For web r int 271 [สารานุกรมประกอบภาพ การขนส่ง] 2

Page 1

สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว

หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-919-2

9

786165

279192

หมวด : สารานุกรม 125.-

การขนส ง

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

การขนส ง เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ



สารานุกรมประกอบภาพ

การขนส ง ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

TRANSPORT


ISBN : 978-616-527-919-2 ราคา 125 บาท ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA TRANSPORT Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล อารดา กันทะหงษ์ ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร ชนาภัทร พรายมี, ดุจดาว บัวทอง เสียงบรรยาย Talking Pen กิตติมา ธารารัตนกุล ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


สารานุกรมประกอบภาพ

การขนส ง ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

TRANSPORT


สารบัญ เรื่องเกี่ยวกับเรือ

6

เรือและเรือด�ำน�้ำ

8

รถจักรไอน�้ำ

10

รถไฟยุคใหม่

12

เรื่องเกี่ยวกับรถยนต์

14

ส่วนประกอบของรถยนต์

16

เรื่องเกี่ยวกับการบิน

18

อากาศยาน

20

เครื่องยนต์เจ็ต

22

เรื่องเกี่ยวกับยานอวกาศ

24

ยานอวกาศ

26

บันทึกสถิติโลก

28

ดัชนี

30


เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้

ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้” หรือ “ประวัติศาสตร์โดยย่อ”

ประวัติศาสตร์โดยย่อ/เกร็ดน่ารู้ บทน�ำ

อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็น

อักษรตัวหนา

ใช้เน้นค�ำที่มีความส�ำคัญที่ไม่มี แสดงในรายการค�ำอธิบายอื่น

หัวข้อย่อยท�ำให้อ่านได้สะดวก แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วยค�ำอธิบาย สั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร

ช่วยสรุปเหตุการณ์สำ� คัญแบบสัน้ ๆ ตาม ช่วงเวลา ส่วนเกร็ดน่ารู้จะให้ข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ ที่แสดง เป็นข้อๆ ซึ่งง่ายต่อการอ่าน

เลขหน้า

เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ


เรื่องเกี่ยวกับเรือ

เรือกลไฟในยุคแรก ปล่องไฟสามารถ ใช้แทนเสากระโดงได้ในการขับเคลื่อน

รือในยุคแรกถูกประดิษฐ์ขนึ้ จากท่อนไม้ ต้นกก หรือหนังสัตว์ น�ำมามัดรวมกัน แล้วใช้ไม้พาย หรือไม้ยาวๆ ถ่อเรือให้เคลือ่ นทีไ่ ปข้างหน้า เรือใบ ขนาดเล็กล�ำแรกถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว ในช่วงหลายร้อยปีที่ผ่านมา เรือ เริ่มมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ และมีใบเรือเพื่อช่วย รับลมได้ดียิ่งขึ้น ในศตวรรษที่ 19 เรือล�ำแรก ของโลกทีข่ บั เคลือ่ นด้วยพลังไอน�ำ้ ก็ถอื ก�ำเนิดขึน้ พอถึงปี ค.ศ. 1900 เราก็ใช้เรือยนต์ขนาดใหญ่ ขับเคลือ่ นด้วยไอน�ำ้ เพือ่ ขนส่งสินค้า แต่เมือ่ เข้าสู่ กลางศตวรรษที่ 20 เครื่องยนต์ไอน�้ำก็ถูกแทนที่ ด้วยเครื่องยนต์ดีเซล

เรือใบสามเสา (Barque) เรือใบทีแ่ ล่นข้ามมหาสมุทร เรือคอราเคิล (Coracle) เรือจับปลาแบบโบราณส�ำหรับ เพื่อบรรทุกสินค้าในศตวรรษที่ 18 แม้เรือประเภทนี้จะ มีขนาดใหญ่ แต่กลับใช้คนงานเพียงเล็กน้อย เรือใบ สามเสาขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มีชื่อว่า ฟรานซ์ 2 (France II) ถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1911

นั่งได้เพียงคนเดียว มีนำ�้ หนักเบาท�ำให้สะดวกต่อการ เคลื่อนย้าย ตัวเรือท�ำจากต้นกกหรือไม้ และต้องใช้ ไม้พายในการถ่อเรือ

เรือใบดาว (Dhow) เรือใบแบบโบราณของชาวอาหรับ

เรือรบ (Battleship) เรือติดอาวุธขนาดใหญ่ที่มีทั้งปืน มีใบเรือรูปสามเหลี่ยม 1 ใบหรือมากกว่านั้น และขีปนาวุธ เรือรบล�ำแรกที่ขับเคลื่อนด้วยไอน�้ำถูก ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อช่วงปี ค.ศ. 1800-1809

เรือคาราเวล (Caravel) เรือใบทีแ่ ล่นได้เร็ว น�ำ้ หนักเบา

และมีท้องเรือลึก ใช้ส�ำหรับบรรทุกสินค้า ถูกพัฒนา ขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในศตวรรษที่ 15

6

เรือคาร์แรค

เรือใบขนาดใหญ่ที่แล่นข้าม มหาสมุทร ถูกประดิษฐ์ขึ้นในทวีปยุโรปในศตวรรษ เรือเอสเอส เกรทอีสเทิร์น (The SS Great Eastern) ที ่ 15 เรื อ คาร์ แ รคมี ท ง ้ ั แบบสามหรื อ สี เ ่ สากระโดง และ เรือท้องแบน (Barge) เรือที่มีท้องแบนยาว ใช้ เรือแคนูแบบขุด (Dugout canoe) เรือที่ประดิษฐ์ขึ้น ส�ำหรับการขนส่งสินค้าไปตามแม่น�้ำและล�ำคลอง มีใบเรือรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมรวมกัน เรือท้องแบนยุคแรกจะถูกลากไปตามล�ำน�้ำด้วยม้า เรือคลิปเปอร์ (Clipper) เรือใบที่มีตัวเรือเพรียวลม แบบง่ายๆ โดยน�ำล�ำต้นของต้นไม้มาแล้วขุดเอาเนือ้ ไม้ ส่วนเรือท้องแบนยุคใหม่สามารถขับเคลื่อนได้เอง แล่นได้เร็ว ถูกประดิษฐ์ขึ้นในศตวรรษที่ 19 ส�ำหรับ ออก เรือชนิดนี้ขับเคลื่อนด้วยไม้พาย เรือขุดถือเป็น เรือที่เก่าแก่ที่สุดในโลก บรรทุกสินค้าอย่างเช่น ชา และเครื่องเทศ หรือถูกลากด้วยเรือโยง ชนเผ่าดั้งเดิมของอเมริกาก�ำลังต่อเรือแคนู

