สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-914-7
9
786165
279147
หมวด : สารานุกรม 125.-
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
ไดโนเสาร
และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 160 คำ
สารานุกรมประกอบภาพ
ไดโนเสาร
และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
DINOSAURS AND PREHISTORIC LIFE
ISBN : 978-616-527-914-7 ราคา 125 บาท ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA DINOSAURS Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล วิกันดา พินทุวชิราภรณ์ ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร วรางคณา กฤตสัมพันธ์, ดุจดาว บัวทอง เสียงบรรยาย Talking Pen กิตติมา ธารารัตนกุล ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ
สารานุกรมประกอบภาพ
ไดโนเสาร
และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
DINOSAURS AND PREHISTORIC LIFE
สารบัญ ธรณีกาล
6
สิ่งมีชีวิตชนิดแรก
8
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ และสัตว์เลื้อยคลานยุคแรก 10 ยุคไดโนเสาร์
12
เทอโรพอด
14
ซอโรพอด
16
ออร์นิทิสเชียน
18
สัตว์เลื้อยคลานบินได้
20
สัตว์เลื้อยคลานทะเล
22
นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ยุคก่อนประวัติศาสตร์ 24 มนุษย์ยุคแรก
26
ฟอสซิล
28
ดัชนี
30
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้
แ
ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้”
ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย
แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วย ค�ำอธิบายสั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร
บทน�ำ
อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จำ� เป็น
อักษรตัวหนา
ใช้เน้นที่มีความส�ำคัญที่ ไม่ มี แ สดงในรายการ ค�ำอธิบายอื่น
เกร็ดน่ารู้
เกร็ดน่ารู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ หัวข้อนั้นๆ ที่แสดงเป็นข้อๆ ซึ่งง่ายต่อการอ่าน
เลขหน้า
เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหนังสือ
12
ธรณีกาล
แ คม เ ี น บร ย
10 9
8
7
1
6
2
5
6
3
เปลือกนอกของโลกถูกแบ่งออกเป็นแผ่นขนาดใหญ่หลายแผ่น เรียกว่า แผ่นเปลือกโลก แผ่นเหล่านี้ประกอบไปด้วยแผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทร แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัวอย่างช้าๆ ที่อัตราเฉลี่ย 2.5 เซนติเมตรต่อปี ตลอดเวลาทางธรณีกาลที่ผ่านมา ทุกทวีปได้เคลื่อนที่มาแล้วทั่วโลก บางครั้งก็ชนกันเอง บางครั้งก็แยกจากกัน หรือไถลเลื่อนผ่านกันไป เมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อน ทวีปต่างๆ ได้มารวมตัวกันกลายเป็น “มหาทวีป” เรียกว่า แพนเจีย (Pangaea) ในขณะนัน้ ยังไม่มมี หาสมุทร แอตแลนติก และทวีปอเมริกายังอยูต่ ดิ กับทวีปแอฟริกาและทวีป ยุโรป หลังจากนั้นทวีปต่างๆ จึงแยกตัวออกจากกัน แต่ก็มี บางส่วนที่เคลื่อนที่มาชนกัน เช่น อนุทวีปอินเดียและ ทวีปเอเชีย
ี ร มหายุคพ
4
การเลื่อนไหลของทวีป
2
โ
