Forweb r int 270 [สารานุกรมประกอบภาพ ร่างกายมนุษย์]

Page 1

สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-915-4

9

786165

279154

หมวด : สารานุกรม 125.-

ร างกายมนุษย

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

ร างกายมนุษย หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ



สารานุกรมประกอบภาพ

ร างกายมนุษย ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

HUMAN BODY


ISBN : 978-616-527-915-4 ราคา 125 บาท ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA HUMAN BODY Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล ดร.อรกัญญ์ ภูมิโคกรักษ์ ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร วรางคณา กฤตสัมพันธ์, บุษกร กู้หลี เสียงบรรยาย Talking Pen กิตติมา ธารารัตนกุล ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


สารานุกรมประกอบภาพ

ร างกายมนุษย ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

HUMAN BODY


สารบัญ อวัยวะและระบบต่างๆ

6

หัวใจและเลือด

8

การหายใจ

10

การย่อย

12

สมอง

14

ตาและหู

16

ปากและจมูก

18

กล้ามเนื้อและผิวหนัง

20

กระดูกและข้อ

22

การสืบพันธุ์

24

เซลล์และยีน

26

สุขภาพ

28

ดัชนี

30


เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้

ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญพร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้”

บทน�ำ

อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็น

ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย

แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วยค�ำอธิบาย สั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร

อักษรตัวหนา

ใช้เน้นค�ำที่มีความส�ำคัญที่ไม่มี แสดงในรายการค�ำอธิบายอื่น

เลขหน้า

เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ

เกร็ดน่ารู้

เกร็ดน่ารูเ้ พิม่ เติมเกีย่ วกับหัวข้อ นั้นๆ ที่แสดงเป็นข้อๆ ซึ่งง่าย ต่อการอ่าน


อวัยวะและ ระบบต่างๆ

ส่

วนที่ท�ำงานในร่างกาย เช่น สมอง หัวใจ ปอด และกระเพาะอาหาร เรียกว่า อวัยวะ ซึง่ ก็เหมือนกับส่วนอื่นๆ ของร่างกาย คือประกอบ ไปด้วยเนื้อเยื่อชนิดต่างๆ เนื้อเยื่อหมายถึง กลุ่มเซลล์ที่มีโครงสร้างและการท�ำงานคล้าย กัน กลุ่มของอวัยวะจะท�ำงานร่วมกันเป็นระบบ แต่ละระบบมีหน้าทีส่ �ำคัญในการรักษาให้รา่ งกาย มีชวี ติ อยูแ่ ละแข็งแรง เช่น หัวใจ เลือด และเครือข่าย ท่อทั่วร่างกายที่เรียกว่าหลอดเลือด ซึ่งรวมกัน เป็นระบบไหลเวียน ระบบนีจ้ ะล�ำเลียงสารอาหาร และออกซิเจนไปยังทุกส่วนของร่างกาย และ น�ำของเสียออกจากร่างกาย

สมองซีกขวา เบ้าตา กล้ามเนื้อบริเวณ เปลือกตา ต่อมใต้สมอง ฟัน กล่องเสียง

สมองซีกซ้าย กล้ามเนื้อลูกตา ตา กระดูกอ่อนจมูก หูชั้นใน เยื่อแก้วหู หูชั้นนอก ต่อมทอนซิล ลิ้นไก่ ลิ้น ต่อมไทรอยด์ ท่อลม ต่อมไทมัส ปอดซ้าย หลอดลม หลอดลมฝอย กะบังลม

6

หัวใจ ตับ

กระเพาะอาหาร ตับอ่อน ม้าม

ต่อมหมวกไต ถุงน�้ำดี ไตขวา ล�ำไส้ใหญ่ กระดูกสะโพก (เชิงกราน) ไส้ตงิ่ รังไข่ ท่อน�ำไข่ กระเพาะปัสสาวะ ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ

สัญลักษณ์ หลอดเลือดแดง หลอดเลือดด�ำ

ล�ำไส้เล็ก ท่อไต

ข้อต่อสะโพก มดลูก


1

2

3

ระบบโครงกระดูก 4

ระบบไหลเวียน

ระบบกล้ามเนื้อ 6

5

7

ระบบย่อยอาหาร

ระบบประสาท 8&9

7

ระบบทางเดินหายใจ

ระบบต่อมไร้ท่อและระบบสืบพันธุ์

ระบบทางเดินปัสสาวะ

1 ระบบโครงกระดูก ช่วยพยุงร่างกาย 2 ระบบกล้ามเนือ้ ท�ำให้เคลือ่ นไหวได้ 3 ระบบไหลเวียน น�ำส่งสารอาหารและฮอร์โมน ให้แก่เซลล์ และก�ำจัดของเสีย 4 ระบบย่อยอาหาร ย่อยอาหารและดูดซึม สารอาหารเข้าสู่กระแสเลือด 5 ระบบประสาท เป็นระบบควบคุมหลักของร่างกาย 6 ระบบทางเดินปัสสาวะ ก�ำจัดของเสีย 7 ระบบทางเดินหายใจ น�ำออกซิเจนจากอากาศ เข้าไปและปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็น ของเสียออกมา 8 ระบบต่อมไร้ท่อ ปล่อยฮอร์ โมนที่ควบคุม กระบวนการต่างๆ ในร่างกาย 9 ระบบสืบพันธุ์ ท�ำให้มนุษย์ผลิตลูกหลานได้


หัวใจและ เลือด

แอนติบอดี (Antibody) สารที่อยู่ในเลือด ท�ำหน้าที่ช่วย

ท�ำลายเชื้อโรค

เอออร์ตา (Aorta) หลอดเลือดแดงที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในร่างกาย

น�ำเลือดที่มีออกซิเจนสูงออกจากหัวใจไปสู่เนื้อเยื่อต่างๆ หลอดเลือดแดงจิ๋ว (Arteriole) หลอดเลือดแดง ขนาดเล็ก ซึ่งจะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดขนาดเล็ก วใจเป็นอวัยวะขนาดใหญ่ที่เป็นกล้าม ลงไปอีกเรียกว่า หลอดเลือดฝอย

หั

เนือ้ อยู่ในทรวงอก ท�ำหน้าที่สูบฉีดเลือด ไปทั่วร่างกาย เลือดเป็นของเหลวที่น�ำสาร ส�ำคัญๆ ไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ โดยประกอบ ด้วยเซลล์หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดมีหน้าที่ แตกต่างกัน จากหัวใจ เลือดจะเดินทางผ่าน ทางเครือข่ายท่อที่เรียกว่า หลอดเลือด ซึ่งรับ ออกซิเจนจากปอดและสารอาหารจากระบบ ย่อยอาหาร แล้วน�ำส่งสารเหล่านี้ไปยังทุกเซลล์ ในร่างกาย ทั้งหัวใจ เลือด และหลอดเลือด รวมกันเป็นระบบไหลเวียน

เม็ดเลือด แดง

หลอดเลือดแดง (Artery) หลอดเลือดทีน่ �ำเลือดออกจาก

หัวใจ หลอดเลือดแดงส่วนใหญ่น�ำเลือดทีม่ อี อกซิเจนสูงไป ยังอวัยวะและเนือ้ เยือ่ ต่างๆ ของร่างกาย แต่หลอดเลือดแดง ปอดจะน�ำเลือดที่มีออกซิเจนต�่ำออกจากหัวใจไปยังปอด หัวใจห้องบน (Atrium) มี 2 ห้อง หัวใจห้องบนซ้ายรับ เลือดทีม่ อี อกซิเจนสูงออกจากปอด ส่วนหัวใจห้องบนขวา รับเลือดที่มีออกซิเจนต�่ำจากร่างกาย หลอดเลือดฝอย (Capillary) หลอดเลือดที่เล็กที่สุด ซึ่ง ผนังของหลอดเลือดฝอยบางมากจนออกซิเจนและสาร อาหารอืน่ ๆ สามารถซึมผ่านเข้าไปในเนือ้ เยือ่ ของร่างกายได้

หัวใจ 8

เม็ดเลือดขาว

เกล็ดเลือด

หลอดเลือดด�ำ ซูพีเรียเวนาคาวา เอออร์ตา

การไหลเวียนของเลือด ที่มีออกซิเจนสูง การไหลเวียนของเลือด ที่มีออกซิเจนต�่ำ

เม็ดเลือดที่เห็นผ่านกล้องจุลทรรศน์ก�ำลังขยายสูง

ห้อง (Chambers) ส่วนของหัวใจที่มี 4 ส่วน การไหลเวียน (Circulation) การเคลือ่ นทีข่ องเลือดผ่าน หัวใจและทั่วร่างกาย

ฮีโมโกลบิน

(Haemoglobin) โปรตีนสีแดงที่พบในเม็ด

เลือดแดง ซึ่งจะรวมตัวกับออกซิเจนเพื่อน�ำออกซิเจนไป ยังเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย พลาสมา (Plasma) ส่วนน�้ำของเลือดที่ลำ� เลียงเม็ดเลือด และสารอาหารอื่นๆ เกล็ดเลือด (Platelet) เศษเซลล์ขนาดจิ๋วที่พบในเลือด เมื่อหลอดเลือดเสียหาย เกล็ดเลือดจะรวมตัวติดกันที่ บาดแผลและช่วยสร้างลิ่มเลือด ซึ่งป้องกันการสูญเสีย เลือด หรือการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุกรานเข้ามา

