สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-923-9
9
786165
279239
หมวด : สารานุกรม 125.-
ธรรมชาติ
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
ธรรมชาติ หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 150 คำ
www.MISbook.com
สารานุกรมประกอบภาพ
ธรรมชาติ ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
NATURE www.MISbook.com
ISBN : 978-616-527-923-9 ราคา 125 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ
www.MISbook.com
ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA NATURE Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล ศิริเพ็ญ เชาว์สมบัติ ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ พิสูจน์อักษร ประไพ ภูงามเชิง เสียงบรรยาย Talking Pen นิดาวรรณ อนันต์ไพศาลสิน ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช
จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ
สารานุกรมประกอบภาพ
ธรรมชาติ ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
NATURE www.MISbook.com
สารบัญ นิเวศวิทยา
6
โลกแห่งชีวนิเวศ
8
วัฏจักรแห่งธรรมชาติ
10
ป่าดิบชื้นเขตร้อน
12
พื้นที่ชุ่มน�้ำ
14
ใต้พื้นดิน
22
แม่น�้ำและหนองน�ำ้
24
ภูเขา www.MISbook.com
ทะเลทราย
16
ทุ่งหญ้า
18
ป่าไม้
20
26
มนุษย์กับธรรมชาติ
28
ดัชนี
30
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้
แ
ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “เกร็ดน่ารู้”
เกร็ดน่ารู้
บทน�ำ
อธิบายหัวข้อโดยรวมและ ให้ความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็น
อักษรตัวหนา
ใช้เน้นค�ำที่มีความส�ำคัญที่ไม่มี แสดงในรายการค�ำอธิบายอื่น
เกร็ดน่ารูเ้ พิม่ เติมเกีย่ วกับหัวข้อ นั้นๆ ที่แสดงเป็นข้อๆ ซึ่งง่าย ต่อการอ่าน
www.MISbook.com
ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย
แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วยค�ำอธิบาย สั้นๆ ว่าหมายถึงอะไร
เลขหน้า
เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ
โลก
นิเวศวิทยา
ชีวนิเวศในป่าดิบชื้น
ระบบนิเวศของร่มไม้ ในป่าดิบชื้น
นิ
เวศวิทยา คือการศึกษาความสัมพันธ์ของ สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ ร่วมกัน ทุกชีวิตแทบจะอยู่ล�ำพังเองไม่ได้ ต่าง ต้องพึ่งพาและมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันเพื่อความอยู่ รอด อาทิ อาหารการกิน ตัวอย่างเช่น สัตว์ กินบางส่วนของพืช แล้วพืชก็เจริญเติบโตเพราะมูล ของสัตว์นนั้ เป็นปุย๋ ธรรมชาติให้แก่พชื นิเวศวิทยา ยังศึกษาเกี่ยวกับการด�ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่ อยู่ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตต่างๆ ด้วย เช่น น�ำ้ ดิน และหิน รวมไปถึงการที่สิ่งมีชีวิต สามารถรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไป เช่น ลมฟ้าอากาศและฤดูกาล
1
2
การปรับตัว (Adaptation) คือกระบวนการที่สิ่งมีชีวิต
