เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น

Page 1

เนื้อหาแนน ตรงตามหลักสูตรการบัญชี สอนโดยติวเตอรวิชาบัญชีและเปนผูสอบบัญชีรับอนุญาต

เตรียมสอบ

รวมความรูพื้นฐานทางการบัญชี • กระบวนการบันทึกบัญชีและจัดทำ งบการเงิน • บัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินคา และกิจการผลิตสินคา • การบัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม

เกียรตินิยมอันดับหนึ่งสาขาการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เขาใจการบัญชี ไดอยางชัดเจน ราคาพิเศษ

295 บาท เทานั้น!

น

โดย อุษณีย ตัง้ ปฏิภาณ

ประกอบ D V D

7 แผ

นิสิตนักศึกษาสาขา การบัญชี การบริหาร และสาขาที่มีวิชาการบัญชีขั้นพื้นฐาน • เศรษฐศาสตร • ครุศาสตร • รัฐศาสตร และผูที่ตองการเพิ่มพูนความรูดานการบัญชี

พรอ ม

เหมาะสำหรับ



เตรียมสอบ บัญชีเบื้องต้น By อุษณีย์ ตั้งปฏิภาณ


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น ISBN ราคา

978-616-527-466-1 295 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำาส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ทำาสำาเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำาไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางสำานักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำานักหอสมุดแห่งชาติ อุษณีย์ ตั้งปฏิภาณ. เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2556. 280 หน้า. 1. บัญชี. I. ชื่อเรื่อง. 657 ISBN 978-616-527-466-1 คณะผู้จัดทำา บรรณาธิการสำานักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน อุษณีย์ ตั้งปฏิภาณ ออกแบบรูปเล่ม ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร กัญญาณัฐ กรีประเสริฐกุล ประสานงานฝ่ายผลิต ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จำากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : บริษัท สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส จำากัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจำาหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ้ำา หน้าขาดหาย สำานักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อสำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีต้องการสั่งซื้อจำานวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด สำานักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


จากผู้เขียน หนังสือเตรียมสอบบัญชีเบือ้ งต้นเล่มนีจ้ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ใช้เป็นเอกสาร ประกอบการเรียนการสอน ส�าหรับนิสติ นักศึกษาในระดับชัน้ อุดมศึกษาสาขา การบัญชี การบริหาร และสาขาอื่นๆ ที่ต้องศึกษาวิชาการบัญชีขั้นพื้นฐาน เช่น คณะเศรษฐศาสตร์ ครุศาสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น นอกจากนี้ยัง เหมาะส�าหรับผูท้ สี่ นใจและต้องการหาความรูด้ า้ นการบัญชี เนือ่ งจากเนือ้ หา อ่านเข้าใจง่าย และยังประกอบด้วยดีวดี สี อื่ การสอนเพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถ ศึกษาและท�าความเข้าใจได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น ผู้เขียน หวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ทงั้ ส�าหรับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา และนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา รวมไปถึงผู้ที่มีความสนใจไม่มากก็น้อย เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานทางการบัญชี กระบวนการบันทึกบัญชี การจัดท�างบการเงินของกิจการประเภทบริการ ซื้อมาขายไป และผลิตสินค้า เป็นต้น นอกจากนี้ วัตถุประสงค์หลักของ การจัดท�าดีวีดีนั้นคือ เพื่อเน้นในส่วนที่อาจจะเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย ในการท�าบัญชี และช่วยท�าให้ผู้เรียนสามารถจดจ�าและเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น คณะผูจ้ ดั ท�าหวังว่า หนังสือเล่มนีจ้ ะยังประโยชน์แก่นสิ ติ นักศึกษา นักเรียน และผู้ที่มีความสนใจทางการบัญชี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย อุษณีย์ ตั้งปฏิภาณ


สารบัญ บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี

2

บทที่ 2 กระบวนการบันทึกบัญชี

32

การบัญชี (Accounting) 4 แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) และมาตรฐานการบัญชี (Generally Accepted Accounting Principles-GAAP) 5 งบการเงิน (Financial Statements) 9 ผังบัญชี (Chart of Accounts) 18 การเดบิต เครดิตบัญชี และหลักการบัญชีคู่ (Double Entry Accounting)  20 การวิเคราะห์รายการค้าโดยใช้สมการบัญชีหรือสมการงบดุล (Transaction Analysis)  21 1. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป  2. การผ่านรายการในสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชีแยกประเภท  3. การจัดท�างบทดลอง (Trial Balance)  4. การปรับปรุงบัญชี (Adjusting Entries) ในสมุดรายวันทั่วไป    และผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท  5. การท�างบทดลองหลังปรับปรุง (Trial Balance After Adjusted)   6. การปิดบัญชี (Closing Entries) ในสมุดรายวันทั่วไป    และผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท  7. การจัดท�างบการเงิน (Preparing Financial Statements)

