คู่มือการเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่

Page 1

รวมทุกเร�องที่ควรรูสำหรับการดูแลทารกตั้งแตแรกเกิดอยางถูกวิธี

คูมือการเลี้ยงลูก สำหรับคุณแมมือใหม

เรียนรูทุกขั้นตอน

BABYCARE Day by Day

การดูแลลูกนอยแบบ

วันตอวัน

ชวยใหคุณแมมือใหม

มั่นใจมากยิ่งขึ้น

เพียง

โดย Dr.Frances Williams แพทย เวชปฏิบัติทั่วไป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ

หนงั สอื คณุ ภ

ราคาพเิ ศ าพ

130.-



คูมือการเลี้ยงลูก สำหรับคุณแมมือใหม BABYCARE DAY BY DAY

Dr.Frances Williams


ISBN ราคา

978-616-527-473-9 130 บาท

ผูเ้ ขียน ผูแ้ ปล

Dr.Frances Williams ผศ. ดร.อรกัญญ์ ภูมโิ คกรักษ์

ภายใต้ลขิ สิทธิข์ อง C 2012 Carroll & Brown Limited Translated from the book originally produced by Carroll & Brown Limited, 20 Lonsdale Road, Queen’s Park, London NW6 6RD. All rights reserved C ลิขสิทธิภ์ าษาไทย 2556 : ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่าย ต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากทางส�านักพิมพ์เท่านัน้ ชือ่ ผลิตภัณฑ์และเครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีอ่ า้ งถึงเป็นของบริษทั นัน้ ๆ คณะผูจ้ ดั ท�ำ บรรณำธิกำรส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ บรรณำธกำรเล่ม นรินทร ศิลปกรรม ภรณีย์ สนองผัน ประสำนงำนฝ่ำยผลิต อิสรีย์ แจ่มข�า, ชนาภัทร พรายมี ประสำนงำนสือ่ สิง่ พิมพ์ ชนาภัทร พรายมี ฝ่ำยกำรตลำด วราลี สิทธิจนิ ดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษทั พิมพ์ดี จ�ากัด ผูพ้ มิ พ์/ผูโ้ ฆษณำ เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัต)ิ โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

กรณีตอ้ งกำรสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมำก กรุณำติดต่อฝ่ำยกำรตลำด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส

จัดจ�ำหน่ำยโดย บริษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารทีซไี อเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนีผ้ ลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�า้ หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัต)ิ

โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพือ่ รับส่วนลดพิเศษ


สารบัญ ค�ำน�ำ กำรจับอุม้ ลูก

5 6

การยกตัวขึน้ จากท่านอนหงาย การยกตัวขึน้ จากท่านอนคว�า่ การอุม้ ลูก การใช้ผา้ แขวน การใช้เป้อมุ้ เด็ก การปลอบทารกร้องไห้ การบรรเทาโคลิก การห่อตัวลูกด้วยผ้า

6 8 10 12 14 16 18 20

กำรป้อนอำหำรลูก

22

การให้นมจากอกแม่ 22 ท่าให้นมจากอกแม่ 24 การป้อนนมขวด 26 การท�าให้ขวดปลอดเชือ้ 28 การชงนมผง 30 การท�าให้ลกู เรอ 32 การให้อาหารแข็งแก่ลกู 34 การช่วยให้ลกู รับประทานอาหารเอง 36

กำรเปลีย่ นผ้ำอ้อมลูก

38

ผ้าอ้อมชนิดใช้แล้วทิง้ ผ้าอ้อมชนิดใช้ซา�้ การพับผ้าอ้อมผ้า การดูแลผ้าอ้อมทีเ่ ปือ้ น

38 40 42 44

กำรแต่งตัวลูก

46

ควำมเจ็บป่วยและภำวะฉุกเฉิน 88

เสือ้ ชุด เครือ่ งแต่งกายไปข้างนอก

46 48 50

ถ้าคุณคิดว่าลูกเจ็บป่วย การดูแลทารกเจ็บป่วย

88 90

กำรปฐมพยำบำลทำรก ดัชนี

92 96

กำรรักษำควำมสะอำดของลูก 52 การเช็ดตัว การท�าความสะอาดก้นลูก การเตรียมอาบน�า้ ลูก การสระผมลูก การอาบน�า้ ลูก การท�าให้ตวั ลูกแห้ง

