Adam Bradshaw
เป ล
É Ä ¡ § Ñ Í ¾ู´ด เป ะเวอร ได
เคยไหม…
ไดยินฝรั่งคุยกันดวยศัพทแปลกๆ หาใน dictionary ก็ไมเจอ เปดหนังสือก็ไมมี
เคยไหม…
อยากรูวาคำไทยแปลเปนอะไรในภาษาอังกฤษ แตไมรูจะถามใคร อาจารยอดัมมีคำตอบ!! whacko หมายถึงอะไรนะ สมน้ำหนา เกรียน แอบแบว พูดเปนอังกฤษวาไงดี say, speak, talk, tell ใชตางกันยังไงละเนี่ย ออกเสียง R กับ L ยังไงถึงจะเปะเหมือนฝรั่ง
าย กมาย มากม ยัยังงมีมีคคำต อบอีอีกกมา ำตอบ สำหรั บ ่ค สำหรับข ข ออสงสั สงสัยยทีทีค ่ ุณ ุณอยาก อยากรูรู
เ»�´เÅ�Á¹ี้Êิ ´ีเÇÍÃ�!
ISBN 978-616-430-123-8
9
786164 หมวด ภาษาอังกฤษ
301238 ราคา 220 บาท
Adam Bradshaw
หนังสือเลมนี้จะชวยเปลี่ยนคุณเปนคนใหมที่เกงภาษาอังกฤษ เพื่องานดี เงินดี และชีวิตดี๊ดีที่รอคุณอยู ไขทุกขอของใจ เกี่ยวกับภาษาอังกฤษทั้งคำศัพท สำนวนนาใชในชีวิตประจำวัน สแลงที่คุณอยากรู ตอบปญหาแกรมมารคาใจ รวมทั้งเคล็ดลับ การออกเสียงภาษาอังกฤษใหเปะเหมือนเจาของภาษา กลั่นกรองจากประสบการณจริงของฝรั่งหัวใจไทย “อาจารยอดัม” ครูสอนภาษาชาวอเมริกัน ผูเขาใจคนไทย ที่อยากพูดภาษาอังกฤษไดเกงเหมือนเจาของภาษา
ุ เเปป น นคคนนใ ห ม ุณ เวอร เปลยี่ นคคณ ¾ู´Íѧ¡ÄÉ ได ได เเป ป ะะเวอร
ม ห ใ ค น เ ป น เ ป น ณ ุ ุ ย ีล่ นคคณ
อยากใหค ณ ุ รูว า เลมนีด้ ยี งั ไง
Scan Now >>
Free!
Application สำหรับฝก การออกเสียง
เ ณ ป ุ เ ณ ป น นคน ใ ห ม ุ ค ค น ย ่ ี เปล
¾ู´Íѧ¡ÄÉ ได เป ะเวอร
เผยวิธก ี ารออกเสียงแบบงายๆ สไตล “อาจารยอดัม” ทีค ่ ณ ุ ก็ทำได! ฝกพูดแบบเจาของภาษา ดวยสำนวน สแลง และศัพทฮต ิ ในชีวต ิ ประจำวัน ตอบขอสงสัยภาษาอังกฤษทีค ่ นไทยอยากรูม ากทีส ่ ด ุ !
เ ณ ป ุ เ ณ ป น นคน ใ ห ม ุ ค ค น ย ่ ี เปล
¾ู´Íѧ¡ÄÉ ได เป ะเวอร
Adam Bradshaw
1
วิธีการดาวน์โหลด Application เพือ่ ฟังเสียงจากหนังสือ “เปลีย่ นคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง” 1 สแกน QR Code เพื่อเข้าสู่หน้าดาวน์โหลด
ส�ำหรับ iPad, iPhone, iPod
ส�ำหรับ Android
หรือค้นหาค�ำว่า “พูดอังกฤษเป๊ะเวอร์ New Edition” ซึ่งคุณจะได้พบกับ พูดอังกฤษเป๊ะเวอร์
2
¿˜§ à
2 เปิด Application เพื่อใช้งาน หากคุณพบ สัญลักษณ์ต่อไปนี้ในหน้าใด แสดงว่าคุณ สามารถเลือกฟังเสียงได้จาก Application
Ê ÕÂ
䴌
New Edition
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
จากส�ำนักพิมพ์ “เปลีย่ นคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง” ทีค่ ณุ ก�ำลังถืออยู่ ในมือเล่มนี้ กลัน่ กรองมาจากประสบการณ์จริงของฝรัง่ หัวใจไทย “อาจารย์อดัม” ครูสอนภาษา อังกฤษชาวอเมริกัน ผู้ที่เข้าใจธรรมชาติของการเรียนภาษาและอยากส่งเสริมให้คนไทย ทุกคนสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว โดยรวมรวบเนื้อหาที่จะช่วยพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษของคุณให้ดยี งิ่ ขึน้ อาทิ ค�ำศัพท์ ส�ำนวนน่าใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน สแลงไทยแปล เป็นอังกฤษ สแลงอังกฤษแปลเป็นไทย ตอบปัญหา grammar คาใจ รวมทั้งเผยเคล็ดลับ การออกเสียงภาษาอังกฤษให้เป๊ะเหมือนเจ้าของภาษา โดยเฉพาะการออกเสียงบางเสียงที่ ภาษาไทยไม่มี คนไทยจึงไม่คุ้นเคย นอกจากคุณจะได้สนุกสนานไปกับการฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษตามค�ำอ่านทีถ่ อดมาจาก วิธพี ดู แบบเจ้าของภาษาจริงๆ แล้ว หนังสือเล่มนีย้ งั ให้คณุ ฝึกภาษาได้มากกว่าด้วย Application เสียงภาษาอังกฤษ ให้คุณฝึกอ่าน ฝึกฟัง และฝึกพูดได้ทุกที่ ทุกเวลาที่คุณสะดวก หากคุณอยากจะเปลี่ยนตัวเองเป็นคนใหม่ที่เก่งภาษาอังกฤษ เพื่อเปิดประตูสู่โอกาส ดีๆ ในชีวิตที่รออยู่ หนังสือเล่มนี้ช่วยคุณได้อย่างแน่นอน
ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส
3
จากอดัม “เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง” เป็นหนังสือที่
ผมรวบรวมความรูแ้ ละหลักการออกเสียงจากประสบการณ์ตรงของตัวเอง ซึง่ ชือ่ ของหนังสือ ค�ำว่า “เป๊ะ” แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า precise (adj.) แต่ถ้าใช้ขยายค�ำว่า speak ก็จะ เปลี่ยนเป็นค�ำกริยาวิเศษณ์ (adv.) และเขียนว่า
to speak precisely ทู สปีคฺ เผรอะ-ซายสฺ-ลี
พูดอย่างเป๊ะเวอร์
ลองคิดดูว่า ถ้าคุณออกเสียงได้เป๊ะหรือใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา ผู้ฟังก็จะเข้าใจ ค�ำพูดของเราอย่างแน่นอนและจะไม่มีใครงงกับค�ำพูดของเราอีกต่อไป เพราะเขาจะเข้าใจ ตั้งแต่แรกว่าเราพูดว่าอะไร การสื่อสารของเราจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เราเองก็จะเริ่มเข้าใจค�ำพูดของชาวต่างชาติได้มากขึ้น เพราะเมื่อ เราเข้าใจการออกเสียงที่ถูกต้องแล้ว เราก็รู้ว่าชาวต่างชาติจะออกเสียงว่าอย่างไร ท�ำให้ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรู้สึก และไอเดียต่างๆ กับชาวต่างชาติจะลื่นไหลและ เข้าใจกันมากขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นการเพิ่มโอกาสใหม่ๆ ให้กับชีวิต ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการ งาน การศึกษา หรือความรัก... อิอิ แทนที่เราจะสามารถสื่อสารกับคนชาติเดียวกันเท่านั้น เราจะสามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับคนชาติอื่นๆ ได้อีกเกือบ 2 พันล้านคน ไม่ว่าจะ เป็นเจ้าของภาษาอังกฤษ หรือชาติอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 ส�ำหรับผมแล้ว การทีผ่ มได้เรียนการพูดภาษาไทยก็ได้เพิม่ โอกาสใหม่ๆ ให้กบั ผมเช่นกัน ท�ำให้ผมได้สร้างมิตรภาพอันล�้ำค่ากับเพื่อนคนไทยที่รักหลายๆ คนครับ