ปรับร่างกายหรือพฤติกรรมของตนจากรุน่ สูร่ นุ่ ให้เหมาะ กับสิ่งแวดล้อม สัตว์จะปรับตัวตามสภาพภูมิอากาศ แหล่งอาหาร และการหลบหลีกสัตว์นกั ล่า เช่น กระต่าย อาร์กติกมีขนหนาเพื่อให้ร่างกายอบอุ่น มีประสาท ในการดมกลิน่ เป็นเลิศ เพือ่ ช่วยหาอาหารจ�ำพวกพืชที่ อยู่ใต้หมิ ะ และมีขนสีขาวทีก่ ลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
3 4
กลุ่มสัตว์ (Colony) คือกลุ่มของสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัย
อยู่ร่วมกัน สัตว์บางชนิด เช่น มด จะสร้างกลุ่มอยู่ร่วม กันอย่างถาวร ช่วยกันหาอาหารและผสมพันธุ์ในกลุ่ม เสมือนเป็นหนึ่งอาณาจักร ส่วนสัตว์ชนิดอื่นๆ จะอยู่ รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อผสมพันธุ์เท่านั้น
คือ จ�ำนวนสายพันธุข์ องสิง่ มีชวี ติ ทีแ่ ตกต่าง ชุมชน (Community) คือกลุ่มของสัตว์ต่างชนิดกัน ทีอ่ าศัยอยู่ร่วมกันในสภาพแวดล้อมเดียวกัน สัตว์ต่าง กันในระบบนิเวศหนึ่ง ชนิดเหล่านี้จะมีปฏิสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยกันเพื่อ มวลชีวภาพ (Biomass) คือมวล ความอยู่รอด รวม (น�ำ้ หนัก) ของสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิด ที่ประกอบกันเป็นระบบนิเวศหนึ่ง (Biodiversity)
www.MISbook.com
6
ชีวมณฑล
คือ โลกแห่งการอยู่อาศัย ซึ่งรวม ทุกหนแห่งที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เช่น แผ่นดิน มหาสมุทร และ ชั้นบรรยากาศ
นกหัวขวาน
กระรอก
รังนก ค้างคาว ต้นโอ๊กหนึง่ ต้นเป็นตัวอย่าง ของระบบนิเวศขนาดเล็ก ซึง่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ หลากหลายชนิด
(Biosphere)
ภูมอิ ากาศ (Climate) คือสภาพ
อากาศเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่ หนึ่งซึ่งกินระยะเวลายาวนาน ภูมิอากาศของแต่ละบริเวณขึ้น อยู่กับต�ำแหน่งที่ตั้งเป็นหลัก แต่ก็ อาจได้รับผลกระทบจากระดับความสูง เหนือน�ำ้ ทะเล กระแสลมหรือคลื่นในมหาสมุทร พื้นที่ในเขตร้อนชื้นจะทั้งร้อนและชื้นตลอดปี พื้นที่ใน เขตทะเลทรายจะแห้งแล้งมาก พื้นที่ที่อยู่ ระหว่างเขตร้อนกับขั้วโลกจะ ตัวตุ่น มีสภาพอากาศอบอุ่นในฤดู ร้อนและหนาวเย็นในฤดูหนาว ส่วนบริเวณขั้วโลกอากาศจะ หนาวจัดตลอดเวลา
สัตว์ริมทะเลต้องปรับตัวให้เข้ากับแสงแดด สายลม เกลียว คลื่น และการเปลี่ยนแปลงของระดับน�ำ้ ทะเล มีเพียงสัตว์ บางชนิดเท่านั้นที่อยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมเช่นนี้
ระบบนิเวศ
คืออาณาเขตใดอาณาเขต หนึ่งที่สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ใน หนึ่งระบบนิเวศจะประกอบด้วยถิ่นที่อยู่หลากหลาย แบบ อาจเป็นบริเวณเล็กๆ เฉกเช่นต้นไม้หนึง่ ต้น หรือ บริเวณกว้างใหญ่เทียบเท่าป่าไม้ทงั้ ป่า สัตว์หลากหลาย สายพันธุท์ อี่ ยู่ในระบบนิเวศทัง้ หมดมีความเชือ่ มโยงกัน ผ่านสายใยอาหาร (Ecosystem)
ชุมชนในร่มไม้
นักนิเวศวิทยาได้แบ่งชีวมณฑลของโลกออกเป็นหน่วยที่เล็กลง ได้แก่ ชีวนิเวศ ระบบนิเวศ ชุมชน และชีพพิสัย ลิงฮาวเลอร์