ลกมีอายุ 4,500 ล้านปีมาแล้ว เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์โลก ประเมินได้โดยใช้เวลาทางธรณีกาล ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์ “เมือ่ ไม่ นานนี้” ทางธรณีกาลอาจเกิดขึ้นเมื่อหลายล้านปีก่อน นักธรณีวิทยาแบ่ง เวลาออกเป็นสามบรมยุค ได้แก่ บรมยุคอาร์เคียน (ยุคดึกด�ำบรรพ์) เริม่ นับ ตัง้ แต่จดุ ก�ำเนิดของโลกมาจนถึงเมือ่ ประมาณ 2,500 ล้านปีกอ่ น บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (สิง่ มีชวี ติ เพิง่ อุบตั ขิ นึ้ ) ซึง่ นับต่อมาจนถึง 542 ล้านปีกอ่ น และบรมยุคฟาเนอโรโซอิก (สิง่ มีชวี ติ ปรากฏให้เห็น) ซึง่ นับต่อมาจนถึงปัจจุบนั บรมยุคอาร์เคียนและบรมยุคโพรเทอโรโซอิกมักถูกเรียกรวมกันว่ามหายุค พรีแคมเบรียน บรมยุคฟาเนอโรโซอิกถูกแบ่งออกเป็นมหายุคต่างๆ ได้แก่ มหายุคพาลีโอโซอิก (542-251 ล้านปีก่อน) มหายุคมีโซโซอิก (251-65 ล้านปีกอ่ น) และมหายุคซีโนโซอิก (65 ล้านปีกอ่ นจนถึงปัจจุบนั ) ในแต่ละ มหายุคจะถูกแบ่งเป็นยุคต่างๆ ดังที่ได้แสดงในหน้าถัดไป นอกจากนี้ใน ยุคเทอร์เชียรีและควอเทอร์นารีกจ็ ะถูกแบ่งย่อยออกเป็นสมัยต่างๆ อีกด้วย
1
11
เพื่อท�ำความเข้าใจเรื่องธรณีกาล ให้จินตนาการว่า 4,500 ล้านปี ของประวัตศิ าสตร์โลกนัน้ เกิดขึน้ ในช่วงเวลาเพียง 12 ชัว่ โมง โดย มหายุคพรีแคมเบรียนจะเกิดขึน้ ในช่วง 10 ชัว่ โมง 30 นาทีแรก จาก นัน้ นับจาก “การระเบิดทางชีวภาพ” ของสิง่ มีชวี ติ ในยุคแคมเบรียน มาจนถึงยุคปัจจุบันจะเกิดขึ้นในช่วง 90 นาทีต่อมา ไดโนเสาร์ เพิ่งสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 9 นาทีที่แล้ว และประวัติศาสตร์ทั้งหมด ของมวลมนุษ ยชาตินั้นเพิ่งจะเกิดขึ้นในช่วงไม่กี่วินาทีนี่เอง ลูกโลกทัง้ สามใบนีแ้ สดงให้เห็นถึงการเคลือ่ นทีข่ องทวีปต่างๆ ตามธรณีกาล ทวีปต่างๆ ยังคงกระจายตัวกันอยู่ห่างๆ เมื่อ 4,000 ล้านปีก่อน (1) ทวีปเหล่านี้เข้ามาชนกันและรวมตัว เป็นแพนเจียเมื่อ 250 ล้านปีก่อน (2) จากนั้นจึงเริ่ม แยกตัวออกจากกันในยุคไดโนเสาร์เมื่อประมาณ 200 ล้านปีก่อน (3) มนุ ษ ย์ เ รารู ้ เ รื่ อ งเกี่ ย วกั บ ทวี ป เคลื่ อ น จากการค้นพบฟอสซิลของลิสโทรซอรัส (ด้านล่าง) ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานในยุค ไทรแอสสิก ในดินแดนที่ห่างไกลกันมาก อย่างแอฟริกา อินเดีย และแอนตาร์กติกา นีจ่ งึ เป็นข้อพิสจู น์วา่ ทวีปเหล่านีเ้ คยอยูต่ ดิ กัน มาก่อน ก่อนที่จะแยกออกจากกัน
ยุคควอเทอร์นารี
มหายุคซีโนโซอิก ยุคเทอร์เชียรี
ยุคครีเทเชียส
มหายุคมีโซโซอิก
ยุคจูแรสสิก
ยุคไทรแอสสิก
สมัยโฮโลซีน
เริ่มต้นเมื่อ (ล้านปีก่อน)
สมัยไพลสโตซีน
0.0117 2.58
สัตว์ที่คล้ายมนุษย์พวกแรกปรากฏขึ้น ยุคน�ำ้ แข็งปกคลุมโลกหลายครัง้ ถูกคัน่ โดยช่วงอบอุน่ ระหว่าง ยุคน�ำ้ แข็ง
สมัยไพลโอซีน
5.32
สมัยไมโอซีน
23.03
สมัยโอลิโกซีน
34
สมัยอีโอซีน
56
สมัยพาลีโอซีน
65.5
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลายเป็นสัตว์บกที่ครอบครองผืนดิน แทนที่สัตว์เลื้อยคลาน ทวีปต่างๆ เคลื่อนตัวมาใกล้เคียงกับต�ำแหน่งในปัจจุบัน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีวิวัฒนาการแยกกันไปตามแต่ละทวีปที่ พวกมันอาศัยอยู่ เช่น สัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องพัฒนาสายพันธุ์ ขึ้นในทวีปออสเตรเลีย ตระกูลพืชดอกสมัยใหม่เติบโต เริม่ มีทงุ่ หญ้ากว้างใหญ่เกิดขึน้ หลายแห่ง ซึง่ น�ำไปสูว่ วิ ฒ ั นาการ ของม้าและละมั่ง