บทที่ 3 การบัญชีส�าหรับกิจการซื้อขายสินค้า  ค�าศัพท์เบื้องต้นเกี่ยวกับกิจการซื้อขายสินค้า  วงจรของกิจการซื้อขายสินค้า  การบันทึกบัญชีส�าหรับกิจการซื้อขายสินค้า  การบันทึกบัญชีส�าหรับการตรวจนับสินค้าคงเหลือปลายงวด  การปิดบัญชี

35 45 60

61 79 80 85

92

94 97 99 101 103


บทที่ 4 การบัญชีส�าหรับกิจการผลิตสินค้า

132

บทที่ 5 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

164

บทที่ 6 สมุดรายวันเฉพาะ

190

บทที่ 7 งบกระแสเงินสด

240

การบันทึกบัญชีส�าหรับวัตถุดิบ  การบันทึกบัญชีส�าหรับค่าแรง  การบันทึกบัญชีส�าหรับค่าใช้จ่ายในการผลิต  การบันทึกบัญชีงานระหว่างท�าเป็นสินค้าส�าเร็จรูป  การจัดท�างบก�าไรขาดทุนของกิจการผลิตสินค้า  การจัดท�างบต้นทุนการผลิต (Schedule of Cost of Goods Manufactured)  การจัดท�างบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) ของกิจการผลิตสินค้า  ภาษีมูลค่าเพิ่ม  อัตราภาษี  การค�านวณภาษี  ภาษีซื้อต้องห้าม  การบันทึกรายการค้าเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม  การปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม  การแสดงรายการในงบการเงินเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม  ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม  สาเหตุของการจัดท�าสมุดรายวันเฉพาะ  ตัวอย่างรูปแบบสมุดรายวันเฉพาะ  วิธีการบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ  สาเหตุของการจัดท�างบกระแสเงินสด  การเปิดเผยข้อมูลในงบกระแสเงินสด  การจัดท�างบกระแสเงินสดวิธีทางตรงและทางอ้อม

136 139 142 145 148 148 150

166 169 169 170 170 172 175 177

193 195 200 242 248 249



เตรียมสอบ

บัญชีเบื้องต้น


บทที่ 1

ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี


วัตถุประสงค์ เข้าใจในความหมายของการบัญชี เข้าใจในแม่บทการบัญชีซึ่งเป็นกรอบในการจัดท�าบัญชี มีความรู้เกี่ยวกับงบการเงินว่า งบการเงินประกอบด้วยงบอะไรบ้าง สามารถแยกประเภทบัญชีได้ ว่าเป็นสินทรัพย์ หนีส้ นิ ส่วนของเจ้าของ รายได้ หรือ ค่าใช้จ่าย มีความเข้าใจเกีย่ วกับเดบิต เครดิตบัญชี และหลักการบัญชีคู่ ซึง่ เป็นพืน้ ฐานในการ บันทึกบัญชี สามารถใช้สมการบัญชีในการวิเคราะห์รายการค้าต่างๆ ได้


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี การบัญชี (Accounting) การบัญชี (Accounting) หมายถึง ศิลปะในการจดบันทึก จัดประเภท และสรุปผล ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการท�าบัญชี คือ งบการเงิน (Financial Statements) การจดบันทึก คือ การเลือกรายการค้าหรือเหตุการณ์ที่สามารถวัดค่าในรูปของ หน่วยเงิน ซึ่งรายการเหล่านั้นมีผลกระทบต่อฐานะการเงินของกิจการที่มาบันทึก การจัดประเภทและสรุปผล คือ การน�ารายการค้าทีบ่ นั ทึกแล้วมาแยกประเภทและ สรุปผล เพื่อจัดท�างบการเงินเสนอต่อผู้ใช้งบการเงิน

รายการค้า (Transaction)

จดบันทึก จัดประเภท และสรุปผล

รูปภาพที่ 1 กระบวนการทางบัญชี

4

งบการเงิน (Financial Statements)


บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี

แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) และมาตรฐานการบัญชี  (Generally Accepted Accounting Principles-GAAP) แม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชี เป็นกรอบหรือแบบแผนที่ใช้ในการจัดท�าหรือ น�าเสนองบการเงิน โดยในปัจจุบนั แม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีไทย ได้ยดึ ตามมาตรฐาน การบัญชีระหว่างประเทศเป็นหลัก โดยแม่บทการบัญชีจะระบุกรอบหรือแนวทางปฏิบัติที่เป็น พื้นฐานเพื่อใช้ในการก�าหนดหรือพัฒนามาตรฐานการบัญชี ส่วนมาตรฐานการบัญชีจะระบุถึง การจัดท�าและน�าเสนอในแต่ละส่วนของงบการเงินไว้ในรายละเอียด แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) ประกอบด้วยเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของงบการเงิน งบการเงินจัดท�าขึน้ เพือ่ ให้ขอ้ มูลทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การ ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจต่อผู้ใช้งบการเงิน เช่น ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการด�าเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการในการตัดสินใจลงทุนซื้อหุ้น 2. ข้อสมมติในการจัดท�างบการเงิน ประกอบด้วย 2 ข้อ ดังนี้ เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) น�ามาใช้เพื่อให้งบการเงินแสดงข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ โดยรายการต่างๆ ที่เกิดขึ้นต้องน�ามาบันทึกบัญชีและ แสดงในงบการเงินตามงวดที่เกี่ยวข้อง ถึงแม้รายการนั้นจะยังไม่มีการรับหรือจ่ายเป็นเงินสด เช่น งบการเงินจัดท�าขึ้นเป็นรายเดือน ตั้งแต่วันที่ 1 - 31 มกราคม พ.ศ. 2554 กิจการมี ค่าโทรศัพท์ทเี่ กิดขึน้ ในเดือนมกราคมจ�านวน 5,000 บาท ซึง่ กิจการจะจ่ายในเดือนกุมภาพันธ์ ดังนั้น ตามหลักเกณฑ์คงค้าง ค่าใช้จ่ายจ�านวน 5,000 บาท ควรบันทึกในเดือนมกราคมไม่ใช่ เดือนกุมภาพันธ์ เพราะค่าใช้จ่ายนี้เกิดขึ้นในงวดมกราคมที่จัดท�างบการเงิน ถึงแม้ว่ารายการ ดังกล่าวจะช�าระเงินในเดือนถัดไป เกณฑ์การด�าเนินงานต่อเนือ่ ง (Going Concern) งบการเงินจัดท�าขึน้ ตามข้อสมมติ ทีว่ า่ กิจการจะด�าเนินงานอย่างต่อเนือ่ งและด�ารงอยูต่ อ่ ไปในอนาคต จึงสมมติวา่ กิจการไม่มเี จตนา หรือความจ�าเป็นทีจ่ ะเลิกกิจการ หากกิจการมีเจตนาหรือความจ�าเป็นดังกล่าว งบการเงินต้อง จัดท�าขึ้นโดยใช้เกณฑ์อื่นและต้องเปิดเผยเกณฑ์นั้นในงบการเงิน 3. ข้อจ�ากัดของลักษณะเชิงคุณภาพ (Constraints) ข้อมูลทีไ่ ด้ไม่สามารถมีลกั ษณะ เชิงคุณภาพในเรือ่ งความเกีย่ วข้องกับการตัดสินใจและความเชือ่ ถือได้ไปพร้อมๆ กันได้ เนือ่ งจาก มีข้อจ�ากัดในเรื่องดังต่อไปนี้

5


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น 3.1 ความทันต่อเวลา (Timeliness) ข้อมูลที่รายงานช้าจะมีความถูกต้องและความ เชื่อถือได้สูง แต่อาจไม่ทันใช้ในการตัดสินใจ ดังนั้น ฝ่ายบริหารต้องเปรียบเทียบประโยชน์ที่จะ ได้รับจากความทันต่อเวลากับความน่าเชื่อถือของรายงาน 3.2 ความสมดุลระหว่างประโยชน์ที่ได้รับกับต้นทุนที่เสียไป (Balance between Benefit and Cost) กิจการควรเปรียบเทียบประโยชน์ที่ได้รับจากข้อมูลกับต้นทุนที่เสียไปใน การได้ข้อมูลนั้น โดยทั่วไปแล้วประโยชน์ที่ได้รับจากข้อมูลควรมากกว่าต้นทุนที่กิจการเสียไป 3.3 ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ (Balance between Qualitative Characteristics) กิจการต้องค�านึงถึงความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้ งบการเงินสามารถใช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้อย่างถูกต้อง 4. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน (Qualitative Characteristics of Financial Statements) ลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติทที่ า� ให้ขอ้ มูลในงบการเงินมีประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้ งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงินมี 4 ประการ ได้แก่ ความเข้าใจได้ ความ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความเชื่อถือได้ และการเปรียบเทียบกันได้ 4.1 ความเข้าใจได้ (Understandability) ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ ในทันทีที่ผู้ใช้งบการเงินใช้ข้อมูลดังกล่าว โดยมีข้อสมมติว่าผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ตามควร เกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี 4.2 ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance) ข้อมูลในงบการเงินต้องเกี่ยวข้อง กับการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน โดยช่วยให้ผู้ใช้สามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตได้ ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจต้องพิจารณาถึงเรื่องลักษณะและความมีสาระ ส�าคัญของข้อมูล ลักษณะของข้อมูล คือ ข้อมูลนั้นมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับรายได้หรือต้นทุนขาย สาระส�าคัญของข้อมูล (Materiality) คือ จ�านวนเงินที่ผิดพลาดนั้นมีผลกระทบต่อ การตัดสินใจ สาระส�าคัญคือการไม่แสดงข้อมูลหรือแสดงข้อมูลผิดพลาดแล้วมีผลกระทบต่อ การตัดสินใจของผูใ้ ช้งบการเงิน เช่น การแสดงรายได้ผดิ ไป 10,000 บาท จากยอดขายทัง้ หมด 20,000 บาท จะถือว่ามีสาระส�าคัญ แต่หากผิดจากยอดขาย 100 ล้านบาท ก็จะถือได้ว่าไม่มี สาระส�าคัญ

