานราวๆ 80 – 100 เชือก นั้นจึงเป็นโอกาศในการหา แนวทางในการโน้นน้าวให้กลุ่มควาญช้างได้เห็นคุณค่าของการอาศัย อยู่ในถิน ่ ฐานลาเนาเดิมและเป็นการแก้ไขปัญหาช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน เพื่ อหาแนวทางในการช่วยเหลือให้ควาญช้างสามารถดารงชีวิตได้ ด้วยตัวเอง มีที่ดินทากิน มีแหล่งที่พักแหล่งอาหารที่เพี ยงพอต่อการ ดูแลสัตว์ เข้าถึงการดูแลของทีมสัตว์แพทย์ได้อย่าทั่วถึง อีกทั้งยัง ได้ร่วมอนุรักษ์ รักษาวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ที่เป้น เอกลักษณ์ของชุมชนเพื่ อพั ฒนาให้การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงการ เรียนรู้วิธีชุมชน


นโยบาย/แผนพั ฒนา/โครงการ/กลยุทธ์ท่เี กี่ยวข้อง แผนพั ฒนา ระดับโลก

AEC

SDG

GMS

แผนพั ฒ นากลุ่ม จังหวัด

แผนพั ฒนา ระดับกลุ่ม จังหวัด

แผน พั ฒนา ระดับ จังหวัด

ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี

ยุทธศาสตร์ จังหวัด สุรินทร์ 20 ปี

เป้าหมาย

แผนพั ฒนา ระดับประเทศ

นโยบายการ พั ฒนา ระดับประเทศ

แผนพั ฒนา ท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด สุรินทร์

“ตาบลน่าอยู่ พั ฒนาสู่ชุมชนท่องเที่ยว”

ยุทธศาสตร์การ พั ฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 2565) องค์การ บริหารส่วนตาบล กระโพ


เอกลักษณ์และเชื้อชาติ

เอกลักษณ์ทางด้านอาหาร อันซอมสเลิ้กโดง ข้าวแพะ

โบ๊ะตร๊อบตระโยง

อังแกบบอบ ขนมปาด

ปลาร้าบอง เชื้อชาติลาว

เชื้อชาติกูย

เชื้อชาติเขมร

ศาสนา

ศาสนาพุ ทธ คือศาสนา หลักที่ประชาชนในพื้ นที่นับถือ นอกจากนั้นยังมีความเชื่อเรื่อง ของบรรพบุรุษ ศาลปู่ตา ศาล ปะกา ความเชื่อที่หาเหตุผลไม่ได้ เป็นต้น

วัด

ศาลปูต ่ า

ศาลปะกา


ปฏิทินประเพณี

13 มีนาคม วันช้างไทย ตาบลกระโพ

ช่วงเดือนกันยายน ประเพณีแซนโฎนตา อาเภอเมืองสุรินทร์

ช่วงเดือนพฤศจิกายน มหัศจรรย์งานช้างสุรินทร์ อาเภอเมืองสุรินทร์

15 กรกฎาคม ประเพณีตักบาตร บนหลังช้าง อาเภอเมืองสุรินทร์

13 – 14 เมษายน ประเพณีสงกรานต์ ช้าง

14 กุมภาพั นธุ์ ประเพณีแต่งงาน บนหลังช้าง ตาบลกระโพ

16 – 18 พฤษภาคม ประเพณีบวชนาค บนหลังช้าง ตาบลกระโพ

ช่วงเดือนตุลาคม ประเพณีทอดกฐิน บนหลังช้าง ตาบลกระโพ


วังทะลุ

วัดป่าอาเจียง

ELEPHANT WORLD 1 KM


พิ ธีกรรมความเชื่อของกลุ่มชาติพันธ์กูยอาเจียง •

พิ ธีคล้องช้าง พิ ธีจับช้าง

พิ ธีตัดงาช้าง

พิ ธีแยกลูกช้าง

พิ ธีสู่ขวัญช้างเกิดใหม่

พิ ธีฌาปนกิจ

พิ ธีก่อนเดินทางต่างถิ่น

หมอช้างที่ได้รับการยอมรับและนับถือ

กลับจากต่างถิน ่

มีตาแหน่งอยู่ในระดับหมอสดัมขึ้นไป

ศาลประกา ผู้ทาพิ ธีต้องเป็น

เครื่องเซ่นจะประกอบด้วย : เครื่องหมากพลู เหล้าขาว เงินขึ้นครู (ตามกาลัง) ข้าวสวย 1 ถ้วย อาหารคาว – หวาน กล้วย ผลไม้ต่างๆ ข้าวต้มมัด ไก่ต้ม ผ้าขาว ผ้าขาวม้า *หมายเหตุบางพิ ธีกรรมจะมีเครื่องเซ่นที่เพิ่ มเติมตามความเชื่อเช่น

พิ ธีแต่งงาน

พิ ธีแยกลูกช้างจะต้องมีไก่ตม ้ 1 ตัว ไก่เป็น 1 ตัวเพื่ อเชือด

พิ ธีงานบวช

ฝักแฝง พิ ธีแต่งงานจะต้องมีเป็ดต้ม 2 ตัวตามความเชื่อ

พิ ธีเซ่นบนบาน,ขอพร

พิ ธีทาเชือกปะกา

• ความเชื่อเรื่องการสู่ขวัญลูกช้างจะมีการเขียนชื่อใส่ในต้นกล้วยให้ลูกช้างเสี่ยงทายชื่อ ่ นย้ายไปยังต่างถิ่นจะต้องมีการเซ่นปะกาบอกกล่าวตาปะกาเพื่ อให้เดินทางโดยสวัสดิภาพและเมื่อกลับมายังถิ่นที่อยู่เดิมก็จะต้องมีการเซ่นเพื่ อบอกกล่าวเช่นกัน • การเดินทางหรือเคลือ • พิ ธีคล้องช้างจะมีการเสียงทายคางไก่ก่อนออกเดินทาง ถ้าหากหงอนกลางง้อในลักษณะที่ตรงข้ามกับคาง การคล้องช้างจะไม่ประสบความสาเร็จและอาจจะมีหนึ่งในกลุ่มที่เกิดเหตุอาเพศ • การผิดครูปะกาหรือผิดผีปะกา จะต้องมีการเซ่นไหว้ขอขมาหากไม่มก ี ารเซ่น อาจเกิดเหตุอาเพศต่อตัว • การตัดงาช้างใช้หลักการ 1 : 3 ส่วนปลายงา ส่วนกลางและส่วนโคนจะตัดได้เฉพาะส่วนปลายเท่านัน ้ ส่วนอื่นถือว่าเป็นอันตรายต่อช้าง


อุปกรณ์เดินทางสาหรับคล้องช้าง


ผังแสดงลักษณะการอยู่อาศัย

่ ก ตาแหน่งของบ้านทีม ี ารเลี้ยงช้าง เลี้ยงภายในบ้านของตนเอง

เลี้ยงไว้ต่างถิ่นหรือภายในโครงการ

โรงช้าง

บ้านพั ก

รูปแบบของบ้านสมัยอดีตของชาวกูย

บ้านพั ก

สวน หญ้า

โรงช้าง

บ้านตาทิพย์

บ้านหนองบัว

บ้านจินดา

บ้านตากลาง

รูปแบบของสถาปัตยกรรม

โรงช้าง

โรงช้าง

บ้านพั ก

่ ยู่อาศัยของชาวกูยที่ ลักษณะของพื้ นทีอ เลี้ยงช้างคือ ตัวบ้านจะเป็นอาคารยกพื้ น สูง หลังคามีความกว้างกว่าอาคารปกติ คือมีการต่อเพิ่ มเพื่ อเป็นที่อยู่ของช้าง บริเวณรอบบ้านจะถูกจัดให้เป็นสวนเพื่ อ ปลูกอาหารสาหรับช้างเช่น หญ้า อ้อย หรือต้นกล้วย บางครัวเรือจะมีการตั้ง ศาลปะกาไว้ที่หน้าบ้านโดยมีขอ ้ กาหนดใน การตั้งศาลปะกาคือ ห้ามให้เงาของศาล ตกทับเงาของตัวบ้านไม่ว่าจะเป็น ้ ุกๆ ครัว ช่วงเวลาใดก็ตาม นอกจากนีท เรือจะมีการตั้งยุ้งข้าวไว้สาหรับเก็บเมล็ด พั นธุ์ข้าวไว้ทาการเกษตรและบริโภค


สรุปจุดเด่นของพื้ นที่

1 KM


กลุ่มผู้ใช้งานภายในพื้ นที่ ประชานชน คนในพื้ นที่

คนที่เลี้ยงช้าง

ข้าราชการ/พนักงาน

คนในพื้ นที่

คนทั่วไป

ต่างถิ่น

หนาแน่น มากที่สุด นักท่องเที่ยว

ครอบครัว

นักเรียน

กลุ่มทริป

1 KM

ผู้ประกอบการ

ในพื้ นที่

ต่างถิน ่


14 กุมภาพั นธุ์ ประเพณีแต่งงาน บนหลังช้าง ตาบลกระโพ

ช้างที่มาร่วมงาน 70 เชือก ภายในโครงการ 45 เชือก ภายนอกโครงการ 25 เชือก

เดินทางด้วยเท้า 15 เชือก เดินทางด้วยรถบรรทุก 10 คัน (ผู้ติดตามและคนขับ 30 คน)

คู่แต่งงาน 60 คู่ ( 120 คน) ญาติ (ประมาณ 6-8 คน/ฝ่าย)

720 – 960 คน การเดินทางด้วยรถยนต์ (ประมาณ 2 - 3 คัน/ฝ่าย) 240 – 360 คัน

เจ้าหน้าที่ 50 - 60 คน

ภายในพื้ นที่ ประมาณ 25 คน ภายนอก ประมาณ 25 – 35 คน การเดินทางด้วย รถยนต์ 5 – 8 คัน

นักท่องเที่ยวและอื่น ๆ (ประมาณ 50 – 60 คน)

การเดินทางด้วยรถรถยนต์ 6 – 10 คัน

สรุปปริมาณการใช้งานพื้ นที่ชุมชน คิดเป็นผู้ใช้งาน 1,215 คน ความต้องการพื้ นที่จอดรถ 388 คัน

13 – 14 เมษายน ประเพณีสงกรานต์ ช้าง

ช้างที่มาร่วมงาน 70 เชือก ภายในโครงการ 45 เชือก ภายนอกโครงการ 25 เชือก

เดินทางด้วยเท้า เดินทางด้วยรถบรรทุก 10 คัน (ผู้ติดตามลัคนขับ 30 คน)

เจ้าหน้าที่ 50 - 60 คน ภายในพื้ นที่

เดินทางมาด้วยรถยนต์ 20 – 25 คัน

นักท่องเที่ยวและอื่น ๆ (ประมาณ 150 – 240 คน)

การเดินทางด้วยรถรถยนต์ 18 – 30 คัน

สรุปปริมาณการใช้งานพื้ นที่ชุมชน คิดเป็นผู้ใช้งาน 375 คน ความต้องการพื้ นที่จอดรถ 65 คัน


16 – 18 พฤษภาคม ประเพณีบวชนาค บนหลังช้าง ตาบลกระโพ

ช้างที่มาร่วมงาน 100 เชือก ภายในโครงการ 75 เชือก ภายนอกโครงการ 25 เชือก

เดินทางด้วยเท้า 10 เชือก เดินทางด้วยรถบรรทุก 15 คัน (ผู้ติดตามและคนขับ 45 คน)

นาค 100 องค์ ญาติ (ประมาณ 8 - 12 คน/ฝ่าย)

800 – 1200 คน การเดินทางด้วยรถยนต์ (ประมาณ 4 - 5 คัน/องค์นาค) 400 - 500 คัน

รถแห่นาค 15 – 22 คัน ร้านค้าแผงลอย แผงเกมส์ 15 – 30 คัน

คณะนักดนตรี 8 – 10 คน คนขับรถและผู้ติดตาม 45 – 66 คน 15 -30 ร้าน (ประมาณทีมงานโดยเฉลี่ย 3 – 5 คน/ร้าน) 45 – 150 คน