เรือใบยุคแรก

เรือทริรีม 480 ปีก่อนคริสตกาล

เรือรบของชาวอียิปต์ (ด้านซ้าย) 1,400 ปี ก่อนคริสตกาล

(Carrack)

เรือส�ำเภาของชาวจีน ในศตวรรษที่ 15 (ด้านขวา)

เรือคาร์แรคของ ชาวเบลเยียม ในศตวรรษที่ 15 (ด้านขวา)

เรือของชาวฟินิเชียน (ด้านซ้าย) 800 ปี ก่อนคริสตกาล

เรือคาราเวลของ ชาวโปรตุเกส ในศตวรรษที่ 15

เรือยาวของชาวไวกิ้ง (ด้านซ้าย) ในปี ค.ศ.900

เรือแกลเลียนของชาวสเปน ในศตวรรษที่ 17


เรือไททานิก

เรือแกลเลียน (Galleon) เรือที่มีใบเรือรูปสี่เหลี่ยม มี เรือกลไฟ (Paddle steamer) เรือที่ใช้เครือ่ งยนต์ไอน�ำ้ ช่วย

ดาดฟ้าเรืออย่างน้อย 2 แห่ง และมีปนื ใหญ่ ชาวยุโรปนิยม หมุนล้อใบพัดทัง้ สองด้านของตัวเรือ เรือกลไฟเชิงพาณิชย์ ใช้เรือแกลเลียนในศตวรรษที่ 16-18 ส�ำหรับท�ำสงคราม ถูกประดิษฐ์ขนึ้ ครัง้ แรกเมือ่ ปี ค.ศ. 1807 โดยชาวอเมริกนั และท�ำการค้า ชื่อ โรเบิร์ต ฟุลตัน (Robert Fulton, 1765-1815)

เอสเอส เกรทบริเตน (SS Great Britain) เรือโดยสารที่

ถูกออกแบบขึน้ เมือ่ ปี ค.ศ. 1843 โดยวิศวกรชาวอังกฤษ ชื่อ อิแซมบาร์ด คิงดอม บรูเนล (Isambard Kingdom Brunel, 1806-1859) เป็ น เรื อ จั กรไอน�้ ำ ล� ำ แรกที่ ขับเคลื่อนด้วยใบพัดแบบเกลียว

เอสเอส เกรทอีสเทิร์น (SS Great Eastern) เรือกลไฟ

ที่ประดิษฐ์ขึ้นจากเหล็กเมื่อปี ค.ศ. 1858 โดยบรูเนล (Brunel) สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ถึง 4,000 คน และเป็นเรือขนาดใหญ่ที่สุดในโลกในช่วงเวลานั้น

เรือจักรไอน�้ำ

เรือฟรานซ์ 2 เรือใบที่ใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์ ท้องเรือท�ำจาก เหล็กและมีความยาวถึง 147 เมตร

เรือที่มีเครื่องจักรไอน�้ำ ส�ำหรับหมุนล้อใบพัด เรือจักรไอน�ำ้ ยุคแรกๆ จะติดตั้ง ใบเรือด้วย เนื่องจากไม่สามารถบรรทุกถ่านเชื้อเพลิง ได้มากพอส�ำหรับการเดินทางไกลๆ และการใช้แรง เครื่องจักรอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอ

ไททานิก

(Steamship)

เรือเดินสมุทรที่ขับเคลื่อนด้วย เรือแกลลี (Galley) เรือที่มีรูปร่างเพรียวยาว ชาวกรีก ไอน�้ำ ในระหว่างการเดินทางเที่ยวแรก เรือไททานิก และชาวโรมันยุคโบราณนิยมใช้ในการรบ โดยมีเครื่อง เกิดอุบัติเหตุชนภูเขาน�้ำแข็งแล้วอับปางลงในปี ค.ศ. กระทุง้ ปลายแหลมติดอยูท่ หี่ วั เรือเพือ่ ใช้โจมตีเรือข้าศึก 1912 ท�ำให้มีผู้โดยสารเสียชีวิตถึง 1,500 คน บางครั้งก็ติดตั้งใบเรือด้วย แต่ส่วนใหญ่จะใช้ไม้พาย เรือทริรมี (Trireme) เรือรบโบราณของชาวกรีก โรมัน เรือส�ำเภา (Junk) เรือโบราณของชาวจีนที่ใช้ไม้ไผ่ทำ� โครง และฟินเิ ชียน ขับเคลือ่ นด้วยใบเรือและไม้พายสามแถว ใบเรือ และมีหางเสือตรงทวนท้ายเรือส�ำหรับควบคุม ทิศทาง ใต้ท้องเรือถูกกั้นเป็นช่วงๆ เพื่อเพิ่มความ แข็งแรงให้เรือ และช่วยให้เรือจมช้าลงในกรณีที่เกิด อุบัติเหตุ

เรือนาร์ (Knarr) เรือใบที่มีท้องเรือตื้น โดยใช้แผ่นไม้

ซ้อนเหลื่อมหรือซ้อนทับกัน ชาวไวกิ้งนิยมใช้เรือนาร์ เมื่อ 1,200 ปีที่แล้วเพื่อเดินทางค้าขาย และต่อมาก็ใช้ เพื่อออกส�ำรวจมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ

เรือยาวไวกิ้ง (Longship) เรือรูปร่างเพรียว แล่นได้

เร็ว ขับเคลือ่ นโดยใช้ทงั้ ใบเรือรูปสีเ่ หลีย่ มและไม้พาย ที่ หัวเรือมักสลักเป็นรูปหัวมังกร เป็นเรือส�ำหรับน�ำกองทัพ นักรบไวกิ้งเข้าสู่สงคราม

(Titanic)

