ติวภาษาไทยให้ลูก ระดับชั้น ป 3

Page 1

เนื้อหาครอบคลุม

บั หลกั สตู รแกนกลาง ก ๒ ภาคเรี ย น ง อ  ล ค ด ก ารศกึ สอ ษาข นั้ พ

บทที่ ๑๓ ชนิดของคำ ๒ (คำสรรพนาม) บทที่ ๑๔ ชนิดของคำ ๓ (คำกริยา) บทที่ ๑๕ การใชพจนานุกรม บทที่ ๑๖ คำคลองจองและคำขวัญ บทที่ ๑๗ ประโยคเพือ่ การสือ่ สาร ๑ (ประโยคบอกเลา และประโยคปฏิเสธ) บทที่ ๑๘ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๒ (ประโยคคำถาม) บทที่ ๑๙ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๓ (ประโยคขอรอง และประโยคคำสั่ง) บทที่ ๒๐ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น พิเศษทายเลม! แนวขอสอบภาษาไทยระดับชั้น ป. ๓ พรอมเฉลย

ติวภาษาไทยใหลูก ระดับชั้น ป. ๓ หนังสือเด็ก สำหรับเด็กอายุ 8-9 ป

ภาษาไทย

1

294877

741442

ó

».

สรุปเนื้อ

ี่เร ท า ห

ม เฉ ล ย

บทที่ ๑ พยางคและคำ บทที่ ๒ การแจกลูก การสะกดคำ และการอานเปนคำ บทที่ ๓ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรง ตามมาตรา บทที่ ๔ การผันอักษรกลางกับวรรณยุกต บทที่ ๕ การผันอักษรสูงกับวรรณยุกต บทที่ ๖ การผันอักษรต่ำกับวรรณยุกต บทที่ ๗ อักษรควบและอักษรนำ บทที่ ๘ คำที่ประวิสรรชนียและคำที่ไมประวิสรรชนีย บทที่ ๙ คำที่มีตัวการันตและคำที่มี รร บทที่ ๑๐ คำที่ใช ฤ ฤๅ บทที่ ๑๑ คำที่ใช บัน บรร บทที่ ๑๒ ชนิดของคำ ๑ (คำนาม)

ราคา 69 บาท

ÊÒúÑÞ

ม ร ร กิจ ก  อ ส

ข ว น แ และ

 · ä Ò É Ò À ¨Ñ§ §‹ÒÂ

บาท 9 6 า

ราค

การใหลูกรักไดทำกิจกรรมและแบบทดสอบในหนังสือเลมนี้ จะชวยใหคุณ ทราบถึงพัฒนาการและความเขาใจเนื้อหาในแตละบทเรียนของลูกไดมากขึ้น ทำใหมองเห็นจุดเดนหรือปญหาตางๆ เกี่ยวกับภาษาไทยของลูก และหาทางปรับปรุงแกไขปญหานั้นๆ ไดทันทวงที

µÔÇ ÀÒãËŒÉÒä·Â ÅÙ¡

ยน ท อบ บ ทวนท้ังหมด พ รอ

จัดทำขึ้นตามตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งในแตละบทจะสรุปเนื้อหาที่เปนสาระสำคัญของเรื่องนั้นๆ พรอมสอดแทรกกิจกรรมทบทวนและแบบทดสอบเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู นอกจากนี้ในทายเลมยังไดรวบรวมแนวขอสอบ เพื่อเสริมสรางความเขาใจในหลักภาษาไทยใหแมนยำและชำนาญมากขึ้น เหมาะอยางยิ่งใหเด็กๆ ไดทบทวนและฝกฝนใหคลองแคลวกอนสอบจริง

น นื้ ฐา

ติวภาษาไทยใหลูก ระดับชั้น ป. ๓



µÔÇ

ÀÒÉÒä·Â

ó

».

ชื่อ..........................................................ชั้น.................