นักท่องเที่ยวและอื่น ๆ (ประมาณ 50 – 60 คน)

การเดินทางด้วยรถรถยนต์ 6 – 10 คัน

สรุปปริมาณการใช้งานพื้ นที่ชุมชน คิดเป็นผู้ใช้งาน 1,702 คน ความต้องการพื้ นที่จอดรถ 627 คัน


S.W.O.T. ANALYSIS

Strength ด้านกายภาพ

- มีพ้ื นที่กิจกรรมสาหรับคนในชุมชนหลาย พื้ นที่ - ภูมิศาสตร์ของพื้ นที่อยู่ติดแหล่งน้าสาคัญ 2 สายคือแม่น้าชีและแม่น้ามูล - มีพื้นที่ป่าสาหรับเป็นแหล่งเรียนรูท ้ ี่อุดม สมบูรณ์ในระดับหนึ่ง

ด้านเศรษฐกิจ

- มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ข้น ึ ชื่อของจังหวัดและ จังหวัดใกล้เคียง - มีรีสอร์ทและโฮมสเตย์สาหรับนักท่องเที่ยว หลายแห่ง อีกทั้งยังได้รับการรับรองและ ผ่านการประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์ - มีร้านอาหาร ร้านค้า ร้านขายของฝากและจุด บริการเติมน้ามันสาหรับบริการนักท่องเที่ยว

ด้านสังคม

1 KM

- ชุมชนมีความร่วมมือในการผลัดกันชุมชนให้ กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดี - มีวัดถึง 4 แหล่งที่เป็นศูนย์รวมกิจกรรม และคนในชุมชนให้มีส่วนร่วม - มีความหลายหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งชาว ไทย ไทยลาว ไทยเขมร ไทยกูยและอื่น ๆ


S.W.O.T. ANALYSIS

Weaknesses ด้านกายภาพ

- ไม่มีมาตรการการควบคุมอาคาร ่ งการระบายน้ามี - ระบบสาธารณูปการในเรือ ปัญหา - เส้นทางการสัญจรบางแห่งทรุดโทรมและไม่ มีความปลอดภัยในการใช้งาน - บางพื้ นที่มีความเป็นอยู่ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ - เกิดน้าท่วมขังในหลายๆจุดของชุมชนและ อุทกภัยบริเวณแม่น้า

ด้านเศรษฐกิจ

- ไม่มีการกระตุ้นเศรษฐกิจ ่ การท่องเที่ยวประสบกับปัญหาส่งผลให้ - เมือ รายได้บางส่วนขาดหายไป - รายได้ในชุมชนไม่มั่นคงส่งผลให้เกิดการนา ช้างออกไปทามาหากินยังต่างถิ่น

ด้านสังคมและวัฒนธรรม

1 KM

- ในชุมชนอยู่ในสังคมของสตรีและผู้สูงอายุ - วัยรุ่นในพื้ นที่ขาดความสามัคคีกัน - เกิดแหล่งมั่วซุมตามริมถนนในหลายพื้ นที่ - เกิดการหาผลประโยชน์ให้กับส่วนตนมากกว่า สวนรวม


S.W.O.T. ANALYSIS Opportunities ด้านกายภาพ

ส่งเสริมพื้ นที่ชุมชนให้เหมาะแกการใช้งานกับ คนในชุมชนทุกเพศทุกวัย ส่งเสริมกิจกรรมบริเวณริมแม่น้าและพร้อม รับมือกับปัญหาอุทกภัย ส่งเสริมป่าให้คนในชุมชนตระหนักถึงคุณค่า และอนุรักษ์ รักษาไว้

ด้านเศรษฐกิจ

ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชนให้ เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ส่งเสริมสินค้าและผลิตภัณฑ์ของชุมชน ให้เป็น สินค้าส่งออก ส่งตรงจากใจเกษตรกร กระตุ้นเศรษฐกิจภายในชุมชนให้คนในพื้ นที่อยู่ ได้ ลดการทางานต่างถิ่น

ด้านสังคม

ประชาชนมีความสนใจและให้ความร่วมมือใน การผลักดันชุมชน สถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ ขึ้นชื่อของจังหวัด วัฒนธรรมดั้งเดิมวิถีชีวิตของคนกับช้างที่ไม่มี ที่ไหนเหมือน 1 KM


S.W.O.T. ANALYSIS Threats ด้านกายภาพ

- กรรมสิทธิ์ของเจ้าของพื้ นที่ - ความปลอดภัยและระดับความรุนแรงของ สภาพอากาศที่ก่อให้เกิดอุทกภัย - ความไม่เข้าใจของคนที่อาศัยหาของป่าขาย

ด้านเศรษฐกิจ

- การผ่านมาตรฐานและการรักษามาตรฐาน ของโฮมสเตย์ - ผลิตภัณฑ์บางประเภทอาจไม่ผ่านการ พิ จารณาในการจาหน่าย - มุมมองของคนในพื้ นที่ต่อจิตสานึกรักบ้าน เกิด

ด้านสังคม

- เครือข่ายกลุ่มสตรีและผู้สูงอายุทข ี่ าดผู้นาใน การปกป้องดูแล - การเลื่อนลางของความทรงจาที่มีต่อ วัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่

1 KM


Weaknesses Strength

ด้านกายภาพ - มีพื้นที่กิจกรรมสาหรับคนในชุมชนหลายพื้ นที่ - ภูมิศาสตร์ของพื้ นที่อยู่ติดแหล่งน้าสาคัญ 2 สายคือแม่น้าชี และแม่น้ามูล - มีพื้นที่ปา่ สาหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ที่อุดมสมบูรณ์ในระดับหนึ่ง ด้านเศรษฐกิจ - มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อของจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง - มีรีสอร์ทและโฮมสเตย์สาหรับนักท่องเที่ยวหลายแห่ง อีกทั้ง ยังได้รับการรับรองและผ่านการประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์ - มีร้านอาหาร ร้านค้า ร้านขายของฝากและจุดบริการเติมน้ามัน สาหรับบริการนักท่องเที่ยว ด้านสังคม - ชุมชนมีความร่วมมือในการผลัดกันชุมชนให้กลายเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่ดี - มีวัดถึง 4 แหล่งที่เป็นศูนย์รวมกิจกรรมและคนในชุมชนให้มี ส่วนร่วม - มีความหลายหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งชาวไทย ไทยลาว ไทยเขมร ไทยกูยและอื่น ๆ

Threats ด้านกายภาพ - กรรมสิทธิข ์ องเจ้าของพื้ นที่ - ความปลอดภัยและระดับความรุนแรงของสภาพอากาศที่ก่อให้เกิด อุทกภัย - ความไม่เข้าใจของคนที่อาศัยหาของป่าขาย ด้านเศรษฐกิจ - การผ่านมาตรฐานและการรักษามาตรฐานของโฮมสเตย์ - ผลิตภัณฑ์บางประเภทอาจไม่ผ่านการพิ จารณาในการจาหน่าย - มุมมองของคนในพื้ นที่ต่อจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้านสังคม - เครือข่ายกลุ่มสตรีและผู้สูงอายุที่ขาดผู้นาในการปกป้องดูแล - การเลื่อนลางของความทรงจาที่มีต่อวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่

STRENGTH

WEAKNESS

S W T O

THREATS

OPPORTUNITY

ด้านกายภาพ - ไม่มีมาตรการการควบคุมอาคาร - ระบบสาธารณูปการในเรื่องการระบายน้ามีปัญหา - เส้นทางการสัญจรบางแห่งทรุดโทรมและไม่มีความปลอดภัย ในการใช้งาน - บางพื้ นที่มีความเป็นอยู่ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ - เกิดน้าท่วมขังในหลายๆจุดของชุมชนและอุทกภัยบริเวณ แม่น้า ด้านเศรษฐกิจ - ไม่มีการกระตุ้นเศรษฐกิจ - เมื่อการท่องเที่ยวประสบกับปัญหาส่งผลให้รายได้บางส่วน ขาดหายไป - รายได้ในชุมชนไม่มั่นคงส่งผลให้เกิดการนาช้างออกไปทามา หากินยังต่างถิน ่ ด้านสังคมและวัฒนธรรม - ในชุมชนอยู่ในสังคมของสตรีและผู้สูงอายุ - วัยรุ่นในพื้ นที่ขาดความสามัคคีกัน - เกิดแหล่งมั่วซุมตามริมถนนในหลายพื้ นที่ - เกิดการหาผลประโยชน์ให้กับส่วนตนมากกว่าสวนรวม

Opportunities

ด้านกายภาพ ส่งเสริมพื้ นที่ชุมชนให้เหมาะแกการใช้งานกับคนในชุมชนทุกเพศ ทุกวัย ส่งเสริมกิจกรรมบริเวณริมแม่น้าและพร้อมรับมือกับปัญหา อุทกภัย ส่งเสริมป่าให้คนในชุมชนตระหนักถึงคุณค่าและอนุรักษ์ รักษาไว้ ด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชนให้เป็นที่รู้จักมาก ยิ่งขึ้น ส่งเสริมสินค้าและผลิตภัณฑ์ของชุมชน ให้เป็นสินค้าส่งออก ส่ง ตรงจากใจเกษตรกร กระตุ้นเศรษฐกิจภายในชุมชนให้คนในพื้ นที่อยู่ได้ ลดการทางาน ต่างถิ่น ด้านสังคม ประชาชนมีความสนใจและให้ความร่วมมือในการผลักดันชุมชน สถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ ขึ้นชื่อของจังหวัด วัฒนธรรมดั้งเดิมวิถีชีวิตของคนกับช้างที่ไม่มีที่ไหนเหมือน


ปัญหา

สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม กับชุมชนการท่องเที่ยว

การขาดจิตสานึกในการ อนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อม

สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม กับชุมชนการท่องเที่ยว

สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม กับชุมชนการท่องเที่ยว

ความเลื่อมล้าพื้ นที่สาธารณะ ของชุมชน

ความไม่ปลอดภัยของการใช้ ถนน


ความเป็นมาและความสาคัญ ่ ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลกทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึง ความเป็นอยู่ของผู้คน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ สิง ่ เหล่านี้ส่งผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนคือ “การเปลี่ยนแปลง ทางด้านวัฒนธรรม” ที่สังคมในปัจจุบันเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติมากยิ่งขึ้นและไม่ได้ตระหนักถึงคุณค่าของวัฒนธรรมเก่าแก่ ดั้งเดิมหรือไม่ทราบถึงความเป็นจริงของเหตุผลในวัฒนธรรมเหล่านั้น เช่น วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูยอาเจียง ชน กลุ่มน้อยที่อพยพมาอาศัยอยู่ในประเทศไทยและยังมีความชานาญในด้านการจับช้าง ฝึกช้าง ซึ่งได้มีการจับช้างถวาย พระมหากษัตริย์หลายประองค์ด้วยกัน แต่ปัจจุบันกลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้ท่ย ี ังคงใช้ชีวิตเกี่ยวข้องกับช้างให้เห็นหลงเหลืออยู่ เพี ยงในพื้ นที่ของตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันจากสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปและกลุ่มนัก อนุรักษ์ที่ออกมาเรียกร้อง ส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูยอาเจียงเป็นอย่างมาก คติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมบางอย่างแทบถูกลบเลื่อนหายไป

ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1.