ประวัติศาสตร์โดยย่อ ประมาณ 8,000 ปีก่อนคริสตกาล เรือแคนู แบบขุดถูกประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรก ประมาณ 3,500 ปีก่อนคริสตกาล เรือใบถูก ประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรกในอียิปต์ยุคโบราณ ประมาณ 700 ปีกอ่ นคริสตกาล เรือทริรมี ถูก ประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรก ประมาณ 200 ปีก่อนคริสตกาล เรือส�ำเภา ถูกประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรกในจีน ประมาณปี ค.ศ. 1000 ชาวไวกิ้งใช้เรือนาร์ ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก ประมาณปี ค.ศ. 1450 เรือคาร์แรคถูกประดิษฐ์ ขึ้นใช้ครั้งแรก ประมาณปี ค.ศ. 1500 เรือแกลเลียนถูก ประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรกในทวีปยุโรป ประมาณปี ค.ศ. 1807 เรือกลไฟเชิงพาณิชย์ ถูกประดิษฐ์ขึ้นใช้ครั้งแรกในทวีปอเมริกา ประมาณปี ค.ศ. 1839 เรือจักรไอน�้ำเริ่มติด ตั้งใบพัดแบบเกลียว เรือรบขณะจอดอยู่ที่ท่าเรือ

7


เมื่อเทียบกับเรือบรรทุกอากาศยาน (ด้านล่าง) แล้ว เรือคาร์แรคในศตวรรษที่ 15 กลับมีขนาดเล็กจิ๋วไปเลย

เรือและเรือด�ำน�้ำ

รือขนาดใหญ่ (ship) คือยานพาหนะทีใ่ ช้สำ� หรับ บรรทุกผูโ้ ดยสารและสินค้าข้ามทะเล เรือขนาด เล็ก (boat) ถูกออกแบบมาใช้สำ� หรับล่องไปตาม แม่นำ�้ ล�ำคลอง หรือริมชายฝัง่ ทะเล ส่วนเรือด�ำน�ำ้ (submarine) คือยานพาหนะที่สามารถเดินทาง ใต้น�้ำได้ เรือขนาดใหญ่และเรือขนาดเล็กหลาย ประเภทขับเคลื่อนโดยการใช้เครื่องยนต์ดีเซล ช่วยหมุนใบพัด เราแบ่งแยกประเภทของเรือตาม ลักษณะการใช้งาน นัน่ คือ เรือส�ำหรับการค้า เช่น เรือขุด เรือส่งสินค้า นอกจากนี้ยังมีเรือที่ใช้ใน กองทัพ เรือประมง และเรือส�ำหรับท�ำกิจกรรม สันทนาการด้วย เรือบรรทุกอากาศยาน

8

เรือ ขนาดใหญ่ส�ำหรับใช้ในกองทัพ มีดาดฟ้าส�ำหรับ ใช้เป็นรันเวย์ให้เครื่องบินขึ้นและลงจอดได้ ด้านใต้ ดาดฟ้าเรือจะเป็นโรงเก็บเครื่องบิน (Aircraft carrier)

หัวเรือ

(Bow)

เรื อ แกรนด์ ป ริ น เซส เรือส�ำราญ (ด้านซ้าย) ที่มีทั้งสระว่ายน�้ำ บาร์ รวมทัง้ สนามกอล์ฟด้วย

ส่วนหน้าของเรือ บางครั้ง เรี ย กในภาษาอั ง กฤษว่ า ฟอร์ (fore) เรือหลายล�ำมักมีหัวเรือ ที่มีลักษณะแหลมยื่นออกมา

หอบังคับการเรือ (Bridge) ห้องที่อยู่ส่วนบนของเรือ เรือเฟอร์รี่ (Ferry) เรือที่บรรทุกรถยนต์และผู้โดยสาร

ส�ำหรับให้ลูกเรือบังคับและควบคุมการท�ำงานของเรือ ข้ามไปยังอีกฝั่งของล�ำน�้ำในระยะทางสั้นๆ เรือขนส่งสินค้า (Cargo ship) เรือขนาดใหญ่ที่ใช้สำ� หรับ เรือสะเทินน�ำ้ สะเทินบก (Hovercraft) เรือทีส่ ามารถ ขนส่งสินค้า หรือบางครัง้ เรียกว่า เฟรเทอร์ (freighter) ขับเคลือ่ นบนผิวน�ำ้ ได้ดว้ ยเบาะอัดอากาศ โดยใบพัดจะ ในภาษาอังกฤษ ช่วยส่งแรงลมเข้าไปใน “กระโปรง” ใต้ท้องเรือ ซึ่งจะ

เรือแคทามาราน (Catamaran) เรือที่มีลำ� เรือ 2 ล�ำ เก็บอากาศและพองตัวขึ้นเพื่อยกเรือให้ลอยเหนือน�ำ้

เชื่อมต่อกัน มีดาดฟ้า 1 ชั้นหรือมากกว่านั้น เรือ แคทามารานบางประเภทจะติดตั้งใบเรือเพื่อใช้ในการ แข่งขันความเร็ว ถ้าเป็นเรือขนาดใหญ่จะขับเคลื่อน ถังอับเฉา (Ballast tank) ช่องทีถ่ กู กัน้ ไว้ใต้ทอ้ งเรือ ด้วยเครือ่ งยนต์ดเี ซล และใช้เป็นเรือข้ามฟากความเร็ว สูงได้ด้วย ส�ำหรับสูบน�้ำเข้ามาหรือปล่อยออก เมื่อต้องการให้ เรือคอนเทนเนอร์ (Container ship) เรือทีข่ นส่งสินค้า ท้องเรือจมลงต�ำ่ กว่าระดับปกติและรักษา มาในตูเ้ หล็กขนาดใหญ่ทเี่ รียกว่า ตูค้ อนเทนเนอร์ โดยต้อง จุดศูนย์ถ่วงไว้ก็ให้สูบน�้ำเข้ามา หาก ใช้เครนหรือล้อเลือ่ นช่วยในการยกขนถ่ายสินค้าทีท่ า่ เรือ เป็นเรือด�ำน�ำ้ เราจะสูบน�้ำเข้ามาใน ถังเพื่อให้เรือด�ำลงใต้น�้ำ และไล่น�้ำ เรือส�ำราญ (Cruise ship) เรือโดยสารขนาดใหญ่ที่ ออกจากถังเพือ่ ให้เรือลอยขึน้ สูผ่ วิ น�ำ้ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สำ� หรับการท่องเที่ยวพักผ่อน