เกร็ดน่ารู้ Ecology (นิเวศวิทยา) มีรากศัพท์มาจากค�ำว่า oikos (ecos) ในภาษากรีกโบราณ หมายถึง “บ้าน” นิเวศวิทยาจึงเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วย “การ ดูแลบ้านของธรรมชาติ” ถิ่นที่อยู่ที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ แถบชายฝั่งทะเล เพราะมีปรากฏการณ์น�้ำขึ้น น�้ำลงที่เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมวันละ 2 ครั้ง ส่วนถิ่นที่อยู่ที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุดแห่ง หนึ่งก็คือ บริเวณก้นมหาสมุทร ซึ่งมีความนิ่ง มืดมิด และหนาวเย็นตลอดเวลา นิเวศวิทยาช่วยให้เราเข้าใจถึงผลกระทบที่ มนุษย์กระท�ำต่อสิ่งแวดล้อม และเรียนรู้ที่จะลด ความเสียหายซึ่งเกิดจากมนุษย์เป็นผู้ก่อ
การเปลี่ยนแปลงแทนที่
เฉพาะถิ่น
คือสายพันธุ์สัตว์ที่พบเฉพาะ ในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง อาทิ เกาะ ตัวอย่างเช่น ลิงลีเมอร์ทุกสายพันธุ์เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นของเกาะ มาดากัสการ์ (Endemic)
สิ่งแวดล้อม
www.MISbook.com
คือสภาพแวดล้อมที่ สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตอยู่ร่วมกัน (Environment)
ถิ่นที่อยู่ (Habitat) คือประเภทของสภาพแวดล้อมที่ พืชหรือสัตว์อาศัยอยู่ บริเวณผืนป่า ที่ลุ่มชื้นแฉะ และ ทะเลสาบล้วนแล้วแต่เป็นประเภทของถิ่นที่อยู่ทั้งสิ้น
ชีพพิสัย
คือการ เปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศทีเ่ ป็นไปอย่างช้าๆ ตาม ธรรมชาติ เช่น ถ้าป่าไม้ถูกท�ำลาย มันอาจจะค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้นมาใหม่ ในช่วงกระบวนการดังกล่าว พืช และสัตว์จะย้ายไปยังอีกพื้นที่หนึ่ง ท�ำให้เกิดการ สิ่งมีชีวิต (Organism) คือสิ่งที่มีชีวิตทุกชนิด เปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมจนท�ำให้ป่าแห่งนั้น ประชากร (Population) คือกลุม่ ของพืชหรือสัตว์ชนิด เหมาะกับสิง่ มีชวี ติ สายพันธุอ์ นื่ มากกว่า ในทีส่ ดุ ระบบ เดียวกันที่อาศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณหนึ่ง นิเวศจะถึงจุดคงที่ หรือทีเ่ รียกว่า “จุดสมบูรณ์สงู สุด” ความสามารถในการผลิต (Productivity) คือความ ในทีส่ ดุ ต้นไม้จะเจริญเติบโตเป็นต้นสูงใหญ่ รวดเร็วในการสร้างมวลชีวภาพของระบบนิเวศ เช่น ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของระบบนิเวศในผืนป่า ป่าดิบชื้นเขตร้อนเป็นระบบนิเวศที่มีความ อุดมสมบูรณ์ ท�ำให้สงิ่ มีชวี ติ เติบโตเร็วมาก
คือบทบาทหรือหน้าที่ของพืชหรือ สัตว์เมื่ออยู่ในชุมชนของตน รวมถึงลักษณะต่างๆ เช่น ที่อยู่อาศัย พฤติกรรม และอาหาร เป็นต้น ต้นไม้และพุม่ ไม้ทมี่ ขี นาดใหญ่กว่าเจริญเติบโต (Niche)
กระบวนการ เปลี่ ย นแปลง แทนที่ ผืนดินเปล่าที่มี เฉพาะพืชพันธุ์ เล็กๆ
กระแสลมพัดพาเมล็ดพันธุพ์ ชื ให้ มาตกลงบนผืนดินและเติบโตเป็น ดอกไม้ แล้วแมลงก็กนิ น�้ำหวาน จากดอกไม้
กลายเป็นแหล่งอาหารและทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ พันธุ์ที่ใหญ่ขึ้น
