Forweb r int 275 [สารานุกรมประกอบภาพ วิทยาศาสตร์]

Page 1

สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-917-8

9

786165

279178

หมวด : สารานุกรม 125.-

ว�ทยาศาสตร

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

ว�ทยาศาสตร หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 200 คำ



สารานุกรมประกอบภาพ

ว�ทยาศาสตร ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

SCIENCE


ISBN : 978-616-527-917-8 ราคา 125 บาท ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA SCIENCE Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล ชญานิฐ พรหมพิทยายุทธ, เดือนเพ็ญ ปาลสาร ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร วรางคณา กฤตสัมพันธ์, ประไพ ภูงามเชิง เสียงบรรยาย Talking Pen กิตติมา ธารารัตนกุล ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


สารานุกรมประกอบภาพ

ว�ทยาศาสตร ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA

SCIENCE


สารบัญ สสาร

6

ธาตุและสารประกอบ

8

ตารางธาตุ

10

โลหะ

12

ปฏิกิริยาเคมี

14

แสงและสี

22

ความร้อนและอุณหภูมิ

24

ไฟฟ้าและอ�ำนาจแม่เหล็ก

26

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 28 ดัชนี

แรงและการเคลื่อนที่

16

พลังงาน

18

เสียง

20

30


เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้

ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้”

บทน�ำ

อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็น

ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย

แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วย ค�ำอธิบายสั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร

อักษรตัวหนา

ใช้เน้นค�ำที่มีความส�ำคัญที่ไม่มีแสดง ในรายการค�ำอธิบายอื่น

เกร็ดน่ารู้

เกร็ดน่ารู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ ที่แสดงเป็นข้อๆ ซึ่งง่ายต่อการอ่าน

เลขหน้า

เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ


ทุ

สสาร

กสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเรา ไม่วา่ จะเป็นสิง่ มีชวี ติ ก้อนหินหรือแม้แต่แก๊สทีม่ องไม่เห็นล้วน เกิดจากสสารทัง้ สิน้ สสารมีอยู่ 3 รูปแบบ หรือสถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สสารประกอบไปด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่เรียกว่า อะตอม ซึง่ มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็น ได้ และอะตอมเองก็ประกอบไปด้วยอนุภาคขนาด เล็กลงไปอีกซึ่งเรียกว่า อนุภาคย่อยของอะตอม

ภายในอะตอม โปรตอนและนิวตรอนจะเกาะกัน อยู่ ในนิวเคลียสของอะตอม และมีอิเล็กตรอน วิ่งวนอยู่รอบนิวเคลียส

อิเล็กตรอน

การเยื อ กแข็ ง

คื อ กระบวนการที่ของเหลวเปลี่ยน สถานะเป็นของแข็ง การเยือกแข็ง เกิดขึ้นเมื่อของเหลวเย็นตัวลง หรือมีความดันเพิ่มขึ้น

นิวเคลียส นิวตรอน

แก๊ส (Gas) คือสถานะของสสาร

ทีม่ โี มเลกุลอยูห่ า่ งกันและสามารถ เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ จึงท�ำให้ แก๊สมีรูปร่างไม่แน่นอน สามารถ กระจายและอัดกันอยู่ได้ตามรูปร่าง ของภาชนะที่บรรจุ

โปรตอน

อะตอม (Atom) คืออนุภาคพืน้ ฐานของสสาร อะตอม

6

ไม่ใช่ของแข็ง แต่จะประกอบไปด้วยที่ว่างเป็นส่วน ใหญ่ ที่จุดศูนย์กลางของอะตอมจะมีอนุภาคย่อย ของอะตอมได้แก่ โปรตอนและนิวตรอนยึดเกาะ กันอยู่เรียกว่า นิวเคลียส และรอบๆ นิวเคลียสจะ อิเล็กตรอน (Electron) คืออนุภาคย่อยของอะตอม มีอิเล็กตรอนที่มีขนาดเล็กกว่าจ�ำนวนมากเคลื่อนที่ ทีว่ ิ่งวนอยู่รอบนิวเคลียสของอะตอม อิเล็กตรอนไม่ได้ วนอยู่ด้วยความเร็ว เคลือ่ นทีอ่ ย่างไร้ระเบียบ แต่จะอยูเ่ ป็นชัน้ ๆ ตามวงโคจร เลขอะตอม (Atomic number) คือจ�ำนวนโปรตอน อิเล็กตรอนมีคา่ ประจุไฟฟ้าเป็นลบ ในขณะที่โปรตอนมี ในนิวเคลียสของอะตอม ค่าประจุไฟฟ้าเป็นบวก ประจุบวกและประจุลบจะดึงดูด การควบแน่น (Condensation) คือกระบวนการ กัน จึงท�ำให้อะตอมยึดเกาะกันอยู่ได้

(Freezing)

ของเหลว (Liquid) คือสถานะของสสารที่

โมเลกุลอยู่ใกล้กนั แต่ไม่ได้ยดึ ติดกันแน่น โมเลกุล เหล่านัน้ สามารถเคลือ่ นที่ไปจนถึงก้นภาชนะได้ ดังนัน้ ของเหลวจึงถูกเทได้ง่าย

มวล (Mass) คือจ�ำนวนสสารทั้งหมดในวัตถุ การหลอมเหลว (Melting) คือกระบวนการทีข่ องแข็ง

เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว การหลอมเหลวเกิดขึ้น เมื่อของแข็งได้รับความร้อนจนถึง “จุดหลอมเหลว”