ยุคครีเทเชียสตอนปลาย
89.3
ยุคครีเทเชียสตอนกลาง
130
ยุคครีเทเชียสตอนต้น
146
ยุคจูแรสสิกตอนปลาย
161
ยุคจูแรสสิกตอนกลาง
176
ยุคจูแรสสิกตอนต้น
200
ยุคไทรแอสสิกตอนปลาย
228
ยุคไทรแอสสิกตอนกลาง
245
ยุคไทรแอสสิกตอนต้น
251
ยุคเพอร์เมียน ยุคคาร์บอนิเฟอรัส
ยุคเพนซิลวาเนียน ยุคมิสซิสซิปเปียน
299 318 359
แพนเจียเริ่มแยกออกเป็นสองส่วน มีพืชอยู่มากมายโดยเฉพาะพืชจ�ำพวกสน ซอโรพอดมีจ�ำนวนมากขึ้น และเทอโรพอดกลายเป็นนักล่า ที่ทรงพลังมากขึ้น ไดโนเสาร์จ�ำพวกออร์นิทิสเชียนปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก ไดโนเสาร์จ�ำพวกแรกและเทอร์โรซอร์ปรากฏขึ้น สัตว์เลื้อยคลานทะเลขนาดใหญ่จ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น พืชประเภทเฟิร์นเป็นพืชที่มีมากที่สุดในยุคไทรแอสสิก เต่าจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น มหาทวีปแพนเจียก่อตัวขึ้น สัตว์เลื้อยคลานครอบครองแผ่นดิน สัตว์จ�ำพวกอาร์โคซอร์ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก สัตว์เลื้อยคลานจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น บึงถ่านหินร้อนชื้นที่เต็มไปด้วยพืชประเภทมอสส์และเฟิร์น ครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนของโลก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�ำ้ บกจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น ปลาครีบเป็นพู่จำ� พวกแรกปรากฏขึ้น แมลงจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น พืชที่มีล�ำต้นและรากจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น ปลาที่มีขากรรไกรจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น ทะเลน�้ำตื้นและอุ่นปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลก พืชบกจ�ำพวกแรกมีวิวัฒนาการขึ้นมา แนวปะการังก่อตัวขึ้นเป็นครั้งแรก น�้ำทะเลอยู่ในระดับสูง เกิด “การระเบิดทางชีวภาพ” ของสิ่งมีชีวิต หอยจ�ำพวกแรกมีวิวัฒนาการขึ้นมา ปลาที่ไม่มีขากรรไกรจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น
ยุคดีโวเนียน
416
ยุคไซลูเรียน
443
ยุคออร์โดวิเชียน
488
ยุคแคมเบรียน
542
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
2,500
สัตว์จ�ำพวกแรกเติบโต
บรมยุคอาร์เคียน
4,000
แบคทีเรียซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตรูปแบบแรกสุดปรากฏขึ้น
บรมยุคฮาเดียน
4,500
ก�ำเนิดโลก
มหายุคพาลีโอโซอิก
มหายุคพรีแคมเบรียน
ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ในตอนท้ายของยุคครีเทเชียส ซึ่งเรียกว่า การสูญพันธุ์เคที หญ้าและพืชดอกจ�ำพวกแรกปรากฏขึ้น ซอโรพอดสูญพันธุ์ ฮาโดรซอร์ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก
7
สิ่งมีชีวิตชนิดแรก
สิ่