(Succession)
7
โลกแห่งชีวนิเวศ
ชี
วนิเวศเป็นระบบนิเวศขนาดใหญ่ที่มีกลุ่มพืช สัตว์ และภูมิอากาศใกล้เคียงกันใน ภูมิภาคที่แตกต่างกันทั่วโลก เช่น ผืนป่าที่มีต้นโอ๊ก ต้นบีช ต้นเมเปิล และพืชใบ กว้างชนิดอื่น ท�ำให้เกิดชีวนิเวศของผืนป่าเขตอบอุ่นขึ้น ชีวนิเวศบนโลกตามธรรมชาติ มีอยู่อย่างมากมายหลากหลายกลุ่ม โดยในที่นี้จะแบ่งเป็น 9 กลุ่ม ชีวนิเวศแต่ละกลุ่ม เป็นผลิตผลจากสภาพภูมิอากาศ ลักษณะหินและดินของแต่ละภูมิภาค
ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทร แอตแลนติก
มหาสมุทร ผืนป่า
ทวีปอเมริกาใต้
ป่าบอเรียล
ขั้วโลก
(POLAR) บริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ปกคลุมด้วยน�ำ้ แข็งเกือบตลอดปี เป็นชีวนิเวศแบบขัว้ โลก
มหาสมุทร แปซิฟิก
ทุ่งหญ้า ทุ่งไม้พุ่ม
www.MISbook.com ป่าไม้เขตร้อน
8
ทะเลทราย ภูเขา
ทะเลทราย (DESERT) ทะเลทรายเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่ง ของโลกทีฝ่ นตกน้อยมากและแผ่นดินแห้งแล้งตลอดเวลา
ขั้วโลก นี่คือโลกแห่งชีวนิเวศที่เกิดตามธรรมชาติ โดยที่ ยังไม่ได้รับผลกระทบจากน�ำ้ มือของมนุษย์ ภูเขา
ทุ่งไม้พุ่ม
ทุ่งไม้พุ่มเป็นภูมิภาคกึ่ง แห้งแล้งที่มีแต่ไม้พุ่มเตี้ยๆ พุ่มไม้ และต้นหญ้า (SCRUBLAND)
ป่าสน ทะเลสาบ ผืนป่า
มหาสมุทร
มหาสมุทรเป็นแหล่งน�ำ้ เค็มที่ ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลก นับเป็นชีวนิเวศที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด (OCEAN)
ปากแม่นำ�้
ทุ่งหญ้า ชายฝั่งทะเล มหาสมุทร
มหาสมุทรอาร์กติก
ภูเขา
พื้นที่สูงที่มีอากาศหนาวเย็น ทั่วโลกจัดเป็นชีวนิเวศแบบภูเขา พืชและสัตว์ที่ทรหด อดทนเท่านั้นถึงจะอยู่รอดได้
ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย
(MOUNTAIN)
มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปแอฟริกา ป่าบอเรียล
(BOREAL FOREST) ชี ว นิ เ วศแบบ บอเรี ย ลพบในแถบซี ก โลกเหนื อ ที่ มี อ ากาศหนาว เย็น ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้จ�ำพวกสนเขาที่ทนอากาศ หนาวเหน็บได้
มหาสมุทรอินเดีย
ทวีปออสเตรเลีย
มหาสมุทรใต้
www.MISbook.com ผืนป่า
(WOODLAND) ผืนป่าในเขตอบอุ่นมีอากาศ อบอุ่นในฤดูร้อน และในฤดูหนาวอากาศไม่หนาว จัด ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดี แต่พืชใบกว้างใบจะร่วงใน ฤดูหนาว
ทวีปแอนตาร์กติกา
สภาพแวดล้อม
ป่าดิบชื้นเขตร้อน (TROPICAL RAINFOREST) ป่า
ไม้เขตร้อนเป็นป่าที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรซึ่งมีภูมอิ ากาศ ร้อนชื้นตลอดปี
ที่ลุ่มชื้นแฉะแถบ ชายฝั่ง
ทะเลทราย
แม่น�้ำ
ดินดอนปากแม่นำ�้
ทุง่ หญ้า (GRASSLAND) ทุง่ หญ้าเป็นบริเวณทีม่ ปี ริมาณ
น�้ำฝนมากกว่าเขตทะเลทรายแต่น้อยกว่าเขตป่าไม้ ทุ่ง หญ้าสะวันนาในทวีปแอฟริกาเป็นทุ่งหญ้าผสมต้นไม้
9
วัฏจักร แห่งธรรมชาติ
โ