ที่แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว การควบแน่น การระเหย (Evaporation) คือกระบวนการทีข่ องเหลว โมเลกุล (Molecule) เป็นหน่วยย่อยที่สุดของสารที่ เกิดขึ้นเมื่อแก๊สเย็นตัวลงหรือมีความดันเพิ่มขึ้น เปลีย่ นสถานะเป็นแก๊ส การระเหยจะเกิดขึน้ เมือ่ ของเหลว สามารถอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเองและมีสมบัตทิ างเคมี โมเลกุล ได้ ร บ ั ความร้ อ นหรื อ มี ค วามดั น ลดลง ความหนาแน่น (Density) คือการวัดว่าสิ่งของมี ประกอบด้วยอะตอม ไม่วา่ จะเป็นชนิดเดียวกันหรือต่าง มวลยึดเกาะกันแน่นแค่ไหน วัตถุหนึง่ จะมีความหนาแน่น ของไหล (Fluid) คือสารทีม่ รี ปู ร่างไม่แน่นอน สามารถ ชนิดกัน และยึดติดกันอยู่ด้วยพันธะโมเลกุล มากกว่าอีกวัตถุหนึง่ เมือ่ อะตอมของวัตถุนนั้ เกาะตัว เปลีย่ นแปลงรูปร่างได้ตามภาชนะทีบ่ รรจุ ทัง้ ของเหลว นิวตรอน (Neutron) คืออนุภาคย่อยในนิวเคลียสของ กันอยู่อย่างหนาแน่น และแก๊สจัดเป็นของไหล อะตอม นิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้า น�ำ้ พุรอ้ น คือสิง่ ทีแ่ สดงให้เห็นว่าน�ำ้ เปลีย่ น จากสถานะหนึ่งเป็นอีกสถานะหนึ่งได้ อย่างไร โดยน�ำ้ จะได้รบั ความร้อนจากหิน ใต้พภิ พ และพุง่ ขึน้ มาเป็นไอน�ำ้ และน�ำ้ ร้อน เมื่อปะทะเข้ากับอากาศเย็นจะควบแน่น เป็นหยดน�้ำและหล่นลงพื้น

ของแข็ง

ธารน�้ำแข็ง คือมวลน�้ำแข็ง ทีเ่ คลือ่ นทีอ่ ย่างช้าๆ มันคือ น�้ำที่อยู่ ในสถานะของแข็ง นั่นเอง

นิวเคลียส (Nucleus) อยูต่ รงจุดศูนย์กลางของอะตอม ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน

พลาสมา

แก๊ส

ของเหลว

คือสถานะของสสารที่หาได้ยาก ในโลก พบในที่ที่มีอุณหภูมิสูงมาก เช่น ในดาวฤกษ์ ส่วนใหญ่รวมถึงดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ของเรา แก๊สจะกลายเป็นพลาสมาได้เมือ่ ได้รบั ความร้อนสูงมาก จนกระทั่งอะตอมของมันวิ่งชนกันเอง แรงจากการชน กันจะท�ำให้อเิ ล็กตรอนหลุดจากวงโคจรของบางอะตอม จนท�ำให้แก๊สมีประจุไฟฟ้า (Plasma)

สมบัติของสสาร (Properties of matter) คือลักษณะ เฉพาะของสาร สมบัติทางเคมี (chemical property) จะเกี่ยวข้องกับโครงสร้างของอะตอมในสารส่วน สมบัติทางกายภาพ (physical property) คือลักษณะ เฉพาะของสารที่สังเกตได้ง่าย เช่น น�้ำหนัก รูปร่าง ความหนาแน่น และสี


เกร็ดน่ารู้ บอลลู น ลอยได้ เ พราะ อากาศร้อนทีอ่ ยู่ในบอลลูน อากาศร้ อ นนี้ มี ค วาม หนาแน่นน้อยกว่าอากาศ ทีเ่ ย็นกว่าซึง่ อยูข่ า้ งนอก บอลลูน

สถานะของสสาร

สสารมีอยู่ 3 สถานะหลักๆ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส การเปลีย่ น สถานะของสสารจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิหรือความดัน (States of matter)

อนุภาคย่อยของอะตอม (Subatomic particles) คือ

ส่วนทีเ่ ล็กมากซึง่ ประกอบกันเป็นอะตอม อนุภาคย่อย โปรตอน (Proton) คืออนุภาคย่อยที่พบในนิวเคลียส เหล่านี้ได้แก่ อิเล็กตรอน นิวตรอน และโปรตอน ของอะตอม โปรตอนมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก การระเหิด (Sublimation) คือกระบวนการที่ของแข็ง

กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) คืออนุภาคหรือรังสี เปลีย่ นสถานะกลายเป็นแก๊สโดยไม่ผา่ นสถานะของเหลว ของพลังงานทีเ่ กิดจากอะตอมที่ไม่เสถียร เช่น ยูเรเนียม สุญญากาศ (Vacuum) คือสภาวะที่ไม่มีสสารใดๆ อะตอมที่ไม่เสถียรส่วนใหญ่จะสลายอนุภาคย่อยออกมา อยู่เลย ของแข็ง (Solid) คือสถานะของสสารที่มีโมเลกุลยึด ความหนืด (Viscosity) คือการวัดค่าความเข้มข้น ติดกันแน่นเป็นรูปทรงที่แข็งแกร่ง จึงท�ำให้ของแข็งมี ของของเหลว เช่น น�้ำผึ้งมีความเข้มข้นและความ รูปร่างที่แน่นอน หนืดมากกว่าน�ำ้

ปริมาตร โดยวัตถุ ความหนาแน่นจะเป็นตัวก� ำหนดว่าวัตถุจะลอยหรือ จม ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าน�้ำก็จะจม แต่ถ้ามี ความหนาแน่นน้อยกว่าน�ำ้ ก็จะลอย

(Volume)

คือปริมาณที่ว่างที่ครอบครอง

หัวเข็มหมุดประกอบด้วยอะตอมเป็นพันๆ ล้านอะตอม ดิโมคริตุส นักปรัชญาชาวกรีก (460-400 ปี ก่อนคริสตกาล) เป็นคนแรกที่กล่าวว่าสิ่งต่างๆ เกิดจากอนุภาคขนาดเล็กมารวมตัวกัน นิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจนมีขนาด เล็กกว่าตัวอะตอม 100,000 เท่า ถ้านิวเคลียส มีขนาดเท่าลูกกอล์ฟที่วางอยู่ตรงจุดศูนย์กลาง ของสนามกีฬา รอบนอกของอะตอมก็จะมีขนาด เท่ากับสนามกีฬา อองรี แบ็กเกอเรล นักฟิสกิ ส์ชาวฝรัง่ เศสเป็น ผู้ค้นพบกัมมันตภาพรังสีในปี ค.ศ. 1896 และ มารี คูรี นักวิทยาศาสตร์ เชื้อสายโปแลนด์เป็น ผู ้ ตั้ ง ชื่ อ ให้ ส ารนี้ ต่อมาในปี ค.ศ.1903 แบ็กเกอเรล คูรี และ ปิแอร์ สามีของคูรี ก็ ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์จากสิ่งที่พวก เขาได้ค้นพบ มารี คูรี