งมีชีวิตชนิดแรกของโลกไม่ได้ถือก�ำเนิดขึ้น บนบกแต่เกิดขึน้ ในมหาสมุทร สิง่ มีชวี ติ บนบกยังไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เพราะยังมีออกซิเจนไม่เพียงพอ ในชั้นบรรยากาศ และรังสี อัลตราไวโอเลตยังอยู่ในระดับ ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ทั้งสองปัจจัยนี้ไม่ได้ ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตใต้น�้ำ สิ่งมีชีวิตชนิดแรกน่าจะ ถือก�ำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 3,800 ล้านปีก่อน สิ่งมีชีวิตรูปแบบแรกสุดเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่ไม่ซับซ้อน รูปแบบสิ่งมีชีวิตที่ซับซ้อนกว่านั้น ไม่ได้มวี วิ ฒ ั นาการขึน้ มาจวบจน 580 ล้านปีกอ่ น
อโนมาโลคาริส
โอพาบิเนีย
ลีนชอยเลีย
อโนมาโลคาริส (Anomalocaris) สิ่งมีชีวิตขนาด
8
ใหญ่ที่สุดและดุร้ายที่สุดที่เป็นที่รู้จักในยุคแคมเบรียน มีขนาดยาว 60 เซนติเมตร ลักษณะรูปร่างคล้าย แซงค์ทาคาริส เสื้อคลุม มีสองตาขนาดใหญ่อยู่บนก้านตา และแขน คล้ายก้ามปู ฮัลลูซิจีเนีย อรันดาสพิส (Arandaspis) หนึ่งในปลาจ�ำพวกแรก พวกมันไม่มีขากรรไกร จึงกินอาหารด้วยการดูดกิน เศษซากสิง่ มีชวี ติ ทีล่ อยอยู่ในน�ำ้ พวกมันปรากฏขึน้ เป็น ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) แบคทีเรียชนิดหนึง่ ครั้งแรกในยุคแคมเบรียน และครอบครองพื้นที่ในทะเล ถือก�ำเนิดขึ้นเมือ่ ประมาณ 2,800 ล้านปีก่อน พวกมันคือ เป็นเวลานานถึง 130 ล้านปี หนึ่งในรูปแบบของสิ่งมีชีวิตจ�ำพวกแรกที่เรามีฟอสซิล เป็นหลักฐาน ไซยาโนแบคทีเรียสร้างพลังงานขึ้นจาก แสงอาทิตย์ผา่ นกระบวนการสังเคราะห์แสงเช่นเดียวกับพืช การแพร่กระจายของไซยาโนแบคทีเรียน่าจะท�ำให้ปริมาณ ของออกซิเจนในชั้นบรรยากาศในยุคแรกๆ เพิ่มมากขึ้น
ยุคดีโวเนียน
(Devonian period) ช่วงระยะเวลาใน ประวัติศาสตร์โลกตั้งแต่ 416-359 ล้านปีก่อน ในยุคนี้มี สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�ำ้ บกปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก และมีปลา อุดมสมบูรณ์ โดยปลาจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทที่ แตกต่างกันอย่างชัดเจน ได้แก่ พวกที่มีกระดูกอ่อนเป็น โครงสร้างร่างกาย (เช่น ฉลาม) และพวกที่มีกระดูกแข็ง
ไทรโลไบต์
เบอร์เกสเชล
ชั้นหินบนเทือกเขา ร็อกกีที่ประเทศแคนาดา ซึ่งเต็มไปด้วยฟอสซิลจาก ยุคแคมเบรียน เบอร์เกสเชลถูกตั้งชื่อตามชื่อภูเขา เบอร์เกสที่อยู่ใกล้เคียง ยุคแคมเบรียน (Cambrian period) ช่วงระยะเวลาใน ประวัติศาสตร์โลกตั้งแต่ 530-505 ล้านปีก่อน “การระเบิด ทางชีวภาพ” ครั้งยิ่งใหญ่ของสิ่งชีวิตเกิดขึ้นในช่วงเริ่มต้น ของยุคนี้ สัตว์ทมี่ เี ปลือกแข็งจ�ำพวกแรกจึงเริม่ ปรากฏขึน้ (Burgess Shale)
สัตว์ที่พบในเบอร์เกสเชล (ด้านบน)
อีเดียคาแรน ฟอนา (Ediacaran fauna) กลุ่มของ
รูปแบบสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างคล้ายหนอนและแมงกะพรุน อยู ่ ใ นยุ ค อี เ ดี ย คาแรนซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของมหายุ ค พรีแคมเบรียนในช่วงเวลาตั้งแต่ 645-542 ล้านปีก่อน ชื่อของพวกมันถูกตั้งขึ้นตามชื่อเทือกเขาอีเดียคาราใน รัฐเซาท์ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นแหล่งที่มีการค้นพบฟอสซิล ในสมัยนั้นเป็นจ�ำนวนมาก
ยูสเทนอปเทอรอน (Eusthenopteron) ปลาครีบเป็นพู่
ตัวเรียวยาวในยุคดีโวเนียน พวกมันสามารถใช้ชีวิตอยู่ นอกน�ำ้ ได้ในระยะเวลาหนึง่ โดยใช้ครีบ “คลาน” ขึน้ มาบน บกเพื่อหาแมลงและแมงมุมกินเป็นอาหาร ปลาจ�ำพวกนี้ น่าจะเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ
ดังเคิลออสเตียส (Dunkleosteus) ปลาขนาดใหญ่ในยุค ยูรปิ เทอริด (Eurypterid) สัตว์ทะเลขนาดใหญ่รปู ร่างคล้าย
ดีโวเนียนตอนปลาย มีขนาดยาวมากกว่า 9 เมตร พวกมัน ไม่มีฟัน แต่มีขากรรไกรที่ประกอบด้วยแผ่นกระดูก ขนาดใหญ่และแข็งแรงที่สามารถตัดร่างของเหยื่อได้ เหมือนกับใบมีดคมกริบของเครื่องประหารชีวิตกิโยตีน พวกมันจัดอยู่ในประเภทพลาโคเดิร์ม ซึ่งเป็นตระกูลปลา ที่มีเกราะและขากรรไกร
แมงป่องในยุคออร์โดวิเชียน มีขนาดยาวประมาณ 2 เมตร วิวัฒนาการ (Evolution) กระบวนการที่รูปแบบของ สิง่ มีชวี ติ มีการเปลีย่ นแปลงในช่วงเวลานานกว่าหลายล้านปี ด้วยการค่อยๆ ปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อม รอบตัวของพวกมันให้ได้มากที่สุด
พืชในยุคไซลูเรียนตอนปลาย
เกร็ดน่ารู้ ไม่มีใครรู้ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าหนองน�้ำที่ตื้นและอุ่น บริเวณขอบของมหาสมุทรแห่งแรกๆ น่าจะมี สภาพแวดล้อมอันสมบูรณ์แบบที่ทำ� ให้เกิดการ ก่อตัวของสารเคมีขึ้น ซึ่งได้กลายเป็นรูปแบบ การก่อก�ำเนิดของสิ่งมีชีวิตขึ้นในที่สุด
ฮัลลูซิจีเนีย
(Hallucigenia) รูปแบบของสิ่งมีชีวิตใน ทะเลในยุคแคมเบรียน พวกมันเคลื่อนที่ไปตามพื้นทะเล ด้วยขา 7 คู่ มีหนามแหลมเรียงเป็นแถวอยู่บนหลังเพื่อ ป้องกันตัวเองจากนักล่า ปลาครีบเป็นพู่ (Lobefin) สายพันธุ์ของปลากระดูก แข็ง มีพูเนื้ออวบอูมที่โคนครีบ พูเนื้ออวบอูมนี้ มีกระดูกข้อต่อ ซึง่ น่าจะพัฒนาไปเป็นขาในช่วงที่ พวกมันมีวิวัฒนาการเพื่อย้ายจากน�้ำขึ้นมา ใช้ชีวิตบนบก โอพาบิเนีย (Opabinia) สิง่ มีชวี ติ ในทะเลในยุคแคมเบรียน พวกมันมีดวงตา 5 ดวงซึ่งมีลักษณะคล้ายเห็ด และมี “งวงเป็นท่อยาว” ส�ำหรับใช้จับเหยื่อ ยุคออร์โดวิเชียน (Ordovician period) ช่วงเวลา ของประวัติศาสตร์โลกตั้งแต่ 488-443 ล้านปีก่อน ในยุคนี้เริ่มมีพืชจ� ำพวกแรกปรากฏขึ้น บนบก และปลาจ� ำ พวกแรกเริ่ ม มี วิวฒั นาการจนมีความซับซ้อนมากขึน้ พิคาเอีย (Pikaia) สัตว์ทะเลขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายหนอนในยุคแคมเบรียน มีแกนแข็งคล้ายกระดูกสันหลังตลอด ความยาวของร่างกาย นอกจากนี้ ยังมีกล้ามเนื้อเรียงตัวเป็นรูปตัววี คล้ายกับปลายุคใหม่ พวกมันอาจ จะเป็นบรรพบุรุษรุ่นแรกๆ ของสัตว์มี กระดูกสันหลัง มหายุคพรีแคมเบรียน (Precambrian era) ช่วงเวลา ตั้งแต่กำ� เนิดโลกไปจนถึงเมื่อ 530 ล้านปีก่อน ซึ่งกินเวลา ถึง 7 ใน 8 ส่วนของประวัติศาสตร์โลกทั้งหมด
ยุคไซลูเรียน (Silurian period) ช่วงเวลาของประวัตศิ าสตร์
โลกตั้งแต่ 443-416 ล้านปีก่อน ในยุคนี้ปลามีขากรรไกร ได้ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรก และพืชมีรากและล�ำต้นเริ่มมา เจริญเติบโตอยู่บนบก
เททราพอด (Tetrapod) สัตว์มกี ระดูกสันหลังทีเ่ ดิน 4 ขา
พวกมันมีววิ ฒ ั นาการมาจากปลาครีบเป็นพู่ในยุคดีโวเนียน
ไทรโลไบต์มีมากกว่า 17,000 สายพันธุ์ ซึ่งมากกว่าสิ่งมีชีวิตใดๆ ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ยุคแคมเบรียนสิ้นสุดลงพร้อมกับการ สูญพันธุ์ครัง้ ใหญ่ทกี่ วาดล้างสายพันธุต์ า่ งๆ ไป จ�ำนวนมาก ซึง่ น่าจะมีสาเหตุมาจากอุณหภูมทิ ี่ ลดลงอย่างรวดเร็ว สัตว์บกจ�ำพวกแรกคือกิ้งกือยักษ์ พวกมันมี ชีวิตอยู่เมื่อประมาณ 442 ล้านปีก่อน ไทรโลไบต์ (Trilobite) สิง่ มีชวี ติ ในทะเลทีม่ เี ปลือกแข็งหุม้
