มาเล่นกีต้าร์กันเถอะ

Page 1

พรอม VCD

สอนเลนทีละ STEP!

านโนต

ี การอ ตัวโนตดนตร

 ด ร อ ค ั บ จ  ก การตั้งสาย ฝเลน กีตารนา YRICS

& L ันที! D R O CH เลนตามไดท ทฤษฎีเบือ้ งตนทีน่ กั กีตา รมอื ใหมตอ  งรู!

สอนตัง้ แตพน้ื ฐานสำหรับผูเ ริม่ ตน

ไมเปนเลยก็เลนได

ฟรี ! !! โปสเตอรคอรดกีตา ร สอนเลนเพลง

GMM Grammy

จีราภา สุวรรณโชติ (ครูฝน)

ผลงานหนังสือ “หัดเลนอูคูเลเลงายนิดเดียว”

อื หนงั ส



สอนโดย จีราภา สุวรรณโชติ (ครูฝน)


มาเล่นกีต้าร์กันเถอะ ISBN ราคา

978-616-527-363-3 109 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำาส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ทำาสำาเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำาไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางสำานักพิมพ์เท่านั้น

ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ คณะผู้จัดทำ� บรรณ�ธิก�รสำ�นักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้สอน จีราภา สุวรรณโชติ ฝ่�ยดนตรี เอกรินทร์ ศุภรณ์พานิช ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่, สุชาวดี แดงโชติ ประส�นง�นฝ่�ยผลิต วราลี สิทธิจินดาวงศ์ ประส�นง�นสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่�ยก�รตล�ด มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณ� เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย : สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที ่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจำ�หน่�ยโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารทีซไี อเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำา หน้าขาดหาย สำานักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


จากส�านักพิมพ์ สื่อการสอนชุด “มาเล่นกีต้าร์กันเถอะ” ประกอบไปด้วย ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์ ส่วนประกอบของกีต้าร์ การตั้งสาย การจับคอร์ด การดีด และทฤษฎีเบื้องต้นที่จ�าเป็นส�าหรับนักกีต้าร์ มือใหม่ ที่ส�าคัญยังได้ครูฝน-จีราภา สุวรรณโชติ ที่มีผลงานมาแล้ว จากสื่อการสอนชุด “หัดเล่นอูคูเลเล่ง่ายนิดเดียว” มาสอนแบบเป็น กันเอง ตัง้ แต่พนื้ ฐานจนสามารถเล่นเป็นเพลงได้ดว้ ยเพลงฮิตจากค่าย GMM Grammy สามารถฝึกตามได้อย่างง่ายดายและสนุกสนาน อีกด้วย


ประวัติ-ผลงาน จีราภา สุวรรณโชติ (ฝน) ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549 ผลงานด้านดนตรี เข้ารอบผู้ประกวด 10 คนสุดท้าย งาน Thailand Ukulele Festival 2011 by Ribbee at Siam Paragon เป็นผูช้ นะการแข่งขัน 1 ใน 5 คน โครงการ “Sing with Your PC Season 1” พ.ศ. 2554 จากบริษัทอินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) ถ่ายคลิปวิดีโอร้องเพลงและเล่นดนตรี (ฟลุต, ไวโอลิน, กีต้าร์, อูคูเลเล่) อัพโหลดขึ้น สื่อออนไลน์ Youtube ใช้ชื่อ Channel ว่า www.youtube.com/user/flutado1 ผลงานสื่อการสอนชุด “หัดเล่นอูคูเลเล่ง่ายนิดเดียว” ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ปัจจุบัน อาจารย์สอนดนตรีของสถาบันดนตรีที่มีชื่อเสียง นักดนตรีมืออาชีพ แสดงในงานอีเว้นท์ต่างๆ ติดต่อ E-mail : flutado@hotmail.com


CONTENTS ทำ�คว�มรู้จักกับกีต้�ร์

ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์ ส่วนประกอบของกีต้าร์ ก�รตั้งส�ย การตั้งสายกับเปียโนหรือคีย์บอร์ด การตั้งสายโดยเทียบเสียงจากสายบน การตั้งสายโดยใช้เครื่องตั้งสาย ก�รจับคอร์ด คอร์ดทาบ (ฺBar Chord) ก�รดีด การจับปิ๊ก ขนาดของปิ๊ก การใช้ข้อมือ เล่นกีต้�ร์ ให้ดีทำ�อย่�งไร 1. สัดส่วนแม่นย�า ชัดเจน 2. ความเร็วคงที่สม�่าเสมอ 3. คอร์ดไม่บอดและถูกต้อง ตัวโน้ตและตัวหยุด ตัวโน้ตดนตรี ชื่อตัวโน้ตและสัญลักษณ์ ตัวหยุดหรือเครื่องหมายพักเสียง ชื่อตัวหยุดและสัญลักษณ์ ก�รอ่�นสัดส่วนโน้ต วิธีการอ่านโน้ตเขบ็ต 2 ชั้น เครื่องหมายโยงเสียง วิธีการดีด 23 แบบ

2

3 8 16 16 16 17 17 18 20 20 20 20 21 21 22 22 22 23 23 24 25 25 28 29 31


CONTENTS สอนเล่นเพลง GMM Grammy

เพลงสุดท้าย (Clash) ใจเรายังตรงกันอยู่ไหม (กะลา) แสงสุดท้าย (Bodyslam) กอดหน่อยได้ไหม (พลพล) แสนล้านนาที (เบล สุพล) เธอจะรักฉันได้ไหม (Instinct )

37

38 40 42 44 46 48

กีต้�ร์น่�เล่น CHORD & LYRICS Stay

90

ปาล์มมี่

51 ความรักท�าให้คนตาบอด 118 Bodyslam

ของที่เธอไม่รัก

142

ค�าถามที่ต้องตอบ

ขอบใจ

94

จุดอ่อนของฉันอยู่ที่หัวใจ 140

คนเจ้าน�้าตา

88

ชู้ปีดูวับ

คนที่ ไม่เข้าตา

76

คนเบื้องหลัง

คนใบ้

อ๊อฟ ปองศักดิ์ Potato

อ๊อฟ ปองศักดิ์

138

อ๊อฟ ปองศักดิ์

96

ดอกราตรี

78

122

ตัวจริงของเธอ

104

74

เตือนความจ�า

144

128

แทงข้างหลังทะลุถึงหัวใจ 136

ครึ่งหนึ่งของชีวิต

134

เธอคือนางฟ้าในใจ

56

ความทรงจ�าสีจาง

92

เธอมีจริง

108

นิว นภัสสร & จิ๋ว ปิยนุช Calories Blah Blah เอ็ม อรรถพล เอ็ม อรรถพล

คนเลวที่รักเธอ ปนัดดา เรืองวุฒิ

แอม เสาวลักษณ์ ปาล์มมี่

Potato

Endorphine Double U

อ๊อฟ ปองศักดิ์ อ๊อฟ ปองศักดิ์ Clash

ป้าง นครินทร์


เธอสวย

106

ลึกสุดใจ

102

นิยาย

70

เล่นของสูง

72

148

วางมือบนบ่าน�้าตาก็ ไหล 150

Double U

โตโน่ ภาคิน

นี่คือ...คนเสียใจ พั้นช์ วรกาญจน์

Potato Klear

พั้นช์ วรกาญจน์

ผู้ชายคนนี้ก�าลังหมดแรง 52

วูบหนึ่งในคืนเหงา

112

เพลงผีเสื้อ

58

สัญญา (จะไม่ ไปไหน)