หลอดเลือดแดง ปอด หลอดเลือดด�ำ ปอด

เลือดที่มีออกซิเจนสูง (สีแดง) ออกจากปอดผ่านทาง หลอดเลือดด�ำปอดมาถึงหัวใจ ส่วนเลือดที่มีออกซิเจนต�ำ่ (สีน�้ำเงิน) ออกจากส่วนที่เหลือของร่างกาย (1) ผ่านทาง หลอดเลือดด�ำมาถึงหัวใจ แล้วหัวใจห้องล่างจะบีบตัวเข้า ด้านใน และดันเลือดออกไป (2) ตามหลอดเลือดแดงปอด ไปยังปอด หรือตามเอออร์ตาไปยังร่างกาย

หัวใจห้อง บนซ้าย

หัวใจห้อง บนขวา

ลิ้นหัวใจ

หัวใจห้องล่างขวา หัวใจห้องล่างซ้าย หลอดเลือดด�ำอินฟีเรียเวนาคาวา

1

2


ชีพจร

(Pulse) การเต้นเป็นจังหวะที่รู้สึกได้ในหลอด เลือดแดงขณะที่มีการดันเลือดผ่านหลอดเลือดแดง การเต้นแต่ละครั้งเกิดจากหัวใจบีบตัวและคลายตัว 1 ครั้ง

หลอดเลือด แดงจิ๋ว

อัตราชีพจร (Pulse rate) จ�ำนวนชีพจรที่คล�ำได้ต่อนาที

ในระหว่างการออกก�ำลังกาย หัวใจจะสูบฉีดเร็วขึ้นและ อัตราชีพจรจะเพิ่มขึ้น ขณะพัก อัตราชีพจรจะต�่ำลง เราสามารถคล�ำชีพจรได้โดยวางนิ้วมือบนข้อมือด้านใน หรือด้านข้างของคอ

เม็ดเลือดแดง

เซลล์รูปร่างโดนัท ที่รับออกซิเจนจากปอดและปล่อยออกซิเจนในเนื้อเยื่อ ต่างๆ ของร่างกาย (Red blood cell)

หลอดเลือด ด�ำเล็ก

ลิ้นหัวใจ หลอดเลือดด�ำ ซูพีเรียเวนาคาวา หลอดเลือดด�ำ อินฟีเรีย เวนาคาวา

แผ่นลิ้นในหัวใจและในหลอดเลือดด�ำ ขนาดใหญ่ ซึ่งเปิดให้เลือดไหลผ่านและปิดเพื่อป้องกัน การไหลย้อนกลับ ท�ำให้เลือดไหลไปในทิศทางเดียวเท่านัน้ หลอดเลือด แดงปอด หัวใจ

(Valve)

หลอดเลือดแดงมีผนัง หลอดเลือดแดง หนากว่าหลอดเลือดด�ำ และมีกล้ามเนื้อขนาดกว้าง กว่า เลือดที่ไหลผ่าน หลอดเลือดแดงซึ่ง เพิ่งออกจากหัวใจจึง มีความดันสูง หาก เอออร์ตา ผนังบาง ความดัน หลอดเลือดด�ำ จะท�ำให้หลอด เลือดแดงระเบิด

หลอดเลือดด�ำ (Vein) หลอดเลือดที่น�ำเลือดเข้าสู่

หัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่น�ำเลือดที่มีออกซิเจนต�่ำ ยกเว้น หลอดเลือดด�ำปอดที่น�ำเลือดที่เพิ่งรับออกซิเจนมาจาก ปอดไปยังหัวใจ เวนาคาวา (Vena cava) หลอดเลือดด�ำขนาดใหญ่ซึ่งน�ำ เลือดที่มีออกซิเจนต�่ำจากร่างกายไปยังหัวใจ หลอดเลือด ด�ำอินฟีเรียเวนาคาวาน�ำเลือดจากร่างกายส่วนล่าง ส่วน หลอดเลือดด�ำซูพเี รียเวนาคาวาน�ำเลือดจากร่างกายส่วนบน