ฝึกปรือลูกรักให้ชำ�นาญภาษาไทยในวัยประถมศึกษา ต่อยอดการเรียนรู้ภาษาไทยจากวัยประถมศึกษาของลูก ภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่บ่งบอกความเป็นไทยนั้น ถือเป็นเครื่องมืออันสำ�คัญใน การติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในสังคม และด้วยความ สำ�คัญในข้อนี้ เด็กไทยทุกคนจึงจำ�เป็นต้องเรียนรู้ภาษาไทย และต้องปูพื้นฐานตั้งแต่เริ่มต้น ให้แม่นยำ�และคล่องแคล่ว เพื่อนำ�ไปเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ พัฒนาความคิด ต่อยอดการเรียนรูใ้ ห้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมถึงนำ�ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงต่อไปในอนาคต

ประยุกต์ทักษะวิชาภาษาไทยสำ�หรับใช้ในชีวิตประจำ�วัน ภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำ�วันนี้ ถือเป็นสื่อของการแสดงออกทาง ความคิดของเราทุกคน การอ่านและการฟังเป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราวความรู้และ ประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียนเป็นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น การเรียนรูภ้ าษาไทยของลูกจึงต้องฝึกปรือเพือ่ ให้สามารถนำ�ไปปรับใช้ในชีวติ ประจำ�วันได้อย่าง สร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ ตัง้ แต่การเลือกใช้ค�ำ การเรียบเรียงความคิด ความรูแ้ ละการ ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ตรงตามความหมาย และถูกต้องตามกาลเทศะ

ติวภาษาไทยให้ลูกระดับชั้น ป. ๓ สื่อการเรียนรู้ของลูกรัก หนังสือ “ติวภาษาไทยให้ลูก ระดับชั้น ป. ๓” เป็นเล่มที่ต่อเนื่องจากระดับชั้น ป. ๑ และ ป. ๒ ทัง้ นีเ้ นือ้ หาในเล่มนีจ้ ะเป็นหลักภาษาไทยทีเ่ ด็กๆ ในระดับชัน้ ป. ๓ จะต้องรูแ้ ละ ศึกษา ตามตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเนื้อหาจะแบ่งเป็นบทๆ แต่ละบทประกอบด้วยการสรุป เนื้อหาที่เป็นสาระสำ�คัญของเรื่องนั้นๆ กิจกรรมทบทวนและแบบทดสอบเพื่อเสริมทักษะใน การเรียนรู้ รวมถึงแนวข้อสอบท้ายเล่มเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในหลักภาษาไทยให้แม่นยำ� และชำ�นาญมากขึ้น ซึ่งหนังสือเล่มนี้จะทำ�ให้เด็กๆ ในระดับชั้น ป. ๓ ประสบความสำ�เร็จ ในการเรียนภาษาไทย และเป็นพื้นฐานในการต่อยอดการเรียนรู้ที่สูงขึ้นต่อไป


เรียนรู้อย่างไรให้ได้ประสิทธิภาพ ในระหว่างการให้เด็กทำ�กิจกรรมและแบบทดสอบในหนังสือเล่มนี้ พ่อแม่และผูป้ กครอง ควรให้เด็กคิดหาคำ�ตอบด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามข้อกำ�หนดใน พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำ�คัญ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนเต็มตามศักยภาพ และความสามารถของตนเอง การให้เด็กทำ�กิจกรรมและแบบทดสอบด้วยตนเองจะทำ�ให้พ่อแม่ และผูป้ กครองมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่างๆ เกีย่ วกับภาษาไทยของเด็กได้ชดั เจน ซึง่ จะทำ�ให้ ดำ�เนินการหาทางปรับปรุงแก้ไขปัญหานั้นๆ ได้ทันท่วงที

ติวภาษาไทยกับการสร้างสายใยในครอบครัว ๑. ในส่วนการสรุปเนื้อหาที่เป็นสาระสำ�คัญของเรื่อง พ่อแม่และผู้ปกครองควรอธิบาย หรือสอนให้เด็กๆ เข้าใจ เปิดโอกาสให้เด็กๆ ซักถามในส่วนที่สงสัยและไม่เข้าใจ ๒. พยายามให้เด็กๆ ทำ�แบบทดสอบด้วยตนเองอย่างตั้งใจ ไม่เพียงแค่มองผ่านๆ อย่า เฉลยคำ�ตอบหรือวิธีทำ�ที่ถูกต้องก่อน ๓. ให้เด็กๆ ทำ�กิจกรรมและแบบทดสอบทีละเรือ่ ง เมือ่ ทำ�เสร็จแล้วพ่อแม่และผูป้ กครอง ควรพิจารณาคำ�ตอบแล้วพูดคุยกับเด็กๆ ว่าเหตุใดจึงตอบเช่นนั้น เพื่อให้เด็กๆ ได้แสดงความ คิดเห็นอย่างเต็มที่ ๔. พ่อแม่และผู้ปกครองควรกล่าวคำ�ชมเชยเมื่อเด็กๆ ทำ�กิจกรรมและแบบทดสอบได้ ถูกต้อง และให้กำ�ลังใจเมื่อเด็กๆ ทำ�ไม่ได้หรือไม่เข้าใจ เพื่อเป็นการเสริมสร้างกำ�ลังใจพร้อม กับอธิบายเพิ่มเติมในเรื่องที่เด็กๆ ไม่เข้าใจ ๕. หากให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนรู้พร้อมกับทำ�กิจกรรมและแบบทดสอบด้วยตนเอง ควรทำ�ความเข้าใจกับเด็กๆ ไว้ตงั้ แต่ตน้ ว่าไม่ให้เปิดดูเฉลยก่อน เพราะเด็กๆ จะไม่ได้รบั ประโยชน์ อะไรเลย