64

ภาพลวงตา

54

สิ้นสุดสักที

132

มีค่าเวลาเธอเหงา

130

หรือแค่ข�าๆ

114

ไม่ ให้เธอไป

66

หากันจนเจอ

86

ยามเมื่อลมพัดหวน

82

อกหัก

116

ยิ่งกว่าเสียใจ

146

อกหักปากแข็ง

126

ยิ่งใกล้ยิ่งเจ็บ

98

อยากให้รู้ว่าเหงา

84

ระยะท�าใจ

68

อย่าท�าแบบนี้

80

รักแท้ดูแลไม่ ได้

100

อย่าไปเสียน�้าตา

120

รักยิ่งใหญ่จากชายคนหนึ่ง 110

อย่าร้อนตัว

124

รับได้ทุกอย่าง

ไออุ่นรัก

62

อ๊อฟ ปองศักดิ์ Clash

ดา Endorphine

ปนัดดา เรืองวุฒิ Potato

เจ เจตริน

พั้นช์ วรกาญจน์ Potato

กัน นภัทร Potato

โบ สุนิตา Clash

60

โอ๊ค สมิทธิ์ Potato

ปนัดดา เรืองวุฒิ เป๊ก ผลิตโชค

กบ ทรงสิทธิ์ & กบ เสาวนิตย์ Bodyslam

ปนัดดา เรืองวุฒิ เจ เจตริน

Endorphine

เอ็ม อรรถพล เอ็ม อรรถพล Clash



มาเล่นกีต้าร์กันเถอะ


ทำ�คว�มรู้จักกับกีต้�ร์ ก่อนอื่นเราลองมายลโฉมหน้าตาของกีต้าร์ยี่ห้อต่างๆ กันก่อน เริ่มที่กีต้าร์โปร่งยี่ห้อที่เป็นที่รู้จักกันดี

Yamaha Takamine Guild Martin Ovation และกีต้าร์ ไฟฟ้ายี่ห้อในฝันของใครหลายคน

Gibson Fender Ibanez PRS ESP 2


>> ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์ กีต้าร์เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องสาย ซึ่งเป็นเรื่องยากมากส�าหรับการสืบค้นให้แน่ชัดว่าเริ่มมา จากที่ใด แต่ปรากฏเด่นชัดที่สุดตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 15 ที่ได้เกิดเครื่องสายกลุ่มหนึ่งคือ ไวโอลวิเวล่า และลูท ซึ่งวิเวล่ายังแยกออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ 1. วิเวล่า เดอ อาร์โด (Vihuela De Arco) วิธีเล่นคือใช้คันสีคล้ายไวโอลินในปัจจุบัน 2. วิเวล่า เดอ เพนโญล่า (Vihuela De Penola) วิธีเล่นคือใช้แผ่นไม้บางๆ ดีดลงไปบนสาย คล้าย กับการใช้ปิ๊ก (Pick) ในปัจจุบัน 3. วิเวล่า เดอ มาโน (Vihuela De Mano) วิธีการเล่นคือใช้นิ้วเกี่ยวหรือดีดลงบนสาย

พัฒนาการของกีต้าร์แบบต่างๆ วิเวล่าถือก�าเนิดในประเทศสเปน มีลักษณะคล้ายกีต้าร์ในปัจจุบันแต่ขนาดเล็กกว่า เฟร็ต (Fret) ที่คอ มีเอ็นรัดไว้ ในช่วงเริ่มแรก วิเวล่าแบบที่ใช้คันสีและใช้แผ่นไม้ดีดนั้นได้รับความนิยมมากกว่าแบบที่ใช้นิ้วดีด แต่เมือ่ ย่างเข้าสูศ่ ตวรรษที ่ 16 วิเวล่า เดอ มาโน คือแบบที่ใช้นวิ้ ดีดกลับมาเป็นทีน่ ยิ มของนักดนตรีทงั้ ในประเทศ สเปนและอิตาลี โดยมากจะใช้เล่นประกอบการร้องเพลง หลังจากนั้นกีต้าร์ก็ก�าเนิดขึ้นมา ในช่วงแรกนั้นกีต้าร์มีขนาดเล็กกว่าวิเวล่า และจุดเด่นที่แตกต่าง จากวิเวล่าซึ่งมีสายอยู่ 6 ชุด (2 สายเท่ากับ 1 ชุด) อย่างเห็นได้ชัดคือ มีสาย 4 ชุด และด้านหลังจะโค้งมน คล้ายหลังเต่า (จากหลักฐานที่พบคือ กีต้าร์สาย 4 ชุดของจิโอวานนิ สมิท (Giovanni Smith) แห่งมิลาน ในปี ค.ศ. 1646) ต่อมาประเทศสเปนท�ากีตา้ ร์สาย 5 ชุดขึน้ โดยให้ชอื่ ว่า “กีตา้ ร์แห่งสเปน” ซึง่ ท�าให้บรรดานักดนตรี เริ่มให้ความสนใจในเครื่องดนตรีชนิดนี้กันอย่างจริงจัง 3