หัวใจห้องล่าง (Ventricle) มี 2 ห้อง หัวใจห้องล่างซ้าย

สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ส่วนหัวใจห้องล่างขวาสูบฉีด เลือดไปยังปอด หลอดเลือดด�ำเล็ก (Venule) หลอดเลือดด�ำขนาด เล็ก ซึ่งจะแตกแขนงเป็นหลอดเลือดขนาดเล็กลงไปอีก เรียกว่า หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดแดง (สีแดง) น�ำเลือดจากหัวใจไปทั่วร่างกาย หลอดเลือดด�ำ (สีน�้ำเงิน) น�ำเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ

หลอดเลือดด�ำเล็กและหลอดเลือดแดงจิว๋ มีการเชือ่ มโยง กันด้วยเครือข่ายอันหนาแน่นของหลอดเลือดขนาด เล็กลงไปอีกซึ่งเรียกว่า หลอดเลือดฝอย

เม็ดเลือดขาว (White blood cell) เซลล์ที่อยู่ในเลือด

ซึ่งป้องกันร่างกายจากโรค มี 3 ชนิดหลักคือ ลิมโฟไซต์ ท�ำหน้าทีร่ ะบุเชือ้ ทีก่ อ่ ให้เกิดโรคแล้วฆ่าเชือ้ ด้วยสารเคมี หรือปล่อยแอนติบอดีออกมาท�ำให้เชื้อหมดสภาพ ส่วน นิวโทรฟิลและโมโนไซต์ จะติดตามเชื้อโรคและเข้าไป ล้อมจับกิน 9

เกร็ดน่ารู้ ทุกๆ วันเลือดเดินทางไปทั่วร่างกายประมาณ 14 กิโลเมตร หากน�ำทุกหลอดเลือดในร่างกายมาวางต่อกัน จะมีความยาวประมาณ 96,000 กิโลเมตร และ สามารถพันรอบโลกได้มากกว่า 2 รอบ เลื อ ดหนั ก ประมาณ 10% ของน�้ ำ หนั ก คนคนหนึง่ ผูใ้ หญ่สว่ นมากมีเลือดในร่างกายตัง้ แต่ 4-6 ลิตร โดยเฉลี่ยแล้วหัวใจจะเต้นประมาณ 100,000 ครั้งต่อวัน ทุกๆ นาทีจะมีการสร้างเม็ดเลือดในร่างกาย เรา 120 ล้านเซลล์ เลือดหนึง่ หยดทีม่ ขี นาดเท่าหัวเข็มหมุดจะมีเม็ด เลือดแดงประมาณ 5 ล้านเซลล์ และเม็ดเลือดขาว ตั้งแต่ 7,000-25,000 เซลล์ จ�ำนวนเม็ดเลือดขาว จะเพิ่มขึ้นเมื่อร่างกายก�ำลังต่อสู้กับการติดเชื้อ


การหายใจ

ารหายใจ คือกระบวนการที่น�ำออกซิเจน เข้าสูร่ า่ งกายและก�ำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นของเสียออกไป กลุ่มอวัยวะที่เกี่ยวข้อง กับการหายใจรวมกันเป็นระบบทางเดินหายใจ ซึ่งรวมถึงจมูก ท่อลม กะบังลม และปอด การ หายใจเข้าจะดึงอากาศเข้าไปในปอดซึ่งเป็น ที่ที่ออกซิเจนจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือดและ น�ำไปให้ทุกเซลล์ในร่างกาย ในเวลาเดียวกัน กระแสเลือดก็ขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์ในทิศทาง ตรงกันข้าม จากเซลล์ไปยังปอดเพื่อหายใจออก ซึ่งการหายใจออกยังท�ำให้เราพูดได้อีกด้วย ถุงลม

ถุงอากาศขนาดจิ๋วที่กระจุกกันอยู่ ตรงปลายของหลอดลมฝอย และมีหลอดเลือดฝอย ล้อมรอบ ออกซิเจนจะผ่านผนังบางๆ ของถุงลม เข้าไปยังเลือดในหลอดเลือดฝอยได้อย่างง่ายดาย (Alveolus)

หลอดลม (Bronchus) ทางเดินหายใจทีเ่ ชือ่ มปอดแต่ละ

ข้างเข้ากับท่อลม โดยมีกระดูกอ่อนช่วยพยุงเช่นเดียวกับ ท่อลม หลอดลมทีอ่ ยูภ่ ายในปอดจะแตกแขนงเป็นหลอดลม ขนาดเล็กลงไปอีก

หลอดลมฝอย

การหายใจเข้า : กะบังลม จะเลือ่ นต�ำ่ ลง และกระดูก ซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น