เพื่ ออนุรักษ์เอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนให้เป็นที่รู้จักและสร้างเอกลักษณ์ให้กับชุมชน

2. เพื่ อพั ฒนาชุมชนให้สามารถเข้าถึงระบบสาธารณูปโภค ได้อย่างเท่าเทียมและมีประสิทธิภาพ 3. เพื่ อส่งเสริมรายได้ สร้างโอกาสให้กับชุมชนได้มีรายได้ มีส่วนร่วมกับการจัดการการท่องเที่ยว 4. เพื่ อส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวของจังหวัดให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว เพื่ อการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์และวัฒนธรรม


เป้าหมายของการศึกษาและผลที่คาดว่าจะได้รบ ั ่ ัจจุบันนั้นนับว่าเริ่มเลื่อนลางหายไปจากความทรงจา ทั้ง 1. เพื่ ออนุรักษ์และฟื้ นฟู วัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูย ทีป รูปแบบสถาปัตยกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การแต่งกาย เป็นต้น 2. เพื่ อพั ฒนาชุมชนให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการใช้ชีวิต เข้าถึงระบบสาธารณูปการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กาจัดปัญหา ทางมลพิ ษทางสภาพแวดล้อม มีสุขอนามัยเพิ่ มมากยิ่งขึ้นในการดารงชีวิต 3. เพื่ อสร้างรายได้และความร่วมมือของการท่องเที่ยวกับชุมชน ในการจัดรูปแบบและการมีส่วนร่วมในการท่องเที่ยววิถีชีวิต ชุมชน ให้คนในพื้ นที่มีส่วนในการพั ฒนาไปพร้อมกัน 4. เพื่ อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดสู่การท่องเที่ยวแบบเรียนรู้ภูมิปัญญาและวิถีชีวิต ยกระดับการท่องเที่ยวของจังหวัด ให้โดดเด่นมากยิ่งขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ “ชุมชนวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูยอาเจียง ่ ส การท่องเที่ยววิถช ี ว ี ิตถิ่นอารยธรรม นาคุณภาพชีวิตทีด ี ู่ประชาชน”


แนวคิด/งานวิจัยเกี่ยวกับโครงการ แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมชุมชน

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

• วัฒนธรรมชุมชน หรือ วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรม พื้ นบ้านเป็นคาที่มีความหมายบ่งบอกถึงความเจริญงอก งามในแต่ละชุมชน ซึ่งส่งผลให้แก่ชุมชนมีความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละท้องถิ่นและลักษณะของ วัฒนธรรมท้องถิ่นเหล่านี้ก็มีส่วนเกี่ยวพั นเป็นส่วนหนึ่ง ของวัฒนธรรมชุมชน

• เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวได้รับแรงดลใจ หรือสิง ่ กระตุ้นให้เดินทางไปยังจุดหมายปลายทางเพื่ อ สังเกต เรียนรู้ มีประสบการณ์ร่วมและตระหนักถึงคุณค่า วัฒนธรรมของชุมชนในจุดหมายปลายทาง

แนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม • การอนุรักษ์ หมายถึง การรรักษาไว้ให้นานที่สุดและสามารถ นามาใช้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด • วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม นับตั้งแต่วิธีกิน วิธีอยู่ วิธีแต่งกาย วิธีทางาน วิธีพักผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธี จราจรและขนส่ง วิธีอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ วิธีแสดง ความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์การดาเนินชีวิต (สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติกระทรวงวัฒนธรรม./2008./ความหมาย วัฒนธรรม./16/08/2563./http://www.openbase.in.th/node/5954)

• การอนุรักษ์วัฒนธรรม หมายถึง การรรักษาวิถีการดาเนิน ชีวิตของคนในสังคม ชุมชน

(นุชนารถ./2563./กลยุทธ์การพั ฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์:2)

การท่องเที่ยวสร้างสรรค์ • เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวหรือ ผู้มา เยือนได้พัฒนาหรือได้ใช้ศักยภาพหรือความสามารถ ด้านแนวคิดสร้างสรรค์ของนักท่องเที่ยวเอง โดยการเข้า ไปมีส่วนร่วมอย่าง มุ่งมั่นตั้งใจในวิถีทางและประสบการณ์ เรียนรู้ ซึ่งเป็นสิง ่ ที่ทากันอยู่เป็นประจาของผู้คนในแหล่ง ท่องเที่ยวนั้น ๆ โดยที่ นักท่องเที่ยวอาสาเข้าไปทาหรือเข้า ไปมีส่วนร่วมด้วย (ธนะรัตน์ ทับทิมไทย./การท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์./16/08/2563./http://suphanburicampus.dusit.ac.th/report/230757.pdf)


งานวิจัย/กรณีศึกษา

ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทลื้อเมืองมาง เมืองหย่วน จังหวัดพะเยา ้ กลุ่มชาติพันธุ์ตระกูลไทที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมตั้งอยู่ใน ชุมชนเอกลักษณ์ วัฒนธรรมไทลือ เขตสิบสองปันนาทางตอนใต้ของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน และถูกกวาดต้อนเข้ามาใน ดินแดนภาคเหนือของไทยในยุค "เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” ยุคหนึ่งของอาณาจักร ล้านนา อาเภอเชียงคาในปัจจุบัน ซึ่งชาวไทลื้อมีหลายกลุ่ม ทั้งลื้อเมืองหย่วน ลื้อเมือง มาง ลื้อเมืองพง ลื้อเมืองบาน แต่ละกลุ่มเข้ามาด้วยเหตุและปัจจัยที่ต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น การถูกกวาดต้อนเทครัว การค้าขายและการเสาะแสวงหาที่ทากิน และหลบหลีกภัย สงคราม ดังนั้นจึงทาให้ชาวไทลื้อในเชียงคามีวัฒนธรรมที่หลากหลาย อ้างอิง:ดร. พระครูสมุห์หาญ ปัญญาธโรเจ้าอาวาสวัดป่าอาจียง./หมู่บ้านตากลาง./06/08/2563

ชุมชนที่มีเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมที่โดดเด่น ด้านการแต่งกาย :

้ จะโพกผ้าสีขาวเป็นเอกลักษณ์ ผู้หญิงจะสวมเสื้อแขนยาวที่เรียกว่า “เสื้อปั๊ด” และนุ่งซิ่น หญิงไทยลือ สวมเสื้อปั้ด เป็นเสื้อรัดรูปสีดาคราม เอวลอย แขนยาวตรงสาบหน้าตกแต่งด้วยผ้าแถบสีเฉียงมาผูกติดกันตรงมุมซ้ายทางลาตัว ติดกระดุม เงินนุ่งซิน ่ ลายขวาง ผู้ชายชาวไทยลื้อ คือนุ่งกางเกงผ้าฝ้าย สีน้าเงินเข้ม อ้างอิง:ดร. Mrs.smith./การแต่งกายแบบไทลื้อ./16/08/2563./https://sites.google.com/site/withichiwitchawthilux/contactme

ด้านอาหาร :

่ เป็นพื ชล้มลุกมีลาต้นเป็นเถาเป็น - “แอ่งแถะ” เป็นอาหารของชาวไทลื้อ ทามาจากใบพื ชชนิดหนึง เครือ หัวอยู่ใต้ดิน ใบมีรูปร่างคล้ายใบโพธิ์ ใต้ใบมีขนอ่อนๆ จะเจริญเติบโตในฤดูฝน ถึงต้นฤดูหนาว - น้าปู หรือน้าปู๋ เป็นภูมิปัญญาท้องถิน ่ เป็นการถนอมอาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ทามาจากปูนา มี ลักษณะเป็นครีมข้น ๆ เหนียวๆ สีดาคล้า - น้าผัก เป็นอาหารของชาวไทลื้อ ทามาจากดอกผักกาดจ้อน ตัดในขณะที่ต้นผักกาดออกดอก และกาลังบาน จะได้ดอกผักกาดที่ดี แล้วนาไปบดให้ละเอียดนามาหมักทัง ้ กากผสมน้า เกลือ ้ - ขนมปาด มีลักษณะคล้ายกับขนมเปียกปูน แต่สีนาตาล รสหวานมัน มีกลิ่นหอม ชาวไทลื้อนนิยม รับประทานกับข้าวแคบ ขนมปาดทาจากแป้งข้าวเหนียวนามากวนกับน้าตาลผสมน้าอ้อย และกะทิ อ้างอิง: อาหารของชาวไทลื้อ./16/10/2013./https://chiangkhamdistrict.wordpress.com


วิสัยทัศน์ของโครงการ “ อนุรักษ์มนต์เสน่ห์วัฒนธรรมชาวกูยอาเจียง เพื่ อพั ฒนาและส่งเสริมการท่อเที่ยววิถีชุมชน นาคุณภาพชีวิตที่ดีสู่ประชาชน ”


CONCEPTUAL DIAGRAM CONCEPT

Activity yard •

water chord

Activity center

Cultural preservation

Shelter area • water chord • vegetable garden •

Forest park

Homestay community •

public utility • Road network

ELEPHANT KINGDOM •

Road network

Shelter area

festivity Culture

public utility • Visitor Center

community

ELEPHANT WORLD Cultural tourism

Ritual courtyard

Riverside communities

culture

Creative tourism

Road network

The local business

community

public utility • Visitor Center Road network

• •

Commercial district


CONCEPTUAL DESIGN

วังทะลุ ศูนย์กลางกิจกรรม

CONCEPTUAL DESIGN ชุมชนวิถีชีวิตชุมชน – บ้านตากลาง ชุมชนโฮมสเตย์ - บ้านหนองบัว การอนุรักษ์รูปแบบของวิถช ี ีวิตและ วัฒนธรรมของชุมชน แต่มีการพั ฒนา ระบบสาธารณูปโภคภายในชุมชนให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ชุมชนโฮมสเตย์ บ้านหนองบัว

ชุมชนตาทิพย์ริมมูล บ้านตาทิพย์

ชุมชนวิถีชีวิตชุมชน บ้านตากลาง

ชุมชนตาทิพย์ริมมูล

การพั ฒนาพื้ นที่ริมน้าเพื่ อสร้าง กิจกรรม เพิ่ มพื้ นที่สีเขียวและเชื่อมต่อ กิจกรรมทางนา้ ผ่านเรื่องราวของการ เลี้ยงช้างในอดีต

วังทะลุ ศูนย์กลางกิจกรรม

ELEPHANT WORLD

ELEPHANT KINGDOM

จินดาชุมชนธุรกิจ พื้ นถิ่นวิถีกูย บ้านจินดา

การออกแบบและพั ฒนาพื้ นที่ให้ กลายเป็นพื้ นที่ศูนย์กลางของกิจกรรม ประเพณี เพิ่ มพื้ นที่สีเขียว สร้างความ ปลอดภัยต่อการใช้งาน เชื่อมต่อ กิจกรรมทางนา้

จินดาชุมชนธุรกิจพื้ นถิน ่ วิถีกูย การพั ฒนาพื้ นที่เพื่ อเป็นศูนย์กลาง การค้าของชุมชนและทางผ่านของ วัฒนธรรมประเพณี และทางเช้า โครงการELEPHANT KINGDOM


MASTER PLAN

1. โครงการออกแบบและปรับปรุงโครงข่าย ถนนและระบบสาธารณูปโภค

3

เพื่ อสร้างเอกลักษณ์ของพื้ นที่ด้วยการ ออกแบบทางเดินสาหรับช้าง และเพื่ อให้คนในชุมชนได้ เข้าถึงระบบสาธารณูปโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะแบ่ง ออกเป็น 2 ช่วงด้วยกันคือ - ช่วงทางผ่านที่เชื่อมต่อระหว่างวังทะลุไปสู่ ชุมชนบ้านตากลาง สู่ตาบลกระโพ - ช่วงทางเชื่อมต่อภายในชุมชนโยจะเชื่อม ความสัมพั นธ์ของวิถีชีวิตระหว่างชุมชนไป ด้วยกัน