52 54 56 58 60 62

กิจวัตรประจ�ำวัน

64

การดูแลโคนสายสะดือของลูก การดูแลผมและเล็บของลูก การดูแลฟันของลูก การน�าลูกเข้านอน

64 66 68 70

กำรท�ำตัวให้สนิทสนมกับลูก 72 การสัมผัสอย่างอ่อนโยน 72 การนวดทารก 74 การอ่านให้ลกู ฟัง 76 การออกก�าลังกายส�าหรับทารก 78 การเล่นของทารก 80 ประสบการณ์ดา้ นการรับความรูส้ กึ 82 ระยะส�าคัญทางพัฒนาการ 84 การไปเทีย่ วด้วยกัน 86



ค�าน�า การดูแลเด็กทารกเป็นงานที่ต้องท�าตลอดเวลาและ เป็นอาชีพที่ต้องลงมือปฏิบัติจริงๆ เมื่อเด็กทารกเกิดแล้ว พ่อแม่ทุกคนจะตระหนักได้ทันทีว่า การ “มือไม่ว่างเลย!” หมายความว่าอย่างไร จากที่เคยถูกพาไปไหนมาไหนด้วย ขณะอยู่ในครรภ์เป็นเวลา 9 เดือนของชีวิต เด็กทารกก็จะ ต้องการติดต่อและสัมผัสกับผู้ดูแลตลอดเวลา แทบจะไม่มี พ่อแม่รายใดที่จะไม่อยากให้ตนเองมีมือเพิ่มขึ้นอีกคู่เมื่อ ต้องดูแลเด็กทารก โดยเฉพาะในเวลาอันน่ากลัวอย่างเช่น ตอนอาบน�้าและแต่งตัวให้ ขณะนีพ้ อ่ แม่มอื ใหม่และผูท้ ไี่ ม่คนุ้ เคยกับการดูแลทารก ขั้นพื้นฐานมีผู้ช่วยใกล้มือ ในการดูแลทารกวันต่อวันแล้ว คุณจะพบทุกสิ่งทุกอย่างที่จ�าเป็นต้องรู้เกี่ยวกับการอุ้ม ป้อนอาหาร พาไปเที่ยว เปลี่ยนผ้าอ้อม แต่งตัว อาบน�า้ ผ่อนคลาย เล่น นวด และท�าให้ลูกคนใหม่ของคุณมีความ สะดวกสบายจนถึงวันเกิดปีแรก นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่ เป็นประโยชน์มากมายเกี่ยวกับระยะส�าคัญทางพัฒนาการ การดูแลทารกทีเ่ จ็บป่วยและการปฐมพยาบาลทีจ่ า� เป็นอีกด้วย ภาพถ่ายทีละขัน้ แสดงทุกขัน้ ตอนของกิจวัตรการดูแลเด็ก ทีจ่ า� เป็น เช่น การเปลีย่ นผ้าอ้อม การสวมชุด การใช้เป้อมุ้ เด็ก การเตรียมขวดนม ค�าอธิบายสั้นๆ ชัดเจนท�าให้ท�าตาม ขั้นตอนได้ไม่ยากแม้มองจากระยะไกล และหากคุณมีเวลา มากขึ้นก็ยังมีข้อมูลอันเป็นประโยชน์อีกมากมายให้ได้อ่าน และพิจารณา เมือ่ ดิฉนั ให้พอ่ แม่ทลี่ กู โตแล้วดูหนังสือเล่มนี้ เสียงตอบรับ ที่ท่วมท้นคือ “อยากให้มีหนังสือเล่มนี้อยู่ตอนที่ลูกเราเป็น เด็กทารกจัง!” ดิฉันทราบว่าพวกเขาหมายความว่าอย่างไร ทักษะการเป็นพ่อแม่ไม่ได้มีมาแต่ก�าเนิด ต้องพัฒนาขึ้นมา ดิฉนั หวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะช่วยให้พอ่ แม่มอื ใหม่ ปูย่ า่ ตายาย พีเ่ ลีย้ งเด็กและผูด้ แู ลเด็กเกิดความมัน่ ใจและมีความสามารถ ทีจ่ า� เป็น ไม่เพียงแต่เพือ่ ดูแลทารกของตนเองเท่านัน้ แต่เพือ่ ให้ดูแลได้อย่างเพลิดเพลินด้วย