6


บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี 4.3 ความเชื่อถือได้ (Reliability) ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต้องเชื่อถือได้ ข้อมูลที่มี คุณสมบัติของความเชื่อถือได้ต้องประกอบด้วย 5 คุณลักษณะ ดังนี้ การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Faithful Representation) คือ แสดงข้อมูลถูกต้อง ตามที่ควรจะเป็น เช่น ค่าขายสินค้าแสดงเป็นรายได้ในงบก�าไรขาดทุน สินค้าที่เป็นกรรมสิทธิ์ ของกิจการต้องถูกบันทึกเป็นสินทรัพย์ในงบดุล โดยสาเหตุของการไม่เป็นตัวแทนอันเทีย่ งธรรม ต้องมาจากความซับซ้อนของรายการ ไม่ใช่ความล�าเอียงหรือความไม่เป็นกลาง เนือ้ หาส�าคัญกว่ารูปแบบ (Substance Over Form) คือ แสดงข้อมูลตามเนือ้ หาและ ความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจไม่ใช่ตามรูปแบบของกฎหมาย เช่น สัญญาเช่าทางการเงิน (Financial Lease) ทางกฎหมายท�าเป็นการเช่า โดยผูเ้ ช่าจ่ายค่าเช่าเพียงอย่างเดียว แต่ถา้ มองตามเนือ้ หา และความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจ ผู้เช่าได้รับประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพียงผู้เดียวจึงต้อง รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในงบดุล ความเป็นกลาง (Neutrality) คือ แสดงข้อมูลทีม่ คี วามเป็นกลางโดยปราศจากความ ล�าเอียง ความตัง้ ใจทีจ่ ะแสดงหรือไม่แสดงข้อมูลทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงเพือ่ ให้ผใู้ ช้งบการเงินตัดสินใจ ตามทีก่ จิ การต้องการ จะท�าให้งบการเงินขาดความเป็นกลาง เช่น การไม่เปิดเผยการค�า้ ประกัน หนี้ของกิจการ ท�าให้ผู้ใช้งบการเงินประเมินความเสี่ยงในตัวกิจการต�่าเกินไป ความระมัดระวัง (Prudence) ผู้จัดท�างบการเงินต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณ รายการที่มีความไม่แน่นอน โดยต้องไม่แสดงสินทรัพย์หรือรายได้สูงกว่าความเป็นจริง และ ต้องไม่แสดงหนีส้ นิ หรือค่าใช้จา่ ยต�า่ กว่าความเป็นจริง เช่น การประมาณจ�านวนเงินทีค่ าดว่าจะ เก็บไม่ได้จากลูกหนี้การค้า เป็นค่าใช้จ่ายในงบก�าไรขาดทุน และลดยอดลูกหนี้ที่เป็นสินทรัพย์ ในงบดุล ท�าให้ไม่แสดงค่าใช้จ่ายต�่าไปหรือสินทรัพย์สูงไป ตามหลักความระมัดระวัง ความครบถ้วน (Completeness) ข้อมูลจะเชื่อถือได้ก็ต่อเมื่อแสดงข้อมูลครบถ้วน เนื่องจากการแสดงข้อมูลไม่ครบถ้วนอาจท�าให้ผู้ใช้งบการเงินตัดสินใจผิดพลาดได้ 4.4 การเปรียบเทียบกันได้ (Comparability) งบการเงินต้องสามารถเปรียบเทียบ ภายในกิจการเองในรอบระยะเวลาต่างกัน และต้องสามารถเปรียบเทียบกับงบการเงินของ กิจการอื่นได้ เพื่อใช้ในการประเมินผลการด�าเนินงานและฐานะการเงินของกิจการ

7


บทที่ 2

กระบวนการบันทึกบัญชี


วัตถุประสงค์ มีความเข้าใจเกี่ยวกับล�าดับขั้นตอนในการบันทึกบัญชีเพื่อจัดท�างบการเงิน สามารถบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในสมุดรายวันทั่วไป สามารถผ่านรายการค้าจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท สามารถจัดท�างบทดลอง สามารถปรับปรุงรายการค้าในวันสิ้นงวด เพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์คงค้าง ในการจัดท�างบการเงิน สามารถจัดท�างบทดลองภายหลังการปรับปรุงรายการ สามารถปิดบัญชีและจัดท�างบการเงิน ได้แก่ งบดุล งบก�าไรขาดทุน และงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น