1

4 5

2. โครงการเดินตามรอยช้าง ตามรอย วัฒนธรรม

2

เป็นการออกแบบจุดบริการนักท่องเที่ยวที่บอก เล่าผ่านเรื่องราววิถีชีวิตของชุมชน สร้างเอกลักษณ์และ จุดหมายตาต่อนักเดินทางในการสร้างภาพจาให้กับชุมชน ประกอบได้ด้วยที่ตั้งของโครงการ 3 จุดด้วยกัน จุดแรกบริเวณชุมชนบ้านจินดา ผ่านเรื่องราวของ “เกย” อุปกรณ์ที่มีไว้สาหรับขึ้นช้างในการนาพาทุกท่าน สู่จุดหมายถัดไป จุดบริเวณลานอเนกประสงค์ศูนย์คชศึกษา ผ่าน เรื่องราวของ “จโรง” หรือผเนียดแหล่งที่อยู่ของช้าง จุดบริเวณอาคารอเนกประสงค์ของชุมชน ผ่าน เรื่องราวของ “ ยุ้ง” แหล่งอาหารและวิธีการในการ ขนส่งข้าว เส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ เส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่


MASTER PLAN

3. โครงการวังน้าวังทะลุสู่ศูนย์กลางพิ ธีกรรม

3

การออกแบบปรับปรุงพื้ นที่วังทะลุเพื่ อกลายเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวและสถานที่พักของผู้คน โดยในพื้ นที่เดิมเป็นสถานที่ที่ใช้จัด กิจกรรมประเพณีสาคัญชองชุมชนและเป็นสถานที่ที่ใช้แสดงชม บรรยากาศการเล่นน้าของช้างแต่ปัจจุบันได้มีบางส่วนกลายเป็นแหล่ง ที่พักของช้างตกงานจานามาสู่แนวทางในการออกแบบพื้ นที่ที่ถู แบ่งเป็น 3 โครงการย่อยคือ โครงการ Elephants River Park ส่วนแสดงช้างเล่นน้า โครงการ Elephants Fastival land ส่วนของลานพิ ธีสาหรับ กิจกรรมประเพณีและรองรับการแสดงช้าง โครงการ Elephants land ส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้าง เร่ร่อน ช้างตกงาน ที่พักสาหรับช้าง แหล่งอาหารและจุดบริการ นักท่องเที่ยว

1

4 5

4. โครงการตาทิพย์ริมมูลสู่การหวนคืนวัฒนธรรม

2

เพื่ อเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ ชาวกูยที่ได้อพยพและตั้งถิน ่ ฐานเลี้ยงช้างบริเวณริมฝั่งแม่น้ามูลมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 โครงการย่อยคือ โครงการ Elephants Park ส่วนที่อยู่อาศัยและที่พักพิ งของ ช้างและจุดกิจกรรมของนักท่องเที่ยว โครงการ Forest Park For Elephant ส่วนสาหรับปลูกพื ชที่ เป็นอาหารของช้างเพื่ อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแหล่งอาหาร ให้กับกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน อีกทั้งยังเป็นแหล่ง เรียนรู้เกี่ยวกับนิเวศแหล่งอาหารของสัตว์ โครงการ Elephants garden สวนผักชุมชนที่จัดสรรพื้ นที่ให้ คนในชุมชนได้ทากิจกรรมปลูกผักไว้จาหน่ายและบริโภค อีกทั้ง ยังเป็นแหล่งเรียนรู้การทาการเกษตรและการทาปุย ๋ จากมูลช้าง

เส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ เส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่


MASTER PLAN

5. โครงตามรอยเก่าเล่าอดีต

3

1

4 5

2

เป็นการออแบบพื้ นที่วัดป่าที่เป็นสถานที่อนุบาล ช้างเด็ก พั กพิ งช้างชราและสุสานของช้างที่เสียชีวิต อีกทั้ง ยังเป็นการบอกเล่าถึงความสาคัญของช้างต่อประเทศและ ต่อชุมชนด้วยพิ พิธภัณฑ์การเรียนรูท ้ ี่มาฐานกิจกรรมต่างๆ ให้ได้ร่วมกิจกรรมแบ่งออกเป็น 3 โครงการด้วยกันคือ Kui A Jiang History เริ่มต้นโครงการด้วยอาคาร บ้านพื้ นถิ่นที่จัดแสดงวิถีชีวิตการอยู่อาศัยของคนกับ ช้างและฐานการเรียนรู้การท่อผ้าและการย้อมผ้า ฐาน การเรียนรู้การทากระดาษจากมูลช้าง ต่อมาเข้าสู่ พิ พิธภัณฑ์ที่บอกเล่าความสาคัญของช้าง เครื่องไม้ เครื่องมือที่ใช้ในการเลี้ยงช้างและการโพนช้าง หอ เกียรติประวัติของหมอช้างที่บอกเล่าถึงการจาแนก ลาดับขั้นของหมอช้าง โรงภาพยนตร์ที่ฉายวิดีทัศน์ เกี่ยวกับช้างในการให้ความรู้ Baby Elephant center ศูนย์อนุบาลและดูแลลูกช้าง แรกเกิด Old Elephant center ศูนย์พักพิ งและดูแลช้างชรา

เส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ เส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่




MASTER PLAN

1. โครงการออกแบบและปรับปรุงโครงข่าย ถนนและระบบสาธารณูปโภค

เพื่ อสร้างเอกลักษณ์ของพื้ นที่ด้วยการ ออกแบบทางเดินสาหรับช้าง และเพื่ อให้คนในชุมชนได้ เข้าถึงระบบสาธารณูปโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะแบ่ง ออกเป็น 2 ช่วงด้วยกันคือ - ช่วงทางผ่านที่เชื่อมต่อระหว่างวังทะลุไปสู่ ชุมชนบ้านตากลาง สู่ตาบลกระโพ - ช่วงทางเชื่อมต่อภายในชุมชนโยจะเชื่อม ความสัมพั นธ์ของวิถีชีวิตระหว่างชุมชนไป ด้วยกัน

2. โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม

2

เป็นการออกแบบจุดบริการนักท่องเที่ยวที่บอก เล่าผ่านเรื่องราววิถีชีวิตของชุมชน สร้างเอกลักษณ์และ จุดหมายตาต่อนักเดินทางในการสร้างภาพจาให้กับชุมชน ประกอบได้ด้วยที่ตั้งของโครงการ 3 จุดด้วยกัน จุดแรกบริเวณชุมชนบ้านจินดา ผ่านเรื่องราวของ “เกย” อุปกรณ์ที่มีไว้สาหรับขึ้นช้างในการนาพาทุกท่าน สู่จุดหมายถัดไป จุดบริเวณลานอเนกประสงค์ศูนย์คชศึกษา ผ่าน เรื่องราวของ “จโรง” หรือผเนียดแหล่งที่อยู่ของช้าง จุดบริเวณอาคารอเนกประสงค์ของชุมชน ผ่าน เรื่องราวของ “ ยุ้ง” แหล่งอาหารและวิธีการในการ ขนส่งข้าว โครงข่ายการพั ฒนาเส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ โครงข่ายการพั ฒนาเส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่



7.00

2.50

ELEPHANT WALKWAY โครงการออกแบบและปรับปรุงโครงข่ายถนนและระบบสาธารณูปโภค



7.00

2.50


MASTER PLAN

2. โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม เป็นการออกแบบจุดบริการนักท่องเที่ยวที่บอก เล่าผ่านเรื่องราววิถีชีวิตของชุมชน สร้างเอกลักษณ์และ จุดหมายตาต่อนักเดินทางในการสร้างภาพจาให้กับชุมชน ประกอบได้ด้วยที่ตั้งของโครงการ 3 จุดด้วยกัน จุดแรกบริเวณชุมชนบ้านจินดา ผ่านเรื่องราวของ “เกย” อุปกรณ์ที่มีไว้สาหรับขึ้นช้างในการนาพาทุกท่าน สู่จุดหมายถัดไป จุดบริเวณลานอเนกประสงค์ศูนย์คชศึกษา ผ่าน เรื่องราวของ “จโรง” หรือผเนียดแหล่งที่อยู่ของช้าง จุดบริเวณอาคารอเนกประสงค์ของชุมชน ผ่าน เรื่องราวของ “ ยุ้ง” แหล่งอาหารและวิธีการในการ ขนส่งข้าว

2

โครงข่ายการพั ฒนาเส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ โครงข่ายการพั ฒนาเส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เกย”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เกย”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เกย”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เกย”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เผนียด”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เผนียด”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “เผนียด”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “ยุ้ง”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “ยุ้ง”


ELEPHANT WALKING FRAME TRACE THE CULTURE โครงเดินตามรอยช้าง ตามรอยวัฒนธรรม “ยุ้ง”


WANG NAM WANG TALU TO THE CENTER OF FAIR โครงการวังน้าวังทะลุสู่ศูนย์กลางพิ ธีกรรม


MASTER PLAN

3

3. โครงการวังน้าวังทะลุสู่ศูนย์กลางพิ ธีกรรม การออกแบบปรับปรุงพื้ นที่วังทะลุเพื่ อกลายเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวและสถานที่พักของผู้คน โดยในพื้ นที่เดิมเป็นสถานที่ที่ใช้จัด กิจกรรมประเพณีสาคัญชองชุมชนและเป็นสถานที่ทใี่ ช้แสดงชม บรรยากาศการเล่นน้าของช้างแต่ปัจจุบันได้มีบางส่วนกลายเป็นแหล่งที่ พั กของช้างตกงานจานามาสู่แนวทางในการออกแบบพื้ นที่ที่ถูแบ่งเป็น 3 โครงการย่อยคือ โครงการ Elephants River Park ส่วนแสดงช้างเล่นนา้ โครงการ Elephants Fastival land ส่วนของลานพิ ธีสาหรับ กิจกรรมประเพณีและรองรับการแสดงช้าง โครงการ Elephants land ส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้าง เร่ร่อน ช้างตกงาน ที่พักสาหรับช้าง แหล่งอาหารและจุดบริการ นักท่องเที่ยว

เส้นทางการเข้าถึงพื้ นที่ เส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้ นที่


Zone C

ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่รอ ่ น ช้างตกงาน

Zone B

ELEPHANTS RIVER PARK โครงการส่วนแสดงช้างเล่นน้า

Zone A

ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง

Zone C

ELEPHANTS LAND I โครงการส่วนพั กพิ งช้างตกงานและจุดบริการนักท่องเที่ยว


ศาลาพิ ธีกรรม ลานพิ ธีกรรม ลานแสดงช้างเล่นน้า

ลานแสดง

Zone B

ELEPHANTS RIVER PARK โครงการส่วนแสดงช้างเล่นน้า

Zone A

ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง

อาคารชมการแสดง


ZONE A ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง


ประเพณีที่จัดขึ้นในเขตพื้ นที่วังทะลุ

วังทะลุ

วัดป่าอาเจียง

ELEPHANT WORLD 1 KM


16 – 18 พฤษภาคม ประเพณีบวชนาค บนหลังช้าง ตาบลกระโพ

ช้างที่มาร่วมงาน 100 เชือก ภายในโครงการ 75 เชือก ภายนอกโครงการ 25 เชือก

เดินทางด้วยเท้า 10 เชือก เดินทางด้วยรถบรรทุก 15 คัน (ผู้ติดตามและคนขับ 45 คน)

นาค 100 องค์ ญาติ (ประมาณ 8 - 12 คน/ฝ่าย)

800 – 1200 คน การเดินทางด้วยรถยนต์ (ประมาณ 4 - 5 คัน/องค์นาค) 400 - 500 คัน

รถแห่นาค 15 – 22 คัน ร้านค้าแผงลอย แผงเกมส์ 15 – 30 คัน

คณะนักดนตรี 8 – 10 คน คนขับรถและผู้ติดตาม 45 – 66 คน 15 -30 ร้าน (ประมาณทีมงานโดยเฉลี่ย 3 – 5 คน/ร้าน) 45 – 150 คน

นักท่องเที่ยวและอื่น ๆ (ประมาณ 50 – 60 คน)