4
ในฐานะที่เป็นชาวต่างชาติคนหนึ่งซึ่งมีโอกาสได้มาเรียนภาษา มาท�ำงาน และอาศัย ในเมืองไทย ผมไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าวันหนึ่งจะได้เป็นนักเขียน โดยเฉพาะนักเขียน ในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศบ้านเกิดของตัวเองที่ใช้คนละภาษา 12 ปีที่ผ่านมาหลังจากที่ ตกหลุมรักกับประเทศไทยเข้า ประเทศไทยก็ได้กลายเป็นบ้านของผมและผมเองก็ค่อยๆ พัฒนาภาษาไทยของตัวเองมาจนถึงทุกวันนี้ หากไม่ได้ความช่วยเหลือของเพื่อนคนไทย หลายต่อหลายท่านในการสอนภาษาไทยให้แก่ผม การเป็นครูสอนภาษาอังกฤษทีม่ หี นังสือ เป็นของตัวเองก็คงจะเป็นแค่ความฝันลมๆ แล้งๆ เท่านั้น ผมจึงอยากขอบคุณเพื่อนๆ ที่ติดตามผลงานของผม ซึ่งได้มอบก�ำลังใจให้ผมมา โดยตลอด ทุกคอมเมนต์และก�ำลังใจจากเครือข่ายสังคมต่างๆ เป็นแรงบันดาลใจทีผ่ ลักดันให้ ผมมีก�ำลังใจในการถ่ายทอดภาษาอังกฤษให้แก่พี่น้องชาวไทยที่ผมรักต่อไป และผมก็ต้อง ขอขอบคุณครอบครัวของผมด้วยครับ พ่อแม่พนี่ อ้ งทัง้ จากครอบครัวของผมเองและครอบครัว ของภรรยาสุดที่รักของผม ซึ่งผมถือว่าสองครอบครัวนี้เป็นครอบครัวเดียวกัน
Adam Bradshaw
Note ในหนั งสื อเล่มนี้ อดัมเขียนค�ำอ่านให้เหมือนชาวอเมริกันหรือส� ำเนี ยงที่เรียกว่า The General
American Accent ซึ่งเป็ นส� ำเนี ยงที่ 2 ใน 3 ของประชากรอเมริกันทั้งหมดใช้กัน (ประมาณ 214 ล้านคนจากทั้งหมด 320 ล้านคน) และเป็ นส� ำเนี ยงที่คุณมักจะได้ยินจากภาพยนตร์ แต่ก็ ยังมีส�ำเนี ยงเจ้าของภาษาอื่นๆ อีกมากมายที่เป็ นเอกลั กษณ์และมีเสน่ห์ ไม่ว่าจะเป็ นส� ำเนี ยงอื่นๆ
ที่สหรัฐอเมริกา หรือส� ำเนี ยงที่เรียกกันว่า The Queen’s English หรือ BBC English ซึ่ง
คาดการณ์ว่าเหลือชาวอังกฤษจ�ำนวน 3% เท่านั้ น (ประมาณ 2 ล้านคนใน 65 ล้านคน) ที่ใช้ส� ำเนี ยงนี้ ที่เหลือพูดด้วยส�ำเนียงต่างๆ ตามแต่ละท้องถิ่น ยิ่งกว่านั้นยังมีส�ำเนียงของชาวแคนาดา ชาวไอรแลนด ์ ์
ชาวออสเตรเลีย ชาวนิ วซีแลนด์ ชาวแอฟริกาใต้ และส� ำเนี ยงต่างๆ ของประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาที่สอง ถ้าอยากฝึ กฟั งส� ำเนี ยงที่ว่ามานี้ ลองเขาไปฟั งช่อง YouTube ของ Amy Walker ้
โดยเฉพาะคลิปที่ชื่อว่า “21 Accents” ดูนะครับ
5
Contents 12
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
¿˜§ à
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
¿˜§ à
䴌
Ê ÕÂ
Ê ÕÂ
26 32 34
䴌
Ê ÕÂ
䴌
¿˜§ à
Let’s get to know Ajarn Adam! มารู้จักกับอาจารย์อดัม ฝึกออกเสียง A-Z กับ Adam วิธีอ่านออกเสียงตัวอักษรพิเศษ การเชื่อมเสียง § ¼ ‹Ò ¹ A p p
Part 1 ค�ำถามคาใจที่คนไทยอยากรู้มากที่สุด
35
ค�ำศัพท์-ประโยคใช้บ่อย • ทักทายฝรั่ง ยังไงดีนะ • สบายดีไหม พูดได้หลายแบบ • How ya doin’? และวิธีทักทายแบบย่อ • เพื่อนทัก What’s up? ต้องตอบว่าอะไรดี • การถามชื่อและวิธีตอบ • การเชิญชวน • ทานข้าวแล้วหรือยัง • ปวดเบา, ปวดหนัก • ใจเย็นๆ
6
36 39 42 45 48 51 53 56 58
• อุตส่าห์ • ลูกครึ่ง • เล่นเน็ต • ขี้ฟ้อง • เรื่องของเงินๆ ทองๆ • เพื่อนสนิท, เพื่อนซี้ • หมั่นไส้ • ทวงบุญคุณ • มันเขี้ยว
60 62 65 66 68 72 75 76 77
• เกรงใจ • หมดแรง • ใช้เงินเปลือง • ไหนๆ ก็ไหนๆ • เอาคืน, แก้แค้น • หักห้ามใจ, ตัดใจ
78 81 82 84 85 87
สแลงยอดฮิต • เจ้าส�ำบัดส�ำนวน 89 • ฟิน 91 • ฟรุ้งฟริ้ง 93 • เกรียน 95 • เหนื่อยโฮก 97 • ม้ามืด 99 • กวนประสาท, กวนบาทา 100 • สมนํ้าหน้า 102 • กาก, กระจอก, โหลยโท่ย, ห่วย 103 • แอ๊บแบ๊ว 104 • เด็กแนว 105 • ดัดจริต 107 • กิ๊ก 110 • จะบ้าตาย! 113 • เจ๋ง, เท่, ยอดเยี่ยม 116
• โคตรฮา vs แป้ก, ฝืด • เนียน • ถ่ายรูปขึ้นกล้อง • เด็กแว้น • เบื่อ, เซ็งเป็ด • เรื่องกล้วยๆ • อย่าดราม่า • ออกตัวแรง • ตัวคั่นเวลา, ของตาย • หงายเงิบ • หลงตัวเอง • ไม่แน่นอน
120 123 128 129 131 137 139 142 144 147 148 149
ส�ำนวนไทย • ชุบมือเปิบ • เอาใจเขามาใส่ใจเรา • ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง • เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม • ผ้าขี้ริ้วห่อทอง • ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ • รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม • น�้ำขึ้นให้รีบตัก
150 151 154 156 158 159 161 164
7
ค�ำศัพท์สุดสับสน • ฝนตกไม่ทั่วฟ้า • ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ชั่ว,
166
กงเกวียนก�ำเกวียน • ผัดวันประกันพรุ่ง, ดินพอกหางหมู • หูทวนลม, เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา • เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ • ฝนตกอย่างไม่ลืมหูลืมตา
167