บทที่ 2 กระบวนการบันทึกบัญชี เมือ่ มีรายการค้าเกิดขึน้ ในกิจการ ต้องน�ารายการค้ามาบันทึก จัดประเภท และสรุปผล ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการบันทึกบัญชีกค็ อื งบการเงิน ซึง่ ต้องมีกระบวนการเพือ่ ให้ได้มาซึง่ งบการเงิน ดังนี้ 1. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป (General Journals) 2. การผ่านรายการในสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชีแยกประเภท (Ledger) 3. การท�างบทดลอง (Trial Balance) 4. การปรับปรุงบัญชี (Adjusting Entries) ในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการ ไปยังบัญชีแยกประเภท 5. การท�างบทดลองหลังปรับปรุง (Trial Balance After Adjusted) 6. การปิดบัญชี (Closing Entries) ในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปยังบัญชี แยกประเภท 7. การจัดท�างบการเงิน (Preparing Financial Statements) ในบทนี้จะอธิบายถึงกระบวนการในแต่ละขั้นตอน จนถึงขั้นสุดท้ายของการท�างบการเงิน

34


4. 5. 6. 7. 1.

(Adjusting Entries) (Trial Balance After Adjusted) (Closing Entries) (Preparing Financial Statement)

บทที่ 2 กระบวนการบันทึกบัญชี

1. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป สมุดรายวันทั่วไป (General Journals) เป็นสมุดเล่มแรกที่ใช้ในการบันทึกรายการค้า (General Journals) สมุดรายวันทั่วไปจะมีรูปแบบ ดังนี้

(Date)

(Account Titles)

(References)

(Debit)

(Credit)

1 “ ช่อ”งที่ 1 “วันที่” ให้ใส่วันที่เกิดรายการค้าโดยเรียงล�าดับ คือ ปี เดือน และวันที่ ช่องที2่ 2“ “รายการ” ให้ใส่ชื่อบัญชีที่ต้องการเดบิตและเครดิต โดยการบันทึกจะใส่ ”

ชื่อบัญชีที่เป็นด้านเดบิตขึ้นก่อน ตามด้วยชื่อบัญชีด้านเครดิตและเขียนค�าอธิบายรายการ ช่องที่ 3 “อ้างอิง” ให้ใส่เลขที่บัญชีแยกประเภทที่ได้ผ่านรายการไป จะท�าเมื่อมีการ 3 “ ” ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทแล้ว ช่องที่ 4 “เดบิต” ให้ใส่ตัวเลขที่ต้องการเดบิต 4 “ ” ช่องที่ 5 “เครดิต” ให้ใส่ตัวเลขที่ต้องการเครดิต 5 “

ทบทวนตารางการเดบิตเครดิตบัญชี 1. 2. 3. 4. 5.

(Assets) (Liabilities) (Equities) (Revenues) (Expenses)

35


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปให้ท�าการวิเคราะห์เช่นเดียวกับการท�าสมการ บัญชี แต่ในการพิจารณาสมการบัญชี (สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ) จะมีบัญชี 3 ประเภท คือ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ ส�าหรับรายได้และค่าใช้จ่ายให้พิจารณา ไว้ในส่วนของเจ้าของ คือ ก�าไรสะสม แต่ส�าหรับการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป ให้ พิจารณาบัญชีเป็น 5 ประเภท คือ แยกรายได้และค่าใช้จ่ายออกมาด้วย ตัวอย่างที่ 1 กิจการ ก รับแปลหนังสือ มีรายการค้าในเดือนม.ค. 25x1 ดังนี้ ม.ค.1 กิจการ ก ได้รับเงินจากการออกจ�าหน่ายหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าตราไว้ หุ้นละ 10 บาท ม.ค.3 ซื้ออุปกรณ์ส�านักงาน 50,000 บาท โดยจ่ายเป็นเงินสด 30,000 บาท ส่วน ที่เหลือจะช�าระในภายหลัง ม.ค.5 กู้ยืมเงินจากธนาคารจ�านวน 20,000 บาท ม.ค.7 ซื้อวัสดุส�านักงานเป็นเงินสด 15,000 บาท ม.ค.10 มีรายได้จากการรับแปลหนังสือเป็นเงินสด 20,000 บาท ม.ค.18 มีรายได้จากการรับแปลหนังสือจ�านวน 30,000 บาท แต่ยังไม่ได้รับช�าระเงิน จากลูกค้า ม.ค.20 จ่ายค่าเช่าส�านักงานเป็นเงินสด 10,000 บาท และจ่ายเงินเดือนพนักงานเป็น เงินสด 12,000 บาท ม.ค.23 รับช�าระเงินจากลูกค้าที่กิจการให้บริการในวันที่ 18 ม.ค. ม.ค.25 จ่ายช�าระหนี้ค่าซื้ออุปกรณ์ส�านักงานทั้งจ�านวน ม.ค.28 จ่ายค่าสาธารณูปโภคจ�านวน 3,000 บาท ให้บันทึกรายการค้าดังกล่าวในสมุดรายวันทั่วไป