สำ�นักพิมพ์เอ็มไอเอสมัน่ ใจว่า “ติวภาษาไทยให้ลกู ระดับชัน้ ป. ๓” จะตอบสนอง

หลักการและจุดมุง่ หมายของหลักสูตรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงจะทำ�ให้เด็กไทย เกิดความชำ�นาญในวิชาภาษาไทย และสามารถนำ�ไปต่อยอดการเรียนรูใ้ นระดับทีส่ งู ขึน้ ได้เป็นอย่างดี


สารบัญ บทที่ ๑ พยางค์และค�ำ

บทที่ ๒ การแจกลูก การสะกดค�ำ และการอ่านเป็นค�ำ ๑๒ บทที่ ๓ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา

๑๙

บทที่ ๔ การผันอักษรกลางกับวรรณยุกต์

๒๔

บทที่ ๕ การผันอักษรสูงกับวรรณยุกต์

๒๙

บทที่ ๖ การผันอักษรต�่ำกับวรรณยุกต์

๓๔

บทที่ ๗

๔๐

อักษรควบและอักษรน�ำ

บทที่ ๘ ค�ำที่ประวิสรรชนีย์และค�ำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ๔๖ บทที่ ๙

ค�ำที่มีตัวการันต์และค�ำที่มี รร

๕๑

บทที่ ๑๐

ค�ำที่ใช้ ฤ ฤๅ

๕๖

บทที่ ๑๑

ค�ำที่ใช้ บัน บรร

๖๑

บทที่ ๑๒

ชนิดของค�ำ ๑ (ค�ำนาม)

๖๖

บทที่ ๑๓

ชนิดของค�ำ ๒ (ค�ำสรรพนาม)

๗๑


บทที่ ๑๔

ชนิดของค�ำ ๓ (ค�ำกริยา)

๗๕

บทที่ ๑๕

การใช้พจนานุกรม

๘๐

บทที่ ๑๖

ค�ำคล้องจองและค�ำขวัญ

๘๕

บทที่ ๑๗

ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๑ (ประโยคบอกเล่าและประโยคปฏิเสธ)

๙๑

บทที่ ๑๘

ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๒

๙๗

(ประโยคค�ำถาม)

บทที่ ๑๙

ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๓

(ประโยคขอร้องและประโยคค�ำสั่ง)

บทที่ ๒๐

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น

๑๐๓ ๑๐๗

แนวข้อสอบภาษาไทยระดับชั้น ป. ๓

๑๑๓

เฉลย

๑๒๓


บทที่ ๑

พยางค์และคำ�

พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ หรือหลายครั้ง อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ เช่น ขะ มี ๑ พยางค์ ไม่มีความหมาย ขยะ มี ๒ พยางค์ หมายถึง เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว ขะมักเขม้น มี ๔ พยางค์ หมายถึง ตั้งใจทำ�อย่างรีบเร่งเพื่อให้แล้วเสร็จไป คำ� คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย โดยคำ�อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ เช่น แสบ มี ๑ พยางค์ หมายถึง ความรู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคือง โจ่งแจ้ง มี ๒ พยางค์ หมายถึง เปิดเผย ไม่ปิดบัง สามัคคี มี ๓ พยางค์ หมายถึง ความพร้อมเพรียงหรือความปรองดองกัน

คำ�ที่มีหลายพยางค์อาจประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมายและพยางค์ ที่มีความหมาย คำ�ที่ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น ปัญ + ญา = ปัญญา ปัญ ไม่มีความหมาย ญา ไม่มีความหมาย ปัญญา หมายถึง ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว 6

บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ


คำ�ที่ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายและไม่มีความหมาย หิ่ง + ห้อย = หิ่งห้อย หิ่ง ไม่มีความหมาย ห้อย หมายถึง แขวนติดอยู่ หิ่งห้อย หมายถึง แมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง ลำ�ตัวยาวเป็นรูปทรง กระบอก เปล่งแสงกะพริบ เห็นได้ชัดในเวลากลางคืน คำ�ที่ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายทั้งหมด ชิง + ช้า = ชิงช้า ชิง หมายถึง แข่งขัน แย่ง ช้า หมายถึง ค่อยๆ เคลื่อนไป ไม่ไว ชิงช้า หมายถึง ที่นั่งผูกด้วยเชือก ๒ ข้าง แขวนตามกิ่งไม้หรือ ที่สูง ส�ำหรับนั่งหรือยืนไกวไปมา

คำ� พยางค์ บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ

7


กิจกรรมที่ ๑ เขียนจำ�นวนพยางค์และคำ�ที่กำ�หนดให้ต่อไปนี้ ๑. ลูกหยี

มี ________ พยางค์ ________ คำ�

๒. นาฬิกา

มี ________ พยางค์ ________ คำ�

๓. กระปุกออมสิน มี ________ พยางค์ ________ คำ� ๔. ทรัพยากร

มี ________ พยางค์ ________ คำ�

๕. โฆษณาไอศกรีม มี ________ พยางค์ ________ คำ� ๖. ขะมุกขะมอม

มี ________ พยางค์ ________ คำ�

๗. น้องปั่นจักรยาน มี ________ พยางค์ ________ คำ� ๘. หนังสือกับสมุด มี ________ พยางค์ ________ คำ� ๙. จังหวัดขอนแก่น มี ________ พยางค์ ________ คำ� ๑๐. ฉันซื้อบานชื่น ดาวเรือง กล้วยไม้ กุหลาบ

มี ________ พยางค์ ________ คำ� 8

บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ


กิจกรรมที่ ๒ เขียนเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ถูกต้องเกี่ยวกับพยางค์ของคำ�คำ�นั้น คำ�

คำ�ที่ประกอบ คำ�ที่ประกอบด้วย คำ�ที่ประกอบด้วย ด้วยพยางค์ที่ พยางค์ที่มีความหมาย พยางค์ที่มีความหมาย ไม่มีความหมาย และไม่มีความหมาย ทัง้ หมด

๑. หน้าต่าง ๒. เวลา ๓. น�้ำแข็ง ๔. ก�ำหนด ๕. ลางสาด ๖. ฟุ้งซ่าน ๗. กิ้งก่า ๘. ดีบุก ๙. กีฬา ๑๐. ต�ำลึง บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ

9


กิจกรรมที่ ๓ เติมพยัญชนะหรือสระลงในช่องว่าง ให้เป็นคำ�ที่ตรงตามความหมายที่กำ�หนดให้ ๑. ก __ั __ __ ู

รู้สึกสำ�นึกในบุญคุณ

์ ๒. พ __ า __ ร __

ทำ�นายหรือคาดการณ์โดยอาศัยหลักวิชา

๓. __ __ ม __ ม ม

เปรอะเปื้อน สกปรก

๔. __ __ ร โ __ __

ผู้รักษาและทำ�ความสะอาดสถานที่

่ี ๕. __ __ า __ ย์

ชื่อเรียกวงดนตรีไทยที่มีปี่ ฆ้อง กลอง ตะโพนผสมกัน ๖. __ __ ร __ ก ร ร __ บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้ว และร้อยกรอง ิ ๗. ส __ ร เ __ __ __ กล่าวคำ�ยกย่อง เยินยอคุณงามความดี ๘. __ __ ร __ า