เรือลอยได้เพราะอากาศที่อยู่ ใน เรือมีความหนาแน่นน้อยกว่าน�ำ้

ห่วงยางลอยน�ำ้ ได้เพราะข้าง ในเต็มไปด้วยอากาศ

เมื่อเราพยายามว่ายน�้ำลงไป ข้างล่าง น�ำ้ จะดันตัวเราให้ลอยขึน้

ทุ่นลอยน�้ำถูกพันด้วยโซ่และถ่วงไว้กับของ ที่หนักอยู่ที่ก้นทะเล ทุ่นจึงไม่ลอยไปที่อื่น

7


ธาตุและ สารประกอบ

าตุคือสารที่เกิดจากอะตอมชนิดเดียวกัน และไม่ ส ามารถแยกย่ อ ยออกเป็ น สาร อื่นได้อีก ธาตุต่างชนิดกันจะมีสมบัติต่างกัน ซึง่ สามารถจ�ำแนกได้จากตัวเลขของอนุภาคย่อย ของอะตอม ธาตุในธรรมชาติทถี่ กู ค้นพบมีทงั้ หมด 94 ธาตุ แบ่งเป็นธาตุโลหะและอโลหะ ถ้าอะตอม ของธาตุชนิดหนึง่ ไปรวมตัวกับอะตอมของธาตุอกี ชนิดหนึ่งก็จะเกิดสารใหม่ขึ้น โดยกระบวนการนี้ เรียกว่าปฏิกิริยาเคมี และสารใหม่ที่ได้เรียกว่า สารประกอบ

แอดฮีชัน (Adhesion) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมของธาตุหรือสารประกอบต่างชนิดกัน

อัญรูป (Allotrope) คือรูปร่างทีแ่ ตกต่างกันของธาตุ 8

ชนิดเดียวกัน เช่น เพชรและแกรไฟต์ซึ่งเป็นอัญรูป ของธาตุคาร์บอน

พันธะ (Bond) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม คาร์บอน (Carbon) คือธาตุชนิดหนึง่ ทีพ่ บได้มากทีส่ ดุ ในจักรวาลและเป็นธาตุพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

+ อะตอมของไฮโดรเจน = โมเลกุลของน�ำ้ อะตอมของออกซิเจน น�้ำคือโมเลกุลของสารประกอบระหว่างอะตอมของออกซิเจนกับอะตอมของไฮโดรเจน

สัญลักษณ์ทางเคมี

คือตัว พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือแรงยึดเหนีย่ วระหว่าง อักษรที่ใช้แทนธาตุต่างๆ เช่น C แทนคาร์บอน Cu อะตอม โดยอิเล็กตรอนจะหลุดจากอะตอมหนึง่ ไปรวม แทนทองแดง กับอีกอะตอมหนึง่ อะตอมทีเ่ สียอิเล็กตรอนไปจะกลาย โคฮีชัน (Cohesion) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม เป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนจะ กลายเป็นประจุลบ ซึ่งอะตอมที่มีประจุบวกหรือลบนี้ ของธาตุหรือสารประกอบชนิดเดียวกัน เรียกว่า ไอออน (ion) ประจุบวกและลบจะดึงดูดกัน สารประกอบ (Compound) คือสารที่เกิดจากธาตุ ท�ำให้อะตอมยึดเหนี่ยวกันอยู่ได้ มากกว่าหนึ่งชนิด เช่น น�้ำเป็นสารประกอบที่เกิดจาก พันธะโลหะ (Metallic bond) คือแรงยึดเหนีย่ วระหว่าง อะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจน อะตอมของโลหะ อิเล็กตรอนของโลหะจะวิง่ อย่างอิสระจาก พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) คือแรงยึดเหนี่ยว อะตอมหนึ่งไป ระหว่างอะตอม โดยที่อะตอมเหล่านั้นใช้อิเล็กตรอน ยังอีกอะตอม ร่วมกัน หนึ่ง คริสตัลหรือผลึก (Crystal) คือของแข็งที่มีรูปทรง เรขาคณิต อะตอมของผลึกจะเรียงตัวกันอย่างเป็น ระเบียบ ผลึกจะมีขอบคมและผิวเรียบแบนที่ท�ำมุม เท่าๆ กัน (Chemical symbols)

แฮโลเจน (Halogen) คือกลุ่มธาตุอโลหะ ที่มีคุณลักษณะคล้ายกัน ธาตุเหล่า นี้สามารถรวมตัวกับธาตุอื่นได้ ง่าย ธาตุในกลุ่มนี้เช่น คลอรีน ฟลูออรีน โบรมีน ไอโอดีน และ แอสทาทีน

เกลือป่นเป็นสารประกอบ ของธาตุโซเดียมและคลอรีน ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของ เกลือป่นคือ โซเดียมคลอไรด์

ดาวเสาร์มีไฮโดรเจนเป็นส่วน ประกอบประมาณ 90%

ฮีเลียม (Helium) คือธาตุทจี่ ดั อยู่ในกลุม่ แก๊สมีตระกูล ไนโตรเจน (Nitrogen) คือแก๊สไม่มสี ี ไม่มกี ลิน่ และเป็น

หรือแก๊สเฉื่อย ฮีเลียมเป็นแก๊สที่เบาที่สุดและใช้บรรจุ ส่วนประกอบ 78% ของอากาศรอบๆ ตัวเรา ไนโตรเจน ในลูกโป่ง มีความส�ำคัญต่อสิ่งมีชีวิต เนื่องจากเป็นส่วนประกอบ ไฮโดรเจน (Hydrogen) คือธาตุที่พบได้มากที่สุดใน ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

แปรงสีฟนั พลาสติกด้ามนีผ้ ลิต จากสารประกอบของไฮโดรเจน และคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่