ในช่วงศตวรรษที่ 15-16 นับว่าเป็นยุคทองของดนตรีในประเทศสเปน เพราะเกิดนักประพันธ์ขึ้น มากมาย และยังเกิดสมุดเพลงเล่มแรกขึ้น โดยบันทึกในรูปแบบ “แท็บเลเจอร์” (Tablature) ในปี ค.ศ. 1536 จากนั้นกีต้าร์ก็ถูกพัฒนาขึ้นอย่างจริงจังในประเทศอิตาลี ท�าให้บรรดานักดนตรีในประเทศข้างเคียง และแม้แต่ต้นต�ารับอย่างประเทศสเปนก็พลอยได้รับผลประโยชน์ในการศึกษาพัฒนาในครั้งนั้นด้วย จนกระทั่ง ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 กีต้าร์ก็ถูกเปลี่ยนจากสาย 4-5 ชุด เป็นสายเดี่ยว 6 เส้นมาจนถึงทุกวันนี้ พอย่างเข้าศตวรรษที ่ 19 ได้ปรากฏคีตกวีทางกีตา้ ร์ทถี่ กู ยกย่องมาจนถึงปัจจุบนั คือ เฟอร์นานโด ซอร์ (Fernando Sor) และมาโร จูเลียนี่ (Mauro Giuliani) ทั้งสองคนได้ประพันธ์เพลงส�าหรับกีต้าร์โดยเฉพาะ ซึ่ง เพลงเหล่านั้นมีลูกเล่นแพรวพราวและให้เสียงที่กว้างขึ้น ทั้งยังเล่นได้โดยไม่ยาก จึงท�าให้เกิดบทเพลงที่มี โครงสร้างอิสระ ซึง่ การประพันธ์ของซอร์และจูเลียนีน่ นั้ จัดอยู่ในมาตรฐานคล้ายรูปแบบการประพันธ์เพลงของ คีตกวีเอกของโลก 2 ท่านคือ ไฮเดิน (Haydn) และโมซาร์ท (Mozart) จึงท�าให้เพลงของเขาทั้งคู่ถูกน�าไปแสดง คอนเสิรต์ อยูบ่ อ่ ยครัง้ ในปัจจุบนั เพลงเหล่านัน้ ยังมีสว่ นอย่างมากทีท่ า� ให้กตี า้ ร์ได้รบั การพัฒนาสืบทอดมาจนถึง ปัจจุบนั นอกจากนัน้ ทัง้ คูย่ งั ได้ประพันธ์แบบฝึกหัด ซึง่ ในปัจจุบนั นีถ้ อื เอามาเป็นมาตรฐานในการฝึกหัดทัง้ ทาง ทฤษฎีและปฏิบัติ ย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 20 กีต้าร์ก็ได้รับความนิยมและสนใจอย่างแพร่หลาย เมื่อฟรานซิสโก ทาร์เรก้า , (Francisco Tarrega) ได้ น�าบทเพลงของโชแปง (Chopin), บีโธเฟ่น (Beethoven), ชูมานน์ (Shumann) และ คนอื่นๆ มาดัดแปลงให้สามารถเล่นกับกีต้าร์ ได้อย่างสมบูรณ์ ไม่แพ้เปียโนหรือเครื่องดนตรีชนิดอื่นเลย แล้วโลกก็ต้องตื่นตะลึงอีกครั้ง เมื่อในปี ค.ศ. 1929 ไฮเทอร์ วีญา-โลโบส (Heitor Villa-Lobos) ได้พลิกโฉมหน้าการเล่นกีต้าร์โดยสิ้นเชิง โดยการเล่นด้วยวิธีเคลื่อน รูปคอร์ดขึ้น-ลงบนฟิงเกอร์บอร์ด รวมทั้งการเล่นสายเปิด-ปิดในขณะเดียวกัน นอกจากนั้นยังมีรูปแบบการเล่นอาร์เพกจิโอ (Arpeggio) ด้วย ถึงแม้ว่ารูปแบบการ ประพันธ์ของวีญา-โลโบสนั้นจะดูง่ายในวิธีการปฏิบัติ แต่ผลที่ได้รับนั้นมากมาย เหลือคณานับ จากวิวัฒนาการตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 กาลเวลาได้หล่อหลอมให้กีต้าร์เกิดความหลากหลายในการเล่น ของตัวมันเองจนเป็นที่ยอมรับของคนส่วนมาก เมื่อประเทศทางแถบตะวันตกและอเมริกาใต้ได้เริ่มมีการใช้ กีตา้ ร์ประกอบในเพลงเต้นร�า ความคิดหลายอย่างและเทคนิคต่างๆ ก็ถกู น�ามาใช้ โดยเลียนแบบการเล่นแบนโจ (Banjo) ของชาวแอฟริกา และในขณะเดียวกัน นักดนตรีส่วนมากเริ่มค้นพบว่ากีต้าร์สามารถเข้ากับเพลง ในแบบของเขาได้ดีกว่าแบนโจ

4


และในการตืน่ ตัวของยุคสมัยทีก่ ล่าวนัน้ มีการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกิดขึ้นกับกีต้าร์คือ กีต้าร์ ได้ เปลีย่ นจากสายเอ็น (ซึง่ เป็นต้นก�าเนิดของสายไนลอน ในปัจจุบัน) มาเป็นสายเหล็ก ในขณะเดียวกัน กีต้าร์ ก็แพร่หลายอยู่ในฮาวายด้วย ทีฮ่ าวายบรรดานักดนตรี ท้องถิน่ หลายคนได้คดิ ค้นและสร้างกีตา้ ร์ขนึ้ มาอีกแบบ หนึง่ ซึง่ เป็นแบบฉบับของพวกเขาอย่างแท้จริง แม้วา่ จะเป็นกีต้าร์เหมือนกัน แต่สไตล์การเล่นของกีต้าร์ ฮาวาย (Hawaiian Guitar) นั้นแตกต่างไปจากกีต้าร์ ธรรมดามาก คือแทนที่จะกดสายลงไปทาบกับเฟร็ต นักดนตรีฮาวายจะใช้ชน้ิ ไม้หรือชิน้ โลหะสอดเข้าไปกัน้ กลางระหว่างสายกีต้าร์กับฟิงเกอร์บอร์ด วัตถุที่สอด เข้าไปคั่นไว้นี้สามารถเลื่อนขึ้น-ลงไปตามคอกีต้าร์ได้ ซึ่งการท�าแบบนี้กีต้าร์จะให้เสียงใสกว่าปกติ ตามลักษณะที่ว่านี้ สายกีต้าร์จะอยู่สูงขึ้นมา จากฟิงเกอร์บอร์ดมาก จนไม่สามารถใช้สไตล์การเล่น แบบกีต้าร์ธรรมดาได้ เหตุผลที่นักดนตรีฮาวายสร้าง ขึ้นมานั้นคือความตั้งใจที่จะใช้เสียงกีต้าร์แบบนี้เพื่อ เล่นท�านองเพลงโฟล์กฮาวายแบบง่ายๆ ซึง่ เป็นทีน่ ยิ ม กันในยุคนั้น