การเดินทางด้วยรถรถยนต์ 6 – 10 คัน

สรุปปริมาณการใช้งานพื้ นที่ชุมชน คิดเป็นผู้ใช้งาน 1,702 คน ความต้องการพื้ นที่จอดรถ 627 คัน


ZONE A ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง : ส่วนลานประกอบพิ ธี ศาลปะกา


ZONE A ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง : ส่วนลานแสดงช้าง


ZONE A ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง : ส่วนอาคารรองรับนักท่องเที่ยว


ZONE A ELEPHANTS FESTIVAL LAND โครงการศูนย์กลางกิจกรรมและประเพณีวิถีชีวิตช้าง : ส่วนพื้ นที่พักผ่อนช้างแสดง


ZONE B ELEPHANTS RIVER PARK โครงการส่วนแสดงช้างเล่นน้า


จุดชมวิว

จุดบริการนักท่องเที่ยว และชมวิถีชีวิตช้าง

Zone C

ELEPHANTS LAND I โครงการส่วนพั กพิ งช้างตกงานและจุดบริการนักท่องเที่ยว

ร้านอาหาร ริมน้า


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดพั กรถและศาลาริมน้า


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดพั กรถและศาลาริมน้า


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : ร้านอาหารครัวริมน้า


ZONE C ELEPHANTS LAND I โครงการจุดบริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหารริมน้า : ร้านอาหารครัวริมน้า


ส่วนพั กพิ งช้างตกงาน ช้างเร่ร่อนและช้างแสดง

Zone C

ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่รอ ่ น ช้างตกงาน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


จากวิกฤตการณ์การระบาดของไวรัสโคหวิด 19 กับช้างเลี้ยงทัว ่ ประเทศ • ช้างเลี้ยงมีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอย่างยิง ่ เพราะเป็นที่สิ่งแปลกใหม่ของนักท่องเที่ยวก็ต่างให้ความสนใจ แต่เมื่อ เกิดวิกฤตการณ์การระบาดของโรคไวรัส 19 สถานที่ท่องเที่ยวต้อง ถูกปิดตัวลง ทาให้ช้างที่อาศัยอยู่ในต่างถิ่นกลายเป็นช้างตกงาน ขาด อาชีพ ขาดรายได้ในการดูแลครอบครัว บางส่วนได้อพยพกลับไปยัง ถิ่นที่อยู่เดิม บางส่วนยังคงรอคอยความหวังที่จะผ่านฤติการณ์นี้ไป ให้ได้ • ช้างเลี้ยงต่างถิ่นของจังหวัดสุรินทร์ต่างก็ได้รับผลกระทบและได้ อพยพกลับมายังถิน ่ ฐานบ้านเกิดเช่นกันจึงส่งผลให้ปัจจุบันมีช้าง เลี้ยงที่ตกงานราวๆ 80 – 100 เชือก นั้นจึงเป็นโอกาศในการหา แนวทางในการโน้นน้าวให้กลุ่มควาญช้างได้เห็นคุณค่าของการอาศัย อยู่ในถิน ่ ฐานลาเนาเดิมและเป็นการแก้ไขปัญหาช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน เพื่ อหาแนวทางในการช่วยเหลือให้ควาญช้างสามารถดารงชีวิตได้ ด้วยตัวเอง มีที่ดินทากิน มีแหล่งที่พักแหล่งอาหารที่เพี ยงพอต่อการ ดูแลสัตว์ เข้าถึงการดูแลของทีมสัตว์แพทย์ได้อย่าทั่วถึง อีกทั้งยัง ได้ร่วมอนุรักษ์ รักษาวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ที่เป้น เอกลักษณ์ของชุมชนเพื่ อพั ฒนาให้การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงการ เรียนรู้วิธีชุมชน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


ZONE C ELEPHANTS LAND II โครงการส่วนพั กพิ งของกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน


TATIP EDGE MUN FOR CULTURAL RETURN โครงการตาทิพย์ริมมูลสู่การหวนคืนวัฒนธรรม


MASTER PLAN 4

4. โครงการตาทิพย์ริมมูลสู่การหวนคืน วัฒนธรรม เพื่ อเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของกลุม ่ ชาติพันธ์ ชาวกูยที่ได้อพยพและตั้งถิ่นฐานเลี้ยงช้างบริเวณริมฝั่งแม่น้ามูลมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 โครงการย่อยคือ โครงการ Elephants Park ส่วนที่อยู่อาศัยและที่พักพิ งของช้าง ่ ว และจุดกิจกรรมของนักท่องเทีย โครงการ Forest Park For Elephant ส่วนสาหรับปลูกพื ชที่ เป็นอาหารของช้างเพื่ อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแหล่งอาหาร ให้กับกลุ่มควาญช้างเร่ร่อน ช้างตกงาน อีกทัง ้ ยังเป็นแหล่ง เรียนรู้เกี่ยวกับนิเวศแหล่งอาหารของสัตว์ โครงการ Elephants garden สวนผักชุมชนที่จัดสรรพื้ นที่ให้ คนในชุมชนได้ทากิจกรรมปลูกผักไว้จาหน่ายและบริโภค อีกทัง ้ ยัง เป็นแหล่งเรียนรู้การทาการเกษตรและการทาปุ๋ยจากมูลช้าง

เส้นทางการเข้าถึงพื้นที่ เส้นทางการเชื่อมต่อภายในพื้นที่


Zone D

ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่รอ ่ น

Zone E

FOREST PARK FOR ELEPHANT โครงการแหล่งเรียนรูร ้ ะบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง

Zone F

ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรูก ้ ารทาการเกษตรและการเรียนรูก ้ ารทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


โรงพยาบาลช้าง

จุดบริการนักท่องเที่ยว และชมวิถีชีวิตช้าง ส่วนพั กพิ งช้างตกงานช้างเร่ร่อน

Zone D

ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่รอ ่ น


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน


รูปแบบบ้าน A

รูปแบบบ้าน B

ELEPHANTS HOUSE

A-1

B-1 A-2

A-3

B-2

รูปแบบของบ้านพั กภายในศูนย์พัก พิ งอิงมาจากรูปแบบบ้านภายใน ELEPHANT WORLD โครงการคชศึกษาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุรินทร์และ ELEPHANT KINGDOM โครงการคชอาณาจักรองค์การ ส่วนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ บ้าน สองชั้นใต้ถุนสูงซึ่งจะมีลักษณะ หลังคาและรูปแบบที่แตกต่างกันไป ตามการใช้งาน แบบที่สองคือบ้าน ยกพื้ นใต้ถุนสูงไม่เกินหนึ่งเมตร ลักษณะการอยู่อาศัยคือมีครัวอยู่ บ้านบ้าน ลักษณะรูปแบบของบ้าน จะมีความแตกต่างกันตามการใช้ งาน


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยว


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : จุดบริการนักท่องเที่ยวและโรงพยาบาลช้าง


ZONE D ELEPHANTS PARK โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : โรงพยาบาลช้าง


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : ศูนย์พักพิ งช้าง


ZONE D ELEPHANTS PARK

โครงการศูนย์พักพิ งช้างตกงานและช้างเร่ร่อน : ศูนย์พักพิ งช้าง


ป่านิเวศแหล่งอาหารช้าง จุดชมวิว

ส่วนพั กผ่อนช้าง ที่จอดรถ

Zone E

FOREST PARK FOR ELEPHANT

โครงการแหล่งเรียนรูร ้ ะบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง


ZONE E FOREST PARK FOR ELEPHANTS โครงการแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง


HERBS FOR ELEPHANTS

ELEPHANTS FOOD อาหารสาหรับช้าง

สมุนไพรช้าง

หญ้าเนเปียร์

หญ้าแห้วหมู

ใบมะพร้าว

ต้นสับปะรด

ใบไผ่ กิ่งไผ่

ต้นติว ้

ใบโพธิ์

ต้นคาง คางฮุ้ง

ฟักเขียว ผลเป็นยาระบายอ่อนๆ แก้ มะขาม ใช้ส่วนใบ ลาต้นและผล ในการเป็น ท้องอืด ท้องเฟ้อ และบางตารับยาใช้แก้ ยาระบายช่วยในการขับถ่าย ส่วน อาการตกมันของช้าง มะขามเปียกมักใช้ในสูตรยาบารุงกาลังช้าง

ขมิ้น มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เหง้าใช้ รักษาแผลผิวหนัง แก้ท้องอืดหรือ ท้องร่วง

มะค่าแต้ ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ

มะขามป้อม ส่วนของผลช่วยรักษาอาการ ไมยราบ ใบและลาต้น ใช้รักษาแผลอักเสบ ท้องร่วง ท้องเสีย แผลเน่าเปื่ อย

แหล่งอาหารของช้างทั้งตามพื้ นที่ ภายในชุมชนและจากการปลูกชองกลุ่ม ควาญช้างได้แก่ แหล่งอาหารที่ควาญ ช้างปลูก หญ้าพั นธุ์เนเปียร์ สับปะรด แหล่งอาหารตามพื้ นที่ชุมชน ใบ มะพร้าว ใบไผ่ กิง ่ ไผ่ ใบโพธิ์ ที่สามารถ หาได้ตามพื้ นที่ทั่วไป ซึ่งแหล่งอาหาร เหล่านี้ยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้ไป ตามฤดูกาล เช่นในฤดูแล้ง หญ้าเน เปียร์ขากแคลน แหล่งอาหารที่จาเป็น สาหรับช้างและหาได้ตามท้องถิน ่ ได้แก่ ใบมะพร้าว ใบไผ่ กิ่งโพธิ์ ฤดูฝนหญ้า ช้างมีจานวนมากหาได้ง่าย อีกทั้งยังมี ใบข้าวที่สามารถหาได้ง่ายแต่ สภาพแวดล้อมมีความชื้นดินอาจเป็น พาหะของโรคต่างๆได้ ฤดูหนาวสภาพ อากาศมีความแห้งและหนาวอาหารที่ ช่วยบารุงและเพิ่ มพลังงานได้ดีคือ อ้อย แต่ในกรณีที่แหล่งอาหารขาดแคน สิ่งหนึ่งที่ถูกนามาเป็นแหล่งอาหาร สาหรับช้างคือ ต้นสับปะรด เนื่องจากมี ปริมาณมากหาได้ง่าย


ZONE E FOREST PARK FOR ELEPHANTS โครงการแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง


ZONE E FOREST PARK FOR ELEPHANTS โครงการแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง : หอชมวิว


ZONE E FOREST PARK FOR ELEPHANTS โครงการแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศแวดล้อมของแหล่งอาหารช้าง : หอชมวิว


ส่วนพั กผ่อน

สวนผักเกษตรชุมชน

ศูนย์การเรียนรู้การทาปุ๋ยขี้ช้าง

สวนผักชุมชน แหล่งเรียนรู้การทาการเกษตร

Zone F

ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุย ๋ หมักจากมูลช้าง


ZONE F ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


THE PROCESS OF MAKE ELEPHANT MANURE

ขั้นตอนการทาปุ๋ยมูลช้าง

1) นาวัตถุดิบต่างๆที่เตรียมไว้มาชั่งน้าหนักตามอัตราส่วนในสูตรการหมักปุ๋ย 2) นามาใส่ในบล็อก ขนาด 2×2 เมตร โดยจะหมักรวมกองเป็นชัน ้ ๆ จานวน 5 ชัน ้ ต่อ 1 บล็อก ซึ่งแต่ละชัน ้ จะราดด้วยน้าจุลินทรีย์ประยุกต์ โดยใช้ทั้ง EM ขยาย และจุลินทรีย์เฉพาะสาร พด.1 และ พด.3 3) หมักและพลิกกลับกอง ทุก 7 วัน โดยใช้ระยะเวลาในการหมักนาน 3-4 เดือน 4) ครบกาหนดแล้วนามาผึ่งให้แห้งพอประมาณ แล้วนาเข้าเครื่องตีป่ น ั เพื่ อให้ป๋ย ุ มีความละเอียดและกรอง เอาเศษหินและกรวดที่ไม้ต้องการออก 5) บรรจุป๋ย ุ ชีวภาพจากมูลช้างใส่กระสอบ โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพจาก มูลช้าง ตราศูนย์ อนุรักษ์ช้างไทย ภายใต้สโลแกนปุ๋ยดี ปุ๋ยคุณภาพเหมาะสาหรับคนรักษ์ช้างและต้นไม้ COMPONENTS FOR MAKE ELEPHANT MANURE ส่วนประกอบในการทาปุ๋ยมูลช้าง มูลช้าง Elephants dung ตะกรันอ้อย Fillter Cake หินฟอสเฟต Phosphate โดโลไมท์ Dolomite มูลไก่ Checkens dung น้าอีเอมEffective Microorganism (EM)