ช่วงเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน

ี ๙. __ า มั __ __

ความปรองดองหรือพร้อมเพรียงกัน

๑๐. จั __ รั __

รูปสี่เหลี่ยมด้านเท่าที่มีมุมภายในเป็นมุมฉาก

10 บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ


แบบทดสอบ : กากบาททับข้อที่เป็นค�ำตอบที่ถูกต้อง ๑. จากภาพ มีกี่พยางค์ ก. ๑ พยางค์ ข. ๒ พยางค์ ค. ๓ พยางค์ ง. ๔ พยางค์ ๒. ข้อใดมีจ�ำนวนพยางค์ตรงกับค�ำว่า “ปฏิบัติ” ก. มกราคม ข. พฤษภาคม ค. มิถุนายน ง. ตุลาคม ๓. ค�ำในข้อใดมี ๕ พยางค์ ก. วิทยาศาสตร์ ข. อนุสาวรีย์ ค. มหรสพ ง. โลกาภิวัตน์ ๔. ข้อใดมี ๔ พยางค์ ๑ ค�ำ ก. กระดังงา ข. ฉันกินข้าว ค. ละลาบละล้วง ง. แมวกินปลาทอด ๕. ข้อใดเป็นค�ำทีป่ ระกอบด้วยพยางค์ ที่มีความหมายและไม่มีความหมาย ก. เก้าอี้ ข. เตียงนอน ค. โต๊ะกลม ง. หมอนอิง

๖. “นาฬิกาตาย” มีพยางค์ที่ไม่มี ความหมายกี่พยางค์ ก. ๑ พยางค์ ข. ๒ พยางค์ ค. ๓ พยางค์ ง. ๔ พยางค์ ๗. ข้อใดเป็นค�ำที่ประกอบด้วยพยางค์ ที่ไม่มีความหมายทั้งหมด ก. กาฝาก ข. มงกุฎ ค. ผุดผ่อง ง. โรงเรือน ๘. คำ�ในข้อใดไม่มีความหมาย ก. รวบ ข. ควบ ค. ชวบ ง. ขวบ ๙. คำ�ในข้อใดประกอบด้วยพยางค์ ที่มีความหมายทั้งหมด ก. เวลา ข. ยีราฟ ค. พันธะ ง. เตาไฟ ๑๐. “นกน้อยทำ�รังแต่พอตัว” มีกี่ พยางค์ ก. ๕ พยางค์ ข. ๖ พยางค์ ค. ๗ พยางค์ ง. ๘ พยางค์

บทที่ ๑ : พยางค์และค�ำ

11


บทที่ ๒

การแจกลูก การสะกดคำ� และการอ่านเป็นคำ�

การแจกลูก คือ การเทียบเสียงของคำ� โดยการเปลี่ยนสระ เปลี่ยนพยัญชนะต้น หรือเปลี่ยนตัวสะกด เช่น กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู วัว มัว รัว บัว นัว สัว ตัว หัว กาก กาด กาง กาน กาม กาบ กาย กาว การสะกดคำ� คือ การอ่านโดยนำ�พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมเป็นคำ�อ่าน เช่น

การสะกดคำ�ที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ กอ-แอ = แก สอ-เอีย-งอ = เสียง ขอ-วอ-อา-งอ = ขวาง ตอ-ลอ-ออ-ดอ = ตลอด

การสะกดคำ�ที่มีรูปวรรณยุกต์ ชอ-อือ-ชือ-ไม้เอก = ชื่อ จอ-แอ-วอ-แจว-ไม้จัตวา = แจ๋ว ปอ-ลอ-เอีย-นอ-เปลียน-ไม้เอก = เปลี่ยน ขอ-ยอ-อุ-มอ-ขยุม-ไม้โท = ขยุ้ม

12 บทที่ ๒ : การแจกลูก การสะกดค�ำ และการอ่านเป็นค�ำ


ลดรูป สระ สระ สระ สระ

สระบางตัวเมื่อประสมกับพยัญชนะและมีตัวสะกด จะมีการลดรูปและเปลี่ยนรูป ดังนี้ -ัว ลดรูป -ั เช่น รอ-อัว-ยอ = รวย -อ ลดรูป -อ (เมื่อ ร เป็นตัวสะกด) เช่น พอ-ออ-รอ = พร โ-ะ ลดรูปทั้งหมด เช่น นอ-โอะ-กอ = นก เ-อ ลดรูป -อ (เมื่อ ย เป็นตัวสะกด) เช่น ผอ-เออ-ยอ = เผย

เปลี่ยนรูป สระ -ะ เปลี่ยนรูป -ะ เป็น สระ เ-ะ เปลี่ยนรูป -ะ เป็น สระ แ-ะ เปลี่ยนรูป -ะ เป็น สระ เ-อ เปลี่ยนรูป -อ เป็น