เพลงโฟล์กแบบฮาวายเริม่ กระจายความนิยม สู่แผ่นดินใหญ่เมื่อต้นทศวรรษที่ 20 นักดนตรีชาว แอฟริกาหลายคนติดใจในเสียงโหยหวนของกีต้าร์ ฮาวาย เพราะคิดว่าจะใช้เล่นโน้ตเพลงบลูส ์ (Blues) ได้ เข้าถึงอารมณ์กว่ากีตา้ ร์ธรรมดา และเพราะเหตุทกี่ ตี า้ ร์ ฮาวายแท้ๆ ยังไม่มผี ใู้ ดท�าออกจ�าหน่าย นักดนตรีชาว แอฟริกาเหล่านั้นจึงคิดค้นแนวทางของตัวเองขึ้นมา โดยใช้ใบมีด เศษส่วนของเครือ่ งยนต์ หรือขวดเปล่าๆ สอดเข้าไปคัน่ ระหว่างสายกีตา้ ร์และฟิงเกอร์บอร์ดของ กีต้าร์ธรรมดา บางคนมีความคิดที่หลักแหลมกว่านั้น คือ ตัดคอขวดแล้วสวมเข้ากับนิ้วข้างซ้าย ซึ่งการท�า เช่นนัน้ พวกเขาจะสามารถเล่นเสียงกีตา้ ร์แบบฮาวาย ได้ และยังเล่นคอร์ดในแบบกีต้าร์ธรรมดาได้อีกด้วย ในปี ค.ศ. 1925 กีต้าร์เป็นเครื่องดนตรีที่ได้ รับความนิยมทีส่ ดุ ในวงการเพลงโฟล์กของอเมริกา นัก ร้องนักกีต้าร์ของยุคนั้น เช่น เลมอน เจฟเฟอร์ซัน (Lemon Jefferson) และจิมมี่ ร็อดเจอร์ส (Jimmy Rodgers) ได้ชว่ ยดลใจผูค้ นหลายล้านคนให้หนั มาเล่น เครื่องดนตรีชนิดนี้ เพลงป๊อปในยุคนั้นยังคงยึดเอาเปียโนเป็น หลัก แต่ในวงแจ๊ซเริ่มน�าเอากีต้าร์เข้าไปเล่นแทน แบนโจแล้ว ซึ่งต่อมาวงแจ๊ซเหล่านี้ได้ช่วยดลใจให้ เพลงป๊อปก้าวหน้าไปมากในช่วงปี ค.ศ. 1920-1930 เพลงป๊อปแบบใหม่ถูกวางโครงร่างขึ้นมาโดยบรรดา นักดนตรีชนบททางตอนใต้ และเป็นเพราะกีต้าร์ นัน่ เองทีเ่ ป็นส่วนส�าคัญมากในการสร้างเพลงป๊อปของ ยุคปัจจุบนั ขึน้ นักดนตรีผวิ ขาวและผิวด�าในยุคนัน้ ต่าง ลอกเลียนแบบซึง่ กันและกัน และสไตล์ผสมแบบนีเ้ อง ที่ได้ก่อให้เกิดเพลงแบบร็อกแอนด์โรลล์ (Rock and Roll) ขึ้นมา 5


มีการปรับปรุงกีต้าร์แบบต่างๆ ขึ้นอีกใน ระหว่างปี ค.ศ. 1920-1930 กีตา้ ร์ 12 สายจากเม็กซิโก เริม่ เข้ามาแพร่หลายในอเมริกา ผูส้ ร้างบางคนพยายาม สร้างให้ใหญ่โตเพื่อให้เสียงดังกว่าธรรมดา ซึ่งกีต้าร์ โดโบร (Dobro) เป็นอีกแบบหนึง่ ทีเ่ ริม่ ได้รบั ความนิยม ปกติถูกสร้างขึ้นด้วยโลหะ และให้เสียงดังกังวานกว่า กีต้าร์ธรรมดา

กีตา้ ร์แบบแรกทีถ่ กู น�ามาดัดแปลงเป็นกีตา้ ร์ ไฟฟ้าคือกีต้าร์ฮาวาย เครื่องขยายเสียงในยุคแรกมี รูปร่างเล็กๆ ไม่ใหญ่ไปกว่าเครื่องรับวิทยุธรรมดา แต่ ก็ให้เสียงดังก้อง เป็นคู่แข่งของแซกโซโฟน ซึ่งนับว่า “ดัง” มากในยุคนั้น วงดนตรีแบบคันทรีเป็นวงดนตรี ประเภทแรกทีน่ า� กีตา้ ร์ไฟฟ้าธรรมดามาใช้กบั วงดนตรี และเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น Milton Brown & The Musical Brownies เป็นวงดนตรีคณะแรกที่ใช้กีต้าร์ ไฟฟ้าอัดแผ่นเสียง เมื่อปี ค.ศ. 1934 พวกเขาใช้กีต้าร์ไฟฟ้าแบบฮาวาย เช่นเดียวกับ ลีออน แมคคัลลิฟ (Leon McAuliffe) ผู้ แต่งเพลง Steel Guitar Rag ซึ่งได้รับความนิยมทั่ว ประเทศในปี ค.ศ. 1936 ต่อมาในปี ค.ศ. 1938 เครื่อง ขยายเสียงกับกีต้าร์เริ่มเป็นของคู่กัน และได้รับความ นิยมในการใช้มากขึน้ นักดนตรีแจ๊ซสามารถโซโล่โน้ต กีตา้ ร์ได้กกึ ก้องกว่าเครือ่ งแตร ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ภูมิใจ ยิ่งส�าหรับพวกเขา เมื่อรู้ว่าตัวเองสามารถเล่น “ดัง” 6

ไม่น้อยหน้าใคร ผิดกับในยุคก่อนที่พวกเขาได้แต่เล่น คอร์ด และมักจะถูกกลบเสียงโดยเครื่องแตรเสียหมด จอร์จ บาร์นส์ (George Barnes), เลส พอล (Les Paul) และชาร์ล ี คริสเตียน (Charlie Christian) ได้สร้างความ นิยมในสไตล์การเล่นกีต้าร์แบบแจ๊ซไว้มาก นักดนตรีบลูส์ชาวแอฟริกาไม่ค่อยใช้กีต้าร์ ไฟฟ้า ถ้าพูดกันตรงๆ ก็คือไม่มีเงินซื้อนั่นเอง พวก เขาไม่นิยมเล่นกีต้าร์ ไฟฟ้าด้วย เหตุเพราะว่ามันแพง กว่ากีตา้ ร์ธรรมดา แต่หลังจากสงครามโลกครัง้ ที ่ 2 ไป แล้ว มีนักกีต้าร์บลูส์ชาวแอฟริกาหลายคนที่มีความ สามารถในการใช้กีต้าร์ ไฟฟ้าได้ดี อย่างเช่น มัดดี้ วอเทอร์ส (Muddy Waters), ไลท์นิน ฮอปกินส์ (Lightnin’ Hopkins) และจอห์น ลี ฮุกเกอร์ (John Lee Hooker) ระหว่างปี ค.ศ. 1930-1940 มีการปรับปรุง เครื่องขยายเสียงให้ใช้กับกีต้าร์ ได้ดีขึ้น และมาได้รับ ความส�าเร็จอย่างจริงจังในช่วงทศวรรษที่ 50 ซึ่ง เป็นยุคของเครื่องขยายที่ช่วยให้กีต้าร์เสียงดังกว่า แซกโซโฟน ดังกว่าวงดนตรีทั้งวง หรือดังเท่าใดก็ได้ ตามใจปรารถนา ในขณะเดียวกันมีบริษัทสร้างกีต้าร์ชั้นดีขึ้น คือเฟนเดอร์ (Fender) ที่นักกีต้าร์ทุกคนรู้จักดี บริษัท สร้างกีต้าร์ ในแคลิฟอร์เนียแห่งนี้ เป็นบริษัทแรกที่ สร้างกีต้าร์เบสไฟฟ้าขึ้น และมีหลายคนที่ยังคงเรียก กีต้าร์เบสจนติดปากว่า เฟนเดอร์เบส (Fender Bass) แม้ว่าปัจจุบันมีบริษัทที่สร้างกีต้าร์เบสอีกมากมาย นักดนตรีคันทรี (Country) และเวสเทิร์น (Western) เป็นพวกแรกที่ดัดแปลงกีต้าร์ฮาวายมา เป็นเพดเดิลสตีลกีต้าร์ (Pedal Steel Guitar) ซึ่งเป็น สตีลกีตา้ ร์แบบใหม่ทมี่ เี สียงเป็นเอกลักษณ์ในแบบฉบับ ของตัวเอง