Part 2 เกร็ดภาษาน่ารู้
170 171 173 175
• house กับ home • a lot of, so much, very • such กับ so • nerd กับ geek • dessert กับ desert • affect กับ effect • advice กับ suggestion • sorry กับ apologize • silly กับ stupid • say, speak, talk, tell • take out กับ take off
211
• การใช้ unless • ค�ำว่า fancy มีหลายความหมาย • were กับ was ใช้ต่างกันอย่างไร • ท�ำไมจึงใช้ get แทน arrive ในภาษาพูด • ถ้าพูดว่า Where you come from? ถูกหรือเปล่า • Never mind. ไม่ได้แปลว่า ไม่เป็นไร • I think so. ไม่ได้แปลว่า ฉันเห็นด้วย
8
179 180 183 188 190 192 194 196 200 202 206
212 214 217 220 222 228 230
• ค�ำที่เกี่ยวข้องกับ “ความถี่” ในภาษาอังกฤษ • success, succeed, successful ใช้ยังไงถึงจะถูก • another กับ the other ใช้ต่างกันอย่างไร • want to กับ would like to ใช้ต่างกันอย่างไร • remember, realize กับ recognize ใช้อย่างไร • look, watch และ look after ใช้ต่างกันอย่างไร • so far so good ไม่ได้แปลว่า ไกลมาก ดีมากนะ • die, dead, death กับ pass away ใช้ต่างกันอย่างไร • few, a few, little, a little, couple ใช้อย่างไร • I am so hot! เป็นค�ำพูดที่ทะลึ่งหรือเปล่า • too, also, as well, either ใช้ยังไง • could, would, should ใช้อย่างไร • Rock กับหลายความหมายที่ซ่อนอยู่ • maybe, may be, might กับ probably ใช้อย่างไร • scared กับ afraid ใช้ต่างกันหรือไม่ • My cup of tea • Pick up กับหลากหลายความหมาย • Break down แปลว่าอะไร • Break the bank ท�ำให้ธนาคารหัก?!!?
232 234 236 240 242 245 250 252 256 259 263 266 269 272 275 279 281 287 289
9
Part 3 หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
¿˜§ à
¿˜§ à
Ê ÕÂ
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
䴌
¿˜§ à
Ê ÕÂ
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
䴌
Ê ÕÂ
䴌
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
¿˜§ à
Ê ÕÂ
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
䴌
Ê ÕÂ
䴌
¿˜§ à
เสียง F กับ V เสียง Z เสียง Th เสียง Ch กับ Sh เสียง G, K, J เสียง R กับ L § ¼ ‹Ò ¹ A p p
Special!! แบบฝึกออกเสียง Schwa (สระที่ไม่เน้นเสียง)
10
302 308 310 316 321 326
336
291
nd a n o s r e p w e Become aglnish precisely! speak En
11
Let's get to know Ajarn Adam!
12
มารู้จักกับ อาจารย์อดัม
13
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
12 years ago เมื่อ 12 ปีก่อนผมเดินทางมาประเทศไทยเป็นครั้งแรกโดยไม่รู้มาก่อน เลยว่าชีวิตของผมก�ำลังจะเปลี่ยนไป ซึ่งตอนนั้นผมมีความเข้าใจเกี่ยวกับ ประเทศไทยแค่ผิวเผิน
At that time, I had a very superficial understanding of Thailand.
แอทฺ แตทฺ ทายมฺ, อาย แฮดะ เฟฺ ะ รี ซุเปอรฺฟิโ ลฺ อันเดอรฺส แดนดิ ง อัฟ ทายแลนฺดฺ.
Welcome to Thailand 14 14
Let's get to know Ajarn Adam!
Thailand
Taiwan
ทายแลนดฺ
ทายวอน
ผมรูแ้ ค่วา่ ประเทศไทยอยูใ่ นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไม่ได้เป็น ประเทศเดียวกับไต้หวัน (ชาวต่างชาติหลายๆ คนมักจะสับสน เพราะทัง้ ค�ำ ว่า Thailand และ Taiwan ขึ้นต้นด้วยเสียงเดียวกันว่า "ทาย")
15 15
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
Thai Foods ผมรู้จักอาหารไทยที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก หลายเมนู ไม่วา่ จะเป็น ผัดไทย ต้มย�ำกุง้ หรือ ส้มต�ำ แต่สิ่งที่ผมยังรู้ไม่ลึกซึ้งนัก คือ คนไทย เป็นอย่างไร เพราะผมยังไม่เคยท�ำความรู้จัก หรือสัมผัสวิถีชีวิตของคนไทยอย่างจริงจัง เว้นแต่เคยพูดคุยเล็กน้อยตามร้านอาหารไทย ที่บ้านเกิดผมในอเมริกา หรือเรียกเต็มๆ ว่า
The United States of America
เตอะ ยูนายดิด สเดทฺสฺ* อัฟฺ อะเมะเหรอะขะ * ในหนั งสื อเล่มนี้ ผมจะใช้ ด แทนเสี ยง t ที่ควบกล�้ำ
กับ s เพราะถ้าใช้ ต ลิ้นจะโดนฟั นบนและท�ำให้เสี ยง "st" ฟังดูแปลกๆ นะครับ
16 16
Let's get to know Ajarn Adam!
ผมเกิดปี ค.ศ. 1985 (ปีนี้ 33 แล้ว) ที่เมือง Salt Lake City ซึ่งเป็น เมืองหลวงของรัฐยูทาห์ (Utah) เหตุผลที่เมืองนี้มีชื่อว่า Salt Lake City เพราะว่ามีทะเลสาบน�้ำเค็มขนาดใหญ่มากอยู่ใกล้ตัวเมือง ทะเลสาบจึงถูก ตั้งชื่อว่า The Great Salt Lake ครับ
The Great Salt Lake เตอะ เกรทฺ ซอลฺทฺ เลคฺ
เมื่อผมอายุ 4 ขวบ ครอบครัวผมย้ายไปอยู่ เมือง Portland ในรัฐ Oregon เมื่อผมเรียนถึงระดับ ชัน้ ประถม 5 ครอบครัวของผมก็ยา้ ยกลับไปอยูท่ ี่ Salt Lake City ตามเดิม หลังจบมัธยมปลายผมไปเรียน ต่อที่ The University of Utah สองเทอม
The University of Utah 17 17
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
หลังจากนัน้ ผมเริม่ รูส้ กึ ว่าอยากย้ายออกไปจากบ้านพ่อแม่และลองใช้ชวี ติ นอกยูทาห์ดบู า้ ง พอดีมเี พือ่ นสมัยมัธยมทีย่ า้ ยไปท�ำงานในเมือง San Diego ในรัฐ California บอกผมว่าบริษัทก�ำลังหาพนักงานเพิ่ม ผมฝันมาตลอด ชีวิตว่าอยากอยู่ในเมืองที่ติดทะเลและมีคลื่นเหมาะส�ำหรับเล่นเซิร์ฟบอร์ด
It's really fun.