กำรจับอุ้มลูก ช่วง 2-3 เดือนแรก คุณจะต้องยกและอุ้มลูกบ่อยๆ จึงควรท�ำอย่ำงนุ่มนวลและเบำมือเพื่อไม่ให้ลูกน้อยตกใจ แม้ว่ำเด็ก ทำรกจะทนทำนกว่ำที่คุณคิด แต่กำรไม่จับอุ้มอย่ำงรุนแรงหรือเขย่ำตัวลูกก็เป็นสิ่งส�ำคัญ ดังนั้นเมื่อยกตัวลูกขึ้นมำควร อุ้มไว้แนบตัว ประคองศีรษะพร้อมส่งเสียงให้ลูกมั่นใจเสมอ

การยกตัวขึ้นจากท่านอนหงาย คุณควรให้ลูกน้อยนอนหลับในท่านอนหงายเสมอ และที่แน่ๆ ก็คือ ลูกจะนอนหงายในขณะเปลี่ยนผ้าอ้อม ดังนั้นคุณจะยกตัวลูกขึ้นจากนอน หงายบ่อยที่สุด หากลูกน้อยก�าลังนอนหลับอยู่ การปลุกอย่างนุ่มนวลก่อนยกตัวขึ้น เป็นสิ่งที่ดีที่สุด เนื่องจากกว่าคุณจะยกตัวลูกน้อยขึ้น ลูกอาจสะดุ้งกับการ เคลื่อนไหวในลักษณะนี้จนท�าให้เขาร้องไห้ได้ การพูดคุยกับลูกเบาๆ หรือ การลูบแก้มอย่างนุม่ นวลในขณะทีค่ ณุ เตรียมจะยกตัวเขาขึน้ มาจะช่วยท�าให้ ลูกน้อยมั่นใจขึ้น นอกจากนี้คุณควรโน้มตัวลงใกล้ลูกน้อยก่อนที่จะยกขึ้นมาเสมอ เพื่อไม่ให้ฝืนหลังตัวเอง

6 การจับอุม้ ลูก

ก�ำบังอันปลอดภัย เมือ ่ ถูกอุม้ ประคองอยู่ในอ้อมแขนของคุณ ลูก จะรู้สึกมั่นคงเพราะมีคุณอยู่ใกล้ๆ ท่าอุ้มที่ลูก รู้สึกได้ถึงชีพจร หรือเสียงหัวใจของคุณจะ ท�าให้เขาสบายใจ


1

ประคองคอและก้นในขณะที่ยกลูกขึ้น โน้มตัวเข้าไปใกล้ลูก พร้อมสอดมือข้างหนึ่งไปที่ใต้ ศีรษะและคอของเขา ส่วนอีกข้างสอดที่ใต้ก้น ถ่ายน�้าหนัก ของลูกมาอยู่ในมือของคุณแล้วเริ่มยกขึ้น ถ้าลูกตื่นอยู่แค่ ค�าพูดปลอบโยน 2-3 ค�าจากคุณจะช่วยให้เขามั่นใจและ รู้สึกปลอดภัยขึ้น

2

ยกตัวลูกให้สูงขึ้นอย่ำงนุ่มนวล ยกลูกขึ้นจากที่นอนอย่างนุ่มนวลโดยยังคงโน้มตัวไป ข้างหน้า พร้อมดูให้แน่ใจว่าประคองศีรษะของเขาไว้อย่าง ดีแล้ว จากนั้นพยายามให้ศีรษะของลูกยกสูงเล็กน้อยเหนือ ระดับล�าตัวส่วนอื่น ถ้าลูกตื่นอยู่ควรพูดคุยและสบตาใน ขณะยกตัวเขาขึ้น