แต่กอ่ นนัน้ กีตา้ ร์กบั เพลงร็อกยังดูไม่เข้ากัน นัก จนย่างเข้ามาในช่วงปี ค.ศ. 1954-1955 ชัค เบอร์รี่ (Chuck Berry), โบ ดิดเลย์ (Bo Diddley), บีบีคิง (B.B. King) และมัดดี ้ วอเทอร์ส (Muddy Waters) ได้ใช้ กีต้าร์เป็นอาวุธส�าคัญในการบุกเบิกหนทางของเพลง ร็อกได้กลมกลืน แต่ถ้าถามถึงหลักฐานกันจริงๆ จะ พบว่านักดนตรีคันทรีก็ใช้กีต้าร์เป็นหลักของเพลงมา นานแล้ว ในช่วงปี ค.ศ. 1958 การเล่นลีดกีต้าร์ไฟฟ้า (Lead Guitar) เป็นจุดเด่นอีกแบบหนึ่งของเพลงร็อก ที่ขาดไม่ได้ นักกีต้าร์ฝีมือดีในวงการเพลงคันทรีถูก ว่าจ้างมาเล่นกีต้าร์ประกอบเพลงร็อกหลายคน และ บางคนก็มผี ลงานทีด่ เี ด่นอย่างแท้จริง อย่างเช่น เจมส์ เบอร์ตัน (James Burton) ที่เล่นกีต้าร์เพลงฮิตหลาย เพลงของริก เนลสัน (Rick Nelson) เมื่อครั้งที่ริกยัง อัดแผ่นเสียงกับอิมเพอเรียล เรคคอร์ดส์ (Imperial Records) บาร์นนี่ เคซเซิล (Barney Kessel) นักกีต้าร์ แจ๊ซชื่อดังก็เคยได้รับการว่าจ้างให้เล่นดนตรีประกอบ เพลงร็อกอยู่หลายร้อยเพลงในช่วงทศวรรษที่ 50 ปี ค.ศ. 1958 วงดนตรีประเภทร้องเองเล่น เองยังไม่ได้เกิดขึ้น ดาราร็อกชื่อดัง จีน วินเซนต์ (Gene Vincent) ยังคงใช้วงดนตรีประเภทคอมโบ ประกอบการแสดงอยู่เช่นเดิม ในช่วงนี้เองที่บริษัท เฟนเดอร์ ได้เริ่มสร้างเครื่องขยายเสียงให้ใหญ่ขึ้น จนถึงกับต้องเอาไมค์ ไปตั้งไว้หน้ากลอง ไม่อย่างนั้น จะถูกกีตา้ ร์กลบเสียงเสียหมด และบรรดานักร้องต่างก็ เริ่มร้องกันแบบสุดชีวิต เพื่อพยุงเสียงตัวเองไม่ให้ถูก เสียงกีต้าร์กลบเช่นกัน วงประเภทกรุ๊ป (Group) ซึ่งร้องเองเล่นเอง เริม่ ปรากฏโฉมหน้าตัง้ แต่ป ี 1959 โดยเฉพาะทางแถบ

ชายฝั่งตะวันตก พวกเด็กหนุ่มที่เคยหลงใหลเอลวิส เพรสลีย์ (Elvis Presley) เริ่มเล่นกีต้าร์ในแบบฉบับ ของตัวเองได้ดี และตั้งคณะดนตรีกันขึ้นมา ก่อนที่ เดอะบีทเทิลส์ (The Beatles) จะได้รับความนิยม ซึ่ง ก็มนี กั ดนตรีหนุม่ หลายคนทีส่ ร้างสรรค์ดดั แปลงเพลง คันทรีแบบเก่าๆ มาเป็นสไตล์รอ็ ก พวกวงดนตรีประเภท เซิร์ฟ (Surf) ในแคลิฟอร์เนียเป็นที่นิยมกันมากตอน ต้นปี ค.ศ. 1960 คณะดนตรีแบบนี้มักจะมีกีต้าร์ 2 ตัว และเบสไฟฟ้า ซึ่งเป็นของเฟนเดอร์เกือบทั้งนั้น ถ้าเป็นนักดนตรี และเผอิญต้องออกแสดงใน สถานทีเ่ ต้นร�าใหญ่ๆ ก็จา� เป็นต้องใช้เครือ่ งขยายเสียง ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่จะหาได้ คณะที่ใช้เครื่องขยายที่ มีขนาดใหญ่ในยุคนัน้ คือ เดอะบีทเทิลส์ (The Beatles) ซึ่งต้องเล่นดนตรีแข่งกับเสียงกรีดร้องของแฟนเพลง ที่ดังสุดเสียง บริษัทว็อกซ์ (Vox) ของอังกฤษจึงสร้าง เครือ่ งขยายเสียงขนาดใหญ่กว่าของเฟนเดอร์ (Fender) และเดอะบีทเทิลส์ก็ใช้แอมป์ของว็อกซ์เล่นประจ�า

นับเป็นการเชือดเฉือนกันอย่างเลือดเย็นทาง ธุรกิจ เพราะคนเริ่มหันมาสนใจและต้องการเครื่อง ขยายเสียงของว็อกซ์มากยิ่งกว่าเฟนเดอร์ บริษัท เฟนเดอร์จึงมุ่งมั่นปรับปรุงสร้างเครื่องขยายเสียง ขนาดใหญ่ขนึ้ มาบ้าง จึงกลายเป็นสงครามเครือ่ งขยาย เสียงที่มีนักดนตรีและกีต้าร์มาร่วมรบด้วย 7


ปัจจุบันสงครามเครื่องขยายเสียงแทบจะขึ้นมาถึงจุดสูงสุดแล้ว เพราะมีบริษัทสร้างเครื่องขยายเสียง ชั้นดีเกิดขึ้นมามากมายจนนับไม่ถ้วน เมื่อต่อกีต้าร์เข้ากับเครื่องขยายเสียงยุคใหม่นี้แล้ว แทบไม่ต้องตั้งใจฟัง ก็ได้ยินเสียงกีต้าร์ เพราะว่าดังกึกก้องอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนเลยในประวัติศาสตร์ มาถึงตรงนี้แล้วจะเห็นได้ว่า ทุกอย่างมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ดนตรีคือส่วนหนึ่งของโลกใบนี้ไป เสียแล้ว ล�าดับต่อไปเรามาท�าความรู้จักกับส่วนต่างๆ ของกีต้าร์กันดีกว่า

>> ส่วนประกอบของกีต้าร์ กีต้าร์โปร่ง ส่วนหัว (Head)