เรือสปิริต ออฟ ออสเตรเลีย

ท้องเรือ

ส่วนของเรือที่จมอยู่ในน�้ำ ด้านใน ดาดฟ้าเรือ (Deck) พื้นราบที่อยู่ตอนบนของ ท้องเรือคือพืน้ ราบและผนังยกสูงทีเ่ รียกว่า ผนังแบ่งเรือ เรือขนาดใหญ่ (bulkhead) เรือขุด (Dredger) เรือที่ใช้สำ� หรับขุดลอกดิน เรือไฮโดรฟอยล์ (Hydrofoil) เรือเร็วที่มีโครงสร้าง ตะกอนออกจากพื้นทะเล เพื่อให้ทางน�้ำ คล้ายปีกใต้น�้ำช่วยสร้างแรงยก ให้เรือเคลื่อนที่ไป ลึกพอส�ำหรับเรือขนาดใหญ่สญั จรไป ข้างหน้า และช่วยยกล�ำเรือให้สูงขึ้น รวมทั้งลด มาได้อย่างสะดวก แรงต้านใต้นำ�้

เสาส่งคลื่นวิทยุ และเรดาร์

ดาดฟ้าเรือ

หอบังคับ การเรือ

เรือไฮโดรเพลน (Hydroplane) เรือเร็วขนาดเล็ก มี

เหล็กยาว 2 ชิ้นยื่นออกเพื่อช่วยยกท้องเรือให้ลอย เหนือน�้ำ แต่ใบพัดยังคงอยู่ใต้น�้ำ เรือไฮโดรเพลนที่ชื่อ ว่า สปิริต ออฟ ออสเตรเลีย (Spirit of Australia) ท�ำ สถิติแล่นได้เร็วที่สุดถึง 511 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ห้องพักลูกเรือ เครื่องยนต์

ส่วนประกอบของเรือโยง

(Hull)

ท้องเรือ

ใบพัด


4

ภายในเรือด�ำน�ำ้

1

ค�ำส�ำคัญ

5

1. ใบพัด 2. ยานด�ำน�้ำ 3. เครื่องยนต์ 4. กล้องตาเรือ 5. หอบังคับการเรือ 6. ห้องควบคุมเรือ 7. ตอร์ปิโด 8. พื้นที่ส�ำหรับลูกเรือ 9. ถังอับเฉา

3 6 8 2

7

9

กระดูกงู

โครงไม้หรือเหล็กที่ทอดยาวตลอด ใบพัดแบบเกลียว (Screw propeller) ส่วนประกอบ จากหัวเรือถึงท้ายเรือ ของเรือที่เป็นใบพัดรูปเกลียวโค้ง เมื่อใบพัดหมุน เรือชูชพี (Lifeboat) เรือขนาดเล็กทีต่ ดิ ตัง้ บนเรือขนาด น�ำ้ จะถูกสูบเข้ามาแล้วดันน�ำ้ ออกไปทางด้านหลังท�ำให้ ใหญ่ ใช้เมือ่ เกิดเหตุฉกุ เฉิน หรืออาจหมายถึงเรือทีถ่ กู เรือสามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ (Keel)

เรือลากอวน

(Trawler)

ลากอวนจับปลา

เรือโยง

เรือขนาดเล็กที่ใช้ส�ำหรับ

เรือขนาดเล็กที่ใช้ส�ำหรับลาก โยงหรือดึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่า เพื่อลากเรือให้เข้า ส่งออกไปช่วยชีวิตผู้โดยสารที่ติดอยู่บนเรือขนาดใหญ่ กราบขวา (Starboard) กราบด้านขวาของเรือเมื่อเรา เทียบท่าหรือออกจากท่าได้ในต�ำแหน่งที่เหมาะสม ล�ำอื่นๆ ก็ได้ หันหน้าไปทางหัวเรือ เรือยอชต์ (Yacht) เรือใบขนาดเล็กที่ใช้ส�ำหรับ

เรือเดินสมุทร (Ocean liner) เรือขนาดใหญ่ที่ใช้สำ� หรับ ท้ายเรือ

(Tugboat)