ลูกพักอยู่ตรงข้อพับแขนของคุณ 3ให้ในขณะที ค่ ณุ น�าลูกน้อยเข้ามาใกล้หน้าอก ให้เลือ่ นมือ

ข้างทีป่ ระคองก้นของเขาขึน้ มาประคองหลัง พับแขนอีกข้าง หนึ่งของคุณ แล้วยืดออกไปเพื่อประคองล�าตัวของลูกตาม ยาวและให้ศีรษะอยู่ตรงข้อพับแขนพอดี

กำรวำงลูกลง

เพียงท�าตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 แบบ ย้อนกลับ โดยน�าลูกออกห่างจากตัวคุณ อย่างนุ่มนวลในขณะที่ใช้มือข้างหนึ่ง ประคองศีรษะและคอของเขา ส่วนอีก ข้างหนึ่งประคองก้น การยกตัวขึน้ จากท่านอนหงาย 7


การยกตัวขึ้นจากท่านอนคว�่า ส่วนใหญ่คณุ จะต้องยกตัวลูกน้อยขึน้ จากท่านอนหงาย เนื่องจากเป็นท่านอนที่ปลอดภัยที่สุดส�าหรับเด็กทารก อย่างไรก็ตามอาจมีบางโอกาสที่จะต้องยกตัวลูกขึ้นจาก ท่านอนคว�่า ตัวอย่างเช่น เมื่อวางลูกคว�่าเพื่อให้เล่น หรือ เมื่อลูกกลิ้งตัวระหว่างนอนหลับ (ซึ่งมีโอกาสเกิดบ่อยขึ้น เรื่อยๆ เมื่อเขาโตขึ้น) ในช่วงแรกคุณอาจรู้สึกว่าการยกท่านี้เงอะงะ แต่เมื่อ มีประสบการณ์มากขึ้นจะรู้สึกเป็นธรรมชาติ แนวทางที่ให้ ไว้จะท�าให้คุณมั่นใจได้ คุณควรระวังอย่าฝืนหลังตัวเองเช่นเดียวกับการยก ทารกทุกท่า โต๊ะเปลีย่ นเสือ้ ผ้า คอก ทีน่ อนและอ่างอาบน�า้ ของเด็กทารกควรอยูป่ ระมาณระดับเอวทัง้ หมด ซึง่ จะช่วย ให้การเคลือ่ นไหวของคุณทัง้ ปลอดภัยและสะดวกสบายขึน้

เวลำท้องแตะพืน้ แม้ลกู น้อยยังเล็กมาก แต่เพือ ่ พัฒนาการทีเ่ หมาะสม ควรให้ลกู นอนท้องแตะพืน้ หรือทีน่ อนบ้าง เพียงแค่ อย่าทิง้ ให้เขาอยูค่ นเดียวในท่านี้

8 การจับอุม้ ลูก

เมือ ่ ลูกโตขึน้

อายุประมาณไม่เกิน 6 เดือน ลูกควรกลิ้งตัว จากนอนหงายเป็นนอนคว�่าได้ ดังนั้นแม้คุณจับ ให้ลกู นอนหงาย เขาก็จะพลิกตัวกลับได้ แล้วคุณก็จะ ต้องยกตัวเขาขึ้นจากท่านอนคว�่า


1

ประคองท้องและศีรษะลูก สอดมือข้างหนึ่งเข้าไประหว่างขาของลูกเพื่อให้ฝ่ามือ ของคุณวางบนท้องและทรวงอกของเขา แล้วค่อยๆ วางมือ อีกข้างหนึง่ ไว้ใต้แก้มให้ใบหน้าของลูกหันข้าง พร้อมประคอง ศีรษะให้ดีและอยู่แนวเดียวกับล�าตัวส่วนอื่น