กีต้าร์ไฟฟ้า ลูกบิด (Tuner) นัท (Nut)

ส่วนคอ (Neck)

ส่วนล�าตัว (Body)

8

ฟิงเกอร์บอร์ด (Finger Board) เฟร็ต (Fret)

โพรงเสียง (Sound Hole) ปิ๊กการ์ด (Pick Guard) หย่อง (Saddle) สะพานสาย (Bridge) หมุดยึดสาย

Pick Up สวิตช์เลือก Pick Up ปุ่มควบคุมระดับเสียง โทนเสียง ช่องเสียบแจ๊ค (Guitar Output Jack) ชุดคันโยก (Tremolo Bar)


ส่วนประกอบของกีต้าร์โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้

1. ส่วนหัว (Head) > ลูกบิด (Tuner) โดยทั่วไปที่เราพบเห็นจะมี 2 แบบ ได้แก่ แบบที่ตัวลูกบิดหันไปด้านหลัง แกนหมุนสายเป็นพลาสติก ซึ่ง จะใช้กบั กีตา้ ร์คลาสสิก หรือแกนหมุนสายเป็นเหล็ก ใช้กบั กีตา้ ร์ฝกึ เล่น ทีร่ าคาไม่สงู มากนัก และลูกบิดอีกแบบจะขนานกับตัวกีตา้ ร์หรือตัง้ ฉาก กับตัวกีต้าร์ ซึ่งใช้กับกีต้าร์โฟล์กหรือกีต้าร์ไฟฟ้าทั่วๆ ไป แต่ละบริษัท ที่ผลิตลูกบิดกีต้าร์นั้นจะมีระบบเป็นของตัวเอง เช่น ระบบล็อกกันสาย คลายเวลาดีด เป็นต้น > นัท (Nut) จะอยูป่ ลายบนสุดของฟิงเกอร์บอร์ด (Fingerboard) เพื่อรองรับสายกีต้าร์ให้ยกสูงจากฟิงเกอร์บอร์ด ซึ่งระยะความ สูงของสายกับฟิงเกอร์บอร์ดดังกล่าวนีเ้ รียกว่าแอคชัน่ (Action) มีความ ส�าคัญมาก เพราะถ้าตั้งความสูงไว้ไม่เหมาะสมจะท�าให้การเล่นกีต้าร์ ล�าบากมาก คือถ้าระยะดังกล่าวสูงไปก็ต้องออกแรงกดสายมากขึ้น จะ ท�าให้เจ็บนิ้วมากขึ้น แต่ถ้าตั้งไว้ต�่าไปก็จะท�าให้เวลาดีดแล้วความสั่น ของสายจะไปโดนเฟร็ต ท�าให้เกิดเสียงแปลกๆ ออกมา การปรับแต่งนัน้ สามารถท�าได้ดว้ ยตัวเอง โดยการถอดนัทออก มา ในกรณีที่นัทสูงเกินไปให้ใช้ตะไบถูกับฐานของนัท หรือเซาะร่องทั้ง หกให้ลึกลงไป (วิธีหลังไม่แนะน�า เพราะถ้าไม่ช�านาญพอ เซาะร่องไม่ ดีจะมีผลกับเสียงกีต้าร์) ตรงกันข้ามถ้าต�่าไปก็หาเศษกระดาษหนาๆ หรือเศษไม้มารองนัทจนได้ความสูงที่พอใจ โดยปกติประมาณ 2 มม. ส�าหรับกีต้าร์ ไฟฟ้าบางรุ่น (โดยเฉพาะที่มีชุดคันโยก) มักจะมีนัทแบบ ที่ล็อกสายกีต้าร์ ได้ คือจะมีน็อต 6 เหลี่ยมขันอัดให้โลหะชิ้นเล็กๆ ไป กดสายกีต้าร์เพื่อกันสายคลายเมื่อเล่นคันโยก

9


กรณีทตี่ อ้ งเปลีย่ นนัท เช่น มีการแตกหัก จะต้องเช็กขนาดของนัทให้ดี ก่อนไปซื้อ เพราะนัทมีหลายขนาด

2. ส่วนคอ (Neck) > คอกีต้าร์ (Neck) คือส่วนที่เราใช้จับคอร์ดเล่นโน้ตต่างๆ มีความส�าคัญมากส�าหรับกีต้าร์ คอกีต้าร์ควรจะท�ามาจากไม้มะฮอกกานีหรือ ไม้ซดี าร์ (ส�าหรับผูท้ มี่ เี งินทุนเพียงพอ) หลักการส�าคัญทีส่ ดุ คือคอกีตา้ ร์ตอ้ งตรง ไม่มีรอยแตกหรือรอยปริของเนื้อไม้ > ฟิงเกอร์บอร์ด (Fingerboard) เป็นแผ่นไม้ที่ติดลงบนคอ กีต้าร์อีกชั้น เป็นตัวที่ใช้ยึดเฟร็ต หรือลวดลายมุขประดับต่างๆ และเราก็จะเล่น โน้ตต่างๆ ของกีต้าร์บนหน้าฟิงเกอร์บอร์ดนั่นเอง ไม้ที่นิยมใช้จะเป็นไม้โรสวูด หรือไม้อโี บนี ซึง่ มีเนือ้ ไม่แข็งเกินไป โดยมีแบบทีแ่ บนเรียบส�าหรับกีตา้ ร์คลาสสิก และส�าหรับกีต้าร์โฟล์กกับกีต้าร์ ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะโค้งเล็กน้อยเพื่อให้เข้ากับนิ้ว เวลาทาบบนคอ > เฟร็ต (Fret) ท�ามาจากโลหะฝังอยู่บนคอกีต้าร์ เป็นส่วนที่จะ ก�าหนดเสียงของโน้ตดนตรีจากการกดสายกีตา้ ร์ลงบนเฟร็ตต่างๆ ซึง่ ท�าให้เสียง มีความสัน้ ยาวต่างกันไปตามการกดสายของเราว่ากดทีช่ อ่ งใด ระยะสายทีเ่ ปลีย่ น ไปก็คือระดับเสียงที่เปลี่ยนไปด้วย สิ่งหนึ่งที่ควรค�านึงถึงคือ ระยะห่างระหว่าง เฟร็ตแต่ละตัวต้องได้มาตรฐาน มิฉะนัน้ จะท�าให้เสียงเพีย้ นได้ แต่เราไม่สามารถ เช็กระยะดังกล่าวเองได้ จ�านวนของเฟร็ตก็จะขึ้นอยู่กับความยาวของคอกีต้าร์ ซึ่งแต่ละผู้ผลิตก็จะต่างกันไป ปกติกีต้าร์คลาสสิกจะมีประมาณ 18 ตัว กีต้าร์ โฟล์กประมาณ 20 ตัว แต่กีต้าร์ไฟฟ้าซึ่งมักจะมีการเล่นโซโล่ จึงมีช่องให้เล่น โน้ตมากขึ้นก็จะมีประมาณ 22-24 ตัว และกีต้าร์คลาสสิกซึ่งคอกีต้าร์แบนราบ