ด้านท้ายของเรือ บางครั้งเรียกใน สันทนาการหรือการกีฬา ถ้าเป็นเรือยอชต์ขนาดใหญ่ เดินทางข้ามมหาสมุทร ถูกออกแบบให้ทนต่อการ ภาษาอังกฤษว่า อาฟต์ (aft) มักจะมีห้องรับรองที่สวยงามและหรูหราอยู่ภายใน โต้คลืน่ ลมแรงในทะเล รวมทัง้ มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก เรือด�ำน�้ำ (Submarine) เรือที่เดินทางใต้น�้ำ มีถัง เกร็ดน่ารู้ ต่างๆ ให้กับผู้โดยสารด้วย อับเฉาช่วยในการด�ำลงหรือลอยขึน้ เหนือผิวน�ำ้ เรือด�ำน�ำ้ เรือด�ำน�ำ้ ล�ำแรกที่ประสบความส�ำเร็จในการ กล้องตาเรือ (Periscope) อุปกรณ์ที่ใช้กระจกหัก ขนาดใหญ่ที่ใช้ในมหาสมุทรจะขับเคลื่อนด้วยพลัง มุมฉากเพื่อมองสิ่งที่อยู่เหนือระดับสายตา โดยเราจะ นิวเคลียร์ ส่วนเรือด�ำน�้ำขนาดเล็กจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ด�ำน�ำ้ ชือ่ ว่า เดอะ เทอร์เทิล (the Turtle) ถูกประดิษฐ์ ใช้กล้องชนิดนี้กับเรือด�ำน�้ำเพื่อช่วยให้มองเห็นเหนือ และขับเคลื่อนด้วยแบตเตอรี่ เมื่อลอยขึ้นเหนือผิวน�ำ้ ขึน้ ในอเมริกาเมือ่ ปี ค.ศ. 1755 เพือ่ ต่อสูก้ บั เรือของ อังกฤษในสงครามประกาศอิสรภาพของอเมริกา แล้วจึงจะใช้เครื่องยนต์ดีเซลแทน ระดับผิวน�้ำได้โดยที่เรือยังคงอยู่ใต้นำ�้ เรือคอนเทนเนอร์ขนาดใหญ่สามารถบรรทุก กราบซ้าย (Port) กราบด้านซ้ายของเรืออยู่ในต�ำแหน่ง ตูค้ อนเทนเนอร์ได้มากถึง 15,000 ตูใ้ นหนึง่ เทีย่ ว เมื่อเราหันหน้าไปทางหัวเรือ เรือแคทามาราน ประมาณ 90% ของสินค้าทีผ่ ลิตจากโรงงาน เรือยนต์ (Powerboat) เรือเร็วที่มีหัวเรือแหลมและ ทัว่ โลกจะถูกขนส่งทางเรือ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นเรือ เครือ่ งยนต์ทรงพลัง ท้องเรือจะแล่นแฉลบไปบนผิวน�ำ้ คอนเทนเนอร์ ด้วยความเร็วสูง เรื อ ที่ ย าวที่ สุ ด ในโลกคื อ เรื อ หางเสือเรือ (Rudder) ส่วนประกอบของเรือที่เหมือน ยานด�ำน�ำ้ (Submersible) เรือด�ำน�ำ้ ขนาดจิว๋ ใช้สำ� หรับ บรรทุกน�้ำมันชื่อว่า ซีไวซ์ ไจแอนท์ ใบพัด อยู่ใต้น�้ำบริเวณท้ายเรือ เมื่อใบพัดหมุนจะเกิด การส�ำรวจความลึกของมหาสมุทร หรือใช้สำ� หรับภารกิจ (Seawise Giant) ต่อมาถูกเปลี่ยน แรงจากน�ำ้ ดันหางเสือเรือท�ำให้เรือเปลี่ยนทิศทาง ซ่อมบ�ำรุงใต้นำ�้ ชือ่ เป็น นอค เนวิส (Knock Nevis) เรือใบ (Sailing ship) เรือที่ขับเคลื่อนด้วยผืนผ้าใบที่ เรือบรรทุกน�ำ้ มัน (Tanker) เรือขนาดใหญ่ทอี่ อกแบบมา มีความยาวถึง 458 เมตร แต่ ปรับท�ำมุมพอดีเพื่อรับลมให้เรือแล่นไปได้ ใบเรือจะ เพือ่ การขนส่งของเหลว อย่างเช่น น�ำ้ มัน หรือสารเคมี ถูกปลดระวางและท�ำลาย ถูกยึดไว้ดว้ ยเสาสูง 1 เสาหรือมากกว่านัน้ ก็ได้ เรียกว่า เรื อ บรรทุ ก น�้ ำ มั น ขนาดใหญ่ ที่ สุ ด มี ความยาวถึ ง ทิ้งไปเมื่อเดือนธันวาคม เรือยอชต์สำ� หรับ 450 เมตร เสากระโดงเรือ (mast) ค.ศ. 2009 การแข่งความเร็ว (Stern)

9


รถจักรไอน�้ำ

หม้อไอน�ำ้ (Boiler) ถังทีบ่ รรจุนำ�้ ส�ำหรับต้ม เมือ่ น�ำ้ โดน

ความร้อนจะระเหยกลายเป็นไอน�ำ้ เมือ่ เก็บไอน�ำ้ ไว้มากระดับหนึง่ แล้วก็จะเกิดแรงดันขึน้ ซึง่ จะถูกส่งต่อไปยังกระบอกสูบ เพื่อดันลูกสูบให้เคลื่อน ถไฟคือยานพาหนะทีป่ ระกอบด้วยหัวรถจักร ล้อรถไปข้างหน้า

และตู้โดยสาร สามารถแล่นไปตามรางที่ ก�ำหนดเส้นทางไว้ เรียกว่า รางรถไฟ (railway) รถไฟขบวนแรกถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อเกือบ 200 ปี ที่แล้ว ขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรไอน�้ำ โดยใช้ พลังไอน�ำ้ แรงดันสูง ก่อนทีจ่ ะมีการประดิษฐ์รถไฟ ขึ้นใช้นั้น มนุษย์เราสามารถเดินทางได้เร็วที่สุด ด้วยการขี่ม้า ดังนั้นการพัฒนาเส้นทางรถไฟจึง ท�ำให้เราสามารถเดินทางได้รวดเร็วขึ้น และการ ขนส่งสินค้าก็ง่ายขึ้นด้วย

10

หัวรถจักร

(Locomotive)

ยานพาหนะทีข่ บั เคลือ่ นได้เอง มักจะอยู่ด้านหน้าหรือด้านหลังของ รถไฟ และจะใช้สำ� หรับลากหรือดึงรถไฟก็ได้

มัลลาร์ด

เป็นรถจักรไอน�้ำที่เร็วที่สุด ในประวัติศาสตร์ สามารถท�ำสถิติวิ่งได้เร็วถึง 201 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อปี ค.ศ. 1938 รถจักรไอน�ำ้ “บิ๊กบอย”

(Mallard)

ทางรถไฟบนภูเขา (Mountain railway) ทางรถไฟที่

สร้างขึน้ เพือ่ วิง่ บนภูเขาทีล่ าดชัน ถ้าเป็นทางรถไฟบน ภูเขาลาดชันมากๆ หรือทีเ่ รียกว่า ทางรถไฟแบบเฟือง รถจักรไอน�ำ้ “บิ๊กบอย” (“Big Boy” locomotive) ปล่องควัน (Chimney) ท่อกลวงทรงสูงที่อยู่ด้านหน้า สะพาน (rack and pinion railway) จะต้องใช้ล้อรถ รถจักรไอน�ำ้ ประเภทหนึง่ ทีถ่ กู ประดิษฐ์ขนึ้ ในอเมริกา รถจักรไอน�ำ้ ใช้ส�ำหรับปล่อยควันจากเครื่องยนต์และ แบบเฟืองเล็ก เพื่อช่วยในการยึดเกาะซี่รางรถไฟไว้ เมื่อช่วงปี ค.ศ. 1940-1949 มีความยาว 40 เมตร ไอน�ำ้ จากกระบอกสูบขึ้นสู่ท้องฟ้า และหนักถึง 600,000 กิโลกรัม นับเป็นรถจักร ไอน�้ำที่ทรงพลังที่สุด หนักที่สุด และใหญ่ที่สุดใน ล้อขับเคลือ่ น (Driving wheel) ล้อทีห่ มุนให้รถจักรไอน�ำ้ เคลื่อนที่ไปข้างหน้า การเคลื่อนที่ไปมาของลูกสูบใน ประวัติศาสตร์เลยทีเดียว เครื่องจักรที่อยู่ติดกับก้านสูบช่วยให้ล้อรถจักรหมุนได้