2

ประคองท้องและทรวงอกลูก ค่อยๆ ยกลูกขึ้นโดยดูให้แน่ใจว่ารับน�้าหนักตัวของ เขาได้อย่างดีแล้ว โดยเลื่อนมือข้างที่อยู่ใต้แก้มมาอยู่รอบ ทรวงอก ในขณะที่ยกขึ้นให้เริ่มหมุนตัวลูกเข้าหาล�าตัวของ คุณเองอย่างนุม่ นวล และคงศีรษะของลูกไว้ให้สงู เหนือล�าตัว ส่วนอื่นเล็กน้อย

3

อุ้มลูกไว้ในอ้อมแขนอย่ำงระมัดระวัง เมือ่ื ลูกหันตัวเข้าหาตัวคุณ ให้เลือ่ นมือข้างทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ขาของเขามาอยู่ที่ใต้ก้น พร้อมลดแขนอีกข้างหนึ่งลง ให้ศีรษะของลูกพักอยู่ตรงข้อพับแขนของคุณ ส่วนแขน ท่อนล่างของคุณประคองศีรษะและล�าตัวของลูก โดยอุม้ เขา ไว้ในอ้อมแขนอย่างระมัดระวัง

การยกตัวขึน้ จากท่านอนคว�า่ 9


การอุ้มลูก เด็กทารกทุกคนชอบการสัมผัสทางกาย อันที่จริง พวกเขาจ�าเป็นต้องได้รบั การอุม้ และกอดเพือ่ ให้รสู้ กึ มัน่ คง และเป็นที่รัก ในฐานะคุณพ่อคุณแม่มือใหม่จะพบว่า ตนเองอุ้มลูกบ่อยทีเดียวขณะที่ลูกตื่น อย่างไรก็ตาม ควรตระหนั ก ถึ ง สิ่ ง ส� า คั ญ ที่ ต ้ อ งไม่ ท� า ให้ เ ด็ ก ทารก เป็นอันตราย เช่น ยกหม้อน�้าร้อนหรือเอื้อมหยิบของ ในขณะที่อุ้มลูกอยู่ ลูกน้อยแรกเกิดต้องการให้คุณอุ้มแนบกับตัว เขาเพิ่ง ออกมาจากพื้นที่จ�ากัดในครรภ์ ดังนั้นเขาจะรู้สึกมีความ สุขและสบายกว่าถ้าถูกอุ้มอย่างนุ่มนวลแต่มั่นคงในอ้อม แขนของคุณโดยที่แขนขาของเขาอยู่แนบล�าตัว ส่วนคุณนั้น การอุ้มลูกจะเปิดโอกาสให้ได้เห็นจังหวะ เปลีย่ นแปลงของการแสดงสีหน้า เมือ่ ลูกค้นพบโลกรอบตัว มากขึ้นจนกว่าเขาจะสามารถชันคอได้ด้วยตนเอง ดังนั้น ทุกครั้งทีค่ ุณยกหรืออุม้ ลูกจ�าเป็นต้องคอยประคองคอของ เขาไว้เสมอ

เมือ ่ ลูกโตขึน้

เมื่อลูกน้อยควบคุมคอดีพอและสามารถชันคอให้ ศีรษะตรงได้แล้วตอนอายุประมาณ 4 เดือน เขาจะ ต้องการการประคองน้อยลง ซึ่งมีวิธีอุ้มลูกหลายแบบ เพื่อให้เขาเห็นสิ่งรอบตัวในมุมต่างๆ หันไปข้างหน้า

อุ ้ ม ลู ก ให้ ห ลั ง พิ ง ตั ว คุณโดยให้แขนข้างหนึ่ง ของคุ ณ อยู ่ ใ ต้ แ ขนและ พาดอยู่บนทรวงอกของ เขา จากนั้นใช้มืออีกข้าง หนึ่งประคองก้นเขาไว้

อยูบ่ นสะโพกของคุณ

ให้ ลู ก นั่ ง คร่ อ มบน สะโพกโดยให้ ข าสอง ข้างอยู่บนล�าตัวของคุณ แล้วจึงประคองให้มอื ข้าง หนึ่งพาดอยู่บนหลังของ เขา หากขาของเขายึดไว้ ไม่ดีพอควรใช้มืออีกข้าง หนึง่ ช่วยประคองก้นด้วย