10


เฟร็ตก็จะตรง แต่กีต้าร์โฟล์กหรือกีต้าร์ไฟฟ้านั้นส่วนใหญ่จะมีคอที่โค้งเล็กน้อย ก็ จะมีเฟร็ตที่โค้งตามไปด้วย > มุขประดับ (Dot Inlay) จุดประสงค์คือให้ใช้สังเกตต�าแหน่ง ช่องกีต้าร์ ปกติจะฝังที่ช่อง (1), 3, 5, 7, 9, (10), 12, 14, 17, 19, 21 (ไม่แน่นอน ตายตัว ขึ้นอยู่กับผู้ผลิต) กีต้าร์คลาสสิกจะไม่มีมุขประดับฝังบนหน้าฟิงเกอร์บอร์ด แต่จะฝังด้านข้างแทน แต่กีต้าร์โฟล์กและกีต้าร์ไฟฟ้าจะฝังไว้ทั้ง 2 ส่วน (บางรุ่นก็มี แต่ด้านข้าง) ทัง้ นี้แล้วแต่ผ้ผู ลิตจะออกแบบ โดยทัว่ ไปจะเป็นรูปวงกลม บางทีก็เป็น รูปข้าวหลามตัด หรือหากมีราคาค่อนข้างสูงก็จะเป็นลายพวกไม้เลื้อย เลื้อยไปตาม หน้าฟิงเกอร์บอร์ด > ก้านเหล็กปรับแต่งคอ (Truss Rod) กีต้าร์ที่อยู่ในระดับ กลางขึ้นไปจะมีแท่งเหล็กฝังอยู่ตามความยาวของคอกีต้าร์ด้วย เพื่อเสริมความ แข็งแรงให้กับกีต้าร์ ป้องกันการโก่งตัวของคอกีต้าร์ ซึ่งสามารถปรับแต่งได้เมื่อคอ กีต้าร์เกิดโก่งงอไป แต่การปรับแต่งนั้นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นคนท�า

3. ส่วนล�าตัว (Body) > ล�าตัวกีต้าร์ (Body) หมายถึง 3 ส่วน ได้แก่ ด้านหน้า (Top) ด้านหลัง (Back) และ ด้านข้าง (Side) ด้านหน้ามักท�าจากไม้ Sitka Spruce, Engelmann Spruce, Red Spruce, German Spruce, Alpine Spruce, Cedar, Port Orford Cedar, Western Larch เป็นต้น ส่วนไม้ด้านหลังและด้านข้างนั้น เมื่อเทียบกับประเภทของไม้ที่ถูกน�ามาใช้กับไม้ด้านหน้าแล้ว มีไม้ มากมายหลายชนิดกว่า อาจแบ่งออกกว้างๆ เป็นตระกูล Rosewood, Walnut, Maple, Koa, Mahogany รวม ไปถึงไม้แปลกๆ ใหม่ๆ ที่ก�าลังเป็นที่นิยม และพวกที่ยังไม่ค่อยแพร่หลายนัก แต่ส�าคัญที่สุดคือลักษณะของไม้ ต้องไม่มีรอยแตก ไม่มีตาไม้ และต้องมีลายไม้ที่ละเอียดไปตาม ความยาวจึงจะถือว่ามีคุณภาพดี ส�าหรับส่วนที่เว้าของล�าตัวนั้น บางทีเรียกว่า “เอว”

11


การยึดโครงไม้ด้านใน (Internal Bracing) มีความส�าคัญมากอีกเช่นกัน เพราะไม้ที่ใช้ท�าล�าตัวกีต้าร์ นัน้ บาง แต่ตอ้ งรับแรงดึงทีส่ งู มาก ถ้าโครงยึดดังกล่าวไม่ด ี หมายถึงกีตา้ ร์กจ็ ะพังในเร็ววันแน่นอน รูปแบบการ ยึดจะแตกต่างกันตามเคล็ดลับของแต่ละผู้ผลิต และกีต้าร์แต่ละรุ่น แต่ละประเภท โดยทั่วไปลักษณะเป็นรูปพัด ไม่รวมถึงกีต้าร์ ไฟฟ้า ซึ่งเป็นล�าตัวตันหรือ Solid Body

โครงไม้ด้านใน

ล�าตัวกีต้าร์

> โพรงเสียง (Sound Hole) ก็คือรูกลมๆ หรือบางทีก็ไม่กลม ต�าแหน่งจะอยู่บนด้านหน้าของ ล�าตัวนั่นเอง มีหน้าที่รับเสียงจากการสั่นของสายกีต้าร์ ท�าให้เกิดเสียงก้องดังขึ้น ซึ่งอาจจะมีลายประดับต่างๆ อยู่รอบๆ โพรงเสียงเพื่อความสวยงาม

โพรงเสียง

> ปิ๊กการ์ด (Pickguard) คือแผ่นพลาสติกที่ติดอยู่ตรงขอบโพรงเสียง ส�าหรับกีต้าร์คลาสสิก ที่ไม่ได้ใช้ปิ๊กในการเล่นจึงไม่มีปิ๊กการ์ดอยู่แล้ว แต่กีต้าร์โฟล์ก กีตา้ ร์แจ๊ซ หรือกีตา้ ร์ไฟฟ้า มักจะมีปก๊ิ การ์ดติด อยู่ใต้สาย 1 เพือ่ ป้องกันการขูดขีดผิวกีต้าร์อันเกิดจากการดีดด้วยปิ๊กหรือเล็บ ยิ่งเป็นกีต้าร์ ไฟฟ้าฟลาเมนโก (Flamenco) ด้วยแล้ว จะมีติดทั้งด้านสาย 6 และด้านสาย 1 เลยทีเดียว เพราะลักษณะการเล่นกีต้าร์แบบ ฟลาเมนโกจะมีการดีดสะบัดนิ้วเยอะ จึงป้องกันไว้ทั้งสองด้าน

ปิ๊กการ์ดฟลาเมนโก

12

ปิ๊กการ์ดแบบต่างๆ


> สะพานสาย (Bridge) เป็นตัวที่ยึดสายให้ติดกับล�าตัว มักท�ามาจากไม้โรสวูดหรือไม้อีโบนี ถ้าเป็นกีตา้ ร์คลาสสิกจะเจาะรูในแนวขนานกับล�าตัวกีตา้ ร์ 6 รู ไว้ใช้พนั สายกีตา้ ร์ แต่ถา้ เป็นกีตา้ ร์โฟล์ก จะเจาะ รูในแนวตั้งฉากกับล�าตัวและยึดสายด้วยหมุดยึดสาย (Pin) แต่บางรุ่น เช่น Ovation ไม่ใช้หมุด แต่สอดสาย จากด้านล่างของสะพานสาย คล้ายๆ กับกีต้าร์คลาสสิกแต่ไม่ต้องพันสาย เพราะสายโลหะจะมีหมุดล็อกอยู่ที่ ปลายสาย ส�าหรับกีตา้ ร์ไฟฟ้าจะท�าจากโลหะเป็นส่วนใหญ่ มีทงั้ แบบธรรมดาคือมีหน้าทีย่ ดึ สายอย่างเดียว และ อีกแบบคือเป็นคันโยก ซึ่งทั้งแบบเดิมและแบบใหม่ที่เรียกกันติดปากว่า ฟลอยโรส (Floyd Rose) การใส่สาย จะยากขึ้นมาอีกเล็กน้อย