ไข่แดงอุดมไปด้วย ธาตุก�ำมะถัน

จักรวาล โดยเป็นธาตุที่มีโครงสร้างอะตอมที่แทบไม่มี ความซับซ้อนและเบาทีส่ ดุ เพราะในแต่ละอะตอมประกอบ ด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนอย่างละ 1 ตัว แต่ไม่มี นิวตรอน เมือ่ ไฮโดรเจนรวมตัวกับออกซิเจนจะกลายเป็น น�้ำ และเมื่อรวมตัวกับคาร์บอนและออกซิเจนจะกลาย เป็นคาร์โบไฮเดรต ซึ่งพบในอาหารประเภทแป้ง เช่น มันฝรั่งและข้าว


แก๊สมีตระกูล

คือกลุ่มของแก๊สที่มี คุณลักษณะคล้ายกัน บางครั้งจะเรียกว่า แก๊สเฉื่อย (inert gas) เพราะแก๊สเหล่านี้จะไม่รวมตัวกับธาตุอื่น ง่ายๆ แก๊สมีตระกูลทีร่ จู้ กั กันดีคอื นีออน ซึง่ ใช้ทำ� หลอด ไฟและท�ำป้ายจราจร และเนือ่ งจากแก๊สมีตระกูลไม่ทำ� ปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆ มันจึงไม่ติดไฟหรือระเบิด (Noble gases)

ออกซิเจน (Oxygen) คือแก๊สไม่มสี ี ไม่มกี ลิน่ เป็นส่วน ประกอบ 1 ใน 5 ของอากาศรอบตัวเรา ออกซิเจนมี ความส�ำคัญมากต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก เพราะมนุษย์และ สัตว์ตา่ งๆ ต้องใช้ออกซิเจนในการหายใจเพือ่ ด�ำรงชีวติ

ฟอสฟอรัส (Phosphorus) คือธาตุที่พบในหินและแร่ หลายชนิด นอกจากนี้ยังพบได้ในกระดูกและดีเอ็นเอ ของมนุษย์อีกด้วย ฟอสฟอรัสเป็นธาตุที่ไวไฟมาก

เพชรเป็นอัญรูปที่แข็งมากของคาร์บอน

พลาสติ ก (Plastic) คือวัสดุ ก�ำมะถัน (Sulphur) คือธาตุที่พบในหินบางชนิด โดย

สังเคราะห์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น ในห้องปฏิบัติการหรือโรงงานผลิต พลาสติกเป็นวัสดุทมี่ ปี ระโยชน์เนือ่ งจาก ขึ้นรูปได้ง่าย มีน�้ำหนักเบา และมีอายุการ ใช้งานยาวนาน พลาสติกส่วนใหญ่ผลิตขึ้นจาก สารประกอบของไฮโดรเจนและคาร์บอน และจัดเป็น โพลิเมอร์ชนิดหนึ่ง

จะยึดเหนี่ยวกับธาตุชนิดอื่นๆ ได้โดยง่าย ก�ำมะถันใช้ ท�ำดินปืนและไม้ขีดไฟเนื่องจากติดไฟได้ง่าย

วาเลนซี

คือจ�ำนวนพันธะของ อะตอมหนึ่งที่สามารถยึดเหนี่ยวกับ อะตอมอื่นๆ ได้ (Valency)

โพลิเมอร์ (Polymer) คือโมเลกุลขนาดใหญ่ทเี่ กิด

จากสายโมเลกุลขนาดเล็กกว่าจ�ำนวนมากทีเ่ รียกว่า โมโนเมอร์ (monomer) พลาสติกหลายชนิด และวัสดุสังเคราะห์อื่นๆ เช่น อะครีลิกและไนลอน จัด เป็นโพลิเมอร์ โพลิเมอร์ในธรรมชาติจะพบในเส้นผม และดีเอ็นเอของมนุษย์

นักด�ำน�้ำจะสะพายถังออกซิเจนไว้บนหลัง พวกเขาจึงสามารถหายใจใต้นำ�้ ได้

ในพันธะไอออนิก อะตอมจะสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอน ภาพนีค้ อื อะตอมของโซเดียม (ภาพขวา) ทีเ่ สียอิเล็กตรอน ทีอ่ ยูว่ งนอกไปให้กบั อะตอมของคลอรีน (ภาพซ้าย) ดังนัน้ โซเดียมจึงมีประจุบวกและคลอรีนมีประจุลบ ประจุบวกและ ในพันธะโคเวเลนต์ (ภาพบน) อะตอมหนึง่ จะใช้อเิ ล็กตรอน ประจุลบจะดึงดูดเข้าหากันและยึดเหนีย่ วอะตอมไว้ดว้ ยกัน ร่วมกันกับอีกอะตอมหนึง่ ในภาพคือไฮโดรเจนสองอะตอม ท�ำให้เกิดเป็นโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด์ ทีย่ ดึ เหนีย่ วกันด้วยพันธะโคเวเลนต์กบั อะตอมของออกซิเจน หนึ่งอะตอม

เกร็ดน่ารู้ หลายร้อยปีกอ่ น นักวิทยาศาสตร์เชือ่ ว่า ทุกสิ่งเกิดจากธาตุ 4 ธาตุ คือ ดิน ลม ไฟ และน�้ำ ร่างกายของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดเกิดจาก โมเลกุลของคาร์บอนเป็นพืน้ ฐาน ซึง่ รวมถึง ผิวหนัง ผม กล้ามเนือ้ กระดูก และสมอง รวมทั้งอวัยวะของสัตว์และส่วนต่างๆ ของ พืชด้วย โมเลกุลของคาร์บอนมีจำ� นวนมากมาย มหาศาลกว่าจ�ำนวนโมเลกุลของธาตุอื่นๆ รวมกันถึง 10 เท่า ค�ำว่าพลาสติก มาจากค�ำว่า plastikos ในภาษากรีก แปลว่า เป็นรูปร่าง ทีถ่ กู เรียก เช่นนีเ้ นือ่ งจากว่า พลาสติกสามารถน�ำมา ขึ้นรูปต่างๆ ได้ง่าย กระดูกประกอบไปด้วย แคลเซียม คาร์บอน ฟอสฟอรัส และโซเดียม