ลกของเรามีสารเคมีจำ� นวนจ�ำกัด สารเคมีทอี่ ยู่ ในธรรมชาติ เช่น ก๊าซออกซิเจนและคาร์บอน จะไม่ก่อตัวขึ้นใหม่หรือถูกท�ำลายไป แต่จะถูก หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ซึง่ หมายถึงว่า สารเคมี เหล่านี้จะหมุนเวียนอยู่ในธรรมชาติในรูปของแร่ ธาตุและสารอาหาร บนพื้นดิน สารเคมีเหล่านี้จะ อยูใ่ นดินและเป็นแร่ธาตุให้กบั พืช แล้วพืชก็จะถูก สัตว์กินพืชกินเป็นอาหาร แล้วสัตว์ที่กินพืชนั้น ก็อาจถูกสัตว์กนิ เนือ้ กินต่ออีกทอดหนึง่ สารอาหาร เหล่านีจ้ ะกลับคืนสูพ่ นื้ ดินอีกครัง้ เมือ่ พืชหรือสัตว์ ตายลงและเน่าเปื่อยสลายไป
วัฏจักรคาร์บอน
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในอากาศ พืชปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ในตอนกลางคืน พืชรับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ขณะสังเคราะห์แสง
สัตว์กินพืชและรับ คาร์บอนเข้าไป
ยอดนักล่า (Apex predator) คือสัตว์ในกลุม่ นักล่าที่ อยูบ่ นสุดของห่วงโซ่อาหาร ไม่มสี ตั ว์อนื่ ในธรรมชาติ มาล่ามันเป็นอาหาร 10
คาร์บอน
ผู้ย่อยสลาย เช่น แบคทีเรีย จะช่วยย่อยสลายพืชหรือสัตว์ ที่ตายแล้วรวมทั้งสิ่งปฏิกูล จากสัตว์ แล้วจะปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
สัตว์ตายและ ย่อยสลาย
สิ่งปฏิกูลของสัตว์ มีคาร์บอนผสมอยู่
www.MISbook.com
คือธาตุเคมีที่ประกอบกันเป็น ส่วนหนึง่ ในเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ ร่างกายของสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดประกอบด้วยโมเลกุลทีม่ คี าร์บอนเป็นพืน้ ฐาน (Carbon)
ห่วงโซ่อาหาร
วัฏจักรคาร์บอน (Carbon cycle) คือวัฏจักรของคาร์บอน ผู้บริโภค
แมวป่า ลิงซ์ หมี (ยอดนักล่า)
หนูผี
เหยี่ยว
สัตว์หายใจออกเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
คือสิ่งมีชีวิตที่ได้รับพลังงาน ในธรรมชาติ โดยเริ่มจากพืชน�ำคาร์บอนในรูปของ จากการกินสิง่ มีชวี ติ ชนิดอืน่ ผูบ้ ริโภคเรียกอีกอย่างหนึง่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาใช้ในการ ว่า เฮเทโรทรอฟ (heterotroph) หมายถึง สิ่งมีชีวิต สังเคราะห์แสงและเจริญเติบโต เมือ่ สัตว์กนิ ที่สร้างอาหารเองไม่ได้ สัตว์ทุกชนิดคือผู้บริโภค พืชเข้าไปและใช้สสารที่มีคาร์บอน ผู้ย่อยสลาย (Decomposer) คือสิ่งมีชีวิตที่ย่อยสลาย เป็นพืน้ ฐานในการเสริมสร้างร่างกาย ซากสิง่ มีชวี ติ ทีต่ ายแล้วเพือ่ ให้ได้สารอาหารกลับมาใช้ และพลังงาน กระบวนการดัง ใหม่ เชือ้ รา แบคทีเรีย และสัตว์บางชนิด เช่น ไส้เดือน กระต่าย กล่าวจะผลิตก๊าซ จัดอยู่ในกลุ่มผู้ย่อยสลาย พืช คาร์บอนไดออกไซด์ ออกมาในรูปของ ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) คือล�ำดับทีเ่ ริม่ ต้นจากพืช เสียซึ่งจะถูกดูดซึม ที่ถูกสัตว์กิน แล้วสัตว์นั้นก็ถูกสัตว์อื่นกินต่อเป็นทอดๆ แมลง เข้าไปในอากาศและ สัตว์ส่วนใหญ่กินอาหารหลากหลายชนิด ดังนั้น สัตว์ จะถูกหมุนเวียนกลับ เหล่านี้จึงอยู่ในห่วงโซ่อาหารหลายห่วงโซ่ มาใช้อีก สายใยอาหาร (Food web) คือห่วงโซ่อาหารอันหลาก สัตว์กินเนือ้ (Carnivore) คือ หลายทีอ่ ยู่ในระบบนิเวศทัง้ หมด และมีความเชือ่ มโยงกัน สัตว์ที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร นก (Consumer)