กำรอุ้มลูก

นอนคว�ำ่ ในอ้อมแขนของคุณ

ประคองศีรษะของลูกไว้ตรงข้อพับแขนของคุณโดยให้ แขนท่อนล่างของคุณรองรับทรวงอกของลูกไว้ แล้วสอด แขนอีกข้างหนึ่งเข้าไประหว่างขาของเขาให้มือของคุณอยู่ ตรงท้องพอดี นอนหงำยในอ้อมแขนของคุณ

ประคองหลังของลูกไว้ตรงข้อพับแขนข้าง หนึ่งโดยให้แขนอีกข้างอยู่ใต้ก้นของเขา คุณ อาจอุ้มลูกด้วยแขนข้างเดียวได้ แต่ต้องดูให้ แน่ใจว่าแขนนัน้ ประคองศีรษะ หลังและก้นของ เขาได้ทงั้ หมด อย่างไรก็ตามการอุม้ ลูกด้วยมือ 2 ข้างจะประคองได้ดีกว่า ซบที่ ไหล่ของคุณ

ใช้มือข้างหนึ่งประคองก้นของลูก ส่วนมือ อีกข้างประคองคอและหลังส่วนบน

การอุม้ ลูก 11


การใช้ผ้าแขวน ผ้าแขวนเป็นผ้าผืนยาวทีใ่ ช้อมุ้ ลูกให้อยูใ่ กล้กบั ทรวงอก ขณะทีค่ ณุ พาเขาไปไหนมาไหนทัง้ ในและนอกอาคาร บาง รูปแบบปล่อยให้แขนขาเป็นอิสระ หรือบางรูปแบบคลุมลูก น้อยทั้งตัว แต่ผ้าแขวนอาจพยุงทารกได้ไม่ดีเท่าเป้อุ้มเด็ก (ดูหน้า 14) ดังนั้นหลายรุ่นเหมาะกับเด็กทารกอายุน้อยๆ มากกว่า คุณจึงควรอ่านค�าแนะน�าให้ดีก่อนใช้เสมอ ผ้าแขวนหรือผ้าห่อ (ซึ่งโดยทั่วไปมีผ้ามากกว่าผ้า แขวนธรรมดา) ท�าให้คุณท�างานในแต่ละวันได้ในขณะที่ ยังคงท�าให้ลูกอบอุ่น สบายและปลอดภัย ลูกน้อยจะชอบ ความรูส้ กึ ใกล้ชดิ เช่นนี้ แท้จริงแล้ว คุณพ่อคุณแม่สว่ นใหญ่ มักกล่าวว่าตนรู้สึกใกล้ชิดกับลูกมากขึ้นเมื่อหัด “สวมใส่ ทารก” ถ้าทั้งคุณพ่อคุณแม่ก�าลังจะใช้ผ้าแขวนหรือผ้าห่อ ให้ตรวจสอบก่อนว่าผ้าที่ใช้สามารถปรับเข้ากับขนาดตัว ที่แตกต่างกันของคุณทั้งสองได้ ผ้าแขวนท�าให้คณุ สามารถอุม้ ลูกในท่าต่างๆ ได้ จากท่า เกือบนอนราบถึงตัวตัง้ ตรง ลูกอาจหันเข้าหาตัวคุณ หันขึน้ ด้านบน หรือหันออกก็ได้ แต่คุณต้องไม่จับลูกหันหน้า ลงด้านล่างขณะอยูใ่ นผ้าแขวน เพราะผ้าอาจอุดจมูกและปาก ได้ หรืออย่าอุ้มให้คางของลูกกดลงหาทรวงอกของเขาเอง เพราะจะท�าให้หายใจไม่สะดวกเช่นกัน มีเพือ ่ นตลอดเวลำ ผ้าแขวนหรือผ้าห่อท�าให้ลกู น้อยอยู่ใกล้ชดิ กับคุณ ซึง่ เป็นทีๆ่ เขามีความสุขและมัน่ ใจทีส่ ดุ เมือ ่ ได้ยนิ เสียงและหัวใจของคุณ เต้น พร้อมรับรู้ถึงการ เคลือ ่ นไหวขณะทีค่ ณ ุ ท�ากิจวัตรประจ�าวันต่างๆ