9


1

H

ารางธาตุ คือตารางแสดงรายชือ่ ของธาตุทงั้ หมด โดยเรียงล�ำดับตามเลขอะตอม (จ�ำนวน ของโปรตอนในแต่ละอะตอม) แถวตามแนวนอนเรียกว่า คาบ แถวตามแนวตั้งเรียกว่า หมู่ ธาตุที่มีสมบัติทางเคมีคล้ายกันจะจัดอยู่ในหมู่เดียวกัน แต่ละธาตุจะมีเลขอะตอมสูงกว่า ธาตุที่อยู่ทางด้านซ้าย ตารางธาตุถูกออกแบบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียชื่อ ดมิทรี เมนเดเลเยฟ (ค.ศ.1834-1907) เมนเดเลเยฟได้เว้นที่ว่างในตารางธาตุไว้ เนือ่ งจากเขาคาด การณ์ไว้ว่าน่าจะมีการค้นพบธาตุเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต โดยเขาคาดการณ์ได้อย่างถูกต้อง เนือ่ งจากมีการค้นพบธาตุเจอร์เมเนียม แกลเลียม และสแกนเดียมในขณะที่เขายังมีชีวิตอยู่ ธาตุที่เป็นที่รู้จักมีจ�ำนวนทั้งหมด 118 ธาตุ โดยมี 94 ธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ส่วน ธาตุที่เหลือเกิดจากการสังเคราะห์ขึ้นมา

ไฮโดรเจน (Hydrogen) 1.008 3

Li

ลิเทียม (Lithium) 6.941 11

โซเดียม (Sodium) 22.990

K

10

19

37

55

87

Ba

Ra

38

Y

อิตเทรียม (Yttrium) 88.906

56

88

Cu ทองแดง

39

29

(Copper) 64

มวลอะตอม-มวลเฉลี่ยของ หนึง่ อะตอมเทียบกับมวลของ คาร์บอนหนึ่งอะตอม

40

Zr

เซอร์โคเนียม (Zirconium) 91.22 72

Hf

104 *

รัทเทอร์ฟอร์เดียม (Rutherfordium) 261

57

La

แลนทานัม (Lanthanum) 138.906

Ac

Nb

41

89

แอกทิเนียม (Actinium) 227

Db

58

*

Sg

106 *

Pr

59

90

Pa

91

โพรแทกทิเนียม (Protactinium) 231.036

Bh

เหล็ก (Iron) 55.847

60

นีโอดิเมียม (Neodymium) 144.24

ยูเรเนียม (Uranium) 238.029

โคบอลต์ (Cobalt) 58.933

44

Os

*

92

โรเดียม (Rhodium) 102.906

76

77

Ir

อิริเดียม (Iridium) 192.22

108

Hs

*

Mt

109

ไมต์เนเรียม (Meitnerium) 268

61

Pm

โพรมีเทียม (Promethium) 145

Np

45

Rh

รูทีเนียม (Ruthenium) 101.07

ฮัสเซียม (Hassium) 277

โบห์เรียม (Bohrium) 264

U

Ru

27

Co

ออสเมียม (Osmium) 190.2

107

Nd

26

Fe

75

Re รีเนียม

(Rhenium) 186.207

เพรซิโอดีเมียม (Praseodymium) 140.908

ซีเรียม (Cerium) 140.12

ทอเรียม (Thorium) 232.038

เทคนีเชียม (Technetium) 97

74

ซีบอร์เกียม (Seaborgium) 226

ดุบเนียม (Dubnium) 262

Th

W

25

43

Tc

ทังสเตน (Tungsten) 183.85

105

Ce

42

Mo

73

Mn

แมงกานีส (Manganese) 54.938

โมลิบดีนัม (Molybdenum) 95.94

ไนโอเบียม (Niobium) 92.906

Ta

24

Cr

โครเมียม (Chromium) 51.996

แทนทาลัม (Tantalum) 180.948

แฮฟเนียม (Hafnium) 178.49

Rf

23

V

วาเนเดียม (Vanadium) 50.941

ไทเทเนียม (Titanium) 47.90

* 89-103

22

Ti

57-71

เลขอะตอมจ�ำนวนโปรตอน ในหนึ่งอะตอม

*

21

สแกนเดียม (Scandium) 44.956

เรเดียม (Radium) 226.025

สัญลักษณ์ ของธาตุ

ชื่อธาตุ

Sr

Sc

แบเรียม (Barium) 137.34

แฟรนเซียม (Francium) 223

ธาตุที่มี เครื่องหมาย ดอกจันอยู่ที่ มุมบนซ้ายคือ ธาตุสังเคราะห์

20

สตรอนเชียม (Strontium) 87.62

ซีเซียม (Caesium) 132.910

Fr

Ca

แคลเซียม (Calcium) 40.08

รูบิเดียม (Rubidium) 85.468

Cs

12

Mg

แมกนีเซียม (Magnesium) 24.305

โพแทสเซียม (Potassium) 39.098

Rb

4

Be

เบริลเลียม (Beryllium) 9.012

Na

ตารางธาตุ

93

เนปทูเนียม (Neptunium) 237.048

Sm

62

ซาแมเรียม (Samarium) 150.4

Pu

94

พลูโตเนียม (Plutonium) 244


โลหะแอลคาไล

ธาตุกึ่งโลหะ

แลนทาไนด์

โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท

แฮโลเจน

แอกทิไนด์

โลหะแทรนซิชัน

อโลหะ

โลหะอ่อน

แก๊สมีตระกูล

5

B

C

13

Al

28

Ni

46

Pt

Ds

110

ดาร์มสตัดเทียม (Darmstadtium) 281

Eu

95

Am

อะเมริเซียม (Americium) 243

Rg

111

*

*

96

Cm

คูเรียม (Curium) 247

*

เทอร์เบียม (Terbium) 158.925 *

Bk

97

เบอร์คีเลียม (Berkelium) 247

113

Uut

อูนอูนเทรียม (Ununtrium) 284

65

Tb

แกโดลิเนียม (Gadolinium) 157.25

81

Tl

โคเปอร์นิเซียม (Copernicium) 285

64

Gd

Cn

112

Dy

Cf

แคลิฟอร์เนียม (Californium) 251

ธาตุกลุ่มแลนทาไนด์และแอกทิไนด์ (ตารางสีม่วงด้านบน) จะอยู่ด้านล่าง ของตารางธาตุ เนือ่ งจากธาตุเหล่านีถ้ กู ค้นพบหลังจัดท�ำตารางธาตุไปแล้ว