จริงๆ แล้วผมชอบเล่น Snowboard มากๆ ครับ เพราะที่ยูทาห์ บ้านเกิดของผมมีรีสอร์ตเล่นสกีในภูเขาที่สุดยอดหลายแห่ง แต่ผมรู้สึกว่า อยากเปลี่ยนบรรยากาศบ้าง ก็เลยตัดสินใจที่จะย้ายไปอยู่ที่ San Diego ผมไปท�ำงานที่นั่นได้ประมาณ 5 เดือน จึงกลับไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัย เรียนไปได้ 1 เทอม ผมก็รู้สึกเบื่ออีกแล้ว และ อยากหาประสบการณ์แปลกๆ ใหม่ๆ ในช่วงที่ ผมอายุยังน้อย
18 18
Let's get to know Ajarn Adam!
อย่างไรก็ตาม ผมไม่เคยพอใจกับภาษาไทย ของตัวเอง ทุกวันนี้ผมก็ยังพยายามที่จะพัฒนา ปรับปรุงไปเรื่อยๆ เพราะผมทราบดีว่า การเรียนรู้ภาษาเป็นกระบวนการที่ไม่มีวัน หยุดนิ่งและผมหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะช่วย คนไทยหลายๆ คนให้หายข้องใจเกี่ยวกับ ภาษาอังกฤษนะครับ
25 25
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
ฝึกออกเสียง
䴌
¿˜§ à
Ê ÕÂ
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
A-Z
C
B
กับ Adam
A
{สามารถฟังเสียงผ่าน application ได้}
A
>
เออิ (คล้ายเอแต่หางเสียงต้องมีเสียงสระอิดว้ ย)
B
>
บี เหมือน บ ใบไม้ (แต่ฝรั่งอาจฟังเป็น ป ปลา
C
>
จะออกเสียงเป็น ค หรือ ซ ก็ได้ แล้วแต่ค�ำ
D
>
ดี คล้าย ด เด็ก
ด้วย)
26 26
ฝึกออกเสียง A-Z กับ Adam
E
>
อี คล้ายสระอีของไทย
F
>
คล้ายเสียง เอ็ฟฺ แต่ลากเสียงนิดนึง
G
>
จี (คล้ายเสียง จ จาน โดยเพิ่มเสียงก้องที่ล�ำคอ)
H
>
เอช (ในบางพื้นที่ เช่น อังกฤษตอนเหนือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จะออกเสียงว่า เฮช)
I
>
อาย หรือ ไอ
J
>
เจ (เพิ่มเสียงก้องที่ล�ำคอ) 27 27
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
วิธีอ่านออกเสียงตัวอักษรพิเศษ เนื่องจากภาษาอังกฤษมีหลายเสียงที่ภาษาไทยไม่มี เราไม่สามารถใช้ ภาษาไทยแทนเสียงทุกเสียงของภาษาอังกฤษได้ จึงกลายเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะ เขียนค�ำอ่านภาษาอังกฤษด้วยภาษาไทยแบบเป๊ะๆ ในหนังสือเล่มนี้อดัมก็ เลยปรับเปลีย่ นภาษาไทยนิดนึงโดยใส่ขดี เข้าไป เพือ่ ทีจ่ ะเป็นเครือ่ งเตือนใจ คนไทยเวลาอ่านค�ำอ่านที่เป็นอักษรไทยครับ
ความหมายของสัญลักษณ์บนตัวอักษร เสียงไม่ก้อง เสียงก้อง ลากเสียงยาวแบบไม่ก้อง ลากเสียงยาวแบบก้อง ตัวสะกดออกเสียงเบา (จุดนี้จะปรากฏอยู่ใต้ตัวอักษร) อีทฺ
32 32
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
ฝึกออกเสียง A-Z กับ Adam
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
ตัวอักษรพิเศษที่ใช้แทนเสียงต่างๆ ที่ไม่มีในภาษาไทย
ฟ ฝ
ใช้แทนเสียง
v
ใช้แทนเสียง
z
ใช้แทนเสียง
th แบบไม่ก้อง
ใช้แทนเสียง
th แบบก้อง
ใช้แทนเสียง
ch
ใช้แทนเสียง
sh
ใช้แทนเสียง
sh แบบก้อง
ต ต ฉ ฌ ฉ ฌ ฉ ฌ
แต่อย่างไรก็ตาม ผมอยากแนะน�ำให้ฟังเสียงเจ้าของภาษา บ่อยๆ เพื่อที่จะได้คุ้นเคยและออกเสียงตามได้เป๊ะเวอร์ นั่นเองครับ โดยเพื่อนๆ สามารถอ่านวิธีการออกเสียง พร้อมแบบฝึกหัดออกเสียงได้ใน Part 3 หน้า 291 ครับ 33 33
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
การเชื่อมเสียง
เวลาออกเสียงภาษาอังกฤษ เราสามารถเชื่อมค�ำกันได้ในบางกรณี เช่น ค�ำที่เราไม่เน้นและค�ำที่ขึ้นต้นด้วยเสียงสระ เรามักจะเชื่อมค�ำนั้นกับ ตัวสะกด หรือเสียงสุดท้ายของค�ำทีอ่ ยูห่ น้าค�ำนัน้ เพือ่ ความลืน่ ไหลในการพูด
ตัวอย่าง
I like it. อาย ลายคฺ อิ ทฺ.
ถ้าพูดแบบช้าๆ ชัดๆ ทีละค�ำ ก็จะเป็น
อาย ลายกิ ท .
แต่ถ้าพูดเร็วๆ ก็จะกลายเป็น
แต่เราไม่ได้เชื่อมเสียงในทุกกรณี โดยจะขึ้นอยู่กับจังหวะการพูดของเรา
ดังนั้นในเล่มนี้ผมจะเขียนค�ำที่เชื่อมเสียงกันในกรณีที่เชื่อมได้ แต่มัน ไม่จ�ำเป็นครับ ถ้าอยากพูดเต็มๆ ทีละค�ำ ชัดๆ ช้าๆ ผู้ฟังจะเข้าใจอย่าง แน่นอน แต่ยังไงการเชื่อมค�ำก็จะท�ำให้คุณพูดได้คล่องขึ้น 34 34
Part ค�ำถามคาใจที่คนไทย อยากรู้มากที่สุด
1
35
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
ค�ำศัพท์-ประโยคใช้บ่อย
ทักทายฝรั่ง ยังไงดีนะ Good morning. เกิด โมเออรฺนิง.
สวัสดีตอนเช้า
Good afternoon.