เตาเผาไหม้

พื้นที่ส�ำหรับเผาถ่านหินเพื่อ ต้มหม้อไอน�้ำ และจะมีช่างควบคุมเตาเพื่อคอยเติม ถ่านหินในเตา (Firebox)

ขนาดความกว้างของรางรถไฟ ระหว่างราง 2 เส้นของทางรถไฟ รถจักรไอน�ำ้ เทรวิธิค (ด้านบน) รถจักรไอน�ำ้ ร็อกเก็ตของสตีเฟนสัน (ด้านล่าง)

(Gauge)

ระยะห่าง รถจักรไอน�ำ้ ก�ำลังเติมน�ำ้ ทีจ่ ดุ พักเติมน�ำ้

รถไฟรางแคบ

รางรถไฟ ที่มีระยะห่างน้อยกว่า 1.5 เมตร และมีช่วงโค้งที่แคบ กว่าทางรถไฟมาตรฐานทั่วไป เช่น ทางรถไฟลาดชัน บนภูเขา และทางรถไฟที่ต้องผ่านอุโมงค์แคบ เช่น ในเหมืองแร่ (Narrow-gauge railway)

กันชน (Pilot) เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า “คาวแคตเชอร์”

เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งด้านหน้าหัวรถจักร ไอน�้ำ ใช้ส�ำหรับดันสิ่งกีดขวางให้พ้นจากรางรถไฟ (cowcatcher)

รถจักรไอน�ำ้ แบบอเมริกันที่นิยมใช้ในช่วงปลาย ศตวรรษที่ 19 (ด้านล่าง) มีคนขับอยู่ด้านหน้า

ร็อกเก็ต (Rocket) รถจักรไอน�ำ้ ทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ โดยจอร์จ

สตีเฟนสัน (George Stephenson) สามารถวิ่งได้เร็ว 47 กิโลเมตร/ชั่วโมง ร็อกเก็ตชนะการประกวดและได้ ต�ำแหน่งรถจักรไอน�ำ้ ยอดเยี่ยมในปี ค.ศ. 1829 และ ยังสร้างแรงบันดาลใจให้กับการออกแบบรถจักรไอน�้ำ รุ่นต่อๆ มาด้วย


ระบบอาณัติสัญญาณ

อุปกรณ์ที่ติดตั้ง ริมทางรถไฟ ใช้ส�ำหรับส่งสัญญาณให้คนขับรถไฟ ทราบสภาพเส้นทางข้างหน้า ระบบอาณัติสัญญาณ ยุคแรกๆ จะใช้ระบบกลไกไม้บอกสัญญาณ (mechanical arm) แต่ปจั จุบนั นิยมใช้ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ (Signal)

จอร์จ สตีเฟนสัน (ค.ศ. 1781-1848) (Stepheson,

วิศวกรชาวอังกฤษผู้สร้างเส้นทางรถไฟ สาธารณะส�ำหรับรถจักรไอน�้ำขึ้นเป็นครั้งแรก ขนาด ความกว้างของรถไฟที่ออกแบบขึ้นนี้ถูกใช้เป็นเกณฑ์ “ความกว้างแบบมาตรฐาน” ในปัจจุบัน ซึ่งนับเป็น 60% ของรางรถไฟที่ใช้กันทั่วโลกเลยทีเดียว George)

ทางรถไฟสายดาร์จลี งิ หิมาลายัน (Darjeeling Himalayan Railway) เป็นทางรถไฟช่วงแคบทีย ่ งั คงเปิดให้รถจักรไอน�ำ้ ใช้สัญจรอยู่ในปัจจุบัน

สายพาน (Stoker) เครือ่ งจักรทีช่ ว่ ยเติมถ่านหินเข้าไป

ในเตาเผาไหม้ บางเครื่องสามารถเติมถ่านหินได้มาก ถึง 22,000 กิโลกรัม/ชั่วโมง เลยทีเดียว

ริชาร์ด เทรวิธิค (ค.ศ. 1771-1833)

(Trevithick,

วิศวกรชาวอังกฤษผู้ประดิษฐ์รถจักรไอน�้ำ ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1804 รถจักรไอน�ำ้ ของเขาถูก ออกแบบมาเพือ่ ใช้ลากรถบรรทุกในงานช่างเหล็ก และ สามารถลากเหล็กได้มากถึง 10,000 กิโลกรัม เลยทีเดียว Richard)

ช่างควบคุมเตาบนรถจักรไอน�ำ้ ก�ำลัง เติมเชื้อเพลิงในเตาเผาไหม้

ทางรถไฟสต็อกตันและดาร์ลิงตัน

(Stockton and

จุดพักเติมน�้ำ (Water tower) สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่

ใช้เป็นจุดพักรถจักรไอน�้ำเพื่อเติมน�้ำระหว่างทาง มัก เส้นทางรถจักรไอน�้ำสายแรก ตั้งอยู่ริมเส้นทาง ทั้งที่จุดพักรถไฟและที่สถานีรถไฟ ที่เปิดใช้ในอังกฤษเมื่อปี ค.ศ. 1825 ขับเคลื่อนด้วย หัวรถจักรไอน�ำ้ ที่ชื่อว่า ร็อกเก็ต (Rocket) Darlington Railway)