83

Bi

114

Uuq

*

115

Uup

อูนอูนเพนเทียม (Ununpentium) 288

67

68

Ho

Er

โฮลเมียม (Holmium) 164.930 *

Es

Po

99

ไอน์สไตเนียม (Einsteinium) 254

เออร์เบียม (Erbium) 167.26 *

100

Fm

เฟอร์เมียม (Fermium) 257

*

116

Uuh

อูนอูนเฮกเซียม (Ununhexium) 292

Tm

Md

101

เมนเดลีเวียม (Mendelevium) 258

53

Xe

85

เรดอน (Radon) 222

117

Uus

อูนอูนเซปเทียม (Ununseptium) 291

Yb

*

No

70

102

โนเบเลียม (Nobelium) 255

และในตารางธาตุมที วี่ า่ งเหลือไม่พอ ลูกศรจึงเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงต�ำแหน่งใน ตารางธาตุที่ธาตุเหล่านั้นควรอยู่

118

Uuo

อูนอูนออกเทียม (Ununoctium) 294

Lu

อิตเทอร์เบียม (Ytterbium) 173.04 *

11 86

Rn

แอสทาทีน (Astatine) 210 *

54

ซีนอน (Xenon) 131.30

At

69

ทูเลียม (Thulium) 168.934

คริปทอน (Krypton) 83.80

I

84

36

Kr

ไอโอดีน (Iodine) 126.905

พอโลเนียม (Polonium) 209

บิสมัท (Bismuth) 208.98

อูนอูนควอเดียม (Ununquadium) 289

66

98

82

ตะกั่ว (Lead) 207.2 *

Te

เทลลูเรียม (Tellurium) 127.60

พลวง (Antimony) 121.75

Pb

ดิสโพรเซียม (Dysprosium) 162.50 *

Sb

35

โบรมีน (Bromine) 79.904 52

18

Ar

อาร์กอน (Argon) 39.948

Br

ซีลีเนียม (Selenium) 78.96 51

17

คลอรีน (Chlorine) 35.453 34

Se

นีออน (Neon) 20.179

Cl

ก�ำมะถัน (Sulphur) 32.06

สารหนู (Arsenic) 74.922

ดีบุก (Tin) 118.69

16

10

Ne

ฟลูออรีน (Fluorine) 18.998

S

33

As

50

Sn

แทลเลียม (Thallium) 204.37

ปรอท (Mercury) 200.59

เรินต์เกเนียม (Roentgenium) 272

63

ยูโรเพียม (Europium) 151.96 *

*

In

80

Hg

ทองค�ำ (Gold) 196.967

49

อินเดียม (Indium) 114.82

แคดเมียม (Cadmium) 112.40 79

Au

แพลทินัม (Platinum) 195.09 *

Cd

เงิน (Silver) 107.868

78

48

32

Ge

เจอร์เมเนียม (Germanium) 72.59

แกลเลียม (Gallium) 69.72

15

P

9

F

ออกซิเจน (Oxygen) 15.998

ฟอสฟอรัส (Phosphorus) 30.974

ซิลิคอน (Silicon) 28.086 31

Ga

สังกะสี (Zinc) 65.38 47

Ag

แพลเลเดียม (Palladium) 106.4

30

Zn

ทองแดง (Copper) 63.546

นิกเกิล (Nickel) 58.70

Pd

29

Cu

14

8

O

ไนโตรเจน (Nitrogen) 14.007

Si

อะลูมิเนียม (Aluminium) 26.982

ฮีเลียม (Helium) 4.003

7

N

คาร์บอน (Carbon) 12.011

โบรอน (Boron) 10.81

ดมิทรี เมนเดเลเยฟ ผู้คิดค้นตารางธาตุ ธาตุ หมายเลข 101 ที่ชื่อเมนเดเลเวียมถูกเรียก ตามชื่อของเขา

6

2

He

71

ลูทีเชียม (Lutetium) 174.97 *

Lr

103

ลอว์เรนเซียม (Lawrencium) 260


โลหะ เหล็ก (Iron) คือโลหะสีเงินที่มีน�้ำหนัก เหล็กเป็น

ลหะเป็ น ธาตุ ก ลุ ่ ม ใหญ่ ที่ สุ ด คิ ด เป็ น ประมาณ 3 ใน 4 ของธาตุในตารางธาตุ โลหะ น�ำความร้อนและน�ำไฟฟ้าได้ดีกว่าธาตุอโลหะ โลหะส่วนใหญ่จะมีสถานะเป็นของแข็งเมือ่ อยูใ่ น อุณภูมหิ อ้ งปกติ โลหะมีความแข็งแรง แกร่ง และ ทนทาน สามารถน�ำไปขัดให้มผี วิ เรียบและมันวาว ได้ เมือ่ โลหะถูกบีบอัดด้วยความดันสูงมากๆ มันจะ เปลี่ยนรูปร่างและยิ่งติดกันแน่นมากกว่าที่จะ แยกหรือแตกออกจากกัน คุณสมบัตเิ หล่านีพ้ บได้ ในโลหะส่วนใหญ่แต่ไม่ทงั้ หมด เช่น โลหะโซเดียม จะนิ่มมาก ในขณะที่ปรอทจะเป็นของเหลวสีเงิน ที่อุณหภูมิห้อง

วัสดุกอ่ สร้างที่ได้รบั ความนิยมเพราะมีจำ� นวนมากและ แข็งแรง โดยน�ำไปท�ำเป็นเหล็กกล้าหรือใช้เป็นแม่เหล็ก ได้ เหล็กเป็นแร่ธาตุส�ำคัญที่ร่างกายมนุษย์ต้องการ เนื่องจากธาตุเหล็กในเซลล์เม็ดเลือดแดงจะท�ำหน้าที่ ล�ำเลียงออกซิเจนไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ปลอกหุ้มถ่านไฟฉายท�ำมาจากสังกะสี

โลหะผสม (Alloy) คือสารที่มีส่วนผสมของธาตุตั้งแต่

สองชนิดขึ้นไป โดยที่หนึ่งในนั้นต้องเป็นโลหะ โลหะ ผสมมีประโยชน์หลากหลายเนื่องจากมีสมบัติทางเคมี ทีแ่ ตกต่างกันไปตามธาตุทผี่ สมกันอยู่ เช่น เหล็กกล้าที่ เกิดจากเหล็กและคาร์บอนจะแข็งแรงกว่าเหล็กธรรมดา