ดังเคิลออสเตียส (ด้านซ้าย) เป็นนักล่า ที่ดุร้าย
ล�ำตัวและขาเป็นข้อปล้อง ล�ำตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วนตาม แนวยาว พวกมันปรากฏขึน้ เป็นครัง้ แรกในยุคแคมเบรียน และเติบโตต่อไปอีกถึง 250 ล้านปี ขาของพวกมันช่วย ให้พวกมันสามารถวิง่ ได้บนพืน้ ทะเล พุย้ น�ำ้ หรือหยิบจับ อาหารเข้าปากได้
ยูสเทนอปเทอรอน (ด้านล่าง) วิแวเซีย (Wiwaxia) สิ่งมีชีวิตในทะเลที่มีหนามคล้าย กับแผ่นใบมีดเรียงเป็น 2 แถวอยู่บนหลัง ซึ่งน่าจะมีไว้ “คลาน” ขึ้นจากน�ำ้ ด้วยครีบ เพื่อป้องกันตัวจากนักล่า
9
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�ำ้ และสัตว์เลื้อยคลานยุคแรก
ไฮโลโนมัส
เ
มื่อ 375 ล้านปีก่อน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ ซึ่งเป็นสัตว์สี่ขาชนิดแรกได้มีวิวัฒนาการ ขึ้นมา แขนขาทั้งสี่ของพวกมันมีวิวัฒนาการ มาจากครีบอันแข็งแรงของปลาบางชนิด แต่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำจ�ำเป็นต้องรักษาผิวหนังให้ ชุ่มชื้นอยู่เสมอและกลับไปวางไข่ในน�้ำ (ดังเช่นที่ พวกมันท�ำอยูใ่ นทุกวันนี)้ เมือ่ ประมาณ 315 ล้าน ปีกอ่ น สิง่ มีชวี ติ กลุม่ ใหม่อกี กลุม่ หนึง่ ได้ปรากฏขึน้ พวกมันมีผิวหนังเป็นเกล็ดและสามารถสืบพันธุ์ บนบกได้ จึงไม่จ�ำเป็นต้องกลับลงไปในน�้ำ พวกมันก็คือสัตว์เลื้อยคลานยุคแรกนั่นเอง แอมนิ โ อต (Amniote) กลุ ่ ม ของสั ตว์ ที่ ตั ว อ่ อ น
10
เจริญเติบโตอยู่ภายในถุงน�้ำคร�่ำ ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มที่มี ของเหลวอยู่ภายใน คอยท�ำหน้าที่ปกป้องตัวอ่อน แอมนิโอตชนิดแรกถือก�ำเนิดขึ้นในยุคแคมเบรียน ไข่ ข องพวกมั น สามารถมี ชี วิ ต อยู ่ น อกน�้ ำ ได้ ซึ่ ง หมายความว่า พวกมันสามารถใช้ชวี ติ บนบกได้อย่างถาวร
เอริออปส์
อาร์โคซอร์
กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลานที่ มีวิวัฒนาการขึ้นมาในยุคเพอร์เมียน พวกมันเป็นสัตว์ เลื้อยคลานประเภทไดแอปซิดที่มีขากรรไกรอันทรงพลัง มีกระดูกเป็นเกราะแข็ง และคลานต�่ำตวัดไปมา พวกมัน จัดเป็นบรรพบุรุษของไดโนเสาร์ (Archosaur)
ยุคคาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous period) ช่วงเวลา
ของประวัตศิ าสตร์โลกตัง้ แต่ 359-299 ล้านปีกอ่ น ในยุคนี้ สัตว์เลื้อยคลานจ�ำพวกแรกเริ่มปรากฏขึ้น สัตว์เลือ้ ยคลานประเภทอะแนปซิด (Anapsid reptile) กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลานในยุคเพอร์เมียน พวกมัน บึงถ่านหิน (Coal swamp) บึงที่ปกคลุมพื้นที่มหาศาล ไม่เหมือนกับสัตว์เลือ้ ยคลานชนิดอืน่ ตรงที่ไม่มชี อ่ งเปิด ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ประกอบด้วยพืชจ�ำพวกเฟิร์น ของกระดูกขมับ สัตว์เลื้อยคลานประเภทนี้ได้พัฒนา หญ้าหางม้า และมอสส์ เมื่อพืชเหล่านี้ตายลง ซากของ พวกมันจะจมลงสู่ก้นบึง และแปรสภาพกลายเป็นดินพีต ต่อมาเป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทไดแอปซิด สีเข้ม เมือ่ เวลาผ่านไปหลายล้านปี ดินพีตนีก้ จ็ ะถูกอัดแน่น แอนธราโคซอร์ (Anthracosaur) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ จนแข็งกลายเป็นหินที่เราเรียกว่าถ่านหิน กลุม่ แรกในยุคคาร์บอนิเฟอรัสและยุคเพอร์เมียน พวกมัน สัตว์เลื้อยคลานประเภทไดแอปซิด (Diapsid reptile) มีรูปร่างเหมือนถังขนาดใหญ่ และใช้ชีวิตส่วนใหญ่ กลุม่ ของสัตว์เลือ้ ยคลานทีม่ ชี อ่ งเปิดของกระดูกขมับ 2 ช่อง อยู่บนบก นอกจากไดโนเสาร์แล้ว สัตว์กลุ่มนี้ยังเป็นบรรพบุรุษของ จระเข้ กิ้งก่า และงูในปัจจุบันอีกด้วย