สะพานสาย

สะพานสายกีต้าร์อคูสติกและกีต้าร์ ไฟฟ้า

> หย่อง (Saddle) จะฝังหรือยึดอยู่กับสะพานสาย เพื่อรองรับ สายกีต้าร์ทั้ง 6 สาย มีทั้งแบบตรงส�าหรับกีต้าร์คลาสสิก และแบบโค้งส�าหรับ กีตา้ ร์โฟล์ก บางแบบก็แยกเป็น 2 ชิน้ แล้วแต่การออกแบบของแต่ละรุน่ บางรุน่ สามารถปรับความสูงได้ แต่ทวั่ ๆ ไปถ้าเรารูส้ กึ ว่าสูงไป เราก็สามารถถอดออกมา แล้วใช้ตะไบหรือกระดาษทรายขัดทีฐ่ านให้ความสูงลดลง แต่ถา้ ต�า่ ไปก็หาเศษไม้ หรือกระดาษมาเสริมให้สูงตามความพอใจ > ปิ๊กอัพ (Pick Up) โดยทั่วไปจะเห็นชัดบนกีต้าร์ ไฟฟ้ามากกว่า แต่ปจั จุบนั กีตา้ ร์โปร่งบางรุน่ ก็มกี ารประกอบปิก๊ อัพไว้กบั กีตา้ ร์เลย เช่น ประกอบ ไว้ที่ใต้บริดจ์หรือใต้หย่อง หรือเป็นปิ๊กอัพที่ซื้อมาประกอบต่างหากก็มี ส�าหรับ กีต้าร์ ไฟฟ้ามีความส�าคัญมาก เพราะมันจะรับแรงสั่นสะเทือนของสายไปแปลง เป็นกระแสไฟฟ้า ส่งไปยังแอมป์แล้วขยายเสียงต่อไป ท�าให้สามารถปรับแต่ง เสียงได้มากมายหลายรูปแบบ แล้วแต่จะต้องการรายละเอียดแค่ไหน

13


หนังสือพรอมวีซีดี “มาเลนกีตารกันเถอะ” เหมาะสำหรับผูที่เริ่มตนฝกเลนกีตาร เนื้อหาการสอนเริ่มตั้งแตประวั ติความเปนมาของกีตาร สวนประกอบของกีตาร การตัง้ สาย การจับคอรด การดีด และทฤษฎีเบือ้ งตนทีค่ วรรูส ำหรับนักกีตา รมอื ใหม ที่สำคัญยังไดครูฝน-จีราภา สุวรรณโชติ ที่มีผลงานมาแลวจากสื1อการสอนชุด “หัดเลนอูคูเลเลงายนิดเดียว” มาสอนแบบเปนกันเอง ตั้งแตพื้นฐานจนสามารถ เลนเปนเพลงไดดวยเพลงฮิตจากคาย GMM Grammy สามารถฝกตามได อยางงายดายและสนุกสนานอีกดวย

RICS

D & LY ีกตารนาเลน CHOR

Stay ปาลมมี่ ของที่เธอไมรัก ออฟ ปองศักดิ์ ขอบใจ Potato คนเจาน้ำตา นิว นภัสสร & จิ๋ว ปยนุช คนที่ ไมเขาตา Calories Blah Blah คนเบื้องหลัง เอ็ม อรรถพล คนใบ เอ็ม อรรถพล คนเลวที่รักเธอ ปนัดดา เรืองวุฒิ ครึ่งหนึ่งของชีวิต แอม เสาวลักษณ ความทรงจำสีจาง ปาลมมี่ ความรักทำใหคนตาบอด Bodyslam คำถามที่ตองตอบ ออฟ ปองศักดิ์ จุดออนของฉันอยูที่หัวใจ ออฟ ปองศักดิ์ ชู ปด ูวับ Potato ดอกราตรี Endorphine ตัวจริงของเธอ Double U เตือนความจำ ออฟ ปองศักดิ์ แทงขางหลังทะลุถึงหัวใจ ออฟ ปองศักดิ์ เธอคือนางฟาในใจ Clash เธอมีจริง ปาง นครินทร เธอสวย Double U นิยาย โตโน ภาคิน นี่คือ...คนเสียใจ พั้นช วรกาญจน ผูชายคนนี้กำลังหมดแรง ออฟ ปองศักดิ์ เพลงผีเสื้อ Clash

ISBN 978-616-527-363-3

9 786165 273633

มาเลนกีตารกันเถอะ VCD 1 แผน ราคา 109 บาท วิธีใช : ใชรับชมกับเคร�องเลน VCD DVD หรือเคร�องคอมพิวเตอร คำเตือน : หามเก็บในที่อุณหภูมิสูง

ทำความรูจักกับกีต าร การตั้งสาย การจับคอรด การดีด เลนกีตาร ใหดีทำอย ตัวโนตและตัวหยุด างไร การอานสัดสวนโนต

สอนเลนเพลง GMM Grammy เพลงสุดทาย Clash ใจเรายังตรงกันอยูไหม กะลา แสงสุดทาย Bodyslam กอดหนอยไดไหม พลพล แสนลานนาที เบล สุพล เธอจะรักฉันไดไหม Instinct

ภาพลวงตา ดา Endorphine มีคาเวลาเธอเหงา ปนัดดา เรืองวุฒิ ไม ใหเธอไป Potato ยามเมื1อลมพัดหวน เจ เจตริน ยิ่งกวาเสียใจ พั้นช วรกาญจน ยิ่งใกลยิ่งเจ็บ Potato ระยะทำใจ กัน นภัทร รักแทดูแลไมได Potato รักยิ่งใหญจากชายคนหนึ่ง โบ สุนิตา รับไดทุกอยาง Clash ลึกสุดใจ Potato เลนของสูง Klear วางมือบนบาน้ำตาก็ ไหล พั้นช วรกาญจน วูบหนึ่งในคืนเหงา โอค สมิทธิ์ สัญญา (จะไมไปไหน) Potato สิ้นสุดสักที ปนัดดา เรืองวุฒิ หรือแคขำๆ เปก ผลิตโชค หากันจนเจอ กบ ทรงสิทธิ์ & กบ เสาวนิตย อกหัก Bodyslam อกหักปากแข็ง ปนัดดา เรืองวุฒิ อยากใหรูวาเหงา เจ เจตริน อยาทำแบบนี้ Endorphine อยาไปเสียน้ำตา เอ็ม อรรถพล อยารอนตัว เอ็ม อรรถพล ไออุนรัก Clash

สอนเลนเพลง

GMM Grammy


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.