แลนทาไนด์ (Lanthanides) คือกลุม่ ของโลหะสีเงินทีม่ ี

จุดหลอมเหลวสูง บางครัง้ เรียกโลหะกลุม่ นีว้ า่ แร่โลหะ หายาก โดยจัดอยู่ในกลุ่มโลหะทรานซิชัน

อะลูมิเนียม (Aluminium) คือโลหะที่มีน�้ำหนักเบา มี

เนื้ออ่อนนุ่ม และไม่เกิดสนิม อะลูมิเนียมผสมเข้ากับ ธาตุอนื่ ได้งา่ ยและเกิดเป็นโลหะผสมทีม่ นี ำ�้ หนักเบาและ ซึ่งเป็นโลหะทรานซิชัน ทนทาน อะลูมิเนียมเป็นโลหะที่พบมากที่สุดในชั้นหิน โลหะแอลคาไล (Alkali metals) คือกลุม่ ของโลหะที่ ของเปลือกโลก เมือ่ ท�ำปฏิกริ ยิ ากับน�ำ้ แล้วจะได้สารละลายแอลคาไล ทองสัมฤทธิ์ (Bronze) คือโลหะผสมสีน�้ำตาลที่เกิด โลหะแอลคาไลทุกชนิดมีอิเล็กตรอนเพียงหนึ่งตัว จากดีบุกและทองแดง มีความแข็งแรงและมันวาว ในวงโคจรชั้นนอกสุด โดยทั่วไปจะมีเนื้ออ่อนนุ่ม ทองสัมฤทธิ์เป็นโลหะผสมชนิดแรกที่มนุษย์น�ำมาใช้ มันวาว และมีสีเงินอ่อนๆ ลิเทียม โซเดียม และ โดยน�ำมาท�ำเป็นอาวุธ เครื่องมือ และเครื่องประดับ โพแทสเซียม ล้วนเป็นธาตุที่อยู่ในกลุ่มนี้ ตกแต่งต่างๆ

แอกทิไนด์ (Actinides) คือกลุม่ ของโลหะกัมมันตรังสี

12

โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท

(Alkaline earth metals)

ทองแดง (Copper) คือโลหะสีนำ�้ ตาลอมชมพูทมี่ คี วาม คือกลุ่มของโลหะแอลคาไลที่มีอิเล็กตรอนสองตัว มันวาว ทองแดงเป็นสารตัวน�ำที่ดี และมักน�ำมาใช้ท�ำ ในวงโครจรชั้นนอกสุด เช่น แมกนีเซียม แคลเซียม สายไฟและท่อ และเรเดียม จัดเป็นธาตุที่อยู่ในกลุ่มนี้ ทองค�ำ (Gold) คือธาตุที่มีเนื้ออ่อนนิ่ม มันวาว และ มีสีเหลือง ส่วนใหญ่เราจะพบทองค�ำในลักษณะเป็น ชิ้นเล็กๆ เรียกว่า ก้อนแร่ทองค�ำ (nugget) ทองค�ำ เป็นสิ่งที่มีค่าเนื่องจากหายาก และไม่ผุกร่อนหรือ ขึ้นสนิมง่าย นอกจากนี้ทองค�ำยังเป็นตัวน�ำ ไฟฟ้าที่ดีอีกด้วย

ผิวภายนอกของอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพในนิวยอร์กท�ำจาก แผ่นทองแดง เมือ่ สัมผัสกับอากาศ ทองแดงจะเปลีย่ นเป็น สีเขียว เนื่องจากท�ำปฏิกิริยากับออกซิเจนเกิดเป็นสาร คอปเปอร์ออกไซด์

ตะกัว่

คือโลหะหนักสีนำ�้ เงินอ่อน ซึง่ จะเปลีย่ น โครงเหล็กของรถคันนี้เกิดสนิมเนื่องจาก เป็นสีเทาเมื่อสัมผัสอากาศ มีจุดหลอมเหลวต�่ำ ตะกั่ว สัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ มักถูกน�ำไปท�ำเป็นตัวถ่วงน�ำ้ หนักเนือ่ งจากมีนำ�้ หนักมาก (Lead)


แมกนีเซียม (Magnesium) คือโลหะสีเงินขาว มีนำ�้ หนัก โลหะมีค่า

คือโลหะที่มีมูลค่า เบา แมกนีเซียมท�ำปฏิกิริยากับธาตุอื่นและเกิด เช่น ทองค�ำ เงิน และทองค�ำขาว โลหะเหล่านี้มี เปลวไฟสีขาวได้ง่าย โดยถูกน�ำมาใช้ท�ำดอกไม้ไฟ ราคาแพงเนื่องจากหาได้ยากและมีความสวยงาม หรือน�ำไปผสมกับโลหะชนิดอืน่ เพือ่ ท�ำเป็นโลหะผสมที่ ส่วนใหญ่มักใช้ท�ำเครื่องประดับและของตกแต่ง แข็งแรงแต่มีน�้ำหนักเบา ธาตุกึ่งโลหะ (Semi-metals) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง (Precious metals)

ว่า เมทัลลอยด์ ธาตุกึ่งโลหะเป็นกลุ่มของธาตุที่ไม่ใช่ ทั้งโลหะหรืออโลหะ ธาตุในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะแข็งและ มีความมันวาวคล้ายโลหะแต่นำ� ไฟฟ้าไม่ดี เช่น สารหนู และบิสมัท เป็นต้น

เงิน (Silver) คือโลหะอ่อนนิ่มและมันวาว เงินจัดเป็น

โลหะมีค่า ใช้ท�ำเป็นเครื่องประดับตกแต่ง และยังเป็น ตัวน�ำไฟฟ้าได้ดีอีกด้วย

ทองค�ำและเงินจัดเป็นเป็นโลหะมีค่า

ปรอท (Mercury) คือโลหะเหลวสีเงิน ปรอทเป็นโลหะ

ชนิดเดียวทีม่ สี ถานะเป็นของเหลวทีอ่ ณุ หภูมหิ อ้ ง ปรอท เป็นสารที่ใช้บรรจุอยู่ในเทอร์โมมิเตอร์