เอริออปส์ (Eryops) สัตว์ครึง่ บกครึง่ น�้ำขนาดยาว 2 เมตร
ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส มีกะโหลกศีรษะแบน ดวงตาขนาด ใหญ่ และรูจมูกอยู่ด้านบนของหัว พวกมันน่าจะล่าเหยื่อ ด้วยการดักซุ่มอยู่ในน�้ำเหมือนกับจระเข้ในปัจจุบัน ยูพาร์เคอเรีย (Euparkeria) สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก ในยุคไทรแอสสิกตอนต้น พวกมันคือหนึง่ ในสัตว์เลือ้ ยคลาน จ�ำพวกแรกๆ ที่สามารถเดิน 2 ขาได้ในระยะทางสั้นๆ หญ้าหางม้า (Horsetail) พืชชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้าย เฟิร์นขนาดใหญ่ ปกคลุมไปทั่วบึงถ่านหิน
ไฮโลโนมัส
สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายกิ้งก่าในยุคคาร์บอนิเฟอรัส พวกมันเป็น หนึ่งในสัตว์เลื้อยคลานจ�ำพวกแรกๆ มีขนาดยาวเพียง 20 เซนติเมตร ชื่อของพวกมันแปลว่า “หนูป่า” (Hylonomus)
อิกธีโอสเตกา (Ichthyostega) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ ในยุคดีโวเนียน หัวและหางมีลักษณะคล้ายปลา พวกมัน น่าจะใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในน�้ำ แต่ก็ขึ้นมาบนบกบ้าง เป็นครั้งคราว อิกธีโอสเตกามีทั้งนิ้วมือและนิ้วเท้า แต่ แขนขาไม่ได้พัฒนาเพื่อให้เดินได้ดีนัก
ฝูงเอริออปส์ก�ำลังพักผ่อนอยู่ริมน�้ำ ในขณะที่ แมลงปอยักษ์เมกานิวรอปซิสก�ำลังออกล่าเหยื่อ
ลาบีรินโธดอนท์ (Labyrinthodont) ตระกูลของสัตว์
ครึ่งบกครึ่งน�้ำที่สูญพันธุ์ ไปแล้ว ชื่อของพวกมันแปลว่า “ฟั น เขาวงกต” ซึ่ ง หมายถึ ง ชั้ น ของเคลื อ บฟั น ที่ มี ลักษณะซับซ้อน อิกธีโอสเตกาเลีย เทมโนสปอนดิล แอนธราโคซอร์ และเลโพสปอนดิลจัดอยู่ในสัตว์ตระกูลนี้
เลโพสปอนดิล (Lepospondyl) กลุม่ ของสัตว์เลือ้ ยคลาน
ขนาดเล็กและรูปร่างเรียวยาวในยุคคาร์บอนิเฟอรัสและ ยุคเพอร์เมียน โอฟิเดอเพทอนและเฟลเจทอนเทียที่มี รูปร่างคล้ายงู และดิโพลคอลัสและเคราโทเพตอนที่มี รูปร่างคล้ายตัวนิวต์จัดอยู่ในสัตว์กลุ่มนี้ เมกานิวรอปซิส (Meganeuropsis) แมลงปอยักษ์ เมื่อ ปีกกางออกเต็มที่มีขนาดกว้าง 75 เซนติเมตร พวกมัน นับเป็นแมลงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา
เอดาโฟซอรัส
แพนเจีย (Pangaea) “มหาทวีป” ประกอบด้วยแผ่นดิน
ไดเมโทรดอน
ทัง้ หมดของโลก เกิดขึน้ ในยุคเพอร์เมียนเมือ่ ครัง้ ทีท่ กุ ทวีป เคลื่อนตัวมารวมกัน
สกัตโตซอรัส
สัตว์เลื้อยคลานประเภทไซแนปซิด
(Synapsid rep-
กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลานที่มีช่องเปิดของกระดูกขมับ 1 ช่องอยู่ค่อนไปทางด้านบนของกะโหลกศีรษะ พวกมันครอบครองแผ่นดินในยุคเพอร์เมียน สัตว์เลื้อยคลานประเภทนี้ชนิดแรกสุดที่มีวิวัฒนาการขึ้นมาคือพวก เพลีโคซอร์ เช่น ไดเมโทรดอนและเอดาโฟซอรัส tile)