36


บทที่ 2 กระบวนการบันทึกบัญชี ผังบัญชีของกิจการ ก มีดังนี้

'

' '

37


บทที่ 3

การบัญชีส�าหรับกิจการซื้อขายสินค้า


วัตถุประสงค์ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของกิจการ และเข้าใจความแตกต่างระหว่าง กิจการให้บริการและกิจการซื้อขายสินค้า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ และเข้าใจความ แตกต่างระหว่างการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory System) และแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory System) สามารถบันทึกบัญชีของกิจการซื้อขายสินค้าได้ เมื่อใช้วิธีการบันทึกบัญชีแบบ สิ้นงวดและแบบต่อเนื่อง มีความเข้าใจในกระบวนการจัดท�างบการเงินของกิจการซื้อขายสินค้า สามารถท�าการปิดบัญชีของกิจการซื้อขายสินค้า เมื่อใช้วิธีการบันทึกบัญชีแบบ สิ้นงวดและแบบต่อเนื่อง สามารถจัดท�างบการเงิน ได้แก่ งบก�าไรขาดทุนแบบหลายขั้นตอน และงบดุลได้


เตรียมสอบบัญชีเบื้องต้น

บทที่ 3 การบัญชีส�าหรับกิจการซื้อขายสินค้า กิจการสามารถแยกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. กิจการให้บริการ (Service Business) เป็นธุรกิจที่ให้บริการแก่ลูกค้า เช่น ร้าน ซักรีดเสื้อผ้า ร้านตัดผม ธุรกิจโรงแรม เป็นต้น 2. กิจการซือ้ ขายสินค้าหรือธุรกิจพาณิชยกรรม (Merchandize Business) เป็นธุรกิจ ที่ซื้อสินค้ามาเพื่อขายไปโดยไม่ได้ท�าการผลิตเอง เช่น ร้าน 7-11 ร้านขายยา ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น 3. กิจการผลิตสินค้าหรือธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing Business) เป็น ธุรกิจที่ท�าการผลิตสินค้าไว้เพื่อขาย เช่น บริษัทผลิตรถยนต์ บริษัทผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น ในบทนี้ จะเรียนในส่วนของกิจการซื้อขายสินค้า ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี สินค้าคงเหลือ โดยเนือ้ หาการเรียนรูใ้ นบทก่อนนัน้ เราเน้นการบันทึกบัญชีสา� หรับกิจการให้บริการ ดังนั้นจึงไม่มีเรื่องสินค้าคงเหลือเข้ามาเกี่ยวข้อง

ค�าศัพท์เบื้องต้นเกี่ยวกับกิจการซื้อขายสินค้า ส่วนลด สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ส่วนลดการค้า (Trade Discount) หมายถึง ส่วนลดทีใ่ ห้ทนั ที ณ ตอนขายสินค้า เช่น เสือ้ ทีข่ ายในห้างสรรพสินค้าราคา 1,000 บาท ติดป้ายลดราคา 30% นอกจากนีย้ งั รวมถึงส่วนลด ทีเ่ กิดจากปริมาณการขายทีแ่ ตกต่างกัน เช่น ถ้าขายส่งจะได้ราคาทีต่ า�่ กว่าราคาขายปลีก ส่วนลด การค้าไม่จ�าเป็นต้องบันทึกบัญชีส่วนลด จากตัวอย่างเรื่องการขายเสื้อ จะบันทึกค่าขายและ เงินสดเท่ากับราคาหลังหักส่วนลดแล้ว ซึ่งเท่ากับ 1,000 - 1,000(30%) = 700 บาท โดย ไม่ต้องบันทึกบัญชีส่วนลด 2. ส่วนลดเงินสด (Cash Discount) หมายถึง ส่วนลดที่เกิดจากการรับหรือจ่ายช�าระ เงินตามเงือ่ นไขทีก่ า� หนด โดยส่วนลดเงินสดจะเกิดได้เมือ่ มีการซือ้ เชือ่ หรือขายเชือ่ จากนัน้ เพือ่ จูงใจให้มีการช�าระเงินเร็วขึ้น จึงก�าหนดเงื่อนไขการช�าระเงิน ถ้าช�าระเงินตามก�าหนดเวลาที่ ตั้งไว้จะได้รับส่วนลดตามที่ก�าหนด 94