เกิด แอฟฺเดอรฺนูน.
สวัสดีตอนบ่าย
Good evening.
เกิด อีเ อะนิง/อี นิง.
สวัสดีตอนเย็น
Note
กู้ด
Good ไม่ได้ออกเสี ยงว่า อย่างที่หลายคนคิดนะครับ
36 36
Hello.
Miss
เฮ็ลโล.
สวัสดี
Hi.
+
Sir
Mr.
Mrs.
ค�ำศัพท์-ประโยคใช้บ่อย
PART 1 : ค�ำถามคาใจที่คนไทยอยากรู้มากที่สุด
Madam
ฮาย.
Ma’am
สวัสดี
Ms.
• Mister หรือ Mr. (มิสฺเดอร) นาย • Sir (เซอรฺ) ใช้กับผู้ชายเวลาอยากพูดสุภาพเป็นพิเศษ • Miss (มิสฺ) ใช้กับผู้หญิงที่เป็นโสด • Mrs. (มิสฺเสิ ) ใช้กับผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว • Ms. (มิสฺ) ใช้กับผู้หญิงที่เราไม่ทราบว่าแต่งงานแล้ว หรือยังเป็นโสดอยู่ • Madam (แมเดิม) หรือ Ma’am (แมม) ใช้กับ ผู้หญิงเวลาอยากพูดสุภาพเป็นพิเศษ
37 37
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
sorry กับ apologize sorry
ซอรี่
กับ
apologize
อะพอเหลอะจาย
สองค�ำนี้ใช้ในกรณีเดียวกัน คือ “ขอโทษ” >>
แต่จะต่างกันที่ sorry จะเป็น adjective จะมาควบคูก่ บั Verb to be เช่น Subject
+ V. to be +
sorry
I’m sorry.
อายมฺ ซอรี.
ฉันเสียใจ (ส�ำหรับบางสิ่งบางอย่างที่ท�ำไป) ค�ำศัพท์สุดสับสน
You’re sorry. โยเออรฺ ซอรี.
คุณเสียใจ (ส�ำหรับบางสิ่งบางอย่างที่ท�ำไป) 196
196
PART 1 : ค�ำถามคาใจที่คนไทยอยากรู้มากที่สุด
sad
ใช้กบั เสียใจแบบเศร้า ไม่ใช่เสียใจกับสิง่ ทีเ่ ราท�ำลงไป เช่น
That’s a sad story. แตทสะ แซด สโดรี.
นั่นเป็นเรื่องเศร้า
แต่ถ้าจะเจาะจงว่า “ขอโทษส�ำหรับเรื่องอะไร” จะใช้ว่า Subject
+
V. to be
+
sorry
+
for
I’m sorry for what happened last night.
อายมฺ ซอรี โฟเออรฺ วัท แฮเป็นฺดฺ แลสฺทฺ* นายทฺ.
ฉันขอโทษส�ำหรับสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อคืนนี้ * ค�ำว่า last ชาวอังกฤษออกเสี ยงว่า ลาสฺทฺ
I’m sorry for what I did.
อายมฺ ซอรี โฟเออรฺ วัท อาย ดิด.
ฉันขอโทษส�ำหรับสิ่งที่ฉันท�ำไป
ค�ำศัพท์สุดสับสน
>>
197 197
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
take out กับ take off take out
เรามาเริ่มจาก take out กันก่อน ถ้า take out เป็น verb จะแปลว่า “หยิบออกมา” เช่น
Verb
I’m gonna take out my phone.
อายมฺ เกอน่ะ* เทกาวทฺ มาย โฟน.
ฉันจะหยิบโทรศัพท์ออกมา
I’m gonna take out my wallet.
อายมฺ เกอน่ะ เทกาวทฺ มาย วอเหลิท.
หรือ
I’m gonna take my wallet out.
อายมฺ เกอน่ะ เทคฺ มาย วอเหลิท อาวทฺ.
ฉันจะหยิบกระเป๋าสตางค์ออกมา ค�ำศัพท์สุดสับสน
Note
ใส่ค�ำนามไว้ตรงกลางหรือขางหลั ง take out ก็ ได้ ้
* ถ้าฟังเจ้าของภาษาอังกฤษพูด I’m gonna เร็วๆ เขาจะพูด
ว่า อายเหมอะ
น่ะ
206 206
PART 1 : ค�ำถามคาใจที่คนไทยอยากรู้มากที่สุด
หรือว่าถ้าจะใช้เป็น Adjective อาจจะบอกว่า Adjective
Let’s order take-out food.
เล็ทฺสฺ โอเออรฺเดอรฺ เทคฺอาวทฺ ฟูดฺ.
สั่งอาหารกลับบ้านกันเถอะ จะใช้เป็นค�ำนามก็ได้คือ “การน�ำอาหารกลับบ้าน” Noun
Let’s order takeout.
เล็ทฺสฺ โอเออรฺเดอรฺ เทคฺอาวทฺ*.
สั่งอาหารกลับบ้านกันเถอะ (สั่งอาหารที่ ร้านแล้วน�ำไปทานที่บ้าน) * ประโยคนี้ พูดเร็วๆ จะเป็ น
เล็ทฺสฺ โซเออรฺเดอรฺ เทกาวทฺ.
นอกจากนั้นเราอาจจะพูดถึง “การออกเดท” ก็ได้
I’m gonna take her out on a date.
อายมฺ เกอน่ะ เทค เฮอรฺ อาวทฺ ออน อะ เดทฺ
ฉันจะพาเธอไปออกเดท * ประโยคนี้ พูดเร็วๆ จะเป็ น
อายเหมอะ น่ะ เทเกอรฺ อาวดอน่ะ เดทฺ.
ค�ำศัพท์สุดสับสน
Verb
207 207
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง Knowledge
ท�ำไมจึงใช้ get แทน arrive ในภาษาพูด ค�ำว่า arrive (v.) แปลว่า “ไปถึง” ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ในการเดินทาง ระยะไกล เช่น
My flight arrives at seven in the morning. มาย ฟลายทฺ อะราย
แอทฺ เซะเ น อิน เตอะ โมเออรฺนิง.
เที่ยวบินของฉันไปถึงตอนเจ็ดโมงเช้า
แต่ถ้าไม่ได้พูดถึงเที่ยวบินหรือการเดินทางระยะไกลอื่นๆ ส่วนใหญ่จะ ใช้ค�ำว่า get แทน arrive ในภาษาพูดนะครับ เช่น A:
B:
What time did you get here? วัท ทายมฺ ดิดจิว เก็ท ฮิเออรฺ?
คุณมาถึงที่นี่กี่โมง
I got here about ten minutes ago.
อาย กอท ฮิเออรฺ อะบาวทฺ เท็น มินเหนิทฺสฺ อะโกว.
ผมมาถึงที่นี่ประมาณสิบนาทีที่แล้ว 220
220
PART 2 : เกร็ดภาษาน่ารู้
A:
B:
When did you get here? เว็น ดิดจิว เก็ท ฮิเออรฺ?
คุณมาถึงที่นี่เมื่อไร
I just got here.
อาย จัสฺทฺ กอทฺ ฮิเออรฺ.