ฟ้าแลบท�ำให้ไนโตรเจน และออกซิเจนรวมตัวกัน แล้วตกลงมาเป็นฝนที่ เป็นกรดอ่อนๆ
วัฏจักรไนโตรเจน
ก๊าซไนโตรเจนใน อากาศ
การสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) คือกระบวนการ
ทีพ่ ชื ใบเขียวใช้แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในการ เปลีย่ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน�ำ้ ให้เป็นน�ำ้ ตาล เพื่อเป็นอาหารของพืช
นักล่า (Predator) คือสัตว์ทดี่ ำ� รงชีพด้วยการล่าและ ฆ่าสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร
เหยือ่ (Prey) คือสัตว์ทถี่ กู สัตว์อนื่ ล่าและกินเป็นอาหาร ผู้ผลิต (Producer) คือสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเอง ได้ เช่น พืชสร้างอาหารเองได้จากแสงอาทิตย์ ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ และน�ำ้ ผูผ้ ลิตเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ออโตทรอฟ (autotroph) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ สร้างอาหารเองได้
ล�ำดับขัน้ การบริโภค (Trophic level) คือล�ำดับของ
สิ่งปฏิกูลจากสัตว์มีไนโตรเจน ผสมอยู่ สัตว์หรือพืชที่ตายแล้ว รวมถึงสิง่ ปฏิกลู จากสัตว์จะปล่อย สารไนโตรเจนลงดิน
สัตว์หรือพืชที่อยู่ในห่วงโซ่อาหาร ล�ำดับต�่ำสุดคือผู้ ผลิตซึ่งมีจ�ำนวนมาก ล�ำดับกลางคือผู้บริโภค และ ล�ำดับสูงสุดคือนักล่าขนาดใหญ่ซงึ่ มีจ�ำนวนน้อยกว่า
สัตว์กินและรับเอา ไนโตรเจน
วั ฏ จั กรน�้ ำ
รากของพืชดูดซึม ไนเตรต
แบคทีเรียสร้างไนไตรต์ ใน ดินและเปลี่ยนไนโตรเจน ให้เป็นไนเตรต
www.MISbook.com แบคทีเรียเปลีย่ นไนเตรตให้ เป็นไนโตรเจนแล้วปล่อย กลับสู่อากาศ
ไนเตรต ในดิน
สัตว์กินพืช (Herbivore) คือสัตว์ที่กินเฉพาะพืชเป็น ไนโตรเจน
คือก๊าซชนิดหนึ่งในอากาศ อาหาร ไม่มีสี สารประกอบไนโตรเจนพบได้ในเซลล์ของ แร่ธาตุ (Minerals) คือสสารไม่มีชีวิตที่มีสภาพเป็น สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ของแข็ง ประกอบด้วยธาตุเคมีที่มีอยู่ตามธรรมชาติ วัฏจักรไนโตรเจน (Nitrogen cycle) คือวัฏจักรของ ไนโตรเจนตามธรรมชาติ เริม่ จากแบคทีเรียสร้างไนไตรต์ ล�ำดับขั้นการบริโภค ในดินท�ำหน้าที่เปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนให้เป็นสสาร ชื่อ ไนเตรต เมื่อพืชดูดซึมไนเตรตผ่านราก สัตว์ก็ จะได้รับไนโตรเจนเมื่อพวกมันกินพืชนั้นเข้าไป เมื่อ สิง่ มีชวี ติ ตายลงก็จะปล่อยสารไนโตรเจนลงสูด่ นิ ซึง่ จะ ยอดนักล่า ถูกเปลี่ยนเป็นไนเตรตอีกครั้ง ส่วนแบคทีเรียเปลี่ยน ไนไตรต์ในดินจะท�ำหน้าที่เปลี่ยนไนเตรตให้เป็น ก๊าซไนโตรเจนและปล่อยคืนสู่อากาศ ผู้บริโภค
สารอาหาร
(Nitrogen)
คือสารเคมีที่จ�ำเป็นในการ บ�ำรุงร่างกายและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