บทที่ 3 การบัญชีส�าหรับกิจการซื้อขายสินค้า วิธีการอ่านเงื่อนไขการช�าระเงิน เช่น 3/10, n/30 หมายถึง ต้องช�าระเงินภายใน 10 วัน จะได้รับส่วนลด 3% แต่ต้องช�าระ อย่างช้าที่สุดภายใน 30 วัน เลขตัวแรก แสดงถึง เปอร์เซ็นต์ส่วนลดเงินสดที่ได้รับ เลขตัวที่สอง แสดงถึง จ�านวนวันอย่างช้าที่สุดที่ช�าระเงินแล้วได้รับส่วนลด นอกจากนี้ ยังสามารถใช้อักษรย่ออื่นแทนตัวเลข หรือใช้อักษรย่อร่วมกับตัวเลขได้ เช่น EOM ย่อมาจาก End of month หมายความว่าต้องช�าระเงินภายในสิ้นเดือนจึงจะได้รับส่วนลด หรือ 12 EOM หมายความว่า ต้องช�าระเงินภายในวันที่สิบสองของเดือนถัดไปจึงจะได้รับส่วนลด ส่วนสุดท้าย แสดงถึง จ�านวนวันอย่างช้าสุดที่จะต้องช�าระเงิน เช่น n/60 หมายความว่าต้องช�าระเงินภายใน 60 วัน ส่วนลดเงินสดสามารถแยกได้เป็น 2 ประเภท ส่วนลดรับ (Purchases Discount) เป็นส่วนลดเงินสดทีเ่ กิดด้านผูซ้ อื้ คือ มีการซือ้ สินค้าเป็นเงินเชื่อ ภายหลังจากวันซื้อเชื่อ มีการจ่ายช�าระเงินให้แก่ผู้ขายสินค้าตามเงื่อนไขการ ช�าระเงิน ท�าให้เกิดส่วนลด เรียกว่า ส่วนลดรับ ดังนั้นด้านผู้ซื้อสินค้าจึงเกิดบัญชีส่วนลดรับ ส่วนลดจ่าย (Sales Discount) เป็นส่วนลดเงินสดที่เกิดด้านผู้ขาย คือ มีการขาย สินค้าเป็นเงินเชื่อ ภายหลังจากวันขายเชื่อ มีการรับช�าระเงินจากผู้ซื้อสินค้าตามเงื่อนไขการ ช�าระเงิน ท�าให้เกิดส่วนลด เรียกว่า ส่วนลดจ่าย ดังนัน้ ด้านผูข้ ายสินค้าจึงเกิดบัญชีสว่ นลดจ่าย ดังนัน้ ถ้าส่วนลดทีเ่ กิดขึน้ เป็นของผูซ้ อื้ สินค้า จะเรียกว่าส่วนลดรับ (วงจรซือ้ สินค้า) แต่ ถ้าส่วนลดที่เกิดขึ้นเป็นของผู้ขายสินค้า จะเรียกว่าส่วนลดจ่าย (วงจรขายสินค้า) การบันทึกบัญชีส�าหรับส่วนลดเงินสด มี 2 วิธี คือ 1. วิธีราคาเต็ม (Gross Method) วิธีนี้จะบันทึกบัญชีลูกหนี้การค้าและยอดขายด้วย ราคาเต็มก่อนหักส่วนลด เมือ่ มีการช�าระเงินตามก�าหนดเวลาจึงบันทึกรายการส่วนลด (นิยมใช้) 2. วิธีราคาสุทธิ (Net Method) วิธีนี้จะบันทึกบัญชีลูกหนี้การค้าและยอดขายด้วย จ�านวนเงินหลังหักส่วนลดแล้ว หากมีการช�าระเงินเกินก�าหนด จะบันทึกลูกหนี้การค้าและ ส่วนลดที่ลูกค้าไม่รับเพิ่มเติม หากช�าระเงินตามก�าหนดเวลาก็บันทึกการรับเงินและล้างลูกหนี้ การค้าออกจากบัญชี ในหนังสือเล่มนีจ้ ะใช้วธิ กี ารบันทึกบัญชีสว่ นลดเงินสดแบบวิธรี าคาเต็มเพราะเป็นทีน่ ยิ ม มากกว่าวิธีราคาสุทธิ เนื่องจากสะดวกกว่า และไม่ต้องปรับปรุงบัญชีทุกครั้งที่พ้นก�าหนดการ ให้ส่วนลด 95