มัลลาร์ด

ปล่องควัน

หม้อไอน�้ำ

เกร็ดน่ารู้ ทางรถไฟที่ชันที่สุดในโลกอยู่ที่ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ จุดที่สูงที่สุดมีความชันถึง 48% รถจักรไอน�้ำต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3 ชั่วโมง ในการผลิตแรงดันไอน�ำ้ ให้เพียงพอก่อนทีจ่ ะเริม่ ขับเคลื่อน รถจักรไอน�้ำส�ำหรับโดยสารในยุคแรกๆ ถูก ประยุกต์มาจากรถม้า ผู้โดยสารที่มีฐานะร�่ำรวย จะได้ที่นั่งด้านในขบวนรถที่สะดวกสบาย ส่วน ผูโ้ ดยสารระดับรองลงมาจะต้องนัง่ ด้านนอก และ อาจจะเปื้อนเขม่าจากปล่องควันของรถจักรด้วย หลังจากเหน็ดเหนื่อยกับงานตักถ่านหิน เติมในเตาเผาไหม้มาทั้งวันแล้ว ก่อนกลับบ้าน ช่างควบคุมเครือ่ งจักรจะขัดท�ำความสะอาดพลัว่ ตักถ่านของตัวเอง เพื่อใช้ปิ้งย่างอาหารเย็น บนนั้นเลย

เตาเผาไหม้ ล้อขับเคลื่อน กระบอกสูบ

11


อินเตอร์ซติ -ี้ เอ็กซ์เพรส (อีเซเอ) (Intercity-Express

รถไฟยุคใหม่

รถไฟฟ้าความเร็วสูงที่วิ่งให้บริการในประเทศ เยอรมนีและประเทศใกล้เคียง รถไฟอีเซเอมีรูปร่าง เพรียวยาว สามารถวิ่งได้เร็วถึง 300 กิโลเมตร/ชั่วโมง และจะหยุดจอดเฉพาะสถานีในเมืองใหญ่ๆ เท่านั้น (ICE))

ถไฟยุคใหม่มีอยู่ 2 ประเภท คือ รถไฟที่ ขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า และขับเคลื่อน ด้วยระบบดีเซลไฟฟ้า รถไฟที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก อย่างเช่น เฟรนช์ เตเฌเว (French TGV) ส่วนใหญ่ จะขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า เมืองขนาดใหญ่ หลายๆ แห่งจะมีเครือข่ายรถไฟฟ้าใต้ดนิ เชือ่ มต่อ พื้นที่ต่างๆ ภายในเมือง รถไฟทั่วไปมักจะวิ่ง บนรางคู่ แต่มบี างประเภททีต่ อ้ งวิง่ บนรางรถไฟที่ ออกแบบมาโดยเฉพาะ เช่น รถไฟพลังแม่เหล็ก และรถไฟรางเดี่ยว

รถไฟพลังแม่เหล็ก

รถไฟประเภท หนึ่งที่ขับเคลื่อนด้วยแรงยกตัวของแม่เหล็กไฟฟ้า โดยที่พลังแม่เหล็กบนรางจะยกรถไฟให้ลอยขึ้นเหนือ ราง พร้อมสร้างแรงขับเคลื่อนไปข้างหน้า เนื่องจาก วิธีนี้ท�ำให้เกิดแรงเสียดทานต�่ำ พลังแม่เหล็กจึงช่วย ให้รถไฟวิ่งด้วยความเร็วสูงได้ (Maglev train)

ทางรถไฟส�ำหรับรถกระเช้าไฟฟ้า

โบกี้ (Bogie) โครงสร้างที่เป็นแคร่ล้อรองตู้โดยสาร รถจักรไฟฟ้า

รถจักรยุคใหม่ ตู้เสบียงหรือหัวรถจักร ประกอบด้วยล้อจ�ำนวน 2 ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งมักจะ หรือ 3 คู่ โบกี้จะท�ำหน้าที่ลดแรงกระแทก และช่วย ติดไว้ทลี่ อ้ แต่ละคู่ มีสายเคเบิลด้านบนหรือมีรางทีส่ าม ในการเลี้ยวโค้ง เป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า 12

(Electric locomotive)

รถจักรดีเซลไฟฟ้า (Diesel-electric locomotive) รถไฟขนส่งสินค้า

ขบวนรถจักรที่ วูปแปร์ตัล ชเวเบบาห์น (Wuppertal Schwebebahn) รถจักรยุคใหม่ทขี่ บั เคลือ่ นด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ซึง่ เป็น บรรทุกสินค้าไปตามรางรถไฟ ใช้ส�ำหรับการขนส่ง เป็นรถไฟรางเดีย่ วแบบแขวนขบวนแรกของโลกทีข่ บั เคลือ่ น ไฟฟ้าที่ได้มาจากเครือ่ งยนต์ดเี ซล รถจักรประเภทนี้ สินค้าจ�ำนวนมากในระยะทางไกล ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ด้วยพลังงานไฟฟ้า สามารถผลิตพลังงานในการขับเคลื่อนได้เอง จึง น้อยกว่าการขนส่งสินค้าทางรถหรือทางเครื่องบิน สามารถวิ่งบนรางได้ทุกประเภท ทางรถไฟส�ำหรับรถกระเช้าไฟฟ้า (Funicular rail- รถไฟรางเดี่ยว (Monorail) รถไฟประเภทหนึ่งที่วิ่ง way) ทางรถไฟส�ำหรับขึ้นลงทางลาดชัน ตู้โดยสาร บนรางเดียว อาจจะวิ่งบนรางเหมือนรถไฟทั่วไปก็ได้ รถไฟพลังแม่เหล็ก จะติดกับสายเคเบิลที่พาดขนานไปตามทางลาดชัน หรือจะแขวนไว้ใต้รางติดกับสะพานหรือสิง่ ก่อสร้างอืน่ เมื่อใช้ระบบการชักรอกสายเคเบิลที่ปลายทั้ง 2 ด้าน ก็ได้ รถไฟรางเดี่ยวส่วนใหญ่จะขับเคลื่อนด้วยกระแส น�้ำหนักของรถกระเช้าที่วิ่งลงมาจะช่วยดึงรถกระเช้า ไฟฟ้าที่ส่งผ่านราง อีกขบวนขึ้นไปได้ โอเรียนท์ เอ็กซ์เพรส (Orient Express) รถไฟโดยสาร ทีว่ งิ่ ให้บริการระยะไกล เริม่ เปิดใช้งานเมือ่ ปี ค.ศ.1883 พลังแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยยกรถไฟให้ลอยตัวขึ้นเล็กน้อย แต่เดิมจะวิง่ จากปารีสไปยังอิสตันบูล และให้บริการด้วย เหนือราง ล้อรถช่วยเสริมการท�ำงานให้รถไฟวิง่ ได้เรียบลืน่ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกหรูหราระดับเฟิรส์ คลาส ปัจจุบนั และไม่สะดุด ก็ยงั คงเปิดให้บริการอยู่ แต่ไม่ครอบคลุมตลอดเส้นทาง (Freight train)