เกร็ดน่ารู้ trophic (เกี่ยวกับโภชนาการ) มีรากศัพท์มา จากค�ำว่า trophe ในภาษากรีก หมายถึง “อาหาร บ�ำรุงร่างกาย” ก๊าซไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของอากาศ ที่อยู่รอบตัวเราประมาณ 78 % สัตว์กนิ พืชต้องกินอาหารบ่อยครัง้ ในแต่ละวัน ซึง่ ต่างจากสัตว์กนิ เนือ้ ทีเ่ ว้นช่วงในการกินอาหาร ได้ยาวนานกว่า เนือ่ งจากพลังงานในพืชมีน้อย กว่าในเนือ้ สัตว์
(Nutrients)
สัตว์ที่กินทั้งพืชและเนื้อ
ผู้ผลิต
คื อ กระบวนการที่ น�้ำหมุนเวียนจากมหาสมุทรหรือแผ่นดินไปยัง ชั้นบรรยากาศแล้วกลับสู่แหล่งน�้ำอีกครั้ง เมื่อโลก ได้รับความร้อนจากแสงแดด มวลน�้ำจะระเหย และกลายเป็นไอลอยขึ้นไปสู่ชั้นบรรยากาศ ขณะที่ ลอยสูงขึ้น มันจะเย็นและเกิดการควบแน่น ท�ำให้ ไอน�ำ้ ก่อตัวเป็นกลุม่ เมฆ และกลายเป็นฝนหรือหิมะ ที่ตกลงมายังพื้นดิน แล้วไหลลงสู่แม่นำ�้ หรือทะเล และจะด�ำเนินต่อไปเป็นวัฏจักรเช่นนี้ (Water cycle)
(Omnivore)
กินทั้งพืชและสัตว์อื่นเป็นอาหาร
คือสัตว์ที่
ไส้เดือนเป็นผู้ย่อยสลาย ที่ส�ำคัญ
11
ป่าดิบชื้น เขตร้อน
ป่
าดิบชื้นเขตร้อนเป็นป่าที่มีต้นไม้สูงใหญ่ขึ้น หนาแน่น และพบในภูมภิ าคซึง่ มีอากาศร้อน ชื้นตลอดปี สัตว์ป่าชนิดต่างๆ จะอาศัยอยู่บน พืชพรรณที่ลดหลั่นกันไปเป็นชั้นๆ สัตว์ที่พบใน ป่าดิบชื้นส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บนยอดไม้สูงที่ แสงแดดส่องถึง มีเพียงจ�ำนวนน้อยนิดทีอ่ าศัยอยู่ บนพื้นดิน สัตว์หลายชนิดอาศัยอยู่ในแม่น�้ำหรือ บางชนิดก็ตระเวนหาอาหารบนพื้นดิน
12
1 สลอธสามนิ้ว 2 ผีเสื้อซาร่าปีกยาว 3 นกโทโคทูแคน 4 นกแก้วมาคอว์สการ์เล็ต 5 หนูคาปิบารา 6 หมูป่าเพ็คคารี 7 งูอนาคอนด้า 8 นกป่าคิวรัสเซา 9 จระเข้เคแมน
รากพูพอน (Buttress roots) คือรากไม้ขนาดใหญ่ที่ ชัน้ เรือนยอด (Emergent layer) คือชัน้ ของพืชพรรณ
เจริญเติบโตเหนือพืน้ ดินเพือ่ ค�ำ้ ยันรากที่ไม่ได้อยูล่ กึ ลง ทีอ่ ยูส่ งู สุดในป่าดิบชืน้ หรือทีเ่ รียกว่า “เรือนยอด” เป็น ไปในดิน ส่วนใหญ่จะพบรากพูพอนในป่าดิบชื้นเพราะ กลุ่มต้นไม้ไม่กี่ต้นที่ตระหง่านเหนือชั้นร่มไม้ บางต้น สภาพดินไม่หนาแน่นพอทีร่ ากของพืชจะหยัง่ ลึกลงไปได้ สูงถึง 70 เมตร ชั้นเรือนยอดเป็นที่อยู่อาศัยของนก ชั้นร่มไม้ (Canopy layer) คือชั้นของพืชพรรณที่อยู่ ขนาดใหญ่ เช่น นกอินทรี
สูงสุดเป็นอันดับสองในป่าดิบชืน้ ซึง่ มีลกั ษณะเป็น “ร่ม พืชอิงอาศัย (Epiphytes) คือพืชขนาดเล็กทีอ่ าศัยพืช ไม้” ที่ออกดอกออกผลมากมาย และเป็นที่อยู่อาศัย ชนิดอื่นอยู่ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พืชไร้ราก พืช ของนก แมลง และฝูงลิงเป็นส่วนใหญ่ อิงอาศัยไม่สามารถเติบโตอยูบ่ นชัน้ พืน้ ดินที่ไร้แสงสว่าง ปลายหยด (Drip tip) คือส่วนปลายแหลมของใบไม้ ได้ ดังนัน้ พืชประเภทนีจ้ งึ เกาะตามชัน้ ร่มไม้ทแี่ สงแดด ที่มวลน�้ำไหลผ่านได้อย่างรวดเร็ว ต้นไม้หลายชนิด ส่องถึง โดยจะดูดซับความชื้นและสารอาหารจากฝนที่ ในป่าดิบชื้นมีลักษณะใบไม้เป็นปลายหยด เพื่อเลี่ยง ตกลงมาและจากผลไม้หรือใบไม้ที่ร่วงหล่น พืชไร้ราก บางชนิดจะกักเก็บน�ำ้ ฝนเอาไว้ในใบของมัน ซึง่ สัตว์อาจ ความเสียหายที่จะเกิดจากฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก มาดื่มกิน ล้างตัว หรือแม้กระทั่งอาศัยอยู่ได้