การหายใจออก : กะบังลม จะเลื่อนสูง และกระดูก ซี่โครงจะเลื่อนต�่ำลง

แขนงของหลอดลมที่ แคบทีส่ ดุ ส่วนปลายจะกลายเป็นหลอดลมฝอยส่วนหายใจ ขนาดจิ๋วซึ่งไปสิ้นสุดในถุงลม คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide) แก๊สที่เซลล์ ผลิตขึ้นขณะปลดปล่อยพลังงานจากกลูโคส และกระแส เลือดจะน�ำแก๊สนี้ไปยังปอดเพื่อหายใจออก (Bronchioles)

ช่องอก (Chest cavity) ช่องว่างทีป่ ดิ ล้อมโดยซี่โครงและ

กะบังลม ซึ่งเป็นที่อยู่ของปอดและหัวใจ ขนเซลล์ (Cilia) ขนขนาดจิ๋วที่บุทางเดินหายใจ ซึ่งจะ โบกไปมาเพื่อกวาดฝุ่น สิ่งสกปรก และเชื้อโรคที่ติดอยู่กับ กะบังลม (Diaphragm) แผ่นกล้ามเนื้อใต้ปอดที่ช่วย ในการหายใจ เมื่อหายใจเข้า กะบังลมจะเลื่อนต�่ำลง เมือกไปยังคอหอย เพื่อจะได้ถูกกลืนลงไป ท�ำให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น และอากาศสามารถ ไหลเข้าไปในปอดได้อย่างรวดเร็ว เมือ่ หายใจออก กะบังลม จะคลายตัว และเลื่อนสูงขึ้นเพื่อดันอากาศออกจากปอด

กล่องเสียง

10 ท่อลม

หลอดลม หลอดลมฝอย

ปอดขวา

ปอดซ้าย


แขนงของหลอดเลือดแดงปอด

หายใจออก (Exhale) การหายใจออกเป็นการขับอากาศ

หลอดลมฝอย ส่วนหายใจ

ออกจากปอดผ่านทางปากหรือจมูก หายใจเข้า (Inhale) การหายใจเข้าเป็นการดึงอากาศ เข้าไปในปอดผ่านทางปากหรือจมูก

กล้ามเนือ้ ที่ยึดระหว่างซี่โครง (Intercostal muscles)

เมือ่ กล้ามเนือ้ เหล่านีห้ ด (ท�ำให้ตวั เองสัน้ ลง) เพือ่ ยกซี่โครง ขึ้น จะช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกให้อากาศไหลเข้าไป ในปอดได้อย่างรวดเร็ว ในขณะที่กล้ามเนื้อเหล่านี้ คลายตัว ซี่โครงจะยุบตัวลงเพื่อลดปริมาตรของช่องอก

หลอดเลือดฝอย แขนงของหลอด เลือดด�ำปอด

กล่องเสียง (Larynx) อวัยวะขนาดเล็กทีท่ ำ� ให้เราส่งเสียง ได้ ซึ่งอยู่ด้านบนของท่อลมและบรรจุสายเสียง ปอด (Lung) อวัยวะคล้ายถุงที่มีลักษณะเหมือนฟองน�้ำ มี 2 ข้างอยู่ในช่องอก ซึ่งออกซิเจนจะผ่านเข้าไปใน กระแสเลือด กระดูกอ่อน ไทรอยด์

ถุงลม สายเสียง

ถุงลม

เลือดทีม่ อี อกซิเจนต�ำ่ จะไหล จากหลอดเลือดแดงปอดเข้าสู่ หลอดเลือดฝอยที่ล้อมรอบถุงลม ซึ่งที่นี่ เลือดจะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และรับออกซิเจน กลายเป็นเลือดสีแดงสดที่มีออกซิเจนสูง

กล้ามเนื้อ กล่องเสียง

สายเสียง เมือก

ของเหลวที่มีลักษณะเหนียวซึ่งปกป้อง ด้านในของอวัยวะที่เป็นโพรง ช่วยดักจับสิ่งสกปรกและ เชือ้ โรค ในระบบทางเดินหายใจนัน้ เมือกจะบุจมูก คอหอย ท่อลม และปอด ออกซิเจน (Oxygen) แก๊สที่เป็นส่วนประกอบประมาณ 1 ใน 5 ของอากาศรอบตัวเรา ออกซิเจนเป็นสิ่งจ�ำเป็น ส�ำหรับกระบวนการที่เรียกว่า การหายใจของเซลล์ ซึ่ง เกิดขึ้นภายในเซลล์และปลดปล่อยพลังงานจากอาหาร ขนเซลล์ ในเยื่อบุท่อลม (Mucus)