1

2

3

4

5


ZONE F ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


ZONE F ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


ZONE F ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


ZONE F ELEPHANTS GARDEN โครงการศูนย์การเรียนรู้การทาการเกษตรและการเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักจากมูลช้าง


FOLLOW THE OLD TELL THE PAST โครงการตามรอยเก่าเล่าอดีต


Zone H

OLD ELEPHANTS CENTER โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา

Zone G

KUI A JIANG HISTORY

โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรูว ้ ิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธ์กูยอาเจียง

Zone I

BABY ELEPHANTS CENTER โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด


ร้านค้าของที่ระลึก

พิ พิ ธภัณฑ์วิถีกูย

บ้านพื้ นถิน ่ กูย

ส่วนพั กพิ ง

Zone G

KUI A JIANG HISTORY

ลานพิ ธี

โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธ์กย ู อาเจียง


ZONE G KUI A JIANG HISTORY

โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง


ZONE G KUI A JIANG HISTORY

โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง


ZONE G KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : ร้านค้าจาหน่ายสินค้าท้องถิน ่


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : บ้านพื้ นถิ่นกลุ่มชาติพันธ์กูย


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : บ้านพื้ นถิ่นกลุ่มชาติพันธ์กูย


ลักษณะเด่นของผ้าไหม จังหวัดสุรินทร์

มัดหมี่โฮล

1. มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์โดยได้รบ ั อิทธิพลทางวัฒนธรรม จากกัมพู ชาและลวดลายที่บรรจงประดิษฐ์ขน ึ้ ล้วนมีที่มาและมี ความหมายอันเป็นมงคล 2. นิยมใช้ไหมน้อยในการทอซึ่งไหมน้อยคือไหมที่สาวมาจากเส้น ใยภายในรังไหมมีลักษณะนุ่มเรียบเงางาม 3. นิยมใช้สีธรรมชาติในการทอทาให้มีสีไม่ฉูดฉาด มีสีสันที่มี ลักษณะเฉพาะ คือ สีจะออกโทนสีขรึม เช่นน้าตาล แดง เขียว ดา เหลือง อีกทั้งยังมีกลิ่นหอมจากเปลือกไม้ 4. ฝีมือการทอจะทอแน่นมีความละเอียดอ่อนในการทอและ ประณีต รู้จักผสมผสานลวดลายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน แสดงถึง ศิลปะที่สวยงามกว่าปกติ 5. แต่เดิมนั้นการทอผ้าไหมของชาวบ้านทาเพื่ อไว้ใช้เอง และ สวมใส่ในงานทาบุญและงานพิ ธีต่างๆ การทอจะทาหลังจากสิ้นสุดฤดูกาลทานาซึ่งเป็นอาชีพ หลักมิได้มีการทอเพื่ อจาหน่ายแต่อย่างใดจนมีคากล่าวทั่วไป ว่า “พอหมดหน้านา ผู้หญิงทอผ้า ผู้ชายตีเหล็ก”

ผ้าไหมมัดหมี่โฮล

ผ้าไหมมัดหมี่อันปรม

หรือ จองโฮล(จองเป็นภาษาเขมร หมายถึง ผูกหรือมัด) หรือ ซัมป็วตโฮล เป็นหนึ่งในผ้าไหมมัดหมี่ของเมืองสุรน ิ ทร์มัดหมี่แม่ลายโฮลถือเป็นแม่ลายหลักของผ้ามัดหมี่ สุรินทร์ที่มีกรรมวิธีการมัดย้อมด้วยวิธีเฉพาะไม่เหมือนที่ใดๆความโดดเด่นของการมัดย้อม แบบจองโฮลคือในการมัดย้อมแบบเดียวนี้ สามารถทอได้ 2 ลาย คือ โฮลผู้หญิง (โฮลแสร็ย) หรือผ้าโฮลธรรมดา และสามารถทอเป็นผ้าโฮลผู้ชาย (โฮลเปราะฮ์) ไว้นุ่งในงานพิ ธีต่างๆ

ผ้าโฮล

เป็นผ้าไหมมัดหมี่ที่มีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น นิยมใช้เส้นไหมน้อยในการทอ มีการ มัดย้อมเส้นพุ่ งด้วยวิธีการเฉพาะเรียกว่า จนองโฮล โดยการมัดหมี่ผ้าโฮลนิยมมัดหมี่ 21 ลา ซึ่งการมัดหมี่เพี ยงหนึ่งลาย สามารถทอได้ถึง 4 แบบด้วยกัน ได้แก่ (ลายโฮลผู้ชาย)ผ้าโฮลสะ ไรย์ (ลายโฮลธรรมดา หรือโฮลผู้หญิง) ผ้าโฮลเกียรติ และผ้าโฮลปะนะในการค้นลามัดหมี่ มัดหมี่โฮลแต่ละลาจะเป็นอิสระต่อกันการทอจะใช้เทคนิคการทอพิ เศษโดยการทอผ้าให้ลายเฉียง ขึ้นเรียกว่า “ปะน๊ะ” การมัดย้อมจะนิยมใช้สีธรรมชาติและมัดย้อมหลายครัง ้ ละเอียดทุกขั้นตอน การย้อมสีผ้าโฮล คือจะต้องให้ครูทอผ้ามาสอนวิธีการย้อมเสียก่อนเพราะถือกันว่าเป็นผ้าครูที่ จะต้องผ่านกระบวนการครอบบครูเสียก่อนผ้าโฮลมี 5 สี ได้แก่ สีดา, แดง,เหลือง,น้าเงิน และ เขียว สีเหล่านี้ได้จากการย้อมด้วยสีธรรมชาติ เนื้อผ้ามักมี 2 สี ด้านหน้าเป็นสีอ่อน อีกด้าน หนึ่งเป็นสีเข้มกว่า

ผ้าไหมมัดหมี่ลายกนก

ผ้าไหมมัดหมี่ลายสัตว์

ผ้ายกดอกลายดอกพิ กุล

ผ้าไหมมัดหมี่ลาย ธรรมดา


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : บ้านพื้ นถิ่นฐานการเรียนรู้การทอผ้าไหม


THE PROCESS OF MAKE ELEPHANT DUNG PAPER

1) เริ่มจากการเก็บมูลช้างจากโรงช้างจานวน 100 กิโลกรัม และปอสา 30 กิโลกรัม 2) จากนั้นก็นามูลช้างไปล้าง แล้วนาไปต้มเป็นเวลา 5 ชั่วโมง ใส่โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ จานวน 3 กิโลกรัม เพื่ อเป็นการฆ่าเชื้อ โรคและให้มูลช้างเปื่ อยยุ่ยจากนั้นนาปอสาที่เตรียมไว้จานวน 30 กิโลกรัมต้มเป็นเวลา 5 ชั่วโมง ให้มูลช้างและปอสาเปื่ อยยุ่ย ใส่ โปแทสเซียมไฮดรอกไซด์ จานวน 1 กิโลกรัมเพื่ อให้ปอสาเปื่ อยยุ่ย 3) นามูลช้างและปอสาที่ต้มแล้ว มาล้างในน้าให้สะอาดแล้วนาไปปั่นในเครื่องปั่นเพื่ อตัดเส้นใย ในสัดส่วนมูลช้าง 10 กิโลกรัมและปอ สา 3 กิโลกรัม เป็นเวลา 2 ชั่วโมง .ในขั้นตอนนี้ สามารถใส่สีสังเคราะห์ตามความต้องการได้ในสัดส่วนข้างต้นต่อสีสังเคราะห์ จานวน 5 ซอง 4) จากนั้นนามาล้างด้วยน้าสะอาดแล้วคัดแยกกากออกเหลือในส่วนที่ละเอียดไว้ 5) จากนั้นนามูลช้างผ่านกระบวนการคัดแยกในขั้นตอนที่ 4 ปั้น เป็นลูกและแบ่งเป็นลูกๆ ชั่งน้าหนักประมาณ 400 กรัม สามารถ ผลิตกระดาษได้ 1 แผ่นทั้งนี้ ขนาดนาหนักของมูลช้างทีเ่ ตรียมไว้อาจเพิ่ มหรือลด ตามความต้องการความบางหรือหนา ของ กระดาษได้ 6) นาลูกที่ได้นี้ไปละลายในถังแล้วใส่สารกระจายเยื่อลงไปจากนั้นก็เทลงในเฟรมกระจายไปให้ทั่วๆเฟรม 7) นาเฟรมนั้นไปตากแดด ประมาณ 1-2 วัน ให้แห้งสนิทแล้วเลาะออกจากเฟรม จะได้กระดาษมูลช้าง 1 แผ่น นามาผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์จากมูลช้าง ได้แก่ ถุงกระดาษ การ์ด ภาพระบายสี ที่คั่นหนังสือ สมุดโน๊ต โปสการ์ด ที่ใส่ดินสอ -ปากกา เป็นต้น

1

2

3

ขั้นตอนการกระดาษมูลช้าง

4

5


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : บ้านพื้ นถิ่นฐานการเรียนรู้การทากระดาษ


ZONE G KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : ลานพิ ธีกรรม ศาลปะกา


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : อาคารพิ พิธภัณฑ์คชสาร


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : อาคารพิ พิธภัณฑ์คชสาร


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถีชีวิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : อาคารพิ พิธภัณฑ์คชสาร


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : อาคารพิ พิธภัณฑ์หอตาราคชศาสตร์


ZONE G

KUI A JIANG HISTORY โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ่ ชาวกูยอาเจียง : อาคารพิ พิธภัณฑ์หอเกียรติประวัติหมอปะกา


ZONE G KUI A JIANG HISTORY

โครงการพิ พิธภัณฑ์การเรียนรู้วิถช ี ว ี ิตพื้ นถิน ั น์ประวัติศาสตร์ช้างไทย ่ ชาวกูยอาเจียง : หอคเชนทร์ อาคารฉายวิดีทศ


ส่วนพั กพิ ง

โรงพยาบาลส่วนดูแลช้างชรา

ส่วนพั กพิ ง

Zone H

OLD ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา


ZONE H OLD ELEPHANTS CENTER โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS โรคที่ต้องระวังในช้าง

โรคแอนแทรกซ์ (Anthrax)

สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bacillus anthracis ช้างป่วยจะมีอาการค่อนข้างรวดเร็ว คือล้มลงและตายทันที อาการที่ ไม่รุนแรง คือ เบื่ออาหาร ไข้สูง ผุดลุกผุดนั่ง มีเลือดออกตามเยื่อบุผิว มีอาการบวมใต้หนัง อุจจาระปนเลือด ตายอย่าง รวดเร็ว ห้ามเปิดผ่าซากโดยเด็ดขาด ควรจะเผาหรือฝังลึกๆ โรยด้วยปูนขาว ป้องกันสัตว์มาคุ้ยเขี่ย และควรสวมถุงมือ อย่าให้เลือดสัตว์ถูกมือ การรักษาให้ยาปฎิชีวนะ และการป้องกันควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคแอนแทรกซ์ในแหล่งที่มีโรค ระบาด โดยใช้วัคซินแอนแทรกซ์ของกรมปศุสัตว์ที่ผลิตโดยสานักเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ ฉีดวัคซีนครั้งแรกให้กับสัตว์ อายุ 14 สัปดาห์ขึ้นไป และฉีดซ้าทุกปี ส่วนในเขตที่เคยมีการระบาดของโรคนี้ให้ฉีดซ้าทุก 6 เดือน ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ตัว ละ 2 ซีซ.ี สัตว์จะมีความคุ้มโรคหลังจากฉีดวัคซีนแล้ว 2-3 สัปดาห์ และอยู่ได้นาน 1 ปี