10 หมีนำ�้ ผึ้ง 11 งูเหลือมต้นไม้สมี รกต 12 ลิงกระรอก 13 ผีเสื้อเฮลิโคเนีย 14 กบต้นไม้ 15 นกฮัมมิงเบิร์ด 16 พืชอิงอาศัย 17 ลิงฮาวเลอร์ 18 ผีเสื้อจักรพรรดิ
www.MISbook.com 6
4 7
5 1
8 3
9
2
10
11
ชั้นพื้นดิน
รากแตกแขนง (Root mat) คือ
คือชั้นที่อยู่ระดับต�่ำสุดใน ป่าดิบชื้น เนื่องจากความหนาแน่นของชั้นร่มไม้ทำ� ให้ แสงอาทิตย์ลอดผ่านลงมาถึงชัน้ พืน้ ดินได้นอ้ ยมาก จึง มีเพียงพืชบางชนิดเท่านัน้ ทีเ่ จริญเติบโตได้ สัตว์จำ� พวก แมลงจะกินอาหารจากส่วนของพืชที่ย่อยสลายและ ร่วงหล่นจากต้นไม้ พวกมันจะกัดแทะเพื่อให้ได้ สารอาหาร ซึ่งสารอาหารเหล่านี้จะถูกดูดซึมลงไป ในดิน สัตว์ขนาดเล็กทีอ่ าศัยอยูต่ ามพืน้ ดินจะกินแมลง แล้วพวกมันก็จะถูกสัตว์อนื่ ทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า เช่น แมวป่าและงูกินต่ออีกทอดหนึ่ง (Forest floor)
รากของต้นไม้ในป่าดิบชื้นที่งอก เหนือผิวดินและแตกแขนงเกี่ยวกัน เป็นแพ เนื่องจากสารอาหารส่วนใหญ่ ในป่าดิบชื้นจะอยู่ใกล้ผิวดิน ดังนั้น รากของ ต้นไม้จะไม่หยั่งลึกลงไปในดิน แต่จะแผ่ กระจายบนผิวดินเป็นวงกว้างเพื่อให้ได้ รับสารอาหารมากที่สุด
16
ชัน้ กลาง (Understorey) คือชัน้ ของ
15
ไม้เถาเนือ้ แข็ง (Lianas) คือไม้เถาที่เกาะตาม
ต้นไม้ชนิดอื่น เพื่อให้ได้รับรับแสงแดดบนชั้นร่ม ไม้ ไม้เถาเหล่านีจ้ ะพันอยูร่ ะหว่างต้นไม้ ซึง่ จะช่วย ให้สัตว์ปีนป่ายไปตามกิ่งไม้ต่างๆ ได้
สัตว์ที่พบในป่าดิบ ชื้นแอมะซอน
พืชพรรณที่อยู่ตรงกลางระหว่างชั้น ร่มไม้กับชั้นพื้นดินในป่าดิบชื้น หรือเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่าชั้นไม้พุ่มเตี้ย พืชพรรณที่อยู่ชั้นกลางจะสูง ประมาณ 20 เมตร และมีใบขนาดใหญ่เพื่อให้ได้ รับแสงแดดมากที่สุด ชั้นกลางเป็นที่อยู่อาศัยของ แมลง งู นก และสัตว์เลือ้ ยคลานจ�ำพวกจิง้ จกตุก๊ แก
เกร็ดน่ารู้
14
12
ป่าดิบชื้นที่มีขนาดกว้างใหญ่ที่สุดในโลกคือ ป่าดิบชื้นแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ สัตว์ป่า ส่วนใหญ่ในป่าดิบชื้นแอมะซอนจะพบอยู่ตาม แนวชายฝั่งลุ่มแม่น�้ำแอมะซอน จ�ำนวนสองในสามของสายพันธุพ์ ชื บนโลกนี้ อยู่ในป่าดิบชื้น เชื่อกันว่าสายพันธุ์ของพืชและสัตว์บนโลกนี้ ประมาณ 40% อาจอาศัยอยู่ในชั้นร่มไม้ของ ป่าดิบชื้น เถาวัลย์บางชนิดสามารถเจริญเติบโตจนมี ความยาวได้ถึง 3 กิโลเมตร
www.MISbook.com 13
ชั้นต่างๆ ของป่าดิบชื้น 1 ชั้นเรือนยอด 2 ชั้นร่มไม้ 3 ชั้นกลาง 4 ชั้นพื้นดิน 5 รากพูพอน
17
1
2
18
3
4
5
13
สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-923-9
9
786165
279239
หมวด : สารานุกรม 125.-
ธรรมชาติ
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข www.MISbook.com อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
ธรรมชาติ หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 150 คำ