12 การจับอุม้ ลูก


กำรวำงลูกในผ้ำแขวน

1และข้ามไหล่เพือ่ ท�าตัว “X” ทีห่ ลัง สวมผ้ำแขวน พันผ้าห่อรอบเอว

ของคุณโดยปฏิบัติตามค�าแนะน�าของ ผู้ผลิต ไขว้ด้ำนหน้ำ และผูกไขว้ปลาย ทั้งสองบนทรวงอกและรอบเอว แล้วผูกไว้ด้านหลังช่วงเอว วำงลู ก ไว้ ด ้ ำ นใน ยกตั ว ลู ก เข้าไปในถุงผ้าที่เป็นตัว “X” บน ทรวงอกอย่างนุ่มนวล ยิ่งเด็กทารกตัว เล็ก ตัว “X” ยิ่งควรอยู่สูง ปรับถุงผ้ำ ดูให้แน่ใจว่าเด็กทารก อยู่นิ่งมั่นคงก่อนที่จะยกผ้าขึ้น คลุมหลังของเขา ขาเด็กตัวเล็กจะเก็บ อยูใ่ นถุงผ้า ส่วนขาเด็กทีโ่ ตขึน้ จะห้อย อย่างอิสระ

2 3 4

ระวัง ถ้าลูกน้อยเกิดก่อนก�าหนดหรือมี ปัญหาด้านการหายใจหรือเป็นหวัด ให้ขอค�าแนะน�าก่อนใช้ผ้าแขวน ผ้าแขวนควรแนบกับล�าตัวของคุณ ให้พอดี ลูกควรอยู่ชิดกับทรวงอก ของคุณ ไม่ใช่เอวหรือสะโพก ใบหน้าและทรวงอกของลูกควรอยู่ ด้านบนโดยไม่ให้ล�าตัวและคางกด ทรวงอก คุณควรมองเห็นใบหน้า ของลูกได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องเลิก ผ้าส่วนใดขึ้น การใช้ผา้ แขวน 13


สำหรับคุณแมมือใหม • คู มือขนาดพกพาเล มนี้จะเป นแนวทางให กับคุณแม มือใหม

สำหรับการเลี้ยงลูกได อย างถูกว�ธ�และปลอดภัย • ภาพถ ายแสดงว�ธ�การเลี้ยงลูกน อยทีละขั้นตอน พร อมคำอธ�บาย

ที่อ านง าย เพื่อให คุณแม มือใหม มีความมั่นใจในการเลี้ยงลูก • ครอบคลุมการเลี้ยงลูกวันต อวัน ทั้งการป อนอาหาร

การเปลี่ยนผ าอ อม การอาบน�ำ การอุ มจับ การแต งตัว และการปลอบ เป นต น • มีคำแนะนำเร�่องการสร างความคุ นเคยกับลูกผ านทางการสัมผัส

และการนวด รวมถึงว�ธ�การส งเสร�มพัฒนาการทางกาย และทางอารมณ ของลูก

Dr.Frances Williams แพทย เวชปฏิบตั ทิ ว่ั ไป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ผูซ ง่� ได ทำงานกับคุณพ อคุณแม และทารกหลายร อยคน และยังได มสี ว น ทำหนังสือทางการแพทย และสุขภาพหลายเล มเพือ่ สาธารณชนทัว่ ไป

หนังสือคุณภาพ ลิขสิทธ�์จาก Carroll & Brown ประเทศอังกฤษ เสริมความรู ISBN 978-616-527-473-9

www.MISbook.com

9

786165 274739

130.-

คูม อื การเลีย้ งลูกสำหรับคุณแมมอื ใหม

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

BABYCARE Day by Day

• แนวทางการปฐมพยาบาลเมื่อเกิดสถานการณ ฉุกเฉินข�้นกับลูก

คูมือการเลี้ยงลูกสำหรับ คุณแมมือใหม

คูมือการเลี้ยงลูก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.