นิกเกิล (Nickel) เป็นโลหะมันวาวสีขาว ใช้ทำ� เหล็กกล้า

ไร้สนิมและโลหะผสมอื่นๆ นอกจากนั้นยังใช้ในการท�ำ ดอกไม้ ไ ฟมี ส่วนผสมของผง เหรียญอีกด้วย โลหะต่างๆ เช่น แมกนีเซียม เมือ่ สินแร่ (Ore) คือหินที่มีสารประกอบโลหะปนอยู่ จุดดอกไม้ไฟก็ โลหะอ่อน (Poor metals) คือชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มโลหะ จะมีสีสันต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะอ่อนนิม่ สามารถหลอมเหลวได้ในอุณหภูมิ สว่างไสว

เกร็ดน่ารู้ ปัจจุบันมีโลหะที่ถูกค้นพบแล้ว 86 ชนิด มนุษย์เริม่ น�ำโลหะมาใช้งานเมือ่ ราว 8,000 ปี ก่อน ในตอนแรกได้นำ� ทองแดงและก้อนแร่ทองค�ำ ที่พบบนพื้นดินมาใช้งานโดยไม่ผ่านกระบวน การใดๆ เลย ส่วนทองสัมฤทธิ์นั้นถูกค้นพบโดย บังเอิญจากการผสมกันของดีบกุ และทองแดง ซึง่ มีความแข็ง ความคม และความทนทานมากกว่า โลหะชนิดอืน่ จึงถูกน�ำมาท�ำเป็นเครือ่ งมือและอาวุธ ที่มคี ุณภาพดีขนึ้ ยุคนัน้ จึงเรียกกันว่ายุคสัมฤทธิ์ ซึ่งเริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ในช่วงเวลาหลายร้อยปีทผี่ า่ นมา ตะกัว่ ถูกน�ำ มาใช้ทำ� ท่อส่งน�ำ้ จากนัน้ ได้มกี ารค้นพบว่าการที่ น�ำ้ มีตะกั่วปนเปื้อนเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยที่ ร้ายแรง ในปัจจุบัน ท่อส่งน�ำ้ จึงท�ำจากทองแดง หรือพลาสติกแทน หน่วยวัดความบริสุทธิ์ของทองค�ำคือ กะรัต ทองค�ำบริสุทธิ์จะมีค่า 24 กะรัต หรือ 24 เค ทองค�ำที่ผสมกับสารชนิดอื่นๆ จะมีค่าประมาณ 10 กะรัต ทองค�ำมักถูกน�ำไปผสมกับทองแดง หรือโลหะอื่นๆ เพื่อให้แข็งแรงและทนทานมาก ขึ้น ตัวถังรถยนต์ส่วนใหญ่จะท�ำจากแผ่น เหล็กกล้า เพราะมีความแข็งแรงและขึ้นรูป ได้งา่ ย แต่เหล็กกล้ามีเหล็กเป็นส่วนผสม หลัก และเหล็กจะเกิดสนิมเมื่อสัมผัสกับ ออกซิเจน ดังนัน้ แผ่นเหล็กกล้าจึงถูกน�ำไป เคลือบกันสนิมก่อนท�ำสี

ต�ำ่ ดีบกุ ตะกัว่ และอะลูมเิ นียมจัดอยู่ในกลุม่ โลหะอ่อน

เหล็กกล้า (Steel) คือโลหะผสมระหว่างเหล็กและ โลหะทรานซิชัน (Transition metals) คือกลุ่มของ พลูโตเนียม (Plutonium) คือโลหะทีม่ สี ารกัมมันตรังสี คาร์บอน โลหะผสมมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีสว่ นผสม โลหะทีม่ คี วามแข็ง มีความหนาแน่นและมันวาว น�ำไฟฟ้า อยู่ในระดับสูง ใช้ผลิตพลังงานนิวเคลียร์

โครงรถจักรยานท�ำจากโลหะผสม ของไทเทเนียมและเหล็กกล้า

ของธาตุหลากหลายในสัดส่วนทีต่ า่ งกันออกไปเล็กน้อย เพื่อประโยชน์ ใช้สอยที่แตกต่างกันไป เหล็กกล้า ไร้สนิม (stainless steel) มีส่วนผสมของเหล็กกล้า โครเมียม และโลหะอื่นๆ อีกเล็กน้อย เหล็กกล้าไร้ สนิมใช้ทำ� อ่างล้างจานและเครื่องครัวต่างๆ เหล็กกล้า ไทเทเนียมและวาเนเดียมสามารถทนความร้อนสูงได้ โดยไม่หลอมเหลว

ดีบุก (Tin) คือโลหะสีเงินที่โค้งงอและขึ้นรูป

ได้ง่าย ดีบุกเคยใช้ผลิตกระป๋องและฟอยล์ห่อ อาหาร แต่ปัจจุบันนิยมใช้อะลูมิเนียมในการ ผลิต เนื่องจากมีราคาถูกกว่า

ได้ดี ทองค�ำ เงิน เหล็ก และทองแดงเป็นธาตุในกลุ่ม โลหะทรานซิชัน

สังกะสี (Zinc) คือโลหะสีขาวอมน�้ำเงิน ใช้ในการท�ำ

ปลอกถ่านไฟฉาย สังกะสียงั เป็นสารอาหารทีส่ ำ� คัญอีก ด้วย พบมากในอาหารจ�ำพวกถั่วและเนื้อแดง

13


สารานุกรมประกอบภาพ

ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ

เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น

16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ

สัตว

ช�วว�ทยา

ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร

โลก

ร างกายมนุษย

ป ศาจตัวจ�๋ว

มหาสมุทร

ประวัติศาสตร

ประเทศต างๆ ในโลก

ธรรมชาติ

โลกของเรา

ว�ทยาศาสตร

อวกาศ

เทคโนโลยี

การขนส ง ISBN 978-616-527-917-8

9

786165

279178

หมวด : สารานุกรม 125.-

ว�ทยาศาสตร

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา

อธิบายชัดเจน เขาใจงาย

ว�ทยาศาสตร หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป

เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา

คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 200 คำ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.