-ั -็ -็ -ิ

เช่น เช่น เช่น เช่น

คอ-อะ-ดอ = คัด หอ-เอะ-นอ = เห็น ขอ-แอะ-งอ = แข็ง ดอ-เออ-นอ = เดิน

การอ่านเป็นคำ� คือ การอ่านโดยไม่ต้องสะกดคำ�เรียงตามพยัญชนะ สระ และตัวสะกดทีละตัว แต่เป็นการอ่านเป็นคำ�หรือพยางค์เลย เช่น

สับปะรด กระดาษ ราชสีห์ ขยุกขยิก ทรัพยากร โทรทัศน์

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

สับ-ปะ-รด กระ-ดาด ราด-ชะ-สี ขะ-หยุก-ขะ-หยิก ซับ-พะ-ยา-กอน โท-ระ-ทัด

บทที่ ๒ : การแจกลูก การสะกดค�ำ และการอ่านเป็นค�ำ

13


เนื้อหาครอบคลุม

บั หลกั สตู รแกนกลาง ก ๒ ภาคเรี ย น ง อ  ล ค ด ก ารศกึ สอ ษาข นั้ พ

บทที่ ๑๓ ชนิดของคำ ๒ (คำสรรพนาม) บทที่ ๑๔ ชนิดของคำ ๓ (คำกริยา) บทที่ ๑๕ การใชพจนานุกรม บทที่ ๑๖ คำคลองจองและคำขวัญ บทที่ ๑๗ ประโยคเพือ่ การสือ่ สาร ๑ (ประโยคบอกเลา และประโยคปฏิเสธ) บทที่ ๑๘ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๒ (ประโยคคำถาม) บทที่ ๑๙ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๓ (ประโยคขอรอง และประโยคคำสั่ง) บทที่ ๒๐ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น พิเศษทายเลม! แนวขอสอบภาษาไทยระดับชั้น ป. ๓ พรอมเฉลย

ติวภาษาไทยใหลูก ระดับชั้น ป. ๓ หนังสือเด็ก สำหรับเด็กอายุ 8-9 ป

ภาษาไทย

1

294877

741442

ó

».

สรุปเนื้อ

ี่เร ท า ห

ม เฉ ล ย

บทที่ ๑ พยางคและคำ บทที่ ๒ การแจกลูก การสะกดคำ และการอานเปนคำ บทที่ ๓ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรง ตามมาตรา บทที่ ๔ การผันอักษรกลางกับวรรณยุกต บทที่ ๕ การผันอักษรสูงกับวรรณยุกต บทที่ ๖ การผันอักษรต่ำกับวรรณยุกต บทที่ ๗ อักษรควบและอักษรนำ บทที่ ๘ คำที่ประวิสรรชนียและคำที่ไมประวิสรรชนีย บทที่ ๙ คำที่มีตัวการันตและคำที่มี รร บทที่ ๑๐ คำที่ใช ฤ ฤๅ บทที่ ๑๑ คำที่ใช บัน บรร บทที่ ๑๒ ชนิดของคำ ๑ (คำนาม)

ราคา 69 บาท

ÊÒúÑÞ

ม ร ร กิจ ก  อ ส

ข ว น แ และ

 · ä Ò É Ò À ¨Ñ§ §‹ÒÂ

บาท 9 6 า

ราค

การใหลูกรักไดทำกิจกรรมและแบบทดสอบในหนังสือเลมนี้ จะชวยใหคุณ ทราบถึงพัฒนาการและความเขาใจเนื้อหาในแตละบทเรียนของลูกไดมากขึ้น ทำใหมองเห็นจุดเดนหรือปญหาตางๆ เกี่ยวกับภาษาไทยของลูก และหาทางปรับปรุงแกไขปญหานั้นๆ ไดทันทวงที

µÔÇ ÀÒãËŒÉÒä·Â ÅÙ¡

ยน ท อบ บ ทวนท้ังหมด พ รอ

จัดทำขึ้นตามตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งในแตละบทจะสรุปเนื้อหาที่เปนสาระสำคัญของเรื่องนั้นๆ พรอมสอดแทรกกิจกรรมทบทวนและแบบทดสอบเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู นอกจากนี้ในทายเลมยังไดรวบรวมแนวขอสอบ เพื่อเสริมสรางความเขาใจในหลักภาษาไทยใหแมนยำและชำนาญมากขึ้น เหมาะอยางยิ่งใหเด็กๆ ไดทบทวนและฝกฝนใหคลองแคลวกอนสอบจริง

น นื้ ฐา

ติวภาษาไทยใหลูก ระดับชั้น ป. ๓


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.