เหมาะสำหรับนิสิตนักศึกษาสาขา

การบัญชี

การบริหาร

และสาขาที่มีวิชาการบัญชีขั้นพื้นฐานและผูที่สนใจความรูดานการบัญชี

เตรียมสอบบัญชีเบื้องตน รวมความรูพื้นฐานทางการบัญชี กระบวนการบันทึกบัญชี การจัดทำ

งบการเงิน บัญชีสำหรับกิจการซือ้ ขายสินคาและกิจการผลิตสินคา นอกจากนีย้ งั จัดทำในรูปแบบดีวดี มี ภี าพ ประกอบชวยอธิบายถึงหลักการบัญชีใหเปนรูปธรรมมากขึ้น เพื่อเนนในสวนที่อาจจะเกิดขอผิดพลาดไดงาย ในการทำบัญชี ชวยใหผูเรียนเขาใจไดอยางชัดเจนและจดจำหลักการของการทำบัญชีไดงายยิ่งขึ้น หนังสือ พรอมดีวดี ชี ดุ นีเ้ รียนรูไ ดตง้ั แตนกั เรียนมัธยม นิสติ นักศึกษาสาขาการบัญชี การบริหาร และสาขาอืน่ ๆ ทีต่ อ ง ศึกษาวิชาการบัญชีขน้ั พืน้ ฐาน เชน เศรษฐศาสตร ครุศาสตร รัฐศาสตร เปนตน รวมถึงเจาของกิจการรานคา ทีต่ อ งการเพิม่ พูนความรูเ กีย่ วกับการบัญชีกส็ ามารถเรียนรูไดจากสื่อการเรียนการสอนชุดนี้

รวม 7 องคความรูด า นบัญชี

1ความรู พ น้ื ฐานทางการบัญชี การบัญชี (Accounting)

ญชีสำหรับกิจการผลิตสินคา 4 การบั การบันทึกบัญชีสำหรับวัตถุดบิ

• • การบันทึกบัญชีสำหรับคาแรง (Accounting Framework) และมาตรฐาน การบัญชี (Generally Accepted Accounting Principles-GAAP) • การบันทึกบัญชีสำหรับคาใชจา ยในการผลิต • การบันทึกบัญชีงานระหวางทำเปนสินคาสำเร็จรูป • งบการเงิน (Financial Statements) • การจัดทำงบกำไรขาดทุนของกิจการผลิตสินคา • ผังบัญชี (Chart of Accounts) • การจัดทำงบตนทุนการผลิต (Schedule of Cost • การเดบิต เครดิตบัญชี และหลักการบัญชีคู • • แมบทการบัญชี

(Double Entry Accounting) • การวิเคราะหรายการคาโดยใชสมการบัญชีหรือสมการงบดุล (Transaction Analysis)

2 กระบวนการบั นทึกบัญชี การบันทึกรายการคาในสมุดรายวันทัว่ ไป

• • การผานรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป ไปยังบัญชีแยกประเภท • การจัดทำงบทดลอง (Trial Balance) • การปรับปรุงบัญชี (Adjusting Entries) ในสมุดรายวันทัว่ ไป

of Goods Manufactured) • การจัดทำงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) ของกิจการผลิตสินคา

5 การบั ญชีภาษีมลู คาเพิม่ ภาษีมลู คาเพิม่

และผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภท • การทำงบทดลองหลังปรับปรุง (Trial Balance After Adjusted) • การปดบัญชี (Closing Entries) ในสมุดรายวันทัว่ ไป และผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภท • การจัดทำงบการเงิน (Preparing Financial Statements)

3 คำศัพทเบือ้ งตนเกีย่ วกับกิจการซือ้ ขายสินคา การบัญชีสำหรับกิจการซือ้ ขายสินคา

• • วงจรของกิจการซือ้ ขายสินคา • การบันทึกบัญชีสำหรับกิจการซือ้ ขายสินคา • การบันทึกบัญชีสำหรับการตรวจนับสินคาคงเหลือปลายงวด • การปดบัญชี

ISBN 978-616-527-466-1

9 786165 274661

เตรียมสอบบัญชี เบื้องตน DVD 7 แผน ราคา : 295 บาท

• • อัตราภาษี • การคำนวณภาษี • ภาษีซอ้ื ตองหาม • การบันทึกรายการคาเกีย่ วกับภาษีมลู คาเพิม ่ • การปดบัญชีภาษีมลู คาเพิม ่ • การแสดงรายการในงบการเงินเกีย่ วกับภาษีมลู คาเพิม ่ • ความรูเ พิม ่ เติมเกีย่ วกับภาษีมลู คาเพิม่

ดรายวันเฉพาะ 6 สมุสาเหตุ ของการจัดทำสมุดรายวันเฉพาะ

• • ตัวอยางรูปแบบสมุดรายวันเฉพาะ • วิธกี ารบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ

นสด 7 งบกระแสเงิ สาเหตุของการจัดทำงบกระแสเงินสด

• • การเปดเผยขอมูลในงบกระแสเงินสด • การจัดทำงบกระแสเงินสดวิธท ี างตรงและทางออม

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ต)ิ โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com คูม อื เรียน-สอบ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.