เทมโนสปอนดิล (Temnospondyl) กลุ่มของสัตว์ เพลีโคซอร์ (Pelycosaur) กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลาน
ขนาดใหญ่ในช่วงต้นของยุคเพอร์เมียน เพลีโคซอร์บางชนิด อย่างไดเมโทรดอนมีกระโดงหลังเหมือนใบเรือขนาดใหญ่ กระโดงหลังนี้เป็นผิวหนังซึ่งมีหนามแหลมที่ยื่นออกมา จากกระดูกสันหลังเป็นโครงยึด โดยน่าจะท�ำหน้าที่ช่วย ปรับอุณหภูมริ า่ งกายให้รอ้ นขึน้ หรือเย็นลง ไดเมโทรดอน เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดยาว 2 เมตร กินแมลงขนาดใหญ่ และเพลีโคซอร์ชนิดอื่นเป็นอาหาร เอดาโฟซอรัสซึ่งเป็น ญาติขนาดยาว 3 เมตรของพวกมันก็มีกระโดงหลังด้วย เช่นกัน แต่เป็นสัตว์กินพืช
ยุคเพอร์เมียน
ช่วงเวลาของ ประวัตศิ าสตร์โลกตัง้ แต่ 299-251 ล้านปีกอ่ น สภาพอากาศ ในยุคนี้แห้งมาก ท�ำให้สัตว์เลื้อยคลานเริ่มเหนือกว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ เนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยของพวก สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำแห้งเหือดไปจนหมด สกัตโตซอรัส (Scutosaurus) สัตว์เลื้อยคลานมีเกราะ ขนาดใหญ่ในยุคเพอร์เมียน พวกมันเป็นสัตว์กนิ พืชขนาด ยาว 3 เมตร มีกระดูกหนามปกคลุมและมีเขาเพือ่ ป้องกันตัว จากนักล่า (Permian period)
เลื้ อ ยคลานที่ ป รากฏขึ้ น ครั้ ง แรกในยุ ค ดี โ วเนี ย น มี ตั้งแต่พวกสัตว์ขนาดยาว 15 เซนติเมตร ไปจนถึงสัตว์ ครึง่ บกครึง่ น�ำ้ ขนาดยาว 10 เมตรทีม่ เี กราะแข็งป้องกันตัว เท้าหน้าของพวกมันมี 4 นิ้ว และเท้าหลังมี 5 นิ้ว เทอแรปซิด (Therapsid) กลุ่มของสัตว์เลื้อยคลาน ประเภทไซแนปซิดในยุคเพอร์เมียน มีลักษณะเฉพาะคือ ขากรรไกรอันทรงพลังและเขี้ยวที่ใหญ่โต สัตว์ ในกลุ่มนี้ รวมไปถึงมอสชอปส์ ซึ่งเป็นสัตว์กินพืชที่อุ้ยอ้ายขนาด ยาว 5 เมตร จัดเป็นบรรพบุรุษของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ยูพาร์เคอเรีย
เกร็ดน่ารู้ แมลงขนาดยักษ์เจริญเติบโตได้ดีในป่า ร้อนชืน้ ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส เช่น แมลงปอทีม่ ี ปีกกว้างเท่ากับปีกของนกนางนวล และตะขาบทีม่ ี ความยาวเต็มที่ถึง 2 เมตร ฉลามเป็นนักล่าที่ครอบครองทะเลในยุค คาร์บอนิเฟอรัส ยุคเพอร์เมียนมีสภาพอากาศทีแ่ ห้งแล้งมาก เนือ่ งจากปริมาณน�้ำจ�ำนวนมากของโลกถูก “กั ก เก็ บ ” ไว้ ใ นชั้ น น�้ ำ แข็ ง ขนาดมหึ ม าที่ ขั้วโลกใต้ ในช่วงท้ายของยุคเพอร์เมียน สัตว์ จ�ำนวนมหาศาลถูกกวาดล้างจากการ สูญพันธุ์ครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา ซึ่งเรียกกันว่า“การล้มตายครั้งยิ่งใหญ่” ทั้งนี้นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถชี้ชัด ได้ว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้อย่างไร แต่ สาเหตุน่าจะมาจากสภาพอากาศที่ร้อนและ แห้งแล้งอย่างรุนแรงไปทัว่ โลก มีการประเมินว่า 70% ของพืชและสัตว์บก และ 95% ของสิง่ มีชวี ติ ในทะเลได้ถูกกวาดล้างไปจากโลก
11
สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-914-7
9
786165
279147
หมวด : สารานุกรม 125.-
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
ไดโนเสาร
และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อนประวัติศาสตร หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 160 คำ