เยื่อหุ้มปอด

เยื่อ 2 ชั้นที่คลุม พื้นผิวของปอดและบุด้านในของช่องอก ในช่องว่าง แคบๆ ระหว่างเยือ่ 2 ชัน้ จะมีของเหลวปริมาณเล็กน้อยอยู่ ซึ่งช่วยให้เยื่อแต่ละชั้นขยับเขยื้อนได้ โดยลดการเสียดสี เวลาปอดพองและยุบ ท่อลม (Trachea) ทางเดินหายใจที่เชื่อมปอดกับปาก และจมูก วงกระดูกอ่อนจะช่วยพยุงท่อลมไว้โดยท�ำให้ ท่อลมเปิดอยู่ตลอดเวลา สายเสียง (Vocal cord) เนื้อเยื่อยืดหยุ่น 2 ทบ ที่ยืด พาดด้านบนของกล่องเสียง ในการพูด กล้ามเนื้อจะ ดึงสายเสียงเข้าหากันเพือ่ ให้เหลือเพียงช่องแคบๆ ระหว่าง สายเสียง อากาศที่ไหลผ่านช่องอย่างรวดเร็วจะท�ำให้ สายเสียงสั่นเกิดเป็นเสียงออกมา (Pleural membrane)

11

เกร็ดน่ารู้ ขณะพัก ผูใ้ หญ่จะหายใจเข้าและออกประมาณ 12 ครั้งต่อนาที การหายใจแต่ละครั้งจะน�ำอากาศ เข้าไปประมาณ 500 มิลลิลิตร แต่หลังจากการ วิ่งแข่ง อาจหายใจได้ถึง 60 ครั้งต่อนาที ซึ่งแต่ละ ครั้งจะน�ำอากาศเข้าไปมากกว่า 2 ลิตร เนือ่ งจาก กล้ามเนือ้ ที่ทำ� งานต้องการออกซิเจนมากขึ้น เพื่อ ปลดปล่อยพลังงานในเซลล์กล้ามเนือ้ ปอดซ้ายเล็กกว่าปอดขวาเล็กน้อยเพื่อให้มี พื้นที่พอส�ำหรับหัวใจ ปอดทั้งสองมีถุงลมมากกว่า 300 ล้านถุง คนหายใจใต้น�้ ำไม่ได้เหมือนปลา ดังนั้น นักด�ำน�้ำลึกจึงต้องแบกถังอากาศไปด้วย โดย อากาศในถังจะถูกบีบอัด เพื่อให้บรรจุได้ปริมาณ มากในช่องขนาดเล็ก


การย่อย

หลอดอาหาร

ตับ

กระเพาะ อาหาร

ถุงน�ำ้ ดี

ารย่อย คือกระบวนการน�ำอาหารเข้าไป และท�ำให้แตกตัวเป็นอนุภาคขนาดจิว๋ หรือ สารอาหารที่สามารถดูดซึมเข้าไปในเลือดและ ร่างกายเพื่อใช้งานได้ อาหารให้พลังงานและ ความอบอุ่นแก่ร่างกาย รวมถึงช่วยให้ร่างกาย เติบโตและแข็งแรง ทุกส่วนของร่างกายทีน่ ำ� อาหาร เข้าไปและย่อยอาหารรวมเรียกว่า ระบบย่อย อาหาร แต่การย่อยอาหารจะเกิดขึ้นในล�ำไส้เล็ก เป็นหลัก

ตับอ่อน

ล�ำไส้ใหญ่

กรดอะมิโน (Amino acid) หน่วยโครงสร้างชนิดหนึ่ง ทีเ่ ซลล์ของร่างกายน�ำไปสร้างโปรตีน ในระหว่างการย่อย นั้น โปรตีนในอาหารจะแตกตัวเป็นกรดอะมิโน

ทวารหนัก (Anus) ช่องเปิดทีป่ ลายของทางเดินอาหาร ซึ่งอุจจาระจะผ่านออกจากร่างกาย มีกล้ามเนื้อหูรูด ล้อมรอบ ซึ่งควบคุมการเปิดของทวารหนัก

ไส้ติ่ง

12 ไส้ตรง

ล�ำไส้เล็ก

ล�ำไส้ใหญ่ (Colon) ส่วนหลักของล�ำไส้ใหญ่จะดูดซึมน�้ำ ไกลโคเจน

จากกากอาหารเข้าไปในกระแสเลือด กากอาหารทีเ่ หลือซึง่ เป็นของแข็งหรืออุจจาระจะถูกดันไปที่ไส้ตรง