โรคลมชักหรือโรคลมแดด (Heatstroke)

สาเหตุ เกิดเนื่องจากปล่อยช้างอยู่กลางแดดนานเกินไป สัตว์จะมีอาการยืนซึม ไม่กินอาหาร เดินเซ หายใจหอบ ล้มลง ทันทีทันใด การรักษา - ถ้าช้างอยู่ในท่านอนคว่า ให้พลิกอยู่ในท่านอนตะแคง หาที่ร่มให้ เช่น ใต้ต้นไม้ กางผ้าใบให้ ใช้น้าเย็นใส่เข้าทางก้น ใช้น้าแข็งวางที่ด้านหน้าและหัว ฉีดน้าเย็นให้ทั่วตัว - ให้ Prednisolone 0.05 - 0.1 mg./kg. เข้าทางหลอดเลือดดาหรือ Dexamethasone 0.05 - 0.1 mg./kg. เข้าหลอดเลือดดา - เมื่อช้างยืนได้แล้วอย่าให้ล้มลงไปอีก ควรประคองไว้ - ให้ Steroid และ Antibiotics 2 - 5 วัน - ให้ผูกช้างไว้ในที่ร่ม จนกว่าอาการจะเป็นปกติ อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS

โรคเยื่อตาอักเสบ (Conjunctivitis)

โรคที่ต้องระวังในช้าง

ช้างบ้านมีปัญหาเกี่ยวกับตาค่อนข้างจะรุนแรงมาก อาจมีผลทาให้ช้างตาบอดได้ สาเหตุ - ผงสกปรกเข้าตา ทาให้ระคายเคือง ถ้ามีเชื้อโรคเข้าตาก็จะทาให้ตาอักเสบลุกลามรุนแรง ตั้งแต่ตาแดง เยื่อตาฝ้า จนถึงขั้นตาบอด - ลูกตา ถูกหญ้าบาดหรือของแหลมคม เช่น หนามทิม ่ แทงหรือถูกก้อนหิน หนังสะติก ๊ ยิงถูกลูกนัยน์ตา เกิดเป็น แผลหรือลูกตาแตก - เกิดจากการแพ้ เนื่องจากสุขภาพอ่อนแอ ป่วย มีไข้สูง ทาให้เยื่อตาอักเสบ อาการ น้าตาไหล ตาแดงและอักเสบ หลับตาบ่อย มีขี้ตาและอาจใช้งวงขยี้ตาบ่อยๆ เนื่องจากมีอาการระคายเคืองหรือ เจ็บคันนัยน์ตาและมักจะหลบ ซุ่มอยู่ใต้ร่มไม้ ไม่กล้ามองสู้แสงแดด หากไม่รักษา ปล่อยไว้จะเกิดเป็นเยื่อตาฝ้าและถึงขั้น ตาบอด การักษา - นาช้างตาเจ็บไปผูกไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกแสงแดดจ้ามากนัก - ล้างตาด้วยน้ายาบอริค 1% หรือน้ายาโซเดียม ไบคาร์บอเนต แล้วป้ายด้วยขี้ผึ้งป้ายตา (จาพวกยาปฏิชีวนะ Terramycin, Kemicitin อย่างเดียวหรือไม่ cortisone ด้วย) ถ้าลูกตาอักเสบรุนแรงก็จาเป็นต้องฉีด Dexamethasone เข้า subconjunctiva ในลูกตาช้าง แต่ต้องฉีดจากผนังตาด้านนอก โดยฉีดเฉียงและอาจให้ Vitamin A เสริมในรายที่ขาด Vitamin A ด้วย (ในกลุ่มควาญช้างนิยมใช้ยาสีฟน ั ป้ายลูกตาเพื่ อรักษาโรคตาอักเสบ)

โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth disease)

ช้างเป็นโรคนี้ได้โดยติดจากโค กระบือ สาเหตุ เชื้อไวรัส อาการ มีลักษณะอาการเช่นเดียวกับสัตว์อื่นๆ ที่เป็น คือ ฝ่าเท้าและเล็บลอกหลุด เจ็บเท้า เดินไม่ค่อยได้ มีแผลที่เพดาน ปาก กินอาหารลาบาก มีไข้ การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะควบคุม Secondary infection และใส่แผลด้วยยา gentian violet หรือให้สารอาหารบารุง ต่างๆ ช้างจะสามารถหายได้เอง การป้องกัน ฉีดวัคซีนให้โค กระบือ ในบริเวณที่เลี้ยงช้าง อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS โรคคอบวม (Haemorrhagic septicemia or Pasteurellosis)

โรคที่ต้องระวังในช้าง

โรคคอบวม โรคนี้มักเกิดในช้างที่เลี้ยงในแหล่งที่มีโค กระบือ ถ่ายอุจจาระลงแหล่งน้า ถ้ามีโรคนี้เกิดก็อาจติดมาถึงช้างได้ สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Pasteurella spp. อาการ ช้างป่วยกระทันหัน บริเวณลาคอบวมน้า ลิ้นและปากบวม หายใจลาบาก น้าลายไหลยืด บางครั้งมีอาการท้องผูก อุจจาระมี มูกเลือด โรคนี้ถ้าเป็นในลูกช้างจะมีอัตราการตายสูงกว่าในช้างที่โตเต็มที่แล้ว ถ้ารีบรักษาก่อนอาการลุกลาม โอกาสรอดตายสูง การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ หรืออาจใช้ยาซัลฟา การป้องกัน ฉีดวัคซีน 2 ซีซ.ี /เชือก เข้ากล้ามเนื้อลึก ปีละ 1 ครั้ง ควรมีการตรวจสุขภาพอย่างน้อยเดือนละครัง ้

โรคฝีดาษ (Elephant pox)

โรคนี้เคยระบาดในช้างคณะละครสัตว์ในยุโรป ช้างป่วย 11 เชือก ตาย 1 เชือก จากจานวนช้างทั้งหมด 18 เชือกที่มีอยู่ สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส อาการ เกิดเป็นตุ่มตามผิวหนัง ซึ่งรุนแรงถึงตายได้ ในช้างจะพบตุ่มตามศีรษะและงวง เยื่อตาอักเสบ (Conjunctivitis) และบวม มีของเหลวไหลจาก temporal gland มีรายงานว่า กรฝักตัวของโรคใช้เวลา 2 - 4 อาทิตย์ มี erosion & ulceration ของ mucous membranes กลืนอาหารลาบาก อ่อนเพลีย มีไข้สูง กีบหลุดลอก เจ็บขา (Lameness) การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะควบคุม Secondary infection การวินิจฉัย ควรนาน้าหรือเยื่อในตุ่มแผลส่งตรวจในห้องปฏิบัติการ การป้องกัน ควรมีการฉีดวัคซีน small pox ให้ทั้งช้างและคนที่เกี่ยวข้องเนื่องจากเป็นโรคติดต่อคนได้

โรคพิ ษสุนัขบ้า (Rabies)

ช้างอาจติดโรคพิ ษสุนัขบ้าได้จากการที่ถูกสุนัขบ้ากัด สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส ่ งซึม ชอบอยู่ในที่มืด กินอาหารได้บ้าง ระยะต่อมาจะมี อาการ มีอาการเหมือนกับสุนัขบ้าทุกประการ คือ ช่วงแรกจะมีอาการเซือ อาการทุรนทุรายมากขึ้น ตาเหม่อลอย เห็นคนหรือสัตว์ก็จะทาราย ต่อมาขากรรไกรแข็งเป็นอัมพาต กินอาหารและน้าไม่ได้และตาย ในที่สุด เมื่อถูกสุนัขบ้ากัดใหม่ๆ ให้ใช้กรดไนตริคหรือโซดาไฟจี้ท่บ ี าดแผลแล้วทาด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน จะช่วยได้บ้าง การรักษา ไม่มี ้ งช้าง การป้องกัน ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิ ษสุนัขบ้าให้กับสุนัขในบริเวณที่มีการเลีย

อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS โรคที่ต้องระวังในช้าง

โรคผิวหนัง (Skin diseases)

โรคผิวหนังในช้าง ได้แก่ 1. Rash เป็นผื่น คัน เป็นอาการแพ้ สารพิ ษ เช่น ถูกพื ชมีพิษ ผิวหนังและกล้ามเนื้อบวม จะหายได้เองภายใน 2 - 3 วัน 2. Sunburn ช้างที่ถูกแสงแดดส่องเผาโดยตรงติดต่อกันหลายชั่วโมง ผิวหนังเกิดไหม้เกรียม ผิวหนังอักเสบ ควรให้ยาปฏิชีวนะและยาแก้อักเสบชนิดครีม ทาบริเวณผิวหนัง ้ ผิวหนังพุ พองจากการคัน และเกาถู เกิดเป็นประจากับช้างบ้านที่ขาดการดูแลเอาใจใส่เท่าที่ควร ร่างกาย 3. Dermatitis โรคผิวหนังอักเสบและมีการติดเชือ สกปรก ไม่ได้อาบน้า ผิวหนังแห้งเป็นขุยหรือถูกแมลงต่างๆ รบกวน เช่น - เหลือบ (Tabanus) มีชุกชุมอยู่ทั่วไปโดยเฉพาะในหน้าฝน จะดูดกินเลือดและจะเป็นพาหะนาเชื้อโรค surra มาสู่ช้างได้ - แมลงวันคอก (Stable flies, stomoxys) ชอบกัดและดูดเลือดช้างตามผิวหนัง - แมลงวันป่า (Gad flies) จะเอาก้นไชหนังช้างแล้วปล่อยไข่ไว้ ไข่จะเจริญเป็นตัวอ่อน เป็นหนอนหรือชาวบ้านเรียกว่าตัวด้วง เห็นเป็นตุ่มๆ อยู่บริเวณ ผิวหนังช้าง ซึ่งภายในตุ่มนี้ตัวอ่อนจะจเริญอยู่ชว ั่ ระยะหนึ่ง แล้วดันทะลุออกจากผิวหนังตกบนพื้ นดินเจริญเป็นตัวแมลงวันป่าต่อไป - เหาแดง เหาช้าง (Elephant louse-Haematomyzus elephantis) การรักษา 1. ทาความสะอาดผิวหนังด้วยสบู่หรือยาฆ่าเชื้อโรค 2. กรณีเป็นเชื้อรา ให้กิน Griseofulvin ขนาด 0.5 - 1 mg./kg. หรือ Ketoconzole โดยตรวจดูอาการของสัตว์ประกอบด้วยทุกวัน 3. Supportive tratment 4. ให้กิน Vitamin B complex 10 - 20 tabs/วัน นาน 1 - 5 เดือน 5. ให้ยาตามสมควร เช่น Sulfur ointment, gentian violet, Povidone iodine, Thimerosol tincture หรือ Carbamate powder หรือ Ivermectin solution หรือ Prednisolone cream 6. ถ้าเกิดจากเหาแดงหรือเหาช้าง อาจใช้ Ivermectin® 0.06 - 0.08 mg./kg. ให้กินหรือใช้ Carbamate powder (Negasunt®) โรยแผลหรือใช้ มะขามเปียกถูตัวร่วมกับ Neguvon® โดยก่อนทาอาบน้าก่อน แล้วห้ามอาบตลอด 24 ชัว ่ โมง 7. อาจใช้เครือสะบ้า (Entada scandams) ทุบให้ละเอียดฟอกช้างทุกวันหลังอาบน้าแล้วเครือสะบ้าจะเกิดเป็นฟองคล้ายสบู่ ปล่อยทิ้งให้ฟองแห้งไปเอง บางแห่งใช้เครือหางไหล หรือโล่ติ้นทุบแช่น้า แล้วใช้ผ้าชุบเช็ดถูตามตัวก็ได้ผลดี อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS โรคที่ต้องระวังในช้าง