ผมเพิ่งมาถึงครับ
นอกเหนือจากกรณีของการเดินทางระยะไกลแล้ว หากเราใช้ arrive ในการสนทนาจะท�ำให้บทสนทนานั้นดูเป็นทางการมากๆ เลยครับ ให้เรา เลือกใช้ get ในการพูดดีกว่าครับ
สรุปว่า
arrive (v.)
get ( v.)
ไปถึง
มาถึง
• ทางการมากๆ • พูดถึงเที่ยวบิน หรือ การเดินทางระยะไกล
• ภาษาพูด • การเดินทางระยะใกล้ๆ
221 221
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง Knowledge
ถ้าพูดว่า Where you come from? ถูกหรือเปล่า Where you come from? เวเออรฺ ยู คัม ฟรัม?
คนไทยหลายๆ คนติดค�ำพูดนี้ ทั้งๆ ที่เจ้าของภาษาไม่นิยมพูดกัน ที่ จริงที่นิยมพูดโดยทั่วๆ ไปแล้วก็คือ นิยม
Where are you from?
เวเออรฺ ออเออรฺ ยู ฟรัม? หรือใช้เป็นภาษาพูดแบบแนวๆ ก็คือ
“คุณมาจากไหน”
แนวๆ
Where ya from? เวเออรฺ ย่ะ ฟรัม?
Ya ใช้แทน You ในภาษาพูด ทั้งสองประโยคต่างก็แปลว่า “คุณมา จากไหน” 222 222
PART 2 : เกร็ดภาษาน่ารู้
แต่เราสามารถพูดได้เหมือนกันว่า
Where do you come from? เวเออรฺ ดู ยู คัม ฟรัม?
ถ้าพูดแบบนีอ้ ย่าลืมเติมค�ำว่า do ด้วยนะครับ แต่ผมว่ามันฟังดูแปลกๆ เพราะดูเหมือนว่าเราไปถามคู่สนทนาว่า คุณเกิดมาจากอะไร… จากแม่มั้ง หุๆ
อดัมแนะน�ำให้ใช้
Where are you from?
ดีกว่าครับ
ถ้าคุณเป็นคนไทยและมีคนถามว่าคุณมาจากไหนก็สามารถตอบได้ ง่ายๆ ว่า
I’m from Thailand.
อายมฺ ฟรัม ทายแลนฺดฺ.
223 223
Ê ÕÂ
䴌
3
¿˜§ à
Part หลักการออกเสียง ที่เหมาะสมกับคนไทย
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
291
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
หลักการออกเสียงทีเ่ หมาะสมกับคนไทย สิง่ แรกทีต่ อ้ งท�ำก่อนเรียนการออกเสียงก็คอื ต้องเปลีย่ นความเชือ่ ผิดๆ ทีว่ า่ การออกเสียงแบบชัดเจนเป็นการเสแสร้ง การกระแดะ หรือการดัดจริต ถ้าเราปรับทัศนคติใหม่ให้มองว่าการพูดภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องชัดเจน นัน้ เป็นวิธที จี่ ะท�ำให้เราสามารถสือ่ สารกับชาวต่างชาติได้อย่างง่ายดายและ ลื่นไหลขึ้น ชีวิตก็จะง่ายขึ้นเยอะเลยครับ No!
การออกเสียงแบบชัดเจน เป็นการเสแสร้ง การกระแดะ หรือการดัดจริต
No!
No!
ลองคิดดู ถ้าสมมติว่าชาวต่างชาติเข้าใจสิ่งที่เราพูดตั้งแต่ครั้งแรก เราพูดแล้วเขาไม่ต้องถามกลับมาว่า อะไรนะ ขออีกครั้งนึง ไม่เข้าใจ ฯลฯ หรือเราสามารถฟังชาวต่างชาติรเู้ รือ่ งครัง้ แรกเช่นเดียวกัน การสนทนาของ เราจะได้ไม่ตอ้ งติดๆ ขัดๆ เราจะได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์และความรูก้ บั ชาวต่างชาติได้อย่างลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นด้วย 292 292
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
เอาเป็นว่าเรามาท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับหลักการออกเสียงภาษาอังกฤษ กันดีกว่า สิง่ แรกทีต่ อ้ งเข้าใจคือค�ำในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ไม่ได้ออกเสียง ตามที่เขียนนะครับ
ตัวอย่าง
light
ลายทฺ , ไลทฺ เน้นเสียง ท เบาๆ ไม่ได้ออกเสียงว่า ลิ-เกอะ-เหอะ-เถอะ แต่ออกเสียงว่า ลายทฺ หรือ ไลทฺ โดยจุดเล็กๆ ข้างล่าง ท บ่งบอกว่าต้อง เน้นเสียง ท เบาๆ ไม่ถึงกับ ถึ หรือ เถอะ แต่แค่ให้แน่ใจ ว่ามีลมออกมาจากปากนิดนึงเพราะเสียงสุดท้ายในภาษา อังกฤษส�ำคัญมากในการใช้แยกค�ำ ตัวอย่างง่ายๆ แบบนี้แสดงให้เห็นว่าถ้าเราอยากรู้ว่าแต่ละค�ำในภาษา อังกฤษออกเสียงอย่างไรกันแน่ก็ต้องอาศัยการฟังเป็นหลักครับ
293 293
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยได้เยอะคือ การดูค�ำอ่านที่เขียนตามที่ค�ำนั้น ออกเสียงจริงๆ เราสามารถใช้ International Phonetic Alphabet (IPA) หรือภาษาไทยเรียกว่า “สัทอักษรสากล” ซึ่งก็คือ สัทอักษรชุดหนึ่งที่ พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐาน ส�ำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากล เพื่อแทนหน่วยเสียงต่างๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่ง เสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ�้ำกัน (ที่มา : วิกิพีเดีย สัทอักษรสากล)
Oxford Dictionary
Webster’s Dictionary
IPA
International Phonetic Alphabet “สัทอักษรสากล”
Dictionary.com
Cambridge Dictionary
294 294
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
อีกทัง้ พจนานุกรมทีน่ า่ เชือ่ ถือแต่ละเล่มไม่วา่ จะเป็น Oxford Dictionary, Webster’s Dictionary, Cambridge Dictionary, Dictionary.com ฯลฯ ก็ใช้ IPA เป็นค�ำอ่านเพราะถือเป็นที่รู้กันทั่วโลกว่าภาษาอังกฤษไม่ได้ ออกเสียงตามที่เขียนทุกค�ำ ไม่อย่างนั้นก็ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ IPA เป็น ค�ำอ่าน แต่การเรียน IPA ต้องใช้เวลาเพราะเป็นอักษรใหม่ทั้งหมด ถ้าคน ไทยสามารถเรียน IPA ได้ผมว่าสุดยอดมาก ซึ่ง IPA ยากมากครับ ที่จริง มีทางลัดคือให้เราฝึกเขียนค�ำอ่านภาษาอังกฤษด้วยอักษรไทย แต่ปัญหา คือภาษาอังกฤษมีหลายเสียงที่ภาษาไทยไม่มี
ทางลัด ปัญหา
เขียนค�ำอ่านภาษาอังกฤษ ด้วยอักษรไทย
ภาษาอังกฤษมีหลายเสียง ที่ภาษาไทยไม่มี
295 295
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
?
??