เอนไซม์

สารที่เร่งปฏิกิริยาทางเคมี โดย เอนไซม์ในระบบย่อยอาหารจะช่วยเร่งการย่อยอาหาร

การบีบรูดดันอาหารลงไปตามหลอดอาหาร

ไส้ติ่ง (Appendix) ท่อขนาดจิ๋วที่ปลายของล�ำไส้ใหญ่ ซึ่งประโยชน์ของไส้ติ่งยังไม่ปรากฏแน่ชัด แม้ว่า นักวิทยาศาสตร์บางคนจะคิดว่า ไส้ติ่งมีแบคทีเรียที่ เป็นประโยชน์ต่อการย่อยก็ตาม

น�้ำดี

(Bile) ของเหลวข้นสีออกเขียวที่ช่วยย่อยไขมัน ในอาหาร ซึ่งผลิตขึ้นโดยตับและถูกเก็บไว้ในถุงน�ำ้ ดี

กระเพาะปัสสาวะ (Bladder) อวัยวะที่เก็บและสะสม ปัสสาวะหลังจากออกจากไต

(Enzyme)

แหล่งเก็บกลูโคสที่พบภายใน เซลล์ตบั กลูโคสจะมีการปลดปล่อยออกมาจากไกลโคเจน เข้าไปในกระแสเลือด หรือก�ำจัดออกจากกระแสเลือดเพือ่ สร้างไกลโคเจน แล้วแต่ความต้องการของร่างกาย (Glycogen)

ผนังที่เป็นกล้ามเนื้อของ ของเสียจากอาหารที่เป็นของแข็ง กระเพาะอาหารจะบีบรัดอาหาร ซึ่งไม่สามารถย่อยได้ ส่วนใหญ่เป็นเส้นใยผัก ผลไม้ และ ขณะที่อาหารผสมกับน�ำ้ ย่อยใน แบคทีเรียที่ไม่เป็นอันตราย กระเพาะอาหาร น�ำ้ ย่อยในกระเพาะอาหาร (Gastric juice) ของเหลวที่ เกิดจากกรดและเอนไซม์ผสมกัน สร้างขึ้นโดยต่อมในชั้น บุกระเพาะอาหาร ท�ำหน้าที่ช่วยย่อยโปรตีน หลอดเลือดด�ำพอร์ทัลตับ (Hepatic portal vein) ถุงน�้ำดี (Gall bladder) อวัยวะขนาดเล็กคล้ายถุง หลอดเลือดด�ำซึ่งน�ำเลือดที่อุดมไปด้วยสารอาหารจาก อยู่ใต้ตับ เป็นที่เก็บน�้ำดี ล�ำไส้เล็กไปยังตับ กลูโคส (Glucose) แหล่งพลังงานหลักของร่างกาย ซึ่ง ปลดปล่อยออกมาจากคาร์โบไฮเดรตในอาหารระหว่างการ ย่อย และเก็บไว้ที่ตับในรูปไกลโคเจน

อุจจาระ

(Faeces)


หลอดเลือดด�ำตับ (Hepatic vein) หลอดเลือดด�ำทีร่ ะบาย

หลอดเลือดด�ำตับ

ตับ

หลอดเลือดด�ำอินฟีเรียเวนาคาวา

เลือดจากตับเข้าไปในหลอดเลือดด�ำอินฟีเรียเวนาคาวา ล�ำไส้ (Intestine) ท่อต่อเนือ่ งซึง่ เชือ่ มกระเพาะอาหารกับ ทวารหนัก แบ่งออกเป็นล�ำไส้เล็กและล�ำไส้ใหญ่

หลอดเลือด

ไต (Kidney) อวัยวะคู่หนึ่งที่ประกอบด้วยหน่วยไตที่

ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าจ�ำนวนหลายล้านหน่วย ท�ำหน้าที่กรองของเสีย รวมทั้งน�ำ้ และเกลือส่วนเกินออก จากเลือดกลายเป็นปัสสาวะ

หลอดเลือดด�ำพอร์ทัลตับ หลอดเลือดแดงตับ ท่อน�้ำดี ถุงน�้ำดี

การบีบรูด

ปัสสาวะ

(Peristalsis) การบีบตัวภายในหลอดอาหาร

กระเพาะอาหาร และล�ำไส้ ซึง่ ดันอาหารไปตามทางเดินอาหาร

หลอดอาหาร

(Oesophagus)

ไต

ไตชั้นนอก (คอร์เทกซ์)

หลอดเลือด แดงไต

ดูดซึมสารอาหาร

หลอดเลือดฝอย

ไตชั้นใน (เมดัลลา)