โรควัณโรค (Tuberculosis)

สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium spp. อาการ มักเป็นแบบเรื้อรัง น้าหนักลดลง ทั้งที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์ มีน้ามูกไหลตลอดเวลา เบื่ออาหาร ยืนเซื่องซึม ไอ เสียงดัง หายใจลาบาก การวินิจฉัย จากประวัติและอาการทางคลินิค และการเพาะเชื้อในห้องปฏิบัติการ ย้อมสีเชื้อ acid fast จาก nasal discharge เพื่ อตรวจสอบทางกล้องจุลทรรศน์ให้แน่ชัดด้วย การรักษา โดยฉีด Isoniazid ซึ่งมีรายงานว่ารักษาได้ผลดี

โรคบาดทะยัก (Tetanus)

้ ทีต ่ ิดมากับดิน โรคบาดทะยักส่วนใหญ่พบในช้างที่ถูกลักตัดงาและตัดชิดจนพบโพรงงา ช้างจะนาดินยัดเข้าโพรงงา เชือ เจริญเติบโตได้ดีในโพรงงา ทาให้เกิดโรคได้ นอกจากนี้ยังพบในช้างที่อยู่ในโรงเรือนที่ไม่ถูกสุขลักษณะและมีบาดแผล เป็นรูลึก สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani ช้างจะมีอาการ ซึม กินอาหารและน้าลาบาก ขากรรไกรแข็ง หายใจลาบาก มีไข้สูง แสดงอาการชัก เกร็งของกล้ามเนื้อ ขาและหาง โอกาสตายสูงมาก การรักษา - Penicillin high dose - Antitoxin 30,000 – 50,000 iu/kg. - ถ้ามีอาการชักอาจให้ 7% Chloral hydrate .60 gm หรือถ้าให้เข้าทางทวารหนัก จานวน 2 - 4 ออนซ์ - กรณีที่กินอาหารไม่ได้ ต้องป้อนอาหารเหลวผ่านสายยางเข้าปาก - แนะนาให้ฉีด Toxoid 4 - 5 ซี.ซี./ครั้ง ภายหลังการรักษา 3 - 4 วัน การป้องกัน ไม่ควรตัดงาสั้นจนเกินไป เมื่อพบช้างที่ถูกลักตัดงาสั้นเกินไปจนเห็นโพรงงา ให้รับรักษาแผล อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


DISEASES TO BE AWARE OF IN ELEPHANTS โรคพยาธิภายใน

โรคที่ต้องระวังในช้าง

3. พยาธิตัวตืด พยาธิภายในของช้างพบในลาไส้เล็กและลาไส้ใหญ่ มีดังนี้ Anoplocephala mambriata 1. พยาธิตัวกลม (Nematoda) นอกจากนี้ยังมี Murshida indica, M. falcifera และ M. elephasi พยาธิใบไม้ในตับ :- Fasciala jacksoni Quilonia renniei, Q. sedecimradiata พยาธิใบไม้ในลาไส้ใหญ่ :- Psudodiscus hawkesi, P. collinsi Equinurbia sipunculiformis พยาธิในกระแสโลหิต :- Dipetalonema goosi, D. Decrusia additictia loxodontis, Indofilaria spp., Pattabiramani spp., Schistoso Choniangium epistomum ma nairi, Babesia spp., Trypanosoma spp. 2. พยาธิใบไม้ (Trematoda) พยาธิปากขอ (Hookworm) Pfenderius heterocaeca โปรโตซัว :- Eimeria spp., Trichomonas spp. อาการ ถ้าช้างมีพยาธิในลาไส้มาก จะแสดงอาการท้องอืด ท้องเสีย ลาไส้อักเสบ โรคตับอักเสบ การรักษา ตามธรรมชาติ เมื่อช้างรู้สึกตัวว่ามีพยาธิรบกวนมากเกินไปแล้ว ช้างก็จะหากินดินปนหญ้าจานวนเท่าลูกมะพร้าว หลังจากนั้น 1 - 2 วัน ช้างก็จะท้องอืด ตึง แล้วถ่ายอุจจาระเหลวเป็นน้า มีพยาธิเป็นๆ ปนออกด้วยติดต่อกันหลายวัน บางตัว อาจนานกว่า 10 วัน ช้างจะมีร่างกายซูบผอมลง อ่อนเพลีย แต่จะรู้สึกสบายตัวขึ้น แล้วช้างจะหาวิธีแก้ท้องร่วงเอง โดยจะหากิน เครือกระวัลย์และเปลือกต้นหว้าหรือเปลือกอินทรีย์หรือกระโดน แล้วช้างจะเกิดความอยากกินอาการ กินจุ ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการสังเกตเบื้องต้นพบว่าช่วงเวลาที่ช้างจะมีการถ่ายท้องขับพยาธิ คือ ช่วงเดือนมิถุนายน-เดือน กรกฎาคม และช่วงเดือนกันยายน-เดือนพฤศจิกายน - อาจให้ยาถ่ายพยาธิรวมคือ Ivermectin ขนาด 8 - 10 c.c/ตัว ฉีดเข้าใต้หนังแต่ถ้าตรวจพบพยาธิใบไม้ ก็ใช้ Ivermec®F ซึ่งสามารถถ่ายพยาธิตัวอื่นๆ ด้วย - ยากินที่ใช้รักษาโรคพยาธิภายในของช้างมีหลายชนิด ได้แก่ Thiabendazole, Abendazole, Fenbendazole, Mebendazole, Nitrozanil (Trodax®) และ Tetramisole

อ้างอิง: โรคที่ติดต่อที่เกี่ยวกับช้าง./26/03/2564./https://http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/wild_Elephant_Dis.htm อ้างอิง: Facebook: Center of Elephant and Wildlife Research FVM CMU


ZONE H OLD ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา : โรงพยาบาลช้างชรา


ZONE H OLD ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา : แหล่งพั กพิ งควาญช้างและช้างชรา


ZONE H OLD ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์พักพิ งช้างชรา : แหล่งพั กพิ งควาญช้างและช้างชรา


Zone I

BABY ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด

ส่วนพั กพิ ง

โรงพยาบาลส่วนดูแลช้างแรกเกิด บ่อโคลนเสริมพั ฒนาการ


ZONE I BABY ELEPHANTS CENTER โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด


โรคโคไลแบคซิลโลซิส (Colibacillosis)

DISEASES TO BE AWARE OF IN BABY ELEPHANTS

โรคนี้มักพบในลูกช้างที่เกิดใหม่ที่ไม่ได้รบ ั Colostrum เพี ยงพอ หรือช้างรุ่นๆ ที่ได้รับอาหารสกปรกหรืออยู่ในโรงเรือน ที่ขาดสุขลักษณะที่ถูกต้อง สาเหตุเกิดจากเชื้อ Escherichia coli สัตว์ป่วยมีอาการไข้สูง เบื่ออาหาร ท้องเสียและขาด น้าอย่างรุนแรง การรักษาให้ยาปฏิชีวนะ และ Supportive ตามสมควรร่วมด้วย

โรคท้องร่วง (Diarrhoea) หรือท้องเสีย หรือท้องเดิน

หมายถึงภาวะที่ช้างมีอาการถ่ายอุจจาระบ่อย อุจจาระเหลวมากกว่าปกติหรือถ่ายเป็นน้า เป็นมูกหรือมูกเลือด โรคนี้จะ พบมากในลูกช้างและมักมีอาการรุนแรง สาเหตุ 1. เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น Salmonella spp., E. coli, Pseudomonas spp., และ Clostridium spp. 2. เกิดจากการติดเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสที่เคยตรวจพบจากอุจจาระของช้างที่ถ่ายเหลว ได้แก่ Crona virus 3. เกิดจากหนอนพยาธิหรือโปรโตซัว ช้างที่แสดงอาการถ่ายเหลวที่มีสาเหตุจากหนอนพยาธิ ส่วนมากมักเป็นแบบ เฉียบพลัน บางรายอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด เป็นต้น หนอนพยาธิที่พบในช้างคือ Strongyle, Protozoa, Coccidia, Eimeria, Flagellates และ Trichomona นอกจากนี้ยังอาจพบ Giardia และ Hookworm

โรคโลหิตจาง (Anemia)

่ งจากขาดธาตุเหล็กหรือมีพยาธิ รักษาโดยให้ Iron-dextran® และให้อาหารเสริมซึ่งมีธาตุ ส่วนมากเกิดในลูกช้าง เนือ เหล็กเป็นส่วนประกอบต่ออีกระยะหนึ่ง

โรคซัลโมเนลโลซิส (Salmonellosis)

มีรายงานว่าช้างเกิดโรคนี้บ่อยและเสียชีวิตจานวนมากโดยเฉพาะลูกช้าง ถ้าช่วยไม่ทันอาจเสียชีวิตได้ อาการ ท้องร่วง ถ่ายเหลวเป็นน้าไม่หยุด มีกลิ่นเหม็น มีมูกเลือดและเยื่อบุผิวปน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ไข้สูง มักพบใน ช้างที่อยู่ในโรงเรือนที่ไม่ถูกสุขลักษณะและมักติดต่อไปยังช้างเชือกอื่นๆ การรักษา - ให้ยาปฏิชีวนะ - ให้ Supportive treatment ตามอาการ - ในลูกช้างควรให้กินข้าวต้ม อาหารบด และกินน้ามากๆ

โรคที่ต้องระวังในลูกช้าง


ถ่ายเป็นมูกปนเลือด

DISEASES TO BE AWARE OF IN BABY ELEPHANTS โรคที่ต้องระวังในลูกช้าง

Elephant Endotheliotropic Herpes Virus (EEHV) โรคเฮอร์ปีสไ์ วรัสในลูกช้าง

หน้าบวม

ลิ้นแดง - ม่วง

้ ไวรัสที่อยู่ในตัวช้างหรือ เป็นโรคที่เกิดจากเชือ ปนเปื้ อนอยู่ในสิง ่ แวดล้อม มักพบในช้างอายุ 1 - 8 ปี อาการของโรค : คล้ายคนที่เป็นไข้เลือดออกใน สภาวะที่รุนแรง - เพราะเชื้อไวรัสจะทาลายผนังหลอดเลือด - ทาให้มีอาการเลือดออกในอวัยวะภายในเป็น จานวนมาก - ลูกช้างเกิดการช็อคตายที่สุด ปัจจัยสาคัญที่โน้มนาให้เกิดโรค ความเครียด : หย่านมเร็ว เคลื่อนย้ายช้าง ทางานหนัก อากาศเปลี่ยนแปลง การสังเกตอาการเบิ้องต้น : ไม่กินอาหาร กิน อาหารน้อยลง ซึม มีไข้ มีอาการผิดปกติ ท้องเสีย ลิ้นแดง หน้าบวม ซึ่งเป็นโรคที่ยังไม่วัคซีนรักษาทาได้เพี ยง ป้องกันด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยนมแม่ และการเสริมวิตามินในกลุ่มลูกช้าง


ZONE I BABY ELEPHANTS CENTER โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด : โรงพยาบาลลูกช้างแรกเกิด


ZONE I BABY ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด : แหล่งพั กพิ งแม่ช้างและอนุบาลลูกช้างแรกเกิด


ZONE I BABY ELEPHANTS CENTER

โครงการศูนย์อนุบาลลูกช้างแรกเกิด : บ่อดิน สนามเด็กเล่นของลูกช้างแรกเกิด





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.