งั้นเราจะเขียนค�ำอ่านออกมาเป็นภาษา ไทยได้อย่างไรในเมื่อมีเสียงภาษาอังกฤษ หลายเสียงที่ไม่ตรงกับอักษรไทย
ก็งา่ ยๆ ครับ เราต้องปรับเปลีย่ นอักษรไทยสักเล็กน้อยให้เป็นสัญลักษณ์ ที่แทนเสียงใหม่ๆ เหล่านี้ เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้เราออกเสียงได้อย่าง ชัดเจน ชาวต่างชาติกท็ ำ� กันเวลาเรียนภาษาไทย เขาจะเขียนออกมาเหมือน ภาษาคาราโอเกะแต่จะเพิม่ ขีดเพือ่ ใช้แทนเสียงวรรณยุกต์เพราะภาษาอังกฤษ ไม่มีวรรณยุกต์ 5 เสียงเหมือนภาษาไทยนั่นเองครับ
296 296
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
ตารางเปรียบเทียบวรรณยุกต์ 5 เสียง ภาษาอังกฤษ-ภาษาไทย mai
ไม
ไม่ใส่ขีดอะไรเพราะเป็นเสียงสามัญ
mài
ใหม่
เสียงเอก
mâi
ไม่
เสียงโท
máai
ไม้
เสียงตรี
măi
ไหม
เสียงจัตวา
297 297
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
“ระบบชัดเฟ่อรฺ”
ของผมจะเพิ่มสองขีดเข้าไป เพื่อบ่งบอกถึงเสียงก้อง ดังนั้นผมจะ ใช้ กับ เพิ่มสองขีดแทนเสียง V เพื่อที่คนไทยจะได้เข้าใจการออกเสียงที่ ถูกต้องชัดเจน
304 304
¿˜§ à
เสียง v เป็นเสียงที่ไม่มีในภาษาไทย มาฝึกออกเสียงกันนะครับ ค�ำที่มีเสียง
V
ที่คนไทยมักพูดด้วย
ว
Ê ÕÂ
䴌
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
แทน
เฟเค่เ น แฝ็คซี่ น (US), แฟ็คซีน (UK) แฟ่คยิวม
(n.) วันหยุด, ช่วงปิดภาคเรียน
vain
เฟน
(adj.) หยิ่ง, ทรนง
vein
เฟน
(n.) เส้นเลือดด�ำ
Valentine’s Day
แฟะเลินทายน เด (n.) วันวาเลนไทน์
valid
แฟะหลิด
valley
แฟะลี
(adj.) ซึ่งใช้ได้, ซึ่งถูกต้อง ตามกฎหมาย (n.) หุบเขา
value
แฟ่ลฺยิ ว
(n.) มูลค่า
vampire
แฟ่มพายเยอรฺ
(n.) แวมไพร์, ผีดูดเลือด
van
แฟน
(n.) รถตู้
vanilla
เฝอะนิเหลอะ
(n.) วนิลา
variety
เฝอะไร่เออะที/ดี
(n.) ความหลากหลาย
vacation vaccine vacuum
(n.) วัคซีน (n.) สุญญากาศ, เครือ่ งดูดฝุน่
305 305
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
เสียง Ch กับ Sh คนไทยมักจะออกเสียง Ch กับ Sh เป็น ช ช้าง เนื่องจากมีเสียงใกล้ เคียงกัน ซึ่งหากออกเสียงแบบนี้เจ้าของภาษาส่วนใหญ่ก็ยังเข้าใจได้ครับ แต่ถ้าอยากพูดแบบ “ชัดเฟ่อรฺ” เพื่อหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิดก็ต้องออก เสียงแยก Ch กับ Sh ซึ่งไม่ยากเลยครับ
Ch
ช (เสียงหนักแน่น)
Sh
ช (เสียงนุ่มนวล)
เสียง Ch เป็นเสียงที่หนักแน่นและออกเสียงสั้นกว่า ช ช้าง เล็กน้อย ในขณะที่ Sh เป็นเสียงที่นุ่มนวลเหมือนเวลาบอกเด็กให้เงียบ Shhhh! สามารถลากยาวได้ อันนี้เป็นการสรุปความแบบง่ายๆ แต่ถ้าเจาะลึกกว่า นี้ก็จะพบว่าความแตกต่างของ Ch กับ Sh อยู่ที่เสียง T หรือ ท ซึ่ง Ch เป็นเสียง T ตามด้วย Sh ทันที 316 316
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
อีกนัยหนึง่ ถ้าจะออกเสียง Ch อย่าง “ชัดเฟ่อรฺ” ก็ตอ้ งเปล่งออกมาจาก ต�ำแหน่งเดียวกันกับเสียง ท คือจากปลายลิน้ และปุม่ เหงือกหลังฟันบน ส่วน เวลาออกเสียง Sh ปลายลิน้ ไม่ตอ้ งโดนเพดานปากหรือปุม่ เหงือกเพราะ Sh ไม่มีเสียง ท ให้เราออกเสียงโดยปล่อยลมช้าๆ ระหว่างลิ้นกับเพดานปาก
Sh ปล่อยลมช้าๆ ระหว่างลิ้น
Ch เปล่ง ท ออกมาปลาย
กับเพดานปากเหมือนบอกเด็ก ให้เงียบ
ลิ้นและปุ่มเหงือกหลังฟันบน
ดังนั้นสรุปง่ายๆ คือ
T + Sh = Ch หรือ
Ch – T = Sh 317 317
¿˜§ à
Ê ÕÂ
䴌
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
ฝึกแยกความแตกต่างจากศัพท์ดังต่อไปนี้ chair
> share
เ เออรฺ
เ เออรฺ
(n.) เก้าอี้
(n./v.) ส่วนแบ่ง, แบ่งปัน
chip
> ship
พฺ
พฺ
(n.) มันฝรั่งทอดแผ่นบางๆ
(n.) เรือ
cheap
> sheep
พฺ
พฺ
(adj.) ถูก
(n.) แกะ
check
> shake
เ คฺ
(n./v.) การตรวจสอบ, ตรวจสอบ cheat
(v.) เขย่า > sheet
ทฺ
ทฺ
(v.) ทุจริต, นอกใจ
(n.) แผ่น (กระดาษ, เหล็ก, แก้ว), ผ้าปูที่นอน
318 318
เ คฺ
¿˜§ à
Ê ÕÂ
chew
(n.) รองเท้า
cheese
> she’s
(n.) เนยแข็ง
รูปย่อของ she is หรือ she has
catch
> cash
แค็ทฺ ฉฺ
แค
(v.) จับ
(n.) เงินสด
ditch
> dish
ดิทฺฉฺ
ดิ
(n.) คูน�้ำ
(n.) จาน
watch
> wash
ว็ อทฺ ฉฺ
วอ
(n./v.) นาฬิกาข้อมือ, จ้องมอง
วิ ทฺฉฺ
(det./pron.) อันไหน, สิ่งไหน, สิ่งที่
§ ¼ ‹Ò ¹ A p p
> shoe
(v.) เคี้ยว
which
䴌
PART 3 : หลักการออกเสียงที่เหมาะสมกับคนไทย
(v.) ซัก, ล้าง
> witch
> wish
วิ ทฺฉฺ
วิ
(n.) แม่มด
(n./v.) ความปรารถนา, ปรารถนา, อวยพร
319 319
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง
แบบฝึกออกเสียง Schwa (สระที่ไม่เน้นเสียง) Special!! ภาษาอังกฤษไม่มีวรรณยุกต์เหมือนภาษาไทย แต่มีการเน้นพยางค์ ซึ่งหมายความว่า ค�ำที่มีมากกว่าหนึ่งพยางค์จะมีหนึ่งพยางค์ในค�ำนั้นที่ เน้นเสียงสูงกว่าพยางค์อื่นๆ พยางค์ที่เน้นพอจะเทียบได้กับเสียงโทของ ภาษาไทย หรือ (ถ้า) อาจเทียบกับเสียงตรีแบบสั้นๆ ก็ได้ เช่น ก๊ะ หลายครัง้ ภาษาอังกฤษไม่ได้ออกเสียงตามทีเ่ ขียน โดยเฉพาะในพยางค์ ที่ไม่เน้น เวลาพูดพยางค์ที่ไม่เน้นเสียงสระในค�ำนั้นๆ มักกลายเป็นเสียงที่ เรียกว่า schwa หรือทีเ่ ทียบได้กบั สระเออะ หรือบางทีอาจฟังดูคล้ายสระอะ หรือบางส�ำเนียงออกเสียงคล้ายสระอิ
ตัวอย่างเช่น salmon
แซะเหมิ่น
(n.) ปลาแซลมอน
salad
แซะเหลิด/หลิด
(n.) สลัด
diamond
ด้ายเหมิ่นด
(n.) เพชร
lemon
เละเหมิ่น
(n.) เลมอน, มะนาว
column
เคาะเหลิ่ม
(n.) คอลัมน์
wisdom
วิ เดิ่ม
(n.) สติปัญญา
kingdom
คิ่ง เดิ่ม
(n.) อาณาจักร 336
336
แบบฝึกออกเสียง schwa (สระที่ไม่เน้นเสียง) cinnamon
ซิ เหนอะเหมิ่น
palace
แพะเหลิส /แพ่เหลิส (n.) พระราชวัง
system
ซิ ส เดิ่ม
(n.) ระบบ
accident
แอ้คเสอะเดิ่นท
(n.) อุบัติเหตุ
apartment
เออะพ่าร์ทเหมิ่นท
(n.) ห้องชุด, อพาร์ตเมนต์
entertainment
เอ็นเทอรฺเท่นเหมิ่นท (n.) ความบันเทิง
vitamin
ไฟ่เดอะเหมิ่น/มิน (US), (n.) วิตามิน ฟิ เดอะเหมิ่น/มิน (UK)
(n.) อบเชย
จากตัวอย่างค�ำศัพท์ เราเห็นได้ว่าทั้งตัว A, E, I, O และ U สามารถ กลายเป็นเสียง “เออะ” ได้ เพราะเวลาไม่เน้นก็จะพูดเสียงเหล่านีแ้ บบผ่านๆ คล้ายกับการออกเสียงสระเออะ
ลองดูค�ำว่า
banana เบอะแนะเหนอะ/เบอะแน่ เ หนอะ เบอะนะเหนอะ/เบอะน่าเหนอะ
(US) (UK)
ค�ำว่า “กล้วย (banana)” เน้นพยางค์ที่สอง ดังนั้นตัว a ใน พยางค์นี้ออกเสียงสูงและชัดคล้ายสระแอะหรือสระแอส�ำหรับ ชาวอเมริกัน และคล้ายสระอะส�ำหรับชาวอังกฤษ แต่พยางค์แรก และพยางค์ทสี่ ามไม่เน้น จึงกลายเป็นเสียงคล้ายสระเออะโดยปริยาย 337 337
เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่ พูดอังกฤษได้เป๊ะเวอร์ ฉบับปรับปรุง ISBN 978-616-430-123-8 ราคา 220 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำ ส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและ เครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ณัฐวัฒน์ กวีธีรรัตน์ ผู้เขียน อดัม แบรดชอว์ พิสูจน์อักษร ดุจดาว บัวทอง ออกแบบรูปเล่ม ศิรินทรา วัชรเดชสุวรรณ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ จัดพิมพ์โดย บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2826-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดี รับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
360
Adam Bradshaw
เป ล
É Ä ¡ § Ñ Í ¾ู´ด เป ะเวอร ได
เคยไหม…
ไดยินฝรั่งคุยกันดวยศัพทแปลกๆ หาใน dictionary ก็ไมเจอ เปดหนังสือก็ไมมี
เคยไหม…
อยากรูวาคำไทยแปลเปนอะไรในภาษาอังกฤษ แตไมรูจะถามใคร อาจารยอดัมมีคำตอบ!! whacko หมายถึงอะไรนะ สมน้ำหนา เกรียน แอบแบว พูดเปนอังกฤษวาไงดี say, speak, talk, tell ใชตางกันยังไงละเนี่ย ออกเสียง R กับ L ยังไงถึงจะเปะเหมือนฝรั่ง
าย กมาย มากม ยัยังงมีมีคคำต อบอีอีกกมา ำตอบ สำหรั บ ่ค สำหรับข ข ออสงสั สงสัยยทีทีค ่ ุณ ุณอยาก อยากรูรู
เ»�´เÅ�Á¹ี้Êิ ´ีเÇÍÃ�!
ISBN 978-616-430-123-8
9
786164 หมวด ภาษาอังกฤษ
301238 ราคา 220 บาท
Adam Bradshaw
หนังสือเลมนี้จะชวยเปลี่ยนคุณเปนคนใหมที่เกงภาษาอังกฤษ เพื่องานดี เงินดี และชีวิตดี๊ดีที่รอคุณอยู ไขทุกขอของใจ เกี่ยวกับภาษาอังกฤษทั้งคำศัพท สำนวนนาใชในชีวิตประจำวัน สแลงที่คุณอยากรู ตอบปญหาแกรมมารคาใจ รวมทั้งเคล็ดลับ การออกเสียงภาษาอังกฤษใหเปะเหมือนเจาของภาษา กลั่นกรองจากประสบการณจริงของฝรั่งหัวใจไทย “อาจารยอดัม” ครูสอนภาษาชาวอเมริกัน ผูเขาใจคนไทย ที่อยากพูดภาษาอังกฤษไดเกงเหมือนเจาของภาษา
ุ เเปป น นคคนนใ ห ม ุณ เวอร เปลยี่ นคคณ ¾ู´Íѧ¡ÄÉ ได ได เเป ป ะะเวอร
ม ห ใ ค น เ ป น เ ป น ณ ุ ุ ย ีล่ นคคณ
อยากใหค ณ ุ รูว า เลมนีด้ ยี งั ไง
Scan Now >>
Free!
Application สำหรับฝก การออกเสียง
เ ณ ป ุ เ ณ ป น นคน ใ ห ม ุ ค ค น ย ่ ี เปล
¾ู´Íѧ¡ÄÉ ได เป ะเวอร
เผยวิธก ี ารออกเสียงแบบงายๆ สไตล “อาจารยอดัม” ทีค ่ ณ ุ ก็ทำได! ฝกพูดแบบเจาของภาษา ดวยสำนวน สแลง และศัพทฮต ิ ในชีวต ิ ประจำวัน ตอบขอสงสัยภาษาอังกฤษทีค ่ นไทยอยากรูม ากทีส ่ ด ุ !