ซึ่งบุอยู่ด้านในของล�ำไส้เล็ก ท�ำหน้าที่ดูดซึมสารอาหาร จากล�ำไส้เล็กเข้าไปในกระแสเลือด

เกร็ดน่ารู้ สารอาหารผ่านขนอุยเข้าไปในกระแสเลือด

ไส้ตรง (Rectum) ส่วนสุดท้ายของล�ำไส้ใหญ่ ซึ่งเก็บ อุจจาระไว้ก่อนที่จะถ่ายออกทางทวารหนัก

ล�ำไส้เล็ก

ท่อยาวที่เชื่อมกระเพาะ อาหารกับล�ำไส้ใหญ่ ส่วนแรกเรียกว่า ล�ำไส้เล็กส่วน ต้น ซึ่งจะมีน�้ำดีและน�้ำย่อยจากตับอ่อนมาย่อยอาหาร จากนั้นที่ล�ำไส้เล็กส่วนกลางและล�ำไส้เล็กส่วนปลาย การย่อยก็จะเสร็จสมบูรณ์ และสารอาหารจะถูกดูดซึม เข้าไปในกระแสเลือด (Small intestine)

กระเพาะอาหาร

หลอดเลือด ด�ำไต ท่อไต

ขนอุยหรือวิลลัส (Villi) ตุ่มหรือขนเล็กๆ ที่ยื่นออกมา 13

ท่อที่ล�ำเลียงอาหารจาก

ปากไปยังกระเพาะอาหาร ตับอ่อน (Pancreas) อวัยวะที่ผลิตเอนไซม์และปล่อย เอนไซม์เข้าสู่ล�ำไส้ นอกจากนี้ยังสร้างฮอร์โมนบางชนิด อีกด้วย

ท่อที่ปัสสาวะผ่านจาก กระเพาะปัสสาวะออกไปนอกร่างกาย ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary system) อวัยวะต่างๆ ทีท่ ำ� หน้าทีผ่ ลิต เก็บ และก�ำจัดปัสสาวะ ซึง่ รวมถึงไต ท่อ ไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะด้วย (Urethra)

และสารที่ร่างกายไม่ต้องการ โดยผลิตขึ้นที่ไตและเก็บ ไว้ในกระเพาะปัสสาวะ

ขนอุยในชั้นบุลำ� ไส้เล็ก ด้วยสารอาหารจากล�ำไส้เล็ก โดยจะเก็บรักษาสารอาหาร บางชนิดไว้และส่งสารอาหารบางชนิดออกไป นอกจากนี้ ยังก�ำจัดสารทีเ่ ป็นพิษออกจากเลือด และผลิตน�ำ้ ดีอกี ด้วย

ท่อปัสสาวะ

ปัสสาวะ (Urine) ของเหลวซึ่งประกอบด้วยน�ำ้ เกลือ

ดูดซึมสารอาหาร

ตับ (Liver) อวัยวะขนาดใหญ่ทจี่ ดั การกับเลือดซึง่ อุดมไป

ท่อไต (Ureter) ท่อทีป่ สั สาวะผ่านจากไตไปยังกระเพาะ

อวัยวะในระบบย่อย อาหาร ซึง่ ในขณะทีเ่ อนไซม์ในน�้ำย่อยย่อยโปรตีนในอาหาร ผนังกล้ามเนื้อของกระเพาะอาหารก็จะปั่นอาหารให้เป็น ครีมคล้ายแป้งเปียก (Stomach)

ระบบย่ อ ยอาหารทั้ ง หมดจากปากถึ ง ทวารหนักยาว 9 เมตร ซึ่งอาหารใช้เวลาในการ เดินทางผ่านระบบย่อยอาหาร 18-24 ชั่วโมง กระเพาะอาหารมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ ก�ำปั้น แต่สามารถยืดขยายจนมีขนาดใหญ่เป็น 20 เท่าได้ ล�ำไส้เล็กยาวกว่าล�ำไส้ใหญ่ 4 เท่า เมื่อยืด ออกจะยาวเกือบ 6 เมตร การย่อยประมาณ 90% เกิดขึ้นในล�ำไส้เล็ก ณ เวลาหนึ่งๆ เลือดประมาณ 1 ใน 4 ของ ร่างกายจะอยู่ภายในตับ ภายใน 1 วัน ของเหลวจากเลือดจะผ่านสู่ไต ได้มากถึง 180 ลิตร ตับเป็นอวัยวะภายในที่ใหญ่ที่สุด


สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-915-4

9

786165

279154

หมวด : สารานุกรม 125.-

ร างกายมนุษย

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

ร างกายมนุษย หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 250 คำ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.