ล้อเสริม

แม่แหล็กที่ตัวรถไฟ แม่เหล็กที่ รางรถไฟ

รถไฟด่วนพิเศษสายทรานส์-ไซบีเรีย


อุปกรณ์ควบคุมความเย็น (รักษาระดับ ความเย็นของเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้า)

เครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้า (ควบคุมปริมาณการจ่าย ไฟฟ้าไปยังมอเตอร์แต่ละตัว)

เครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้า ส�ำรอง (ส�ำหรับกระแสไฟฟ้า, ระบบความร้อน ฯลฯ)

สายเคเบิล เหนือดิน

แพนโทกราฟ หม้อแปลงไฟฟ้าหลัก

ห้องคนขับ รถบรรทุกกระแสไฟฟ้า

ตู้รถไฟที่มีบริการทั้ง อาหารและเครื่องดื่ม

ระบบกันสั่นสะเทือน

ช่องเก็บสัมภาระเหนือศีรษะ ชานชาลา

ภายในรถไฟความเร็วสูง แพนโทกราฟ

อุปกรณ์ที่ติดตั้งบน หัวรถจักร ใช้สำ� หรับรองรับกระแสไฟฟ้าจากสายเคเบิล ที่อยู่เหนือดิน เพื่อส่งพลังงานไปยังมอเตอร์ โดยมี วงจรอิเล็กทรอนิกส์ชว่ ยควบคุมการจ่ายไฟไปยังมอเตอร์ (Pantograph)

รถไฟระบบขนส่ง ความเร็วสูง

ชิงกันเซ็ง (Shinkansen) รถไฟความเร็วสูงของประเทศ รถไฟด่วนพิเศษสายทรานส์-ไซบีเรีย

ญี่ปุ่น หรือที่นิยมเรียกว่ารถไฟ “หัวกระสุน” สามารถ Siberian Express) รถไฟสายที่ยาวที่สุดในโลก ซึ่ง วิ่งได้เร็วถึง 300 กิโลเมตร/ชั่วโมง ภายในห้องโดยสาร แล่นในระยะทาง 9,297 กิโลเมตร จากกรุงมอสโค มีระบบควบคุมความดันอากาศประสิทธิภาพเยี่ยมจน ไปยังกรุงวลาดิวอสสต็อก (Vladivostok) ใช้เวลา ผู้โดยสารไม่รู้สึกถึงความแตกต่างขณะรถไฟวิ่งลอด เดินทางทั้งหมดเกือบ 8 วันเลยทีเดียว อุโมงค์ด้วยความเร็วสูง

รถจักรชันเตอร์ (Shunter) รถจักรขนาดเล็กที่ใช้สำ� หรับ ช่วยเคลือ่ นย้ายรถไฟอืน่ ๆ เช่น เมือ่ ต้องย้ายรถไฟจาก รางหนึ่งไปยังอีกรางหนึ่ง

รถไฟความเร็วสูงเตเฌเว (ทีจีวี)

(Train à Grande

รถไฟฟ้าความเร็วสูงของประเทศฝรัง่ เศส สามารถวิ่งได้เร็วถึง 575 กิโลเมตร/ชั่วโมง Vitesse (TGV))

รถไฟโดยสาร

รถราง (Tram) รถรางไฟฟ้าที่สามารถวิ่งบนรางซึ่งอยู่

ขบวนรถไฟที่มี บนถนนรอบเมืองได้ ตู้รถไฟที่ออกแบบมาเพื่อบรรทุกผู้โดยสาร ภายใน ประกอบด้วยที่นั่ง พื้นที่จัดเก็บสัมภาระ ห้องสุขา และ พื้นที่จ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม รถราง (Passenger train)

รถไฟระบบขนส่งความเร็วสูง (Rapid transit) รถไฟ

โดยสารทีเ่ ชือ่ มต่อพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในเมือง หรือทีเ่ รียกกันว่า รถไฟใต้ดิน (underground/subway) ขับเคลื่อนด้วย พลังงานไฟฟ้า รถไฟประเภทนี้จะแล่นใต้พื้นดินเมื่อ อยู่ในเขตใจกลางเมือง และแล่นบนพื้นดินเมื่ออยู่ใน เขตชานเมือง

(Trans-

เกร็ดน่ารู้

ความยาวของทางรถไฟทั่วโลกมีระยะรวม มากกว่า 1,187,000 กิโลเมตร ถ้าเราน�ำทางเหล่านัน้ มาเรี ย งต่ อ กั น เป็ น เส้ น ทางเดี ย วจะเท่ า กั บ การเดินทางรอบโลกมากกว่า 30 รอบเลยทีเดียว รถไฟที่มีน�้ำหนักมากที่สุดในโลกคือรถไฟ ขนส่งสินค้า สร้างขึ้นในประเทศออสเตรเลียเมื่อ ปี ค.ศ. 2001 มีความยาว 7.3 กิโลเมตร และมี น�้ำหนัก 95,000,000 กิโลกรัม ทางรถไฟเส้นตรงที่ยาวที่สุดในโลกอยู่ใน บริเวณที่ราบนัลลาบอร์ (Nullabor Plain) ทาง ตอนใต้ของออสเตรเลีย และมีความยาวถึง 478 กิโลเมตร สถานี ร ถไฟที่ ใ หญ่ที่ สุ ด ในโลกคื อ สถานี แกรนด์เซ็นทรัล (Grand Central Terminal) ใน กรุงนิวยอร์ก ซึ่งมีถึง 44 ชานชาลา และมี ผู้โดยสารมาใช้บริการมากกว่า 5 ล้านคนต่อวัน

13


สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว

หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-919-2

9

786165

279192

หมวด : สารานุกรม 125.-

การขนส ง

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